Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประธิปไตย

ศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประธิปไตย

Published by นอหนู จันทร์นาค, 2020-08-27 08:59:02

Description: ศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประธิปไตย

Search

Read the Text Version

คำ�น�ำ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ. 2560 มาตรา 22 (5) กำ�หนดให้คณะกรรมการการเลือกตัง้ มหี น้าที่และ อ�ำ นาจในการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ หนว่ ยงานของรฐั สถาบนั การศกึ ษา และองคก์ ร เอกชน ในการสรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจทถ่ี กู ตอ้ งใหแ้ กป่ ระชาชนเกย่ี วกบั การปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข การมีส่วนร่วมทาง การเมอื งของประชาชน หรอื ใหป้ ระชาชนมสี ว่ นรว่ มในการตรวจสอบการเลอื กตง้ั และความรทู้ ถ่ี กู ตอ้ งเกย่ี วกบั รฐั ธรรมนญู ประกอบกบั รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย ฉบบั ปจั จบุ นั มผี ลใชบ้ งั คบั แลว้ เมอ่ื วนั ท่ี 6 เมษายน 2560 ดงั นน้ั เพอ่ื ด�ำ เนนิ การ ให้เป็นไปตามหนา้ ทีด่ ังกลา่ ว สำ�นกั งานคณะกรรมการการเลือกตั้งจงึ ไดจ้ ดั ท�ำ เอกสารความรเู้ กี่ยวกับรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย โดยมวี ัตถปุ ระสงค์ เพอ่ื เผยแพรค่ วามรเู้ กย่ี วกบั รฐั ธรรมนญู และภารกจิ ของส�ำ นกั งานคณะกรรมการ การเลือกต้ัง จำ�นวน 13 ชุด ประกอบด้วย 1. ความรูเ้ กี่ยวกับรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย 2. 108 ความรู้เก่ยี วกับรัฐธรรมนูญ 3. สิทธิ เสรีภาพ และหน้าท่ขี องปวงชนชาวไทย 4. คณะรฐั มนตรี ศาล 5. การเลอื กตง้ั ส.ส. 6. การได้มาซ่ึง ส.ว. 7. การมีส่วนร่วม และการตรวจสอบการเลือกตง้ั 8. องคก์ รอสิ ระและการตรวจสอบอำ�นาจรัฐ 9. การปฏริ ูปประเทศและการปกครองท้องถ่นิ 10. พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยคณะกรรมการการเลอื กตง้ั 11. พระราชบัญญตั ิประกอบรฐั ธรรมนูญว่าดว้ ยพรรคการเมอื ง 12. ศนู ยส์ ง่ เสรมิ พัฒนาประชาธิปไตย 13. หมู่บา้ นรณรงคไ์ มข่ ายเสียง

เพื่อให้องค์กรเครือข่ายต่างๆ ของคณะกรรมการการเลือกตั้ง ได้แก่ องคก์ รเอกชนตรวจสอบการเลอื กตง้ั กรรมการศนู ยส์ ง่ เสรมิ พฒั นาประชาธปิ ไตย ทุกระดับ ดีเจประชาธิปไตยชุมชน และกรรมการประจำ�หน่วยเลือกตั้ง มอื อาชีพ เป็นต้น ได้น�ำ ไปศกึ ษาและเผยแพรแ่ กป่ ระชาชนทางหอกระจายขา่ ว เสยี งตามสาย และสถานวี ทิ ยตุ า่ งๆ หรอื ชอ่ งทางอน่ื ๆ ตอ่ ไป โดยเอกสารเผยแพร่ ฉบับนี้เป็นเอกสารลำ�ดับที่ 12 เรื่องศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตย เขียนโดยนายเบญจพล อุดมสุวรรณ์ ผู้เชี่ยวชาญประจำ� กกต. สำ�นักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ใคร่ขอขอบคุณเครือข่ายต่างๆ ท่ีให้ความร่วมมือในการสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยและการสร้างพลเมืองดีวิถีประชาธิปไตยที่ได้ดำ�เนินการมาก่อน หนา้ นจ้ี นประสบความส�ำ เรจ็ ในระดบั หนง่ึ และใครข่ อความรว่ มมอื ในการเผยแพร่ ความรเู้ กี่ยวกับรฐั ธรรมนญู ใหแ้ ก่ประชาชนผา่ นทางชอ่ งทางตา่ งๆ อยา่ งท่ัวถึง และตอ่ เนอื่ งตอ่ ไปดว้ ย ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการเลือกต้ัง พฤศจิกายน 2560

1 ตอนท่ี 1 ศนู ยส์ ง่ เสริมพัฒนาประชาธปิ ไตย : คอื อะไร อำ�นาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็น ประมขุ ทรงใช้อ�ำ นาจน้ันทางรฐั สภา คณะรฐั มนตรี และศาล ตามบทบญั ญัติ แห่งรฐั ธรรมนูญ ประชาชน ผเู้ ปน็ เจา้ ของอ�ำ นาจ จงึ จ�ำ เปน็ ตอ้ งมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจทถ่ี กู ตอ้ ง เก่ียวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศท้ังในระดับท้องถ่ินและระดับชาติ การตรวจสอบการใช้อำ�นาจรัฐ การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ รวมตลอดทง้ั การตัดสินใจทางการเมอื ง ศนู ย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตย (ศส.ปชต.) เป็นการรวมกันของพลเมือง ซ่งึ มีจติ สำ�นึกรว่ ม ทจี่ ะชว่ ยกนั รับผดิ ชอบตอ่ ชมุ ชน หมบู่ า้ น ตำ�บล อำ�เภอ และ จังหวัด ประสานงานเครือข่ายในการพัฒนาประชาธิปไตยในระดับต่างๆ การแสดงออกถึงการมีและการใช้อำ�นาจของประชาชนตามระบอบประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ รว่ มเรียนรรู้ ัฐธรรมนูญใหม่ ร่วมสร้างประชาธิปไตย กา้ วไปกับ กกต. และ ศส.ปชต.

2 ตอนที่ 2 ศนู ย์สง่ เสริมพัฒนาประชาธปิ ไตย : มไี ว้เพื่อใคร ศนู ยส์ ง่ เสรมิ พฒั นาประชาธปิ ไตยเปน็ ศนู ยก์ ลางการปฏบิ ตั ิ ทร่ี วมกลมุ่ กนั เพอ่ื สรา้ งสังคมประชาธปิ ไตย ซึง่ มาจากการรวมกลุ่มท่หี ลากหลาย ท่มี ใิ ชจ่ ะเป็น ศนู ยก์ ลางของหน่วยงานใด หากแตว่ า่ เป็นของประชาชนทุกคนทเ่ี ขา้ มาร่วมกนั ท�ำ กจิ กรรมเพอ่ื สง่ เสรมิ และพฒั นประชาธปิ ไตย รวมทง้ั การใหค้ วามรปู้ ระชาธปิ ไตย แก่ฐานพลังมวลชน และประชาชนกลุ่มต่างๆ ทำ�ให้ประชาชนเกิดจิตสำ�นึก และมีพฤตกิ รรมเปน็ พลเมอื ง ท่ีคอยส่งเสริมและสนับสนุน กจิ กรรมการสรา้ ง ประชาธปิ ไตยและการมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการเลอื กตง้ั โดยมแี นวทางการปฏบิ ตั ิ ทสี่ ำ�คญั คอื “การมเี ปา้ หมายทช่ี ดั เจน” ทจ่ี ะท�ำ ใหป้ ระชาชนมวี ถิ ชี วี ติ แบบประชาธปิ ไตย เกิดหมู่บ้านประชาธิปไตยด้วยการส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนได้ใช้สิทธิ เลอื กตง้ั โดยสจุ รติ และเทย่ี งธรรม น�ำ สกู่ ารเลอื กตง้ั คณุ ภาพ โดยพลเมอื งคณุ ภาพ “การสรา้ งฐานพลงั ทเี่ ข้มแขง็ ” คือ มกี ลมุ่ พลังทใี่ ห้การสนับสนุน เช่น ปราชญช์ าวบา้ น กล่มุ สตรี กรรมการหมบู่ า้ น พลเมอื งอาสา และกล่มุ พลงั ภาครฐั เป็นต้น “กลไกสนับสนุน” มีทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน เช่น ผู้นำ�ชุมชน วัด โรงเรยี น กกต. กศน. อปท. และสว่ นราชการอน่ื ๆ “ท�ำ กจิ กรรมอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง” เพอ่ื สรา้ งจติ ส�ำ นกึ ประชาธปิ ไตยใหเ้ กดิ ขน้ึ ได้ ในทกุ โอกาส เช่น การประชมุ หรอื การรวมกลุ่มของชุมชน งานประเพณกี ารท�ำ พธิ กี รรมทางศาสนา การเลอื กต้ังคุณภาพ โดยพลเมืองคุณภาพ คอื การเลอื กต้ังทพ่ี ลเมอื งมสี ่วนร่วม

3 ตอนท่ี 3 การศนู ย์ส่งเสรมิ พัฒนาประชาธปิ ไตย : มหี น้าทอ่ี ย่างไร ศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตย หรือ ศส.ปชต. มีหน้าที่ช่วยเหลือ คณะกรรมการการเลือกตงั้ ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการเลอื กต้ัง และสำ�นกั งาน คณะกรรมการการเลอื กตั้งประจ�ำ จังหวัดในการเผยแพร่วิชาการ การให้ความรู้ ความเขา้ ใจท่ีถกู ตอ้ งเก่ียวกบั รัฐธรรมนูญและการศกึ ษาแกป่ ระชาชน รวมท้งั ผสู้ มัครรับเลือกตงั้ การพฒั นาการเมอื งและการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ การสง่ เสรมิ การมสี ว่ นร่วมทางการเมือง ของประชาชน ส่งเสรมิ การตรวจสอบการเลอื กตงั้ การส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชน ได้ใช้สิทธิเลือกตั้งโดยสุจริตและเที่ยงธรรม การขยายและพัฒนาเครือข่าย ให้เข้ามาช่วยเหลือการเลือกตั้ง รวมทั้งสร้างจิตสำ�นึกสาธารณะให้เกิดขึ้นกับ ประชาชน ตลอดจนทำ�หนา้ ที่พลเมอื งดีพทิ กั ษ์รักษาสิทธขิ องตนเอง ของผูอ้ ่นื ของชมุ ชนตามรฐั ธรรมนญู ดว้ ยวถิ ที างระบอบประชาธปิ ไตยและด�ำ เนนิ การอน่ื ตามที่ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำ�จังหวัด มอบหมาย รว่ มเรียนรรู้ ัฐธรรมนญู ใหม่ รว่ มสร้างประชาธปิ ไตย กา้ วไปกบั กกต. และ ศส.ปชต.

4 ตอนท่ี 4 โครงสร้างและการจัดต้ังศนู ยส์ ่งเสริมพัฒนาประชาธปิ ไตย คณะกรรมการ ศส.ปชต. ศูนยส์ ่งเสริมพฒั นาประชาธปิ ไตย จัดตง้ั ขึ้นครัง้ แรกในปี พ.ศ. 2557 จังหวดั ละ 1 แหง่ รวม 77 แห่ง และในปี พ.ศ. 2558 จัดตง้ั อำ�เภอละ 1 แหง่ รวม 928 แห่ง ต่อมาในปี พ.ศ. 2559 ก็จดั ตง้ั ครบทกุ ต�ำ บล รวม 7,428 แห่ง (ขอ้ มลู ณ ปัจจบุ นั จัดตง้ั เพ่มิ ข้ึนเป็น 7,520 แหง่ ) โดยส�ำ นกั งานคณะกรรมการการเลอื กตง้ั ด�ำ เนนิ การประสานการปฏบิ ตั ิ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และประสานงานใหม้ กี ารตง้ั ศนู ยส์ ง่ เสรมิ พฒั นาประชาธปิ ไตย ต�ำ บล อำ�เภอ จงั หวัด โดยประสานขอความร่วมมือส�ำ นักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั และหนว่ ยงานอน่ื ท่เี ก่ียวขอ้ ง เพอื่ ใหม้ ีการจัดต้งั ศนู ย์ส่งเสรมิ พัฒนาประชาธปิ ไตยข้ึนในแต่ละต�ำ บล อำ�เภอ จังหวดั ใหม้ คี ณะกรรมการศนู ยส์ ง่ เสรมิ พฒั นาประชาธปิ ไตย มชี อ่ื ยอ่ วา่ “คณะ กรรมการ ศส.ปชต.” เมื่อมีการตั้งศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยแล้ว ให้มีการสรรหา กรรมการดว้ ยวธิ กี ารทเ่ี หน็ สมควร ซง่ึ อยา่ งนอ้ ยตอ้ งเปน็ บคุ คลทม่ี คี วามสมคั รใจ และเสยี สละเพอ่ื ชว่ ยเหลอื การด�ำ เนนิ การของศนู ยส์ ง่ เสรมิ พฒั นาประชาธปิ ไตย ประกอบดว้ ย ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ หน่งึ คน กรรมการอน่ื อีกไมน่ ้อยกวา่ 7 คน โดยกรรมการอืน่ จะตอ้ งประกอบดว้ ย ครู กศน. อยา่ งนอ้ ย 1 คน เข้ารว่ มเปน็ กรรมการและเลขานกุ าร นอกนน้ั ใหพ้ จิ ารณาจากประชาชน ในเขตรับผดิ ชอบของ ศส.ปชต. มวี าระ 5 ปี การเลือกตั้งคุณภาพ โดยพลเมืองคณุ ภาพ คอื การเลือกต้ังทีพ่ ลเมอื งมีส่วนรว่ ม

5 ตอนที่ 5 หน้าท่ขี องคณะกรรมการศนู ยส์ ่งเสริมพฒั นาประชาธิปไตย คณะกรรมการ ศส.ปชต. มหี น้าทร่ี ับผิดชอบการปฏบิ ตั ิงานของศนู ย์ สง่ เสรมิ พฒั นาประชาธปิ ไตย โดยด�ำ เนนิ การตามนโยบายสง่ เสรมิ ประชาธปิ ไตย เสรมิ สร้างความเป็นพลเมอื ง และการเลอื กตั้ง ตลอดจนภารกจิ ตามนโยบาย การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ประชมุ เพอ่ื วางแผนในการบรหิ าร จัดการให้ศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยมีความพร้อมในการปฏิบัติหน้าท่ี อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ หรอื ประสานงานกบั หนว่ ยงานภาครฐั และเอกชนในภารกิจของศนู ยส์ ง่ เสรมิ พฒั นาประชาธิปไตย วางแผนดำ�เนนิ งาน รณรงค์ สง่ เสรมิ และใหค้ วามรปู้ ระชาธปิ ไตย การเสรมิ สรา้ งความเปน็ พลเมอื ง และการเลอื กตง้ั ในชมุ ชนทร่ี บั ผดิ ชอบ เปน็ แกนน�ำ ในการใหค้ วามรปู้ ระชาธปิ ไตย และการเลือกตั้ง การเสริมสร้างความเป็นพลเมืองในชุมชน สร้างเครือข่าย ใหก้ ารสนบั สนนุ หรอื การฝกึ อบรมและพฒั นาความรเู้ กย่ี วกบั การจดั การเลอื กตง้ั แก่ผู้ซ่ึงสนใจหรืออาสาสมัครเป็นเจ้าพนักงานหรือเจ้าหน้าท่ีผู้ดำ�เนินการเลือกต้ัง ประจำ�หนว่ ยเลือกตั้ง ร่วมเรยี นรรู้ ฐั ธรรมนญู ใหม่ ร่วมสรา้ งประชาธิปไตย ก้าวไปกับ กกต. และ ศส.ปชต.

6 ตอนท่ี 6 ศูนยส์ ง่ เสริมพฒั นาประชาธปิ ไตย (ศส.ปชต.) กับการสรา้ งการตระหนกั รู้ของประชาชนกับการเมอื ง การสร้างการเรียนรู้ด้านการเมืองการปกครองโดยการกระตุ้นให้ ประชาชนไดต้ ระหนกั รถู้ งึ ความเกย่ี วพนั ของชวี ติ กบั การเมอื ง และผลรา้ ยของ การทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั โดยรว่ มกบั ประชาชนพจิ ารณาดวู า่ กจิ วตั รประจ�ำ วนั ของเรา เกเชกาย่ีน่ รวจขกัดอ้ าสงรรกอรบั านกบ้ำ�านใรหำ้�เมพ้ อืสอง่งเหผพรลียอื ตงไอ่กมบัก่ ากซราง่ึ ใรขชออ้ ้นปุเทำ้�โจ็ภซจคึ่งรบเงิ ปแรน็ลโิ ภว้ทครขัพทอกุยงกาปจิกรกระรธชรรมารชเมกนชย่ี าวตขเอ้ิปเงน็กกหยี่บั วนกข้าาอ้รทเง่ีขมกออื บั งง รฐั บาล ซง่ึ มาจากการเลอื กตั้งของประชาชน จะเหน็ ภาพว่าการเมอื งเก่ยี วขอ้ ง กับชวี ติ ประจำ�วัน จากนน้ั พจิ ารณาถงึ สถานการณบ์ า้ นเมอื งในปจั จบุ นั ใหท้ กุ คน ไดแ้ สดงความเห็นในดา้ นเศรษฐกิจ สังคม การศกึ ษา และการทุจริตคอร์รัปชัน จะเห็นได้ว่าในทุกด้านจะมีปัญหาเก่ียวกับการทุจริตเข้าไปเก่ียวข้องทุกเร่ือง จนสรปุ ไดว้ า่ การทจุ รติ เปน็ ปญั หาส�ำ คญั ของประเทศ ประชาชนจงึ ตอ้ งใหค้ วาม สนใจและตระหนกั รวู้ า่ ชวี ติ คอื การเมอื ง การเมอื งคอื ชวี ติ และการทจุ รติ คอื ตน้ เหตุ ของปญั หาทกุ ดา้ นอนั เปน็ อปุ สรรคตอ่ การพฒั นาประเทศโดยรวม การเลอื กตงั้ คณุ ภาพ โดยพลเมืองคุณภาพ คือ การเลือกต้งั ท่พี ลเมืองมสี ่วนรว่ ม

7 ตอนที่ 7 ศูนย์ส่งเสริมพฒั นาประชาธปิ ไตย(ศส.ปชต.) กบั ต้นไม้ประชาธปิ ไตย การสร้างการเรียนรู้เรื่องประชาธิปไตย โดยนำ�ส่วนต่างๆ ของต้นไม้ มาเปรียบเทียบกับประชาธิปไตย เพื่อให้ประชาชนได้เข้าใจถึงกระบวนการ ประชาธิปไตยท่ีส�ำ คญั ดงั น้ี 1. ดอกผลของต้นไม้ เปรียบได้กับประโยชน์ของประชาธิปไตย คือ ประชาชนมคี ุณภาพชวี ติ ท่ีดี มคี วามสขุ สังคมมคี วามสงบ เป็นต้น 2. ดนิ ทอ่ี ดุ มสมบรู ณ์ เปรยี บไดก้ บั คา่ นยิ มอดุ มการณป์ ระชาธปิ ไตย คอื ความซอ่ื สตั ย์สจุ รติ ความรับผดิ ชอบ ความมีระเบยี บวนิ ยั ความสามคั คี เปน็ ต้น 3. รากของตน้ ไม้ เปรยี บไดก้ บั หลกั การส�ำ คญั ของประชาธปิ ไตย อนั ไดแ้ ก่ หลักอำ�นาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย หลักสิทธิและเสรีภาพ หลักความ เสมอภาค หลักภราดรภาพ หลกั เหตุผล หลักนติ ิธรรม 4. ลำ�ตน้ ของต้นไม้ เปรยี บไดก้ ับสถาบัน หรือหนว่ ยงานที่สนับสนนุ ส่งเสริมประชาธิปไตย อันได้แก่ สถาบันพระมหากษัตริย์ องค์กรอิสระ ตามรฐั ธรรมนูญ สถาบันการศกึ ษา พรรคการเมอื ง องคก์ รภาคประชาสงั คม ครอบครัว สถาบันทางศาสนา 5. กง่ิ ของตน้ ไม้ เปรยี บไดก้ บั กลไก และระบบทช่ี ว่ ยใหเ้ กดิ การเสรมิ สรา้ ง ประชาธปิ ไตย เชน่ กลไกขององคก์ รตรวจสอบตา่ งๆ ขา้ ราชการทด่ี ี ระบบธรรมาภบิ าล ส่อื มวลชนท่ที ำ�หนา้ ที่ตรวจสอบ ฉะนนั้ ค�ำ กลา่ วทวี่ า่ ประชาธิปไตยกินได้ คอื ความจรงิ ความสงบสขุ และ คุณภาพชีวติ ทดี่ ี คือ ความปรารถนาสงู สุดของสังคมประชาธิปไตยทต่ี อ้ งอาศัย พลเมอื งท่ดี ี มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และอดุ มการณ์ประชาธปิ ไตยและรู้หลักการ ประชาธปิ ไตย มสี ถาบนั ครอบครวั เปน็ หลกั เบอ้ื งตน้ มสี ถาบนั ทางการศกึ ษา สถาบนั ศาสนาสอนใหค้ นเปน็ คนดแี ละทส่ี �ำ คญั คอื ระบบการตรวจสอบโดยประชาชนเอง ร่วมเรยี นรรู้ ัฐธรรมนญู ใหม่ รว่ มสร้างประชาธิปไตย ก้าวไปกับ กกต. และ ศส.ปชต.

8 ตอนที่ 8 ศูนย์สง่ เสริมพัฒนาประชาธปิ ไตย (ศส.ปชต.) กบั คณุ ลกั ษณะของพลเมอื งดวี ถิ ีประชาธปิ ไตย ศส.ปชต. มีภารกิจในการสร้างการเรียนรู้เรื่องคุณลักษณะของ พลเมืองดีวถิ ปี ระชาธปิ ไตย และแนวทางการสร้างพลเมือง หลกั การส�ำ คัญ คืออำ�นาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย ประชาชนสามารถใช้อำ�นาจ ทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น การแสดงความคิดเห็น ร้องเรียน ฟ้องร้อง การเลือกต้งั ตัวแทน รวมถึงคุณลักษณะของพลเมอื งในสังคมประชาธิปไตย โดยสรปุ หลกั การพน้ื ฐานของความเปน็ พลเมอื งดวี ถิ ปี ระชาธปิ ไตย มี 3 หลกั คอื 1. การเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ตระหนักในความเสมอภาค เคารพในความหลากหลายทางสงั คม วัฒนธรรม 2. การเคารพสิทธิ เสรภี าพ และกฎกตกิ าของสังคม โดยรูว้ า่ ตนเอง เป็นเจ้าของอ�ำ นาจอธปิ ไตย และต้องปกปอ้ งสทิ ธิและเสรภี าพของตนเอง ของผู้อื่น และของชุมชน ตลอดจนเคารพกฎกติกาของสังคมที่ตั้งอยู่บน ความยุติธรรมและความชอบธรรม 3. ความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และประเทศชาติ ทำ�หน้าที่ ของตนเองในฐานะสมาชกิ ของสังคม และการมสี ว่ นรว่ มทางการเมอื ง คณุ ลกั ษณะทง้ั 3 ประการ คอื พน้ื ฐานของพลเมอื งในสงั คประชาธปิ ไตย หากประชาชนยดึ ถอื และปฏบิ ัตติ ามหลักการนี้ ประเทศของเราก็จะเป็น ประชาธปิ ไตยท่ีสมบูรณ์ การเลือกตัง้ คณุ ภาพ โดยพลเมืองคณุ ภาพ คือ การเลอื กต้งั ที่พลเมอื งมสี ว่ นร่วม

9 ตอนที่ 9 ศนู ยส์ ่งเสรมิ พฒั นาประชาธปิ ไตย (ศส.ปชต.) กับการเลอื กต้งั คุณภาพ โดยพลเมอื งคณุ ภาพ ศส.ปชต. มภี ารกิจสนบั สนนุ การเลือกตั้ง เมอ่ื มกี ารเลือกตง้ั เกิดขน้ึ ศส.ปชต. จะมีบทบาทและมีส่วนรว่ มในการเลือกตั้ง โดยร่วมรณรงค์ให้ความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในการเลือกต้ังแก่ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขต ความรบั ผิดชอบ แนะน�ำ การกาบัตรเลอื กตัง้ เพ่ือลดจำ�นวนบตั รเสีย แนะนำ� ขน้ั ตอนวธิ กี ารการใชส้ ทิ ธเิ ลอื กตง้ั ทถ่ี กู ตอ้ ง เชน่ การตรวจสอบรายชอ่ื ผมู้ สี ทิ ธิ เลอื กตง้ั การเพม่ิ ช่ือถอนชอ่ื การใช้หลักฐานแสดงตน การกาบัตร ตลอดจน กระตุ้นให้เห็นความสำ�คัญของการเลือกต้ังและไปใช้สิทธิเลือกต้ังอย่างมีคุณภาพ เปน็ พลเมอื งอาสารณรงคก์ ารเลือกต้ังสจุ รติ ต่อตา้ นการซื้อสิทธิขายเสยี ง แจ้งขา่ ว สอดสอ่ ง ดูแล เฝา้ ระวงั มิให้เกดิ การทุจรติ เลอื กตง้ั หากพบเห็นหรอื ทราบการก ระทำ�ดงั กล่าว สามารถรายงานการกระทำ�ให้ กกต.ทราบ รวมทง้ั การประสาน งานเครือข่าย เช่น ดีเจประชาธิปไตยรณรงค์เลือกตั้ง ช่วยประชาสัมพันธ์ การเลือกตั้งในสถานศึกษาในพื้นที่ อาสาสมัครเป็นผู้ช่วยเหลืออำ�นวยความ สะดวกแก่ผมู้ สี ทิ ธิเลอื กต้ัง เชน่ ลกู เสืออาสา กกต. รด.จติ อาสา พลเมืองอาสา เป็นต้น ร่วมเรยี นรู้รัฐธรรมนญู ใหม่ รว่ มสร้างประชาธปิ ไตย กา้ วไปกบั กกต. และ ศส.ปชต.

10 ตอนท่ี 10 ศูนยส์ ่งเสรมิ พัฒนาประชาธิปไตย (ศส.ปชต.) กับหมบู่ า้ นประชาธิปไตย ค�ำ กลา่ ววา่ “หาก ศส.ปชต. สรา้ งวถิ ปี ระชาธปิ ไตยใหเ้ กดิ ขน้ึ ในต�ำ บลได้ ประเทศไทยกจ็ ะเป็นประชาธิปไตยที่สมบรู ณ์” ไมไ่ ดเ้ ปน็ ค�ำ กล่าวท่เี กินเลยไป หากลองนกึ ดูวา่ ศส.ปชต. ทีม่ ีอยทู่ ุกตำ�บลทัว่ ประเทศ รว่ มกันสรา้ งพลเมอื ง ที่มีคุณลักษณะของสังคมประชาธิปไตย คือ เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนษุ ย์ เคารพสิทธิ เสรีภาพ และกฎกติกาทางสังคม มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและประเทศชาติ โดยเริ่มจากตัวเอง สู่คนรอบข้าง ครอบครัว ชุมชน สถานศกึ ษา ศาสนสถาน แพร่กระจายทุกหม่บู า้ น จนสามารถจัดต้ัง “หม่บู ้าน ประชาธิปไตย” ไดท้ ุกหมูบ่ ้าน จากจดุ เลก็ ๆ กส็ ามารถแผ่ขยายไปสู่ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติได้ในท่ีสดุ การเลอื กตั้งคุณภาพ โดยพลเมอื งคณุ ภาพ คอื การเลือกตง้ั ทพ่ี ลเมืองมสี ว่ นรว่ ม

11 ตอนท่ี 11 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ พฒั นาประชาธปิ ไตย (ศส.ปชต.) กบั การท�ำ งานรว่ มกบั หนว่ ยงานภาครัฐ ในการปฏบิ ตั งิ านของ ศส.ปชต. ทม่ี งุ่ เนน้ การสรา้ งพลเมอื งและชมุ ชน ประชาธปิ ไตย นอกจากจะไดร้ บั การสนบั สนนุ จาก สนง.กกต.จงั หวดั และ สนง. กศน. ทง้ั ระดบั จงั หวดั อ�ำ เภอ และต�ำ บลแลว้ ยงั ตอ้ งแสวงหาความรว่ มมอื และ สนบั สนนุ จากสว่ นราชการ หนว่ ยงานตา่ งๆ ทม่ี หี นว่ ยงานในสงั กดั ปฏบิ ตั งิ าน อยใู่ นพน้ื ท่ี เชน่ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงกลาโหม สำ�นักงานตำ�รวจแห่งชาติ และองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งในรูปแบบขององค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำ บล องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ รปู แบบพเิ ศษ การสนบั สนนุ ของหนว่ ยงานเหลา่ น้ี ไมจ่ �ำ เปน็ ตอ้ งมาจากงบประมาณเสมอไปอาจเสนบั สนนุ ปน็ สอ่ื เอกสาร วสั ดุ อปุ กรณ์ สง่ิ ของเครอ่ื งมอื เครอ่ื งใช้ หรอื ค�ำ แนะน�ำ ปรกึ ษาในการ ปฏบิ ตั งิ านของ ศส.ปชต. ก็ได้ ศส.ปชต. จงึ เปน็ ศนู ย์การในการท�ำ งานของ ทกุ หนว่ ยงานในพน้ื ทเ่ี พอ่ื สรา้ งพลเมอื งและชมุ ชนประชาธปิ ไตย ร่วมเรยี นรรู้ ฐั ธรรมนูญใหม่ รว่ มสรา้ งประชาธปิ ไตย ก้าวไปกับ กกต. และ ศส.ปชต.

12 ตอนที่ 12 ศนู ย์ส่งเสรมิ พัฒนาประชาธิปไตย (ศส.ปชต.) รว่ มกับองค์กรภาคเอกชน ศส.ปชต. ท�ำ งานรว่ มกบั คนหลายกลมุ่ นบั ตง้ั แตป่ ระชาชน ก�ำ นนั ผใู้ หญบ่ า้ น พระ ครู องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ เชน่ อบต. เทศบาล อบจ. กทม. กรรมการหมบู่ า้ น กลมุ่ องคก์ รตา่ งๆ อาสาสมคั ร เจา้ หนา้ ทห่ี นว่ ยงานตา่ งๆ ทง้ั ภาครฐั ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม กลมุ่ องคก์ รสมาคม มลู นธิ หิ รอื สื่อมวลชนที่สามารถแจง้ ขอ้ มลู ข่าวสารกระจายสู่ประชาชน การท�ำ งานของ ศส.ปชต. ไมส่ ามารถท�ำ ส�ำ เรจ็ ไดโ้ ดยล�ำ พงั จงึ ตอ้ งประสานงานกบั กลมุ่ บคุ คล ดงั กลา่ วทม่ี ศี กั ยภาพและความพรอ้ ม ทง้ั ดา้ นวสั ดุ อปุ กรณ์ สง่ิ ของเครอ่ื งมือ เคร่ืองใช้ บุคลากร ในการใหค้ ำ�แนะนำ� ปรกึ ษา ในการทำ�งาน โดยเฉพาะ อยา่ งยง่ิ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ เชน่ อบต. เทศบาล อบจ.ซง่ึ อยใู่ กลช้ ดิ แ ล ะ มี อำ � น า จ ห น้ า ท่ี ท่ี เ ป็ น ห น่ ว ย ง า น ส นั บ ส นุ น ดู แ ล คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต และความเปน็ อยขู่ องประชาชนในทอ้ งถน่ิ อยแู่ ลว้ การเลอื กตัง้ คุณภาพ โดยพลเมอื งคุณภาพ คือ การเลือกตง้ั ทพ่ี ลเมืองมีสว่ นรว่ ม

13 ตอนที่ 13 ศนู ยส์ ่งเสริมพฒั นาประชาธิปไตย (ศส.ปชต.) กับหลกั การประชาธปิ ไตย ศส.ปชต. เปน็ ศนู ยก์ ารเรยี นรปู้ ระชาธปิ ไตย เพอ่ื ใหป้ ระชาชนและเยาวชน มคี วามรทู้ ถ่ี กู ตอ้ งเกย่ี วกบั ประชาธปิ ไตย โดยยดึ หลกั การส�ำ คญั ของประชาธปิ ไตย คอื 1. หลกั อำ�นาจอธปิ ไตยเปน็ ของประชาชน ซ่ึงประชาชนเปน็ เจา้ ของ อ�ำ นาจจงึ ตอ้ งรบั รถู้ งึ การมอี �ำ นาจและการใชอ้ �ำ นาจของประชาชนอยา่ งถกู ตอ้ ง รวมทั้งการตรวจสอบการใช้อำ�นาจของรัฐ 2. หลักสิทธิและเสรีภาพ ประชาชนจะต้องรู้จักปกป้องสิทธิและ เสรีภาพของตนเองได้ ในขณะเดียวกันก็ไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของผู้อื่น รวมตลอดจนถงึ สิทธิชมุ ชนตามท่ีกฎหมายกำ�หนดไวด้ ว้ ย 3. หลกั ภราดรภาพ การอย่รู ว่ มกนั ของประชาชนบนพื้นฐานของการ เป็นพ่ีน้อง เอ้ืออาทร ช่วยเหลือกนั ตามสมควร 4. หลักความเสมอภาค หมายถึง ทุกคนมีโอกาสอย่างเท่าเทียมกัน เพอ่ื ใหไ้ ด้รบั สิทธิเสรภี าพเทา่ ผู้อนื่ 5. หลกั เหตผุ ล หมายถงึ การรบั ฟงั เหตผุ ลซง่ึ กนั และกนั ไมใ่ ชค้ วามรนุ แรง การตดั สนิ ปญั หายดึ หลกั เสยี งขา้ งมาก โดยตอ้ งรบั ฟงั เสยี งขา้ งนอ้ ยดว้ ย 6. หลกั นติ ธิ รรม หมายถงึ การปกครองโดยกฎหมายทเ่ี ปน็ ธรรม ทกุ คน อยู่ภายใตก้ ฎหมายเดยี วกัน ไม่เลือกปฏิบตั ิ รว่ มเรียนรรู้ ัฐธรรมนญู ใหม่ ร่วมสรา้ งประชาธปิ ไตย กา้ วไปกับ กกต. และ ศส.ปชต.

14 ตอนท่ี 14 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ พฒั นาประชาธปิ ไตย (ศส.ปชต.) กบั หลกั การเลอื กต้งั สากล ศส.ปชต. มีบทบาทสำ�คัญในการสนบั สนนุ การเลอื กตง้ั การให้ความรู้ แก่ประชาชนเร่ืองหลกั การสำ�คัญของการเลือกตั้ง ซ่งึ ประกอบด้วย 1. หลกั ความอสิ ระ หมายถงึ ประชาชนผมู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตง้ั ผสู้ มคั รรบั เลอื กตง้ั หนว่ ยงานจดั การเลอื กตง้ั ตอ้ งมอี สิ ระไมอ่ ยภู่ ายใตอ้ ทิ ธพิ ล หรอื อ�ำ นาจของฝา่ ยใด ฝา่ ยหนึง่ 2. หลกั สทิ ธิ ประชาชนเปน็ ผมู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตง้ั การจ�ำ กดั สทิ ธจิ ะกระท�ำ ได้ ตอ้ งมีกฎหมายกำ�หนด 3. หลกั ความเสมอภาค ผูม้ ีสทิ ธิเลอื กตั้งตอ้ งไดร้ บั ความเสมอภาคในการ ใชส้ ทิ ธเิ ลอื กตงั้ ของตนเอง 4. หลกั สจุ รติ การเลอื กตง้ั ตอ้ งเปน็ ไปโดยสจุ รติ ไมใ่ ชอ้ �ำ นาจอทิ ธพิ ลใดๆ ในการบังคับ ขูเ่ ข็ญ หรอื การซ้ือสิทธิขายเสียง 5. หลักระยะเวลา ผู้ที่ได้รับเลือกตั้งต้องมีระยะเวลาในการปฏิบัติ หนา้ ทอี่ ย่างชัดเจน 6. หลกั การลงคะแนนโดยลบั ผมู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตง้ั ยอ่ มไดร้ บั ความคมุ้ ครอง วา่ การใช้สิทธขิ องตนเปน็ ความลับ การเลือกตง้ั คุณภาพ โดยพลเมอื งคณุ ภาพ คอื การเลอื กต้งั ทีพ่ ลเมืองมสี ว่ นร่วม

15 ตอนท่ี 15 ศูนย์ส่งเสรมิ พัฒนาประชาธปิ ไตย (ศส.ปชต.) กับการตรวจสอบ การตรวจสอบการทำ�งานของรัฐถือเป็นจุดเด่นและเป็นส่วนสำ�คัญ อย่างยิ่งในสังคมประชาธิปไตย ที่จะต้องมีการกำ�หนดให้ประชาชนสามารถ ตรวจสอบการทำ�งานของรฐั บาลได้อย่างเตม็ ท่ี ถงึ แม้จะมีองคก์ รตรวจสอบตา่ งๆ เช่น กกต. ตรวจสอบการเลือกตั้งมิให้มีการทุจริตซื้อสิทธิขายเสียงประชาชน ตรวจสอบการทุจริตโกงกนิ คอรร์ ปั ชนั คณะกรรมการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ ตรวจสอบ เรอ่ื งการใชจ้ ่ายเงนิ ของแผน่ ดนิ ประชาชนยังต้องติดตามและให้ความรว่ มมือ กับองค์กรเหล่านั้น เพื่อตรวจสอบการทำ�งานของนักการเมืองและเจ้าหน้าที่ ของรัฐว่าถูกต้องตามกฎหมายและเป็นไปเพ่ือประโยชน์ของประชาชนหรือไม่ ดงั นนั้ ศส.ปชต. จึงมบี ทบาทส�ำ คญั ในการใหก้ ารศกึ ษาและการเรียนรแู้ ก่เยาวชน นกั เรยี น นกั ศกึ ษา และประชาชน กระตนุ้ ใหเ้ หน็ ถงึ ความส�ำ คญั ของการท�ำ หนา้ ที่ ของพลเมอื งในการตดิ ตาม ตรวจสอบ การดำ�เนนิ งานของหน่วยงานภาครฐั ในพ้ืนที่ หากเห็นวา่ ไม่ถูกตอ้ ง กแ็ สดงความคดิ เห็น วพิ ากษว์ ิจารณ์ เสนอแนะ เพ่ือการปรับปรุงพัฒนาพร้อมให้ข้อมูลหรือร้องเรียนหน่วยงานที่รับผิดชอบ ถือเป็นการปกป้องสิทธิประโยชน์ของประชาชนและชุมชน และทำ�หน้าที่ ของพลเมอื งท่ีสมบรู ณ์ ร่วมเรยี นรู้รฐั ธรรมนญู ใหม่ ร่วมสรา้ งประชาธิปไตย ก้าวไปกบั กกต. และ ศส.ปชต.

16 ตอนที่ 16 ศูนยส์ ่งเสรมิ พฒั นาประชาธปิ ไตย (ศส.ปชต.) กบั การปกปอ้ งสทิ ธิประโยชนข์ องประชาชน ในสังคมประชาธิปไตย รัฐมีหน้าที่ในการดำ�เนินการจัดให้มีสิทธิ ประโยชนแ์ กป่ ระชาชนหรอื ชมุ ชนหากการนน้ั เปน็ การกระท�ำ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชน์ แก่ประชาชนโดยตรง ย่อมเป็นสิทธขิ องประชาชนและชมุ ชน ท่ีจะตดิ ตามและ เร่งรดั ใหร้ ัฐดำ�เนินการ รวมตลอดท้ังฟอ้ งร้องหน่วยงานของรัฐทีเ่ กีย่ วขอ้ งเพอ่ื จดั ใหป้ ระชาชนหรอื ชมุ ชนนน้ั ไดร้ บั ประโยชน์ ศส.ปชต. จงึ มบี ทบาทส�ำ คญั ในการ ใหค้ วามรแู้ กป่ ระชาชน เพอ่ื การปกปอ้ งสทิ ธปิ ระโยชนท์ พ่ี งึ ไดร้ บั นน้ั เชน่ รฐั ต้อง ดำ�เนินการใหเ้ ด็กทุกคนได้รบั การศึกษาเป็นเวลาสบิ สองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียน จนจบการศกึ ษาภาคบงั คบั อยา่ งมคี ณุ ภาพ โดยไมเ่ กบ็ คา่ ใชจ้ า่ ยรฐั ตอ้ งด�ำ เนนิ การ ใหป้ ระชาชนไดร้ บั บรกิ ารสาธารณสขุ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพอยา่ งทว่ั ถงึ รฐั ตอ้ งอนรุ กั ษ์ ฟน้ื ฟู และสง่ เสรมิ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ศลิ ปะ วฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี มและ จารีตประเพณีอันดีงามของท้องถิ่นและของชาติ เป็นต้น โดยความร่วมมอื กับ หน่วยงานที่เก่ียวขอ้ ง ส�ำ รวจ ตรวจสอบ การด�ำ เนนิ งานว่าเป็นไปตามมาตรฐาน หรือไม่ หากพบเห็นการกระทำ�ที่ไม่ถูกต้องให้รายงานต่อหนว่ ยงานทีร่ ับผิดชอบ ซง่ึ ถอื เป็นการปกป้องสทิ ธิประโยชน์ของประชาชนและชุมชนโดยสว่ นรวม การเลอื กต้ังคณุ ภาพ โดยพลเมืองคณุ ภาพ คือ การเลอื กตง้ั ท่พี ลเมืองมีส่วนร่วม

17 ตอนท่ี 17 ศนู ยส์ ง่ เสริมพัฒนาประชาธิปไตย (ศส.ปชต.) กับการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ในสงั คมปจั จบุ นั การบกุ รกุ พน้ื ทป่ี า่ การสรา้ งสง่ิ กอ่ สรา้ งในทางน�ำ้ การบกุ รกุ พื้นที่สาธารณะ และนำ�ไปใช้ประโยชน์ส่วนตัวมีให้เห็นเป็นตัวอย่างมากมาย ถึงแม้รัฐจะพยายามใช้มาตรการต่างๆ ในการป้องกันก็ยัง ไม่สามารถหยุด พฤตกิ รรมเหลา่ นไ้ี ด้ อาจเปน็ เพราะมผี เู้ หน็ แกป่ ระโยชนส์ ว่ นตวั หรอื มเี จา้ หนา้ ท่ี ของรฐั เข้าไปมีสว่ นเก่ียวข้องใหก้ ารสนับสนุน หรอื รับผลประโยชน์ ปัญหาต่างๆ เหลา่ น้สี ามารถยตุ ิลงไดห้ ากประชาชนในพื้นทคี่ อยสอดสอ่ ง ดูแล ปกป้องและ หวงแหนผลประโยชนข์ องชาตไิ ว้ ศส.ปชต. จงึ มบี ทบาทภารกจิ ทจ่ี ะประสานงาน กบั เครอื ขา่ ยประชาชนในการเฝา้ ระวงั ตลอดจนอนรุ กั ษ์ คมุ้ ครอง ฟน้ื ฟู บรหิ าร จดั การ และใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ ม ใหเ้ กดิ ประโยชน์ อยา่ งสมดลุ และยง่ั ยนื โดยใหป้ ระชาชนและชมุ ชนในทอ้ งถน่ิ มสี ว่ นรว่ มด�ำ เนนิ การ แแหละลไง่ ดนร้�ำ้ ับสาปธราะรโณยชะนห์จว้ ายกหกานรอดงำ�คเนลนิอกงาบรงึ ดใงั หกอ้ลย่าใู่วนมสาภกาทพสี่ ทดุ ใ่ี ชเป้ชร่นะโกยาชรนดไ์ แูดล้ รกั ษา ร่วมเรยี นรู้รัฐธรรมนญู ใหม่ ร่วมสร้างประชาธิปไตย กา้ วไปกบั กกต. และ ศส.ปชต.

18 ตอนที่ 18 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ พัฒนาประชาธิปไตยตำ�บล (ศส.ปชต.) กบั คณุ ภาพชีวิต การเพิ่มขึ้นของประชากรของประเทศและการขยายตัวทางเศรษฐกิจ มผี ลกระทบกบั คณุ ภาพสง่ิ แวดล้อม สุขภาพอนามยั คณุ ภาพชวี ิต ดงั จะเหน็ กไดา้จราปกลม่อลยภนา�ำ้ วเะสทยี าทงี่เอกาดิ กจาาศกทก่ีเากริดผจลาติ กลกงาสรแู่ ปหลล่อง่ ยนฝำ�้ ุ่นธลระรอมอชงาขตอิ กงภาราคส่งอเุตสสียางหดกงั ขรรอมง เครื่องจักร และอื่นๆ อีกมากมาย ล้วนเป็นผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของ ประชาชน รฐั มีหนว่ ยงานทีร่ ับผิดชอบคอยกำ�กับดูแล และกำ�หนดมาตรการ ตา่ งๆ แตก่ ไ็ มส่ ามารถด�ำ เนนิ การไดท้ ว่ั ถงึ ศส.ปชต. จงึ มบี ทบาทภารกจิ ในการ สร้างสังคมประชาธิปไตย เพื่อสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน ดังนั้น การดำ�เนินงานร่วมกันกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเป็นอาสาสมัครภาคประชาชน ในการสอดส่อง ดูแล และตรวจสอบ ป้องกันไม่ให้เกิดการสร้างมลภาวะต่อ สิง่ แวดล้อม หากประชาชนในหมู่บ้าน ชุมชน มีจิตสำ�นึก ในการปกปอ้ งสทิ ธิ ประโยชนข์ องสังคม ถอื วา่ ไดป้ ฏบิ ตั หิ น้าท่ขี องพลเมอื งทด่ี ี และสร้างความสขุ ให้เกดิ แก่หมู่บ้าน และชุมชน ของตนเองอยา่ งแทจ้ รงิ การเลอื กตัง้ คณุ ภาพ โดยพลเมอื งคณุ ภาพ คอื การเลอื กตง้ั ทพี่ ลเมอื งมสี ว่ นรว่ ม

19 ตอนที่ 19 ศนู ย์ส่งเสรมิ พฒั นาประชาธปิ ไตยต�ำ บล (ศส.ปชต.) กับการปอ้ งกนั การทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ การทุจริตและประพฤติมิชอบทั้งในภาครัฐและเอกชน เป็นปัญหา ที่อยู่คู่กับสังคมไทยมายาวนาน และแทรกอยู่ในทุกบริบทของสังคมไทย ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การศึกษา และอื่นๆ ปัญหาสำ�คัญคือ สังคมโดยส่วนใหญ่ไม่ตระหนักถึงอันตรายที่เกิดจากการทุจริต และเห็นว่า เป็นเรื่องปกติที่ทุกคนที่มีโอกาสก็จะกระทำ�การทุจริต หรือมองว่าเป็นเรื่อง ของคนอื่นไม่เกี่ยวข้องด้วย นับว่าเป็นเรื่องที่น่ากลัวอย่างยิ่ง หากปล่อยให้ มีการทุจริตที่มีแนวโน้มว่าจะสูงขึ้นเข้าสู่ขั้นวิกฤตซึ่งจะส่งผลต่อการพัฒนา ประเทศในอนาคตล้มเหลวอย่างสิ้นเชิง ถึงแม้ว่ารัฐบาลจะพยายามอย่าง เตม็ ที่ ใช้มาตรการทเี่ ขม้ งวด แต่ปัญหาการทุจริตกไ็ มไ่ ด้ลดน้อยลง ศส.ปชต. จึงมบี ทบาทสำ�คญั ในการสร้างสังคมประชาธิปไตย ซึง่ รวมถงึ การปลูกฝงั ค่านิยมและการปลูกจิตสำ�นึกในการไม่ทุจริต โดยการยึดหลักเศรษฐกิจ พอเพียงและสร้างจิตสำ�นึกสาธารณะ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่า ประโยชน์ส่วนตน รวมทั้งส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการต่อต้าน หรือชี้เบาะแสให้หน่วยงานที่รับผิดชอบ เพื่อสร้างสังคมประชาธิปไตย ให้คงอยู่ตลอดไป ร่วมเรยี นร้รู ัฐธรรมนญู ใหม่ รว่ มสรา้ งประชาธปิ ไตย กา้ วไปกบั กกต. และ ศส.ปชต.

20 ตอนที่ 20 ศนู ยส์ ง่ เสริมพฒั นาประชาธปิ ไตย (ศส.ปชต.) กบั การประสานงานเครือขา่ ย ศส.ปชต. เป็นศูนย์กลางการปฏิบัติงานและประสานงานเครือข่าย ท้งั ภาคประชาสังคม ภาครัฐ และภาคเอกชน ในภารกิจดา้ นการสร้างสังคม ประชาธิปไตย ท่ตี อ้ งมีความรว่ มมอื สนบั สนุนจากทกุ ฝา่ ย ล�ำ พัง ศส.ปชต.เอง ไมส่ ามารถดำ�เนินการด้วยตนเองได้ทั้งหมด การประสานงานเครือข่ายจึงเป็น ภารกิจที่สำ�คัญ อันได้แก่ สมาชิกที่ผ่านการอบรมหลักสูตรพลเมืองดี วถิ ปี ระชาธปิ ไตย และประชาชนผสู้ นใจ กรรมการหมบู่ า้ น อาสาสมคั รกลมุ่ ตา่ งๆ ในชุมชน ดเี จประชาธปิ ไตย พระ สถาบนั ทางการศกึ ษาทกุ ระดับ รด.จติ อาสา ลูกเสืออาสา กกต. ซึ่งเครือข่ายเหล่านี้ได้รับการอบรมหลักสูตรพลเมืองดี ใวนิถทีปุกระรูปชาแธบิปบไตยเชม่นาแลก้วารแดลูแะลมรักีจษิตสาสาธื่อาสราณธาะรณพะรป้อมระทโี่จยะชรน่ว์ มดถนำ�เนนินแกหิจกล่รงนรม้ำ� ห้วย หนอง คลอง บงึ การกำ�จดั วัชพืช ผักตบชวา การกำ�จัดยุงลาย เป็นต้น เพื่อนำ�ไปสู่การเป็นหมู่บ้าน หรือชมุ ชนประชาธปิ ไตยทยี่ ง่ั ยนื การเลอื กต้ังคุณภาพ โดยพลเมืองคุณภาพ คอื การเลอื กตั้งทพ่ี ลเมืองมีส่วนรว่ ม

21 ตอนท่ี 21 ศนู ยส์ ง่ เสริมพฒั นาประชาธิปไตย (ศส.ปชต.) กับการศึกษา การศกึ ษามงุ่ พฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ คนดี มวี นิ ยั ภมู ใิ จในชาติ มคี วามสามารถ เชี่ยวชาญได้ตามความถนัดของตนและมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ศส.ปชต.มีบทบาทสำ�คัญ ในการส่งเสริม และสนับสนุนให้การจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยการประสานงานกับ หนว่ ยงานด้านการศกึ ษาในพนื้ ที่ทัง้ ในระบบและนอกระบบ รวมท้ังสง่ เสริมให้ มีการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ประสานองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ และภาคเอกชน กระตุ้นให้ประชาชนเห็นความสำ�คัญของการศึกษา เข้าไปมีส่วนร่วมในการสรา้ ง หลกั สตู รการเรยี นรู้ และจดั หาผมู้ คี วามรใู้ นการถา่ ยทอดภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ใหก้ ับ นกั เรยี นในสถานศกึ ษา รว่ มเปน็ คณะกรรมการสถานศกึ ษา รวมทง้ั การระดมทรพั ยากร ในพื้นที่ให้การสนับสนุน เช่น การจัดตั้งกองทุนเพื่อการศึกษา จัดหาวัสดุ อปุ กรณ์ทางการศึกษา ชว่ ยเหลอื ผ้ดู ้อยโอกาส และเพ่อื เสรมิ สรา้ งและพฒั นา คณุ ภาพทางการศึกษา ร่วมเรียนร้รู ฐั ธรรมนญู ใหม่ รว่ มสร้างประชาธปิ ไตย ก้าวไปกบั กกต. และ ศส.ปชต.

22 ตอนท่ี 22 ศนู ยส์ ง่ เสรมิ พัฒนาประชาธปิ ไตย (ศส.ปชต.) กับการบรกิ ารสาธารณสขุ รฐั ตอ้ งด�ำ เนนิ การใหป้ ระชาชนไดร้ บั บรกิ ารสาธารณสขุ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ อยา่ งทว่ั ถงึ เสรมิ สรา้ งใหป้ ระชาชนมคี วามรพู้ น้ื ฐานเกย่ี วกบั การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ และการป้องกันโรค และส่งเสริม สนับสนุนให้มีการพัฒนาภูมิปัญญาด้าน แพทย์แผนไทยใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สุด ล�ำ พงั หน่วยงานด้านสาธารณสุขคงไม่ สามารถดแู ลไดท้ ว่ั ถงึ ถงึ แมจ้ ะมี อสม. ทก่ี ระจายอยทู่ กุ ต�ำ บล หมบู่ า้ น ท�ำ หนา้ ท่ี เปน็ ผชู้ ว่ ยเหลอื เจ้าหน้าทก่ี ต็ าม ศส.ปชต.จึงเป็นศนู ย์กลางการปฏบิ ตั ิเพอ่ื สงั คม ประชาธปิ ไตย เปน็ องคก์ รทอ่ี ยใู่ กลช้ ดิ กบั ประชาชน มสี มาชกิ อยทู่ กุ หมบู่ า้ น สามารถสนบั สนุ นการทำ�งานของหน่วยงาน ตลอดจนเฝ้าระวัง ควบคุม และป้องกันโรคโดยประสานงานกับหน่วยงานที่รับผิดชอบองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นให้การสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ที่จำ�เป็น ส่งเสริมสุขภาพอนามัยแก่ เยาวชน นกั เรยี น ในสถานศึกษา พัฒนาภมู ิปัญญาดา้ นแพทย์แผนไทยในพนื้ ที่ การเลือกตง้ั คุณภาพ โดยพลเมืองคณุ ภาพ คือ การเลอื กต้ังทีพ่ ลเมอื งมีส่วนรว่ ม

23 ตอนที่ 23 ศูนย์ส่งเสรมิ พฒั นาประชาธปิ ไตย (ศส.ปชต.) กับศาสนา บคุ คลยอ่ มมสี ทิ ธเิ สรภี าพบรบิ รู ณใ์ นการถอื ศาสนา และยอ่ มมเี สรภี าพ ในการปฏบิ ตั ิหรอื ประกอบพธิ กี รรมตามหลกั ศาสนาของตน แตต่ อ้ งไม่เปน็ ปฏปิ กั ษต์ อ่ หนา้ ทข่ี องปวงชนชาวไทย ไมเ่ ปน็ อนั ตรายตอ่ ความปลอดภยั ของรฐั และไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ศส.ปชต. เปน็ ศนู ยก์ ลางการปฏบิ ตั เิ พอ่ื สงั คมประชาธปิ ไตย เปน็ องคก์ รทอ่ี ยใู่ กลช้ ดิ ประชาชน มบี ทบาทส�ำ คญั ในการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ศาสนสถาน การด�ำ เนนิ กจิ กรรม ทางศาสนาทส่ี อดคลอ้ งกบั สงั คมโดยสว่ นรวม รว่ มรณรงคป์ ลกู ฝงั ใหเ้ ยาวชน ประชาชน ไดเ้ รยี นรหู้ ลกั การทส่ี �ำ คญั ทางศาสนา เพอ่ื ด�ำ เนนิ ชวี ติ ตามหลกั การนน้ั จดั พธิ กี รรมทางศาสนา ตามโอกาสตา่ งๆ ทศ่ี าสนาบญั ญตั ิ โดยเนน้ การมสี ว่ นรว่ ม ของประชาชนเพอ่ื ความสงบสขุ ของสงั คม ร่วมเรยี นรู้รัฐธรรมนญู ใหม่ ร่วมสร้างประชาธปิ ไตย ก้าวไปกับ กกต. และ ศส.ปชต.

24 ตอนที่ 24 ศูนย์สง่ เสริมพฒั นาประชาธปิ ไตย (ศส.ปชต.) กบั เยาวชน เปา้ หมายทแ่ี ทจ้ รงิ ของการปกครองประเทศคอื ความสงบสขุ ของประชาชน บนพน้ื ฐานของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย การพฒั นาประเทศ จากรนุ่ สรู่ นุ่ เรามกั กลา่ วกนั เสมอวา่ เยาวชนเปน็ ก�ำ ลงั ส�ำ คญั ของประเทศในอนาคต ดงั นน้ั เยาวชน จงึ มคี วามส�ำ คญั ทท่ี กุ ฝา่ ยจะตอ้ งรว่ มมอื กนั ปลกู ฝงั สง่ิ ดงี ามใหก้ บั เยาวชน รวมถงึ การเฝา้ ระวงั มใิ หเ้ ยาวชนเหลา่ นน้ั ไดเ้ รยี นรแู้ ละมพี ฤตกิ รรมทผ่ี ดิ พลาด ศส.ปชต. เปน็ ศนู ยก์ ลางการปฏบิ ตั เิ พอ่ื สงั คมประชาธปิ ไตย จงึ มแี นวทางในการสรา้ งกจิ กรรม การเรยี นรใู้ หแ้ กเ่ ยาวชน ไดต้ ระหนกั ถงึ ความส�ำ คญั ของหลกั การประชาธปิ ไตย ในเรอ่ื ง อำ�นาจอธิปไตยเป็นของประชาชนสิทธิ เสรีภาพ ความเสมอภาค ภราดรภาพ เคารพในเหตุผล การปฏิบัติตามกฎหมาย ผ่านกระบวนการ เชน่ จัดค่าย เยาวชนประชาธปิ ไตย คา่ ยเยาวชนอาสาพฒั นาทอ้ งถน่ิ การแขง่ ขนั กฬี าส�ำ หรบั เยาวชน โดยการสนบั สนนุ จากองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ หรอื ภาคเอกชนเพอ่ื ปลกู ฝงั ให้ เยาวชนเปน็ พลเมอื งทด่ี ขี องสงั คมประชาธปิ ไตย การเลือกตงั้ คณุ ภาพ โดยพลเมืองคณุ ภาพ คือ การเลอื กตั้งที่พลเมืองมสี ่วนรว่ ม

25 ตอนที่ 25 ศูนย์ส่งเสรมิ พฒั นาประชาธิปไตยต�ำ บล (ศส.ปชต.) กับการสง่ เสรมิ อาชีพ ในสังคมปัจจุบันการเพิ่มขึ้นของประชากรและการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกจิ ทำ�ใหป้ ระชาชนประกอบอาชพี กันหลากหลายมากข้ึน ทั้งดา้ น การเกษตร อตุ สาหกรรม รวมถงึ การใชแ้ รงงาน ศส.ปชต. เปน็ ศนู ยก์ ลางการปฏบิ ตั ิ เพอ่ื สร้างสังคมประชาธิปไตย มีบทบาทในการสง่ เสริม สนบั สนนุ การประกอบ อาชีพของประชาชนในพน้ื ที่ รวมทงั้ การอนรุ ักษ์ ฟน้ื ฟู พฒั นาอาชีพด้ังเดิม ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถแขง่ ขนั ในตลาดได้ โดยยดึ หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง เพื่อให้เกิดความเป็นธรรม ยั่งยืนและสามารถพึ่งพาตนเองได้ เช่น การสง่ เสรมิ ใเกช้ตษ้นตทรกนุ รตใำ่�นกผาลรผใลชติ้ปมุย๋ คีเกณุ ษภตารพอนิสงูทแรขียง่์ ขแนัทกนบักตารลใาชด้ยไาดฆ้ ่าปแกมปลอ้ งงเสพทิ อ่ื ธคปิ วราะมโปยลชอนดข์ ภอยัง ผใู้ ชแ้ รงงาน ให้ได้รับความปลอดภัยและมีสุขอนามัยที่ดีในการทำ�งาน ฟื้นฟู งานศิลปะหัตกรรมพื้นบ้านเพ่ืออนุรักษ์และสืบสานอาชีพท่ีเป็นเอกลักษณ์ ของพน้ื บ้าน เชน่ งานจักสาน งานแกะสลกั เปน็ ต้น ร่วมเรียนร้รู ัฐธรรมนญู ใหม่ รว่ มสร้างประชาธิปไตย ก้าวไปกับ กกต. และ ศส.ปชต.

26 ตอ่ นที่ 26 ศนู ย์สง่ เสรมิ พัฒนาประชาธปิ ไตย (ศส.ปชต.) กบั การพัฒนาชมุ ชน สงั คมประชาธปิ ไตย คอื กระบวนการทย่ี ดึ ชมุ ชนเปน็ ศนู ยก์ ลาง เปดิ โอกาส ใหป้ ระชาชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มมากทส่ี ดุ ครอบคลมุ ทกุ กลมุ่ อาชพี เพศ วยั มารว่ มกนั กำ�หนดแนวทางการพัฒนาชุมชนในทุกด้านที่ตอบสนองกับความต้องการของ ชมุ ชนที่มีความเป็นธรรม ประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐ ติดตามและตรวจ สอบการทำ�งานของภาครัฐ เพื่อปกป้องสิทธิประโยชน์ของชุมชน ศส.ปชต. เป็นศูนย์กลางการปฏิบัติเพื่อสังคมประชาธิปไตย โดยสร้างกิจกรรมการเรียนรู้ เรอ่ื งประชาธปิ ไตย สรา้ งจติ ส�ำ นกึ ความเปน็ พลเมอื ง คอื มคี วามรใู้ นสทิ ธิ หนา้ ท่ี ของตนเอง มีความรับผิดชอบต่อสังคม โดยเห็นประโยชน์ส่วนรวมมากกว่า ประโยชน์ส่วนตน เมื่อประชาชนมีจิตสำ�นึกพลเมืองจะนำ�มาสู่การรวมตัวกนั เพอ่ื ด�ำ เนนิ กจิ กรรมทน่ี �ำ ไปสกู่ ารพฒั นาชมุ ชน เพอ่ื ใหม้ คี ณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ขี น้ึ และ เปน็ สงั คมประชาธปิ ไตยนน่ั เอง การเลือกต้ังคณุ ภาพ โดยพลเมืองคุณภาพ คอื การเลือกต้งั ท่ีพลเมืองมสี ่วนรว่ ม

27 ตอนท่ี 27 ศนู ย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธปิ ไตย (ศส.ปชต.) เปน็ ของประชาชน ศส.ปชต. เปน็ ศนู ยก์ ลางการปฏบิ ตั ิ สรา้ งสงั คมประชาธปิ ไตย เปน็ การรวมตวั ของประชาชนพลเมอื ง ทกุ หมบู่ า้ นในต�ำ บลทม่ี อี ดุ มการณเ์ ปน็ นกั ประชาธปิ ไตย มคี วามรู้เร่อื งสิทธิ เสรีภาพ ของประชาชนตามรฐั ธรรมนญู รู้บทบาทภารกจิ ในการเสรมิ สรา้ งความรปู้ ระชาธปิ ไตยแกท่ กุ คน พลงั มวลชนและประชาชนกลมุ่ ตา่ งๆ ท�ำ ใหป้ ระชาชนเกดิ จติ ส�ำ นกึ และมพี ฤตกิ รรมเปน็ พลเมอื ง สรา้ งและขยายเครอื ขา่ ย พลเมอื งดวี ถิ ปี ระชาธปิ ไตย สง่ เสรมิ และพฒั นาหมบู่ า้ น ชมุ ชน ประชาธปิ ไตย สง่ เสรมิ สนบั สนนุ กจิ กรรมประชาธปิ ไตยในต�ำ บล และมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการ เลอื กตง้ั เปน็ แบบอยา่ งของนกั ประชาธปิ ไตย เชน่ เคารพกฎหมาย มวี นิ ยั และ ความรบั ผดิ ชอบ เคารพความแตกตา่ งและใชเ้ หตผุ ล เขา้ มามสี ว่ นร่วมกิจกรรม ของส่วนรวม และตรวจสอบอำ�นาจรัฐ ดังนั้น ศส.ปชต. คือ ศูนย์ฯ ท่ีจดั ตง้ั โดยประชาชน เพือ่ ประชาชนและเป็นของประชาชนอยา่ งแทจ้ รงิ ร่วมเรยี นรู้รัฐธรรมนญู ใหม่ ร่วมสร้างประชาธิปไตย กา้ วไปกับ กกต. และ ศส.ปชต.

28 ตอนที่ 28 ศนู ย์สง่ เสริมประชาธปิ ไตย (ศส.ปชต.) กบั วถิ ปี ระชาธิปไตย ศส.ปชต. เป็นศูนยก์ ลางการปฏบิ ตั สิ ร้างสังคมประชาธิปไตย มีหนา้ ท่ี สง่ เสรมิ พลเมอื งใหม้ กี จิ กรรมประชาธปิ ไตยในชมุ ชนหมบู่ า้ นต�ำ บลมวี ถิ ชี วี ติ แบบ ประชาธิปไตย เชน่ ถ้าชมุ ชนมีปญั หาในเรือ่ งใดควรมกี ารระดมความคดิ เห็น จากสมาชกิ เสนอแนวทางแก้ไขท่มี าจากการเห็นพอ้ งต้องกัน ยึดหลักเหตผุ ล โดยยอมรบั เสยี งสว่ นใหญแ่ ละรบั ฟงั เสยี งขา้ งนอ้ ย เมอ่ื ไดก้ ฎกตกิ ารว่ มกนั ทุกคน ตอ้ งยดึ ถือปฏิบัติ โดยไม่มีการฝ่าฝืน หรอื หลีกเลี่ยง ถ้าเห็นว่าเมือ่ ปฏบิ ัตแิ ล้ว กฎกติกาไม่เหมาะสมก็ต้องนำ�เข้ามาพิจารณาในที่ประชุมของสมาชิก เพื่อปรับปรุงแก้ไข การส่งเสริมกิจกรรมวิถีประชาธิปไตย จะทำ�ให้คนในสังคม รจู้ ักบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ สิทธิ เสรีภาพ ในฐานะพลเมืองดีและ ปฏิบตั ติ นตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย สามารถอยู่ร่วมกนั ไดอ้ ยา่ งสนั ตสิ ุข หมูบ่ ้าน ต�ำ บล กพ็ ฒั นาไดเ้ ตม็ ที่ สงั คมมคี วามเปน็ ธรรม ประชาชนมีความสุข อนั เป็น เปา้ หมายสงู สดุ ของสังคมประชาธปิ ไตย การเลือกตัง้ คุณภาพ โดยพลเมืองคณุ ภาพ คอื การเลือกต้ังที่พลเมอื งมีส่วนรว่ ม

29 ตอนท่ี 29 ศูนยส์ ง่ เสริมพัฒนาประชาธปิ ไตย (ศส.ปชต.) การมสี ว่ นร่วมในกระบวนการเลอื กตัง้ การซ้ือสิทธิขายเสยี ง ยังเปน็ ปัญหาส�ำ คัญทอ่ี ยู่กบั การเลอื กต้งั ทกุ ระดบั ของประเทศไทย ท�ำ ให้ตวั แทนท่เี ลอื กเขา้ ไปไม่ได้รับการยอมรับว่าเป็นตวั แทน ของประชาชน อย่างแท้จริง หลักการสำ�คัญของการปกครองระบอบประชาธิปไตย คือ อำ�นาจ อธิปไตยเป็นของประชาชน การเลือกตั้ง คือกระบวนการเลือกตัวแทนของ ประชาชนไปใช้อำ�นาจนั้น ดังนั้น ศส.ปชต.จึงมีบทบาทสำ�คัญ ที่จะท�ำ ให้ การเลือกตั้งทุกระดับในพื้นที่เป็นของประชาชน โดยประชาชนและเพื่อ ประชาชน การเขา้ รว่ มกระบวนการเลือกต้งั สามารถท�ำ ได้ตัง้ แต่การประกาศ ใหม้ ีการเลือกตงั้ การรบั สมัคร การให้ความรูก้ ับผ้มู สี ิทธิเลือกตั้ง การรณรงค์ ให้ออกมาใช้สิทธิ การคัดเลือกกรรมการประจำ�หน่วยเลือกตั้ง การติดตาม การหาเสียงของผสู้ มคั รในวนั เลอื กตง้ั การปอ้ งกนั มใิ หม้ กี ารฝ่าฝืนกฎหมายเลอื กตง้ั ในวนั เลือกต้ัง สงั เกตการณก์ ารลงคะแนน การนบั คะแนนและการประกาศผล การเลือกตั้งหลังจากวันเลือกตั้งติดตามการทำ�งานของผู้แทนที่ได้รับเลือกต้ัง สนับสนุน หรอื คดั ค้านกรณีทีเ่ ห็นว่าไมถ่ ูกตอ้ ง ร่วมเรยี นรู้รฐั ธรรมนญู ใหม่ ร่วมสรา้ งประชาธปิ ไตย ก้าวไปกบั กกต. และ ศส.ปชต.

30 ตอนท่ี 30 ศนู ย์ส่งเสริมพฒั นาประชาธปิ ไตยต�ำ บล (ศส.ปชต.) กบั การสนบั สนุนการเลือกตงั้ ศส.ปชต. เปน็ ศนู ยก์ ลางการปฏบิ ตั สิ รา้ งสงั คมประชาธปิ ไตย มภี ารกจิ ในการสนับสนุนการเลือกตั้งด้วยตนเองและให้เครือข่ายเข้าร่วมปฏิบัติงาน ไดด้ ว้ ย เชน่ การใหค้ วามรกู้ บั ผมู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตง้ั ในขน้ั ตอนการใชส้ ทิ ธทิ ถ่ี กู ตอ้ ง เช่นการตรวจสอบรายชื่อ การกาบัตร การรณรงค์ให้ออกมาใช้สิทธิเลือกตั้ง เป็นพลเมืองอาสารณรงค์การเลือกตั้งสุจริตต่อต้านการซื้อสิทธิขายเสียง การเปน็ เครอื ขา่ ยแจง้ ขา่ ว เปน็ อาสาสมคั รตาสบั ปะรด สอดสอ่ ง ดแู ล เฝา้ ระวงั มใิ หเ้ กดิ การทจุ รติ เลอื กตง้ั ถา้ พบเหน็ แจง้ กกต. การเปน็ ดเี จประชาธปิ ไตย ประชาสัมพันธ์การเลือกตั้ง การร่วมเป็นกรรมการประจำ�หน่วยเลือกตั้ง เปน็ อาสาสมคั รตรวจสอบการเลอื กตง้ั หรอื เปน็ ผชู้ ว่ ยเหลอื อ�ำ นวยความสะดวก แก่ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง เช่น พลเมืองอาสาพัฒนาประชาธิปไตย ลูกเสืออาสา กกต. และ รด.จติ อาสา ช่วยเหลืออำ�นวยความสะดวกแก่ผ้มู าใช้สทิ ธเิ ปน็ ต้น เพื่อให้การเลือกตั้งมีความสุจริตและเที่ยงธรรม ไม่มีการซื้อสิทธิ์ขายเสียง ไดผ้ แู้ ทนทม่ี คี ณุ ภาพ เปน็ ทย่ี อมรบั วา่ เปน็ ผแู้ ทนทแ่ี ทจ้ รงิ ดงั ค�ำ ทว่ี า่ การเลอื กตง้ั คณุ ภาพ โดยพลเมอื งคุณภาพ การเลือกต้ังคณุ ภาพ โดยพลเมอื งคณุ ภาพ คอื การเลอื กต้ังที่พลเมืองมีสว่ นร่วม




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook