Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มที่1 ประเภทเครื่องดีด เครื่องสี

เล่มที่1 ประเภทเครื่องดีด เครื่องสี

Published by ครูแพม ภิญญดา, 2022-07-24 15:20:54

Description: เล่มที่1 ประเภทเครื่องดีด เครื่องสี

Search

Read the Text Version

ก คานา แบบฝึกทักษะ ดนตรีไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(ดนตรี) สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและเป็น แนวทางสาหรับครูได้นาไปใช้ในการดาเนินการสอนดนตรีไทยในโรงเรียน โดยมุ่งหวังให้บรรลุ วัตถุประสงค์ของหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตรสถานศึกษา มี ก า ร วั ด ผ ล ป ร ะ เ มิ น ผ ล ค ร อ บ ค ลุ ม ทุ ก ตั ว ชี้ วั ด แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พึ ง ป ร ะ ส ง ค์ แบบฝกึ ทักษะ ดนตรไี ทย มีทั้งหมด 5 เล่ม ดงั น้ี เล่มที่ 1 เรื่อง ประเภทเคร่อื งดดี เครือ่ งสี เล่มที่ 2 เรือ่ ง ประเภทเครอ่ื งตี เครื่องเป่า เล่มที่ 3 เรื่อง วงดนตรีไทย เล่มที่ 4 เรือ่ ง ดนตรพี ื้นบ้าน เล่มที่ 5 เรือ่ ง การใช้และดูแลรักษาเครือ่ งดนตรไี ทย ในการใช้แบบฝึกทักษะ ดนตรีไทย ควรใช้เอกสารเรียงลาดับจากเล่มที่ 1 ถึงเล่มที่ 5 เพื่อความต่อเนื่องของเนื้อหา ซึ่งสอนจากง่ายไปหายาก ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ า แบบฝึกทักษะเล่มนี้จะเกิดประโยชน์แก่นักเรียนและผู้ที่ศึกษาค้นคว้า ขอขอบพระคุณ ครูอาจารย์ ผู้เชี่ยวชาญ รวมท้ังผู้เกี่ยวข้องทุกท่าน ที่ได้ให้ความอนุเคราะห์และให้คาแนะนา อย่างดยี ิ่ง ขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ ภญิ ญดา เภาพงศ์

สารบญั ข เรื่อง หน้า คานา ก สารบัญ ข สาระและจดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1 ข้ันตอนการใช้แบบฝกึ ทกั ษะ ดนตรีไทย 2 คาชีแ้ จงสาหรับครู 3 คาชแี้ จงสาหรับนกั เรียน 4 แบบทดสอบก่อนเรียน 5 กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน 9 เครื่องดนตรีไทยประเภทเครอ่ื งดดี 10 แบบฝกึ หดั ที่ 1 17 เครือ่ งดนตรีไทยประเภทเครอ่ื งสี 18 แบบฝกึ หดั ที่ 2 29 แบบฝกึ หัดที่ 3 31 แบบฝกึ หัดที่ 4 33 แบบทดสอบหลังเรยี น 35 กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลงั เรยี น 39 บรรณานุกรม 40 ภาคผนวก 42 43 เฉลยแบบฝกึ หดั ที่ 1 44 เฉลยแบบฝกึ หัดที่ 2 46 เฉลยแบบฝกึ หัดที่ 3 48 เฉลยแบบฝกึ หดั ที่ 4 50 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 51 เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น

1 สาระและจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ แบบฝึกทักษะ ดนตรีไทย เลม่ ท่ี 1 ประเภทเครือ่ งดีด เครือ่ งสี มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรอี ย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วจิ ารณ์คุณค่า ดนตรี ถ่ายทอดความรสู้ ึก ความคิดตอ่ ดนตรอี ย่างอสิ ระ ชื่นชมและประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจาวนั ตัวชี้วดั ม.1/4 จดั ประเภทของวงดนตรไี ทยและวงดนตรที ี่มาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ สาระสาคัญ เคร่ืองดนตรีไทยประเภทเครื่องดีด เป็นเครื่องดนตรีที่บรรเลงโดยการใช้นิ้วมือหรือไม้ดีด ดีดสายทาใหเ้ กิดเสียงต่าง ๆ จากการส่นั สะเทือน เคร่ืองดนตรีไทยประเภทเคร่ืองสี เป็นเคร่ืองดนตรีที่ทาให้เกิดเสียงโดยการใช้คันชักสี เข้ากับสายทาให้เกิดการเสียงต่างๆ จากการสั่นสะเทือน ซึ่งเครื่องดนตรีทั้ง 2 ประเภท ยังเป็นที่ นิยมแพร่หลายกนั ในปัจจบุ นั จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ด้านความรู้ : นักเรียนสามารถ 1.1 บอกชื่อเครื่องดนตรีไทยประเภทเครือ่ งดีด เครือ่ งสไี ด้ถกู ต้อง 1.2 บอกส่วนประกอบเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องดีด เครื่องสไี ด้ถูกต้อง 1.3 จัดประเภทเคร่อื งดนตรไี ทยประเภทเครื่องดีด เครือ่ งสไี ด้ถกู ต้อง 2. ด้านทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด 2.1 นกั เรียนมที ักษะในการฟงั และแยกเสียงเคร่อื งดนตรไี ด้ 3. ด้านคุณลักษณะ 3.1 มีวินัย 3.2 ใฝ่เรียนรู้ 3.3 รักความเป็นไทย

2 ขนั้ ตอนการใช้แบบฝึกทักษะ ดนตรไี ทย เลม่ ที่ 1 ประเภทเครอื่ งดดี เครื่องสี 1. อ่านคาชีแ้ จงและคาแนะนาการใช้แบบฝกึ ทกั ษะ ดนตรไี ทย 2. ศกึ ษาแบบฝกึ ทักษะ ดนตรไี ทย โดยปฏิบตั ิ ดงั น้ี ไม่ผ่านเกณฑ์ 2.1 ทาแบบทดสอบก่อนเรียน 2.2 ศึกษาใบความรู้ 2.3 ทาแบบฝกึ หัด 2.4 ทาแบบทดสอบหลงั เรยี น 3. ตรวจคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน-หลงั เรยี น แบบฝกึ หัด การประเมินผล จากแบบเฉลย 4. ศกึ ษาแบบฝกึ ทกั ษะ ดนตรไี ทยเล่มที่ 2 ตอ่ ไป ผา่ นเกณฑ์

3 คาชีแ้ จงสาหรับครู แบบฝึกทักษะ ดนตรีไทย เล่มที่ 1 เร่ือง ประเภทเคร่ืองดีด เคร่ืองสี ใช้ประกอบการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนสาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยมีข้ันตอนการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน ดังน้ี 1. แจกแบบฝกึ ทกั ษะ ดนตรีไทย เล่มที่ 1 เรื่อง ประเภทเครือ่ งดีด เครือ่ งสี ให้นกั เรียน 2. ใหน้ กั เรียนศกึ ษาคาชีแ้ จงการใช้แบบฝกึ ทักษะและชแี้ จงเพิ่มเติม ก่อนลงมอื ปฏิบัติ 3. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อดูว่านักเรียนมีพื้นฐานความรู้ ความเข้าใจ เกีย่ วกับเรื่องที่เรยี นมากน้อยเพียงใด 4. ให้นักเรียนศึกษาแบบฝึกทักษะ ดนตรีไทย เล่มที่ 1 เร่ือง ประเภทเคร่ืองดีด เคร่ืองสี และแบบฝกึ หัดที่ 1 - 4 เพือ่ ใหน้ ักเรียนได้ทบทวนและเกิดความรู้ความเข้าใจอย่างถูกต้อง 5. ให้นกั เรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อดูว่านักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจหลังเรียน มากน้อยเพียงใด 6. สังเกตพฤติกรรมคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์และบนั ทึกผล 7. ตรวจคะแนนและบันทึกผลลงในแบบเก็บคะแนนการทาแบบฝึกทักษะ ดนตรีไทย เล่มที่ 1 เรือ่ ง ประเภทเครื่องดีด เครื่องสี 8. แจ้งคะแนนให้นกั เรียนทราบและชมเชยนกั เรียนพร้อมให้คาแนะนาเพิ่มเติม

4 คาชี้แจงสาหรบั นกั เรียน แบบฝึกทักษะ ดนตรีไทย เล่มที่ 1 เร่ือง ประเภทเคร่ืองดีด เคร่ืองสี ใช้ประกอบการจัด กิจกรรมการเรียนรู้สาหรับนกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 โดยมีแนวทางการใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะ ดงั น้ี 1. ตรวจสอบแบบฝกึ ทักษะว่าครบถ้วนหรอื ไม่ ถ้าไม่ครบถ้วนตอ้ งแจง้ ครผู ู้สอนทนั ที 2. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ของแบบฝึกทักษะก่อนจะเริ่มศึกษาหาความรู้ในลาดับ ต่อไป 3. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ 4. ศึกษาแบบฝึกทักษะด้วยตนเองตามลาดับขั้นตอนที่จัดไว้ในแบบฝึกทักษะ เม่ือเข้าใจ แล้ว ทาแบบฝกึ หัดใหค้ รบทุกแบบฝกึ หดั 5. ศกึ ษาแบบฝกึ ทักษะด้วยความเอาใจใส่และมีความซื่อสตั ย์ 6. เม่ือศึกษาใบความรู้และทาแบบฝึกหัดในแบบฝึกทักษะเสร็จแล้ว ตรวจสอบความ ถกู ต้องจากเฉลย 7. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี น จานวน 10 ข้อ 8. ในกรณีที่นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนได้ไม่ถึง 8 ข้อ ให้นักเรียนย้อนกลับไป ศึกษาแบบฝึกทักษะเล่มนี้ใหม่แล้วทาแบบทดสอบหลังเรียนอีกคร้ังจนกว่าจะได้คะแนนตาม เกณฑ์ 9. เมื่อมีปัญหาใด ๆ เช่น ไม่เข้าใจเนื้อหา สามารถขอคาแนะนาจากครไู ด้ตลอดเวลา

5 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น เรื่องประเภทเครอื่ งดดี เคร่อื งสี คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเคร่ืองหมาย ลงในช่อง  ของกระดาษคาตอบที่กาหนดให้โดย เลือกข้อที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว (ข้อสอบมีจานวน 10 ข้อ คะแนนเตม็ 10 คะแนน) 1. จะเข้จดั อยู่ในเครือ่ งดนตรีประเภทใด ก. ประเภทเครือ่ งดีด ข. ประเภทเครือ่ งสี ค. ประเภทเครื่องตี ง. ประเภทเครือ่ งเป่า 2. รางไหมคือส่วนประกอบของเครือ่ งดนตรีใด ก. ซอด้วง ข. กระจบั ปี่ ค. จะเข้ ง. ซอสามสาย

6 3. เครื่องดนตรีใดมีลักษณะเสียงแหลม ก้องกงั วาน ก. จะเข้ ข. ซอด้วง ค. ซออู้ ง. ซอสามสาย 4. จากรปู เป็นเครื่องดนตรีทีม่ ชี ือ่ วา่ อะไร ก. ซออู้ ข. ซอสามสาย ค. ซอด้วง ง. สะลอ้ 5. ส่วนประกอบใดใช้สาหรับสีลงบนสายซอเพื่อให้เกิดเสียง ก. ลกู บิด ข. หางม้า ค. คนั ทวน ง. หย่อง

7 6. เครือ่ งดนตรที ี่ทาให้เกิดเสียงโดยใช้คนั ชักเป็นเครื่องดนตรีประเภทใด ก. ประเภทเครื่องตี ข. ประเภทเครื่องเป่า ค. ประเภทเครือ่ งดีด ง. ประเภทเครื่องสี 7. ข้อใดคือส่วนประกอบของซอด้วง ก. หมอน ข. หย่อง ค. รางไหม ง. นม 8. ส่วนประกอบใดของกระจบั ปี่ที่มลี ักษณะคล้ายกระดองเต่า ก. กะโหลก ข. หลกั ค. ลูกบิด ง. คันทวน

8 9. ข้อใดไม่ใชส่ ่วนประกอบของจะเข้ ก. นม ข. โต๊ะ ค. แหน ง. รดั อก 10. จากรปู เป็นเครือ่ งดนตรีที่มชี ือ่ วา่ อะไร ก. ซออู้ ข. ซอสามสาย ค. ซอด้วง ง. สะลอ้

9 กระดาษคาตอบแบบทดสอบกอ่ นเรียน ชื่อ - สกลุ ........................................................................ชั้น................เลขที่................. คาชีแ้ จง ให้นักเรียนเลือกคาตอบในแบบทดสอบ แล้วทาเครื่องหมาย  ลงใน  ในข้อ ที่ถูกต้องที่สดุ เพียงข้อเดียว ข้อ ก ข ค ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. รวม สรปุ การประเมนิ คะแนนเต็ม 10 ได้...................... ผ่านเกณฑ์ ไมผ่ ่านเกณฑ์ เกณฑ์การประเมิน รอ้ ยละ 80 คือ ได้ 8 คะแนนข้ึนไปจงึ ผ่านเกณฑ์

10 เคร่อื งดนตรีไทย ประเภทเครื่องดีด

11 เครือ่ งดนตรีไทยประเภทเครือ่ งดดี ประเภทเคร่ืองดีด คือ เคร่ืองดนตรีประเภทที่มีสายตั้งแต่สายเดียวจนถึง 7 สาย เกิดเสียงได้โดยการดีดด้วยมือข้างหนึ่งและมืออีกข้างหนึ่งกดสายตามเสียงที่ต้องการ แต่เดิม เคร่ืองดนตรีที่มีสายใช้ดีด เรียกตามบาลีและสันสฤกษว่า “พิณ” ต่อมาบัญญัตชื่อเรียกใหม่ ตามรูปร่าง ตามวัสดุหรอื ตามภาษาของชาติน้ัน ๆ เช่น กระจับปี่ พิณน้าเต้า พิณเพี๊ยะและจะเข้ เป็นต้น

12 กระจบั ปี่ ที่มา : เพจภาพเก่าเล่าใหม่ กระจบั ปี่ เปน็ เครือ่ งดนตรีประเภทเคร่ืองดีด มีกะโหลกเป็นทรงกลมรี แบนทั้งหน้าและ หลัง ซึ่งมองแล้วคล้ายกับกระดองของเต่า จึงสันนิษฐานว่าชื่อของกระจับปี่มาจากคาว่า “กจั ฉปิ” ทีแ่ ปลว่า “เต่า” การบรรเลงกระจบั ปี่ ที่มา : ฌานิช สวามีชัย

13 ส่วนประกอบของกระจบั ปี่ มีดงั นี้ ลูกบดิ ซุ้มหย่อง นม คันทวน กะโหลก สาย หลักผูกสาย ทีม่ า : เพจร้านปริณญาภัครดนตรีไทย ขายสะล้อ ซอ ซึง เคร่อื งดนตรีไทย กะโหลก ทาด้วยไม้แผ่นบาง ๆ มีลักษณะเป็นทรงกลมรี แบนทั้งหน้าและหลัง ภายใน เป็นโพรง คนั ทวน ทาด้วยไม้ ลักษณะยาวเรียวต่อจากกะโหลก ด้านหลังมนด้านหน้าแบน ปลาย คันทวนมรี ู 4 รู สาหรบั ใส่ลกู บิด ลูกบิด ทาด้วยไม้ ลักษณะยาวเรียว กลึงหัวเป็นลูกแก้ว เจาะรูตอนปลายเพื่อยึดสาย กระจับปี่ มีจานวน 4 อัน สาย นิยมใชส้ ายไหม สายไนลอน หรอื สายลวด มจี านวน 4 เส้น หลักผูกสาย ทาด้วยโลหะ เป็นแผ่นยึดติดที่หน้ากะโหลก ด้านล่างมีรูสาหรับผูกสาย ท้ัง 4 เส้น ซุ้มหย่อง ทาจากไม้ กระดูกหรืองาช้าง ลักษณะเหมือนซุ้มประตู มียอดแหลม ตรงกลางเจาะให้โปร่งเพือ่ ใช้สาหรบั พาดสายให้ผา่ นลงไปในรางลกู บิด นม ทาด้วยไม้เล็ก ๆ ติดนูนข้นึ มาบริเวณกลางคนั ทวนเรียงตามลาดับจานวน 11 นม

14 จะเข้ ที่มา : TK PARK อุทยานการเรียนรู้ จะเข้ เป็นเคร่ืองดนตรีไทยประเภทเคร่ืองดีด มี 3 สาย ประดิษฐ์ให้วางราบกับพื้นเพื่อ ความสะดวกในการบรรเลง ได้รับอิทธิพลมาจากเคร่ืองดนตรีของมอญและได้พัฒนามาจาก กระจับปี่ มีหลักฐานครั้งแรกในสมัยกรุงศรีอยุธยา แต่ไม่ปรากฏว่าได้นามาเข้าร่วมบรรเลงใน วงใด จนกระทั่งในสมัยรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ได้นาเข้ามาร่วมบรรเลงเป็นเคร่ืองนา ในวงเครือ่ งสายและวงมโหรจี นถึงปัจจุบัน การบรรเลงจะเข้ ทีม่ า : จะเข้ หมี

15 สว่ นประกอบของจะเข้ มีดงั นี้ ซุ้ม รางไหม สาย แหน โตะ๊ หลกั นม ลูกบดิ ไม้ดีด เท้า ที่มา : shattingermusic หลกั ทาด้วยโลหะ ลักษณะกลมเล็ก สาหรับผูกสายทั้ง 3 สายไปยงั ลูกบิด แหน ทาด้วยผวิ ไม้ไผข่ นาดเล็ก สอดหนนุ ไว้ใต้สายส่วนที่วางพาดบนโต๊ะ โตะ๊ ทาด้วยโลหะทองขาวหรือทองเหลือง มีลักษณะเป็นทรงสี่เหลี่ยม เพื่อให้สายท้ัง 3 สายวางพาดผ่าน สาย ทาด้วยสายเอ็น 2 สายและสายลวด 1 สาย โดยผูกจากหลักขึงผ่านโต๊ะ นม ซุ้ม ลงไปในรางไหมและผกู ทีป่ ลายลูกบิดท้ังสาม ซมุ้ ทาด้วยไม้ งาช้างหรอื กระดูก มีลักษณะคล้ายซุ้มประตู เป็นส่วนที่รองรับสาย ขยัก หรอื บากเปน็ รอ่ งเพือ่ แยกสายทั้ง 3 สายไม่ใหช้ ิดตดิ กัน รางไหม ทาด้วยไม้ เป็นช่องยาวหัวท้ายโค้ง ตรงกลางเป็นร่องโปร่ง เพื่อสอดสายจะเข้ เข้าไปยังลกู บิด ลูกบิด ทาด้วยไม้ มีจานวน 3 อัน เป็นส่วนที่ใช้ขึงสายจะเข้และปรับเสียงจะเข้ให้ได้ เสียงตามที่ต้องการ

16 นม ทาด้วยไม้ไผ่ มีหน้าทีร่ องรับสายจะเข้ เม่ือกดสายจะเข้จะเกิดเสียงดังเป็นโน้ตเสียง ต่าง ๆ มจี านวน 11 นม ลดหล่นั เรียงเป็นลาดบั เทา้ เปน็ ส่วนทีร่ องรบั ลาตัวจะเข้ ตอนหัวมีจานวน 4 เท้าและตอนหางมจี านวน 1 เท้า ไมด้ ีด ทาด้วยงา เขาสัตว์หรอื กระดูกสตั ว์ มีลกั ษณะเปน็ แท่งกลมปลายแหลม

17 แบบฝึกหัดที่ 1 ชือ่ - สกลุ ...........................................................................ช้ัน................เลขที.่ ............... จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ บอกส่วนประกอบของเครือ่ งดนตรีไทยประเภทเครื่องดีด เครื่องสีได้ถูกต้อง คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนเขียนส่วนประกอบของเครื่องดนตรที ี่กาหนดให้ ( 10 คะแนน ) 1. จะเข้ 2. 3. 1. 4. 5. 2.กระจบั ป่ี 6. 10. 7. 9. 8. สรุปการประเมิน คะแนนเตม็ 10 ได้............. ผ่านเกณฑ์ ไมผ่ ่านเกณฑ์ เกณฑ์การประเมิน รอ้ ยละ 80 คือได้ 8 คะแนนขึน้ ไปจึงผ่านเกณฑ์

18 เคร่อื งดนตรีไทย ประเภทเครอ่ื งสี

19 เครื่องดนตรไี ทยประเภทเครือ่ งสี ประเภทเคร่ืองสี เป็นเคร่ืองดนตรีที่ทาให้เกิดเสียงโดยการใช้คันชักสีเข้ากับสาย ในดนตรีไทยเรียกว่า ซอ ซึง่ มอี ยู่ 3 ชนิด ด้วยกนั คือ ซอสามสาย ซอด้วง ซออู้

20 ซอสามสาย ทีม่ า : เพจร้านปริณญาภคั รดนตรีไทย ขายสะล้อ ซอ ซึง เครอ่ื งดนตรีไทย ซอสามสาย เป็นเคร่ืองดนตรีไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา พระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย โปรดปรานจงึ โปรดให้สร้างเป็นซอคู่พระหัตถ์ ชื่อว่า“ซอสายฟ้าฟาด” เอาไว้ทรงบรรเลงเมือ่ วา่ งจากพระราชกิจ ซอสามสายนับเป็นเคร่ืองดนตรีที่มีความสง่างามชิ้นหนึ่งในวงมโหรี มีขนาดใหญ่กว่า ซอด้วงและซออู้ มีลักษณะพิเศษ คือ มีสามสายและมีคันชักอิสระไม่ยึดติดกับสาย กะโหลกซอ มีขนาดใหญ่ มีเสียงไพเราะ นุ่มนวล ทาหน้าที่สีคลอไปกับนักร้อง ตาแหน่งของผู้บรรเลงจะอยู่ ด้านหนา้ ของวง การบรรเลงซอสามสาย ที่มา : PARINYA OHMO

21 ส่วนประกอบของซอสามสาย มีดงั นี้ ลกู บดิ รัดอก คันทวน หางม้า หย่อง สาย คันชกั ถ่วงหน้า กะโหลก หน้าซอ เท้า ทีม่ า : เพจร้านปริณญาภคั รดนตรีไทย ขายสะล้อ ซอ ซึง เครื่องดนตรีไทย กะโหลก ทาจากกะลามะพร้าวชนดิ พิเศษทีม่ สี ามพู ลักษณะโค้งงอน หน้าซอ นิยมทาด้วยหนังแพะหรือหนังลูกวัว ขึงตึงกับกระโหลก ทาหน้าที่ถ่ายทอด ความสน่ั สะเทือนทาให้เกิดเสียง คันทวน ทาด้วยไม้แก่น แบ่งออกเปน็ 3 ส่วน คือ 1. ทวนบน ส่วนทีน่ ับจากรอยต่อเหนอื รัดอกขึ้นไป 2. ทวนกลาง ส่วนทีต่ ่อจากทวนบนลงมาถึงกะโหลก 3. ทวนล่างหรอื แขง้ ไก่ ส่วนที่ต่อจากกะโหลก รวมไปถึงเขม็ ทีท่ าดว้ ยโลหะ ซึง่ อยู่ปลายล่างสุด ลกู บิด ทาจากไม้เน้ือแข็งหรืองาช้าง ใช้สาหรับปรับเสียง เสียบไว้ส่วนบนของคันทวน ด้านในมีรสู าหรบั ผกู ปมและร้อยสายทั้ง 3 สาย รัดอก เป็นบ่วงเชือกสาหรับรั้งสายซอ ใช้รัดสายทั้งสามให้แนบเข้ากับทวนกลาง เพื่อให้เสียงของสายเปล่าได้ระดบั และมีความกงั วาน

22 หย่อง ทาด้วยไม้หรืองา ลักษณะคล้ายคันธนู บนหย่องบากร่องไว้สามตาแหน่งเพื่อ รองรบั สายซอ สาย ทาด้วยไหม พันเปน็ เกลียว มี 3 สาย สายเอก สายกลาง สายทุ้ม คันชัก ทาด้วยไม้เน้ือแข็ง กลึงกลมให้มีลักษณะคล้ายคันศร ขึงด้วยขนหางม้าสีขาว ประมาณ 250 - 300 เส้น เท้า ทาจากไม้เนื้อแข็ง อยู่ด้านล่างสุดถัดลงมาจากกะโหลกซอ บริเวณที่ใช้ปักพื้น ทาจากโลหะมีลักษณะปลายแหลม ถว่ งหนา้ นิยมนาพลอยมาประดับตกแต่ง มีลักษณะกลม นามาติดไว้บริเวณหน้าซอ เพื่อเพิ่มคณุ ภาพของเสียงให้ไพเราะ หางมา้ ทาด้วยหางม้าหรือเส้นใยพลาสติก ขึงตึงกับคันชัก ใช้สาหรับสีลงบนสายซอ เพือ่ ทาให้เกิดเสียง

23 ซอดว้ ง ที่มา : ภาพถ่ายโดยผู้จัดทา ซอด้วง เป็นเคร่ืองดนตรีประเภทเคร่ืองสี มี 2 สาย ลักษณะเสียงมีเสียงแหลมก้อง กังวาน ทาหน้าที่เป็นผู้ดาเนินทานอง เป็นผู้นาในวงเคร่ืองสาย เหตุที่เรียก \"ซอด้วง\" เพราะ กระบอกซอมีลักษณะคล้ายกบั เครือ่ งดักสตั ว์ชนิดหนึง่ ทีเ่ รยี กว่า \"ด้วง\" การบรรเลงซอดว้ ง ที่มา : PARINYA OHMO

24 สว่ นประกอบของซอดว้ ง มีดงั นี้ โขน ลกู บดิ รัดอก สายซอ คันทวน คันชกั หางม้า หย่อง กระบอกซอ หนา้ ซอ ทีม่ า : เสรฐั มาเกิด กระบอกซอ ทาด้วยไม้ มีลักษณะเป็นทรงกระบอก ลาตัวมีกระพุ้งเล็กน้อย ภายในเจาะเป็นโพรง ใกล้หน้าซอเจาะรู 2 รูเพื่อใส่ไม้คันทวน คันทวน ทาด้วยไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้ประดู่ ไม้ชิงชันหรืองาช้าง อยู่ถัดจากส่วนล่าง ของโขน มีลักษณะกลม ส่วนปลายด้านล่างจะสอดใส่ไปในกระบอกซอ โขน เป็นส่วนที่อยู่ปลายคันทวน มีลักษณะเปน็ ทรงส่เี หลีย่ มโค้งไปทางหลงั เล็กน้อย ลูกบิด ทาด้วยไม้เนื้อแข็งหรืองาช้าง เสียบไว้ที่ส่วนบนของคันทวน ใช้สาหรับปรับ เสียง หน้าซอ นิยมทาด้วยหนังงูเหลือม ขึงตึงกับกระบอกซอ ทาหน้าที่ถ่ายทอดความ สั่นสะเทือน ทาให้เกิดเสียง หยอ่ ง ทาจากไม้ขนาดเล็ก อยู่บนหนา้ ซอ เพื่อรองรบั สายซอทั้ง 2 สาย รัดอก เป็นบ่วงเชือกสาหรับรั้งสายซอ ใช้รัดสายซอท้ังสองเข้ากับคันซอ นิยมใช้ สายเอกซอด้วง

25 สาย ทาด้วยไหม พนั เปน็ เกลียว มี 2 สาย คือ สายทุ้มและสายเอก คันชัก ทาด้วยไม้เน้ือแขง็ ชนิดเดียวกบั คันทวน มีลักษณะคล้ายคนั ศรสาหรับ ขึงหางมา้ หางมา้ ทาด้วยหางมา้ หรอื เส้นใยพลาสตกิ ขึงตงึ กับคันชัก ใช้สาหรับสีลงบนสายซอ เพือ่ ทาให้เกิดเสียง

26 ซออู้ ที่มา : ภาพถ่ายโดยผู้จดั ทา ซออู้ เปน็ เครื่องดนตรีประเภทเคร่อื งสี มี 2 สาย ลักษณะเสียงมีเสียงทุ้มตา่ ทาหน้าที่ ดาเนินแนวเนื้อเพลงบ้าง ขดั ล้อกับซอด้วงบ้างตามชนิดและบริบทของเพลง การบรรเลงซออู้ ทีม่ า : คลนิ กิ ซอ

27 สว่ นประกอบของซออู้ มีดงั นี้ ลูกบดิ คันชัก รดั อก หางม้า คันทวน กะโหลก หน้าซอ หมอน สาย ทีม่ า : dreamstime กะโหลก ทาด้วยกะลามะพร้าว แกะสลักลวดลายสวยงามเป็นเหมือนกล่องเสียง ของซออู้ คันทวน ทาด้วยไม้เนือ้ แขง็ เช่น ไม้ประดู่ ไม้ชิงชันหรืองาช้าง มีลักษณะกลมเรียวยาว ส่วนปลายด้านล่างจะสอดใส่ไปในกะโหลก ลูกบิด ทาด้วยไม้เน้ือแข็งหรืองาช้าง เสียบไว้ที่ส่วนบนของคันทวน ใช้สาหรับปรับ เสียง หน้าซอ ทาด้วยหนังวัว ขึงตึงกับกระโหลก ทาหน้าที่ถ่ายทอดความสั่นสะเทือนทาให้ เกิดเสียง หมอน ทาด้วยผ้าหรือกระดาษม้วน มีลักษณะกลมคล้ายหมอน อยู่บนหน้าซอเพื่อ รองรบั สายซอทั้ง 2 สาย รัดอก เป็นบ่วงเชือกสาหรับร้ังสายซอ ใช้รัดสายซอท้ังสองเข้ากับคันซอ นิยมใช้ สายเอกซอด้วง

28 สาย ทาด้วยไหม พันเป็นเกลียว มี 2 สาย คือ สายเอกและสายทุ้ม คันชัก ทาด้วยไม้เนือ้ แขง็ ชนิดเดียวกับคันทวน มีลักษณะคล้ายคนั ศร สาหรบั ขึงหางม้า หางม้า ทาด้วยหางม้าหรือเส้นใยพลาสติก ขึงตึงกับคันชัก ใช้สาหรับสีลงบนสายซอ เพือ่ ทาให้เกิดเสียง

29 แบบฝึกหัดที่ 2 ชือ่ - สกลุ ...........................................................................ช้ัน................เลขที.่ ............... จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ บอกส่วนประกอบของเครือ่ งดนตรีไทยประเภทเครือ่ งดีด เครื่องสีได้ถกู ต้อง คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนเขียนส่วนประกอบของเครื่องดนตรที ีก่ าหนดให้ ( 10 คะแนน ) 1. ซอสามสาย 1. 2. 2. ซอดว้ ง 3. 4. 5. 6.

30 แบบฝกึ หัดที่ 2 (ต่อ) 3. ซออู้ 7. 8. 9. 10. สรุปการประเมนิ คะแนนเต็ม 10 ได้............. ผ่านเกณฑ์ ไมผ่ ่านเกณฑ์ เกณฑ์การประเมิน รอ้ ยละ 80 คือได้ 8 คะแนนขนึ้ ไปจึงผ่านเกณฑ์

31 แบบฝึกหัดที่ 3 ชื่อ - สกุล........................................................................ชน้ั ................เลขที่................ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกชือ่ เครื่องดนตรไี ทยประเภทเครื่องดีด เครื่องสไี ด้ถูกต้อง 2. จดั ประเภทเครื่องดนตรีประเภทเครือ่ งดีด เครือ่ งสีได้ถูกต้อง คาชีแ้ จง ให้นกั เรียนบอกชอื่ และประเภทของเคร่อื งดนตรดี งั ตอ่ ไปนี้ ( 10 คะแนน ) 1. ชื่อเครือ่ งดนตร.ี ................................................. ประเภทเครื่องดนตรี........................................ 2. ชือ่ เคร่อื งดนตรี.................................................. ประเภทเครื่องดนตรี........................................

32 3. ชือ่ เครื่องดนตร.ี ................................................. ประเภทเครื่องดนตรี........................................ 4. ชื่อเคร่อื งดนตรี.................................................. ประเภทเคร่อื งดนตร.ี ....................................... 5. ชือ่ เคร่อื งดนตรี.................................................. ประเภทเครื่องดนตรี........................................ สรุปการประเมิน คะแนนเตม็ 10 ได้...................... ผ่านเกณฑ์ ไมผ่ ่านเกณฑ์ เกณฑ์การประเมิน รอ้ ยละ 80 คือ ได้ 8 คะแนนข้ึนไปจงึ ผ่านเกณฑ์

33 แบบฝึกหดั ที่ 4 ชือ่ - สกุล........................................................................ชน้ั ................เลขที่............... จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ บอกส่วนประกอบของเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องดีด เครือ่ งสีได้ถูกต้อง คาชีแ้ จง ให้นักเรียนอธิบายลักษณะของส่วนประกอบเครือ่ งดนตรีให้ถกู ต้อง ( 10 คะแนน ) 1. หลกั ผกู สายกระจบั ปี่ คือ................................................................................................ ..................................................................................................................................... 2. นมกระจับปี่ คือ .......................................................................................................... ..................................................................................................................................... 3. โต๊ะจะเข้ คือ ............................................................................................................... ..................................................................................................................................... 4. สายจะเข้ คือ .............................................................................................................. .................................................................................................................................... 5. รัดอกซอด้วง คือ ......................................................................................................... ..................................................................................................................................... 6. โขนซอด้วง คือ ............................................................................................................ .....................................................................................................................................

34 แบบฝึกหดั ที่ 4 (ต่อ) 7. หมอนซออู้ คือ ............................................................................................................ ..................................................................................................................................... 8. หน้าซอ ซออู้ คือ.......................................................................................................... ..................................................................................................................................... 9. ถ่วงหน้าซอสามสาย คือ ............................................................................................... ..................................................................................................................................... 10. กะโหลกซอสามสาย คือ .............................................................................................. ..................................................................................................................................... สรปุ การประเมนิ คะแนนเตม็ 10 ได้...................... ผ่านเกณฑ์ ไมผ่ ่านเกณฑ์ เกณฑ์การประเมิน รอ้ ยละ 80 คือ ได้ 8 คะแนนข้ึนไปจงึ ผ่านเกณฑ์

35 แบบทดสอบหลงั เรยี น เรื่อง ประเภทเครอื่ งดดี เครอ่ื งสี คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเคร่ืองหมาย ลงในช่อง  ของกระดาษคาตอบที่กาหนดให้โดย เลือกข้อที่ถกู ต้องเพียงข้อเดียว (ข้อสอบมีจานวน 10 ข้อ คะแนนเตม็ 10 คะแนน) 1. ข้อใดคือส่วนประกอบของซอด้วง ก. หมอน ข. หย่อง ค. รางไหม ง. นม 2. เครือ่ งดนตรีใดมีลักษณะเสียงแหลม ก้องกงั วาน ก. จะเข้ ข. ซอด้วง ค. ซออู้ ง. ซอสามสาย

36 3. ส่วนประกอบใดของกระจบั ปี่ที่มลี ักษณะคล้ายกระดองเต่า ก. กะโหลก ข. หลกั ค. ลูกบิด ง. คันทวน 4. รางไหมคือส่วนประกอบของเครือ่ งดนตรีใด ก. ซอด้วง ข. กระจบั ปี่ ค. จะเข้ ง. ซอสามสาย 5. เครือ่ งดนตรที ี่ทาให้เกิดเสียงโดยใช้คนั ชักเปน็ เครือ่ งดนตรีประเภทใด ก. ประเภทเครื่องตี ข. ประเภทเครื่องเป่า ค. ประเภทเครือ่ งดีด ง. ประเภทเครื่องสี

37 6. จะเข้จดั อยู่ในเครื่องดนตรีประเภทใด ก. ประเภทเครือ่ งดีด ข. ประเภทเครื่องสี ค. ประเภทเครือ่ งตี ง. ประเภทเครื่องเป่า 7. ส่วนประกอบใดใช้สาหรับสีลงบนสายซอเพือ่ ให้เกิดเสียง ก. ลกู บิด ข. หางม้า ค. คนั ทวน ง. หย่อง 8. จากรปู เป็นเครื่องดนตรีที่มชี ื่อวา่ อะไร ก. ซออู้ ข. ซอสามสาย ค. ซอด้วง ง. สะลอ้

38 9. ข้อใดไม่ใชส่ ่วนประกอบของจะเข้ ก. นม ข. โต๊ะ ค. แหน ง. รดั อก 10. จากรูปเป็นเครื่องดนตรีทีม่ ชี ือ่ วา่ อะไร ก. ซออู้ ข. ซอสามสาย ค. ซอด้วง ง. สะลอ้

39 กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน ชื่อ - สกุล........................................................................ชน้ั ................ เลขที่................ คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบในแบบทดสอบ แล้วทาเครื่องหมาย  ลงใน  ในข้อ ทีถ่ กู ต้องที่สดุ เพียงข้อเดียว ข้อ ก ข ค ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. รวม สรุปการประเมนิ ผล คะแนนเต็ม คะแนนทีไ่ ด้ แบบทดสอบก่อนเรียน 10 แบบทดสอบหลังเรยี น 10 สรปุ การประเมนิ เกณฑ์การประเมิน รอ้ ยละ 80 คือ ได้ 8 คะแนนข้ึนไป ผ่านเกณฑ์ จึงผ่านเกณฑ์ ไมผ่ ่านเกณฑ์

40 บรรณานกุ รม กระทรวงศึกษาธิการ กรมวิชาการ. (2551). หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ:โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. คลินิกซอ. (2561). บพุ เพสันนิวาส COVER ซออู้ by ครวู ิว คลินกิ ซอ. [ออนไลน์] https://www.youtube.com/watch? v=Xw2cv-oWMa0 สืบค้นเมอื่ 12 กรกฏาคม 2563. เครื่องดนตรีไทย. (2561). ประเภทของเคร่ืองดนตรีไทย. [ออนไลน์] https://sites.google.com/site/kheruxngdntrithai/prapheth-khxng-dntri-thiy สืบค้น เมือ่ 10 มีนาคม 2562. จะเข้ หม.ี (2563). เดี่ยวจะเข้ พลงลาวแพน สองชั้น. [ออนไลน์] https://www.youtube.com/watch? v=oDjZ0RnxGFQ&t=17s สืบค้นเมอ่ื 12 กรกฏาคม 2563. จรี พนั ธ์ สมประสงค์. (2560). หนังสือเรยี นรายวิชาพืน้ ฐาน ดนตรี – นาฏศลิ ป์ ม.1 เล่ม 2. กรงุ เทพมหานคร : แมค็ เอด็ ดูเคชนั่ เฉลิมศกั ดิ์ พิกุลศรี. (2542). สงั คีตนยิ มว่าด้วยดนตรีไทย(ฉบบั ปรบั ปรงุ ). (พิมพ์ครงั้ ที่ 2). กรงุ เทพมหานคร : โอเดียนสโตร์ ฌานศิ สวามีชัย. (2563). เพลงนางนาค บรรเลงกระจับปี่. [ออนไลน์] https://www.youtube.com/watch? v=F3h0DhSofLk สืบค้นเม่ือ 12 กรกฏาคม 2563. เพจภาพเก่าเล่าใหม่. (2563). กระจบั ปี่. [ออนไลน์] https://www.facebook.com/111141453749 361/photos/a.111164763747030/140481727482000 สืบค้นเม่อื 30 มีนาคม 2563. เพจร้านปริณญาภัครดนตรีไทย ขายสะล้อ ซอ ซึง เครื่องดนตรไี ทย. (2563). กระจับปี่ [ออนไลน์]www.facebook.com/playwhite555/photos/a.302586166608251/1522279 391305583สืบค้นเมื่อ 10 กันยายน 2563. เพจร้านปริณญาภัครดนตรีไทย ขายสะล้อ ซอ ซึง เครื่องดนตรไี ทย. (2560). ซอสามสาย. [ออนไลน์] www.facebook.com/ BenjarongThaiMusical/photos/pcb.3285455778179 978/3285449024847320/สืบค้นเม่ือ 30 กรกฏาคม 2562.

41 บรรณานุกรม (ตอ่ ) ภชิ าต เลณะสวัสดิ์. (2548) โหมโรง : ไอยเรศ-สารถี ทางเครือ่ งดนตรไี ทย. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์ สมบัติ จาปาเงิน. (2545). อธิบายเครือ่ งดนตรีไทยและเครือ่ งดนตรีสากล. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรงุ เทพมหานคร : โอเดียนสโตร์ สิทธิศกั ดิ์ จรรยาวุฒิ. (2555). กระจบั ปี่ : มรดกภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรมของไทย. [ออนไลน์] http://identity.bsru.ac.th/archives/2340 สืบค้นเมอ่ื 10 มีนาคม 2562. สุมนมาลย์ น่มิ เนติพันธ์และคณะ. หนังสือเรยี นรายวิชาพืน้ ฐาน ดนตรี – นาฏศลิ ป์ ม.1. (พิมพ์ครง้ั ที่ 5). กรงุ เทพมหานคร : อักษรเจรญิ ทัศน์ เสรฐั มาเกิด. (2558). ซอด้วง. [ออนไลน์] https://sites.google.com/site/muibangna/sx-dwng สืบค้นเมื่อ 27 มีนาคม 2562. อรวรรณ ขมวฒั นาและคณะ. (2562) หนังสอื เรียนรายวิชาพืน้ ฐาน ดนตรี – นาฏศิลป์ ม.1. กรุงเทพมหานคร : สถาบันพัฒนาคณุ ภาพวิชาการ Krusompop. เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ การฝกึ หัดซอด้วงและซออู้เบือ้ งตน้ . (2551). [ออนไลน์] http://krusompop.blogspot.com/2008/07/blog-post_31.html สืบค้นเมอ่ื 17 มีนาคม 2562. PARINYA OHMO. (2562). เพลงคาหวาน 2 ช้ัน (บรรเลงซอด้วง) SWEED WORDS. [ออนไลน์] https://www.youtube.com/watch?v=uO3dSjqLYRA สืบค้นเมอ่ื 12 กรกฏาคม 2563. PARINYA OHMO. (2563). ต้อยตลิ่ง สองชั้น. [ออนไลน์] https://www.youtube.com/watch?v=PmcZ9GAX0fg สืบค้นเมอื่ 12 กรกฏาคม 2563. shattingermusic. (2562). จะเข้. [ออนไลน์] www.shattingermusic.com/เครื่องดนตร-ี จะเข้. html สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2562. TK PARK อทุ ยานการเรยี นรู้. (ม.ป.ป.). จะเข้. [ออนไลน์] http://110.170.81.29/instrument_detail/1427252983490/strum_type/list สืบค้นเม่อื 25 มนี าคม 2562.

42 ภาคผนวก

43 เฉลยแบบฝึกหัดที่ 1 จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ บอกส่วนประกอบของเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องดีด เครื่องสไี ด้ถกู ต้อง คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนเขียนส่วนประกอบของเครือ่ งดนตรที ี่กาหนดให้ ( 10 คะแนน ) 1. จะเข้ 2. ซุ้ม 3. รางไหม 1. โตะ๊ 4. นม 5. เท้า 2.กระจบั ป่ี 6. ลกู บิด 10. คันทวน 7. กะโหลก 9. สาย 8. หลักผูกสาย

44 เฉลยแบบฝึกหดั ที่ 2 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ บอกส่วนประกอบของเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องดีด เครือ่ งสีได้ถูกต้อง คาชี้แจง ใหน้ ักเรียนเขียนส่วนประกอบของเครื่องดนตรที ีก่ าหนดให้ ( 10 คะแนน ) 1. ซอสามสาย 1. หางม้า 2. ถ่วงหน้า 2. ซอดว้ ง 3. เท้า 4. โขน 5.คันทวน 6. คนั ชัก

45 เฉลยแบบฝึกหัดที่ 2 (ตอ่ ) 3. ซออู้ 7. ลกู บิด 8. รดั อก 9. หมอน 10. หนา้ ซอ

46 เฉลยแบบฝึกหัดที่ 3 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกชือ่ เครื่องดนตรไี ทยประเภทเครื่องดีด เครือ่ งสีได้ถูกต้อง 2. จัดประเภทเครือ่ งดนตรีประเภทเครื่องดีด เครือ่ งสีได้ถกู ต้อง คาชีแ้ จง ให้นักเรียนบอกชอื่ และประเภทของเคร่อื งดนตรดี ังตอ่ ไปนี้ ( 10 คะแนน ) 1. ชื่อเครอ่ื งดนตร.ี ..จ...ะ..เ.ข..้....................................... ประเภทเครือ่ งดนตรี....เ.ค...ร..่อื ..ง..ด...ีด....................... 2. ชื่อเครอ่ื งดนตรี...ซ...อ..ส...า..ม...ส..า...ย............................. ประเภทเครื่องดนตรี....เ.ค...ร..่อื ..ง..ส...ี....................

47 3. ชื่อเครื่องดนตร.ี ....ซ...อ..อ...ู้ ..................................... ประเภทเครือ่ งดนตรี...เ.ค...ร..่อื...ง..ส..ี........................ 4. ชือ่ เคร่อื งดนตรี..ก...ร..ะ..จ...บั ...ป..ี่................................. ประเภทเคร่อื งดนตร.ี ...เ.ค...ร..่อื...ง..ด...ีด...................... 5. ชือ่ เคร่อื งดนตรี..ซ...อ...ด..้ว...ง..................................... ประเภทเครือ่ งดนตรี....เ..ค..ร...่อื ..ง..ส...ี......................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook