Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 13 ตุลาคม วันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

13 ตุลาคม วันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

Published by นอหนู จันทร์นาค, 2021-10-07 07:52:26

Description: 13 ตุลาคม วันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

Search

Read the Text Version

พระราชสมภพ ลายพระหัตถ์ทรงลงพระปรมาภิไธยในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2475 แก้ไขเพ่ิมเติม พุทธศักราช 2495 ทรงลงพระปรมาภิไธยของพระองคเ์ องไว้ว่า \"สมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช สยามินทราธริ าช บรมนาถบพติ ร\" พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชสมภพในราชสกุลมหิดลอันเป็นสายหนึ่งใน ราชวงศ์จกั รี ณ โรงพยาบาลเมาต์ออเบิร์น เมอื งเคมบริดจ์ รฐั แมสซาชูเซตส์ สหรฐั อนั เป็นที่ซ่ึงพระบรมราชชนกและพระบรมราช ชนนีกาลังทรงศึกษาวิชาการอยู่ เมื่อวนั จันทร์ เดือนอ้าย ขึ้น 12 ค่า ปีเถาะ นพศก จุลศักราช 1289 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 พระบาทสมเดจ็ พระมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร เป็นพระโอรสองค์ที่สามในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ในกาลต่อมา) และหม่อมสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา (สกุลเดิม ตะละภัฎ, สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในกาลต่อมา) มีพระนามเมื่อแรกประสูติอันปรากฏในสูติ บัตรว่า \"เบบี สงขลา\" (อังกฤษ: Baby Songkla)[14] ต่อมาคือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภูมิพลอดุลเดช เมื่อได้รับพระราชทาน นาม มีพระเชษฐภคินีและสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช 2 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวง นราธิวาสราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ซ่ึงสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงออก พระนามเรียกพระองค์เป็นการลาลองว่า \"เล็ก\" จดั ทาโดย ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอแกง่ กระจาน จังหวดั เพชรบรุ ี

พระราชสมภพ(ตอ่ ) พระนามภูมิพลอดลุ เดชนั้นพระบรมราชชนนีได้รบั พระราชทานทางโทรเลขจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ วนั ที่ 14 ธนั วาคม พ.ศ. 2470 โดยทรงกากับตัวสะกดเป็นอักษรโรมันว่า \"Bhumibala Aduladeja\" ทาให้สมเด็จพระศรีนครินทราบ รมราชชนนีทรงเข้าพระทัยว่าได้รับพระราชทานนามพระโอรสว่า \"ภูมิบาล\" ในระยะแรกพระนามของพระองค์สะกดเป็นภาษาไทย ว่า \"ภมู ิพลอดุลเดช\" ต่อมา พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเองทรงเขียนว่า \"ภูมิพลอดุลยเดช\" โดยทรงเขียนทั้ง สองแบบสลบั กนั ไป จนมาทรงนิยมใช้แบบหลังซึง่ มีตัว \"ย\" สะกด พระนามของพระองคม์ ีความหมายว่า ภูมพิ ล - ภูมิ หมายความว่า \"แผ่นดิน\" และ พล หมายความว่า \"พลัง\" รวมกันแล้วหมายถึง \"พลงั แห่งแผน่ ดิน\" อดลุ ยเดช - อดุลย หมายความว่า \"ไม่อาจเทียบได้\" และ เดช หมายความว่า \"อานาจ\" รวมกันแล้วหมายถึง \"อานาจที่ไม่ อาจเทยี บได้\" เมอ่ื พ.ศ. 2471 ได้เสดจ็ กลับสู่ประเทศไทยพร้อมพระบรมราชชนก ซึ่งทรงสาเร็จการศึกษาปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ และสมเด็จพระ เชษฐาธิราช โดยประทับ ณ วังสระปทุม ต่อมาวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2472 สมเด็จพระบรมราชชนกสวรรคต ขณะที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชมีพระชนมายไุ มถ่ ึงสองพรรษา จดั ทาโดย ห้องสมุดประชาชนอาเภอแกง่ กระจาน จงั หวดั เพชรบรุ ี

การศึกษา พ.ศ. 2475 เมื่อเจริญพระชนมายุได้ 4 พรรษา เสด็จเข้าศึกษาที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัยจนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2476 จึงเสดจ็ พระราชดาเนินไปประทบั ณ เมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมด้วยพระบรมราชชนนีพระเชษฐภคินีและ สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเพ่ือการศึกษาและพระพลานามัยของสมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช จากนั้นทรงเข้าศึกษาต่อช้ัน ประถมศึกษา ณ โรงเรียนเมยี ร์มองต์ เมอื งโลซาน ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2477 ทรงศึกษาวิชาภาษาฝร่ังเศส ภาษาเยอรมัน และ ภาษาอังกฤษ แล้วทรงเข้าชั้นมัธยมศึกษา ณ เอกอลนูแวลเดอลาซุอิสรอม็องด์ (École Nouvelle de la Suisse Romande) เมืองชา ย-ี ซรู -์ โลซาน (Chailly-sur-Lausanne) เม่อื พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอานันทมหิดล สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จักรี พระองค์ก็ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็น \"สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลเดช\" เมอ่ื วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2478 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2481 พระองค์ได้โดยเสด็จฯ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จ นิวัตประเทศไทยเป็นเวลา 2 เดือน โดยประทับท่ีพระตาหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต จากน้ันเสด็จกลับไปศึกษาต่อท่ี สวิตเซอร์แลนด์จนถึง พ.ศ. 2488 ทรงรับประกาศนียบัตรทางอักษรศาสตร์จากโรงเรียนฌีมนาซกลาซิกก็องตอนาลเดอโลซาน (Gymnase Classique Cantonal de Lausanne) แล้วทรงเข้าศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยโลซาน แผนกวิทยาศาสตร์ โดยเสด็จนิวัต ประเทศไทยเปน็ คร้ังทีส่ อง ประทับ ณ พระทีน่ ง่ั บรมพมิ าน ในพระบรมมหาราชวงั จัดทาโดย ห้องสมุดประชาชนอาเภอแกง่ กระจาน จงั หวดั เพชรบรุ ี

พระบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร ทรงขึ้นครองราชสมบัติสืบราชสันตติวงศ์เมื่อ วันที่ 9 มิถุนายน 2489 แล้วได้ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ตามแบบอย่างโบราณราชประเพณี 2 วัน คือวันที่ 4 พฤษภาคม 2493 เปน็ วันจดุ เทยี นชัย กบั วนั ที่ 5 พฤษภาคม 2493 ในวันท่ี 5 พฤษภาคม อันเป็นวันประกอบพระราชพิธีบรม ราชาภิเษก หลงั การทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชกกุธภัณฑ์ต่างๆ แล้ว พระ ราชครูวามเทพมุนีถวายพระพรชัยด้วยภาษามคธ พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวมีพระบรมราชโองการตอบ พระราชอารักขาแด่ประชาชนชาว ไทย ด้วยภาษาไทยว่า “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพ่ือประโยชน์สุข แห่งมหาชนชาวสยาม” จดั ทาโดย ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอแกง่ กระจาน จงั หวดั เพชรบรุ ี

ผนวช พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเสด็จฯ ออกผนวชเป็นเวลา 15 วัน ระหว่างวันที่ 22 ตุลาคม–5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2499 ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม โดยมีสมเด็จพระวชิรญาณวงศ์ สมเด็จพระสังฆราช เป็นพระอุปัชฌาย์ ทรงได้รับฉายาว่า ภูมิพโลภิกขุ หลังจากน้ัน พระองค์เสด็จฯ ไปประทับจาพรรษา ณ พระตาหนักป้ันหยา วัดบวรนิเวศ วิหาร ระหว่างที่ผนวชนั้น พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี เป็นผู้สาเร็จราชการแทน พระองค์ ด้วยเหตุนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงได้โปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระนามาภิไธยเป็นสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชนิ ีนาถ ในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธนั วาคม ปเี ดียวกัน ระหว่างที่ทรงดารงสมณเพศ พระภิกษุพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงปฏิบัติพระราชกิจ เช่นเดียวกับพระภิกษุท้ังหลายอยา่ งเคร่งครัด เช่น เสด็จลงพระอุโบสถทรงทาวัตรเช้า–เย็น ตลอดจนทรงสดับพระธรรมและพระ วินัยนอกจากนีย้ ังได้เสดจ็ พระราชดาเนินไปทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจพิเศษอื่น ๆ เช่นในวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2499 ได้เสด็จ พระราชดาเนินไปยังวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ทรงร่วมสงั ฆกรรมในพิธีผนวชและอุปสมบทนาคหลวงในพระบรมราชินูปถัมภ์ ใน วนั ทีว่ ันที่ 28 ตลุ าคม พ.ศ. 2499 เสดจ็ ฯ ไปทรงรับบิณฑบาต จากพระบรมวงศานุวงศ์และข้าทูลละอองธุลีพระบาท ณ พระที่นั่ง อัมพรสถาน ในโอกาสนี้พระบาทสมเด็จพระ วชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว คร้ังยังเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ ได้เข้า เฝ้าทลู ละอองธลุ ีพระบาทด้วย จัดทาโดย ห้องสมุดประชาชนอาเภอแกง่ กระจาน จงั หวดั เพชรบรุ ี

พระราชกรณียกิจ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่เปี่ยมด้วยพระอัจฉริยภาพและ ความสามารถ พระองค์ทรงอุทิศพระวรกายในการประกอบพระราชกรณียกิจ ตลอด 70 ปีที่ทรงครองราชสมบัติ ซ่ึงพระราช กรณียกิจที่โดดเด่นของพระองค์ มดี งั ต่อไปนี้ 9 พระราชกรณียกิจอันโดดเด่น ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รชั กาลที่ 9 1. โครงการแกล้งดิน ... 2. โครงการปลูกหญ้าแฝก ... 3. โครงการหน่วยแพทย์พระราชทาน ... 4. โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน ... 5. ทุนมลู นิธอิ านนั ทมหิดล ... 6. แนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียง : เกษตรทฤษฎีใหม่ ... 7. โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ... 8. โครงการฝนหลวง 9. กงั หนั น้าชัยพัฒนา จัดทาโดย ห้องสมุดประชาชนอาเภอแกง่ กระจาน จังหวดั เพชรบรุ ี

ขอขอบพระคุณขอ้ มลู จาก สถาบนั เทคโนโลยีจติ รลดา วิกพิ เี ดีย สารานกุ รมเสรี https://www.wice.co.th/2017/10/16/9 https://www.silpa-mag.com/this-day-in-history/article_1018 จดั ทาโดย ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอแกง่ กระจาน จงั หวดั เพชรบรุ ี