Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้หน่วยที่1

ใบความรู้หน่วยที่1

Published by nomkaow59, 2018-05-01 03:24:42

Description: ใบความรู้หน่วยที่1

Search

Read the Text Version

วชิ า เขยี นแบบเบอื้ งต้น ใบเน้ือหา 1/13หน่วยการเรียนที่ 1 เคร่ืองมือและอปุ กรณ์ ในการเขียนแบบ1. เครื่องมอื และอปุ กรณ์ทใ่ี ช้ในการเขยี นแบบ การปฏิบตั ิการเขียนแบบ ที่จะไดแ้ บบงานท่ีถูกตอ้ งและเป็ นมาตรฐาน จะตอ้ งอาศยั ทกั ษะของ ผปู้ ฏบตั ิการเขียนแบบรวมท้งั เครื่องมือและอุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการเจียนแบบมีความสาคญั มากและได้ คุณภาพงานท่ีเป็นมาตรฐานเคร่ืองมือและอุปกรณ์ท่ีใช้ในการเขียนแบบมีดงั น้ี1.1 โต๊ะเขียนแบบ (DRAWING TABLE) โตะ๊ เขียนแบบโดยทวั่ ๆ ไปจะมีขนาดมาตรฐานจาก 600 X 900 มม.ถึง 1,050 X 2100 มม. คุณลกั ษณะที่ ดีของโตะ๊ เขียนแบบ คือ 1. สามารถควบคุมการปรับเอียงของโตะ๊ ได้ 1 ดา้ น 2. สามารถควบคุมการปรับความสูงไดด้ ว้ ยมือหรือเทา้ 3. สามารถปรับตาแหน่งกระดานใหอ้ ยใู่ นแนวต้งั ได้ 4. มีโคมไฟ 5. มีอุปกรณ์ประกอบในการเขียนแบบโต๊ะเขียนแบบทเ่ี ป็ นรางเลอ่ื น มีแขนเลื่อนตามขวางซ่ึงเล่ือนไปทางซา้ ยและขวาของโต๊ะเขียนแบบรูปร่างและการเคล่ือนที่ ตลอดจนการควบคุมการเคลื่อนท่ีจะแตกตา่ งกนั ไปตามบริษทั ผผู้ ลิต ดงั รูป 1.1 ซ่ึงแสดงถึงส่วนตา่ งๆ ของโตะ๊ เขียนแบบที่เป็นรางเลื่อน ซ่ึงมีขอ้ ดีดงั น้ี 1. มนั่ คงและแม่นยา 2. ขณะใชง้ านสามารถเอียงโตะ๊ เป็นมุมชนั และชุดหวั ไม่เล่ือนลง 3. ท้งั ชุดหวั และแขนเล่ือนตามขวางล็อคไดท้ ุกตาแหน่ง ซ่ึงเป็นคุณลกั ษณะท่ีสาคญั เมื่อตอ้ งเขียน ตวั อกั ษรหรือใชอ้ ุปกรณ์อ่ืนๆ ในการเขียนแบบที่ตอ้ งการตาแหน่งอนั มนั่ คงภาพท่ี 1.1 ลกั ษณะกระดานเขียนแบบและโตะ๊ เขียนแบบ

วชิ า เขยี นแบบเบอื้ งต้น ใบเน้ือหา 2/13หน่วยการเรียนท่ี 1 เคร่ืองมอื และอปุ กรณ์ ในการเขียนแบบ ภาพที่ 1.2 โตะ๊ เขียนแบบ1.2 กระดานเขยี นแบบ จะตอ้ งมีพ้นื ผวิ เรียบท่ีขอบดา้ นซา้ ยมือจะตอ้ งเรียบและตรง เนื่องจากหวั ของไมท้ ี (T-Square) จะตอ้ งแนบและเลื่อนข้ึนลงท่ีขอบดา้ นซา้ ยมือน้นั กระดานเขียนแบบส่วนใหญ่นิยมนามาใชใ้ นการเขียนแบบสนามหรือเขียนแบบนอกสถานที่ บางคร้ังกน็ ามาใชเ้ ขียนแบบในโรงเรียนบา้ งเหมือนกนั กรณีที่โรงเรียนน้นั ไม่มีโตะ๊เขียนแบบมาตรฐาน เพราะถา้ หากวา่ นกั ศึกษาเขียนไม่เสร็จ สามารถนาไปเขียนต่อท่ีบา้ นไดโ้ ดยไม่ตอ้ งแกะแบบออกจากกระดาน ดงั แสดงในภาพท่ี 1.3 ภาพท่ี 1.3 แสดงลกั ษณะของกระดานเขียนแบบและการใชง้ านกบั ไมท้ ี

วชิ า เขยี นแบบเบอื้ งต้น ใบเน้ือหา 3/13หน่วยการเรียนที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ ในการเขียนแบบ1.3 ไม้ที (T SQUARE) ไมท้ ีเป็นเครื่องมือท่ีสาคญั ในงานเขียนแบบ ไมท้ ีมีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือหวั (HEAD) ทา จากไมเ้ น้ือแขง็ และใบ (BLADE)ทาจากไมท้ ีขอบทาจากพลาสติกใส ท้งั สองส่วนจะยดึ ต้งั ฉากกนั ไมท้ ี ใชส้ าหรับเขียนเส้นในแนวนอน และใชป้ ระกอบกบั ฉากสามเหล่ียม สาหรับเขียนเส้นในแนวดิ่ง และ เส้นเอียงเป็ นมุมต่าง ๆภ ภาพท่ี 1.4 ลกั ษณะการใชไ้ มท้ ีเขียนเส้นภาพที่ 1.5 การจบั ไมท้ ีในงานเขียนแบบ

วชิ า เขยี นแบบเบอื้ งต้น ใบเน้ือหา 4/13หน่วยการเรียนท่ี 1 เครื่องมือและอปุ กรณ์ ในการเขียนแบบ1.4 บรรทดั สามเหล่ยี ม (TRIANGLES) บรรทดั สามเหล่ียมปกติทาจากพลาสติกใส สามารถมองเป็นเส้นที่เขียนไดช้ ดั เจน บรรทดั สามเหลี่ยมจะใชค้ ู่กบั ไมท้ ีสาหรับเขียนเส้นด่ิง เส้นเอียงเป็นมุมตา่ ง ๆ บรรทดั สามเหล่ียมปกติจะมี 2 อนั คือ 90 -45 -45และ 90-30-60 ภาพท่ี 1.6 ลกั ษณะการใชบ้ รรทดั สามเหล่ียมภาพท่ี 1.7 แสดงลกั ษณะของบรรทดั สามเหล่ียมมุม 45 และ 30-60

วชิ า เขยี นแบบเบอื้ งต้น ใบเน้ือหา 5/13หน่วยการเรียนท่ี 1 เครื่องมอื และอปุ กรณ์ ในการเขียนแบบภาพท่ี 1.8 แสดงลกั ษณะของบรรทดั สามเหลี่ยมชนิดปรับมุมได้ภาพที่ 1.9 แสดงวธิ ีการแบง่ มุมดว้ ยบรรทดั สามเหล่ียม 45ภาพท่ี 1.10 แสดงวธิ ีการแบ่งมุม 15 และ 75 ดว้ ยบรรทดั สามเหล่ียม 45 และบรรทดั สามเหลี่ยม 30-60

วชิ า เขยี นแบบเบอื้ งต้น ใบเน้ือหา 6/13หน่วยการเรียนท่ี 1 เคร่ืองมอื และอุปกรณ์ ในการเขียนแบบ1.5 บรรทดั มาตราส่วน (SCALE) เป็นบรรทดั ที่มีมาตราส่วนตา่ ง ๆ หลายขนาด เช่น 1:1, 1:2, 1:5, 1.25 เพ่ือสะดวกในการเขียน แบบลกั ษณะตา่ งๆ ท่ีตอ้ งใชม้ าตราส่วนในการเขียนแบบเพือ่ ยอ่ หรือขยายทาใหส้ ะดากและรวดเร็วซ่ึงจะ ใชม้ ากในงานเขียนแบบทางสถาปัตยกรรม ภาพท่ี 1.11 ลกั ษณะของบรรทดั มาตรส่วน1.6 บรรทดั เขยี นส่วนโค้ง (IRREQULAR CURVES) บรรทดั เขียนส่วนโคง้ เป็ นการเขียนท่ีจะใชใ้ นการเขียนส่วนโคง้ หรือเส้นโคง้ ในแบบงานที่ไม่ สามารถใชว้ งเวยี นเขียนการใชบ้ รรทดั ส่วนโคง้ เป็นการเขียนท่ีจะตอ้ งใหเ้ ส้นต่อเนื่องกนั โดยการใหส้ ่วน โคง้ ของบรรทดั สมั ผสั 3 จุด แลว้ จึงลากเส้นผา่ นจุดซ่ึงผปู้ ฏิบตั ิงานจะตอ้ งมีความชานาญ และมี ประสบการณ์ในการใชบ้ รรทดั เขียนส่วนโคง้ จึงสามารถเขียนส่วนโคง้ ไดส้ มบูรณ์ภาพที่ 1 .12 ลกั ษณะการใชบ้ รรทดั เขียนส่วนโคง้

วชิ า เขยี นแบบเบอื้ งต้น ใบเน้ือหา 7/13หน่วยการเรียนที่ 1 เคร่ืองมือและอุปกรณ์ ในการเขียนแบบ ภาพท่ี 1.13 รัศมีของโคง้1.7 แผ่นแบบ (Templates) มีใหเ้ ลือกหลายขนาดและหลายแบบ เช่น วงกลม วงรี สามเหล่ียม ส่ีเหลี่ยม หา้ เหล่ียม และหกเหลี่ยม เป็นตน้ ดงั แสดงในภาพท่ี 1.7 ภาพที่ 1.14 แสดงลกั ษณะของแผน่ แบบรูปร่างตา่ งๆ และวธิ ีการใชแ้ ผน่ แบบรูปวงกลมขนาดเลก็ภาพที่ 1.15 แผน่ แบบที่ใชใ้ นการเขียนแบบเทคนิค

วชิ า เขยี นแบบเบอื้ งต้น ใบเน้ือหา 8/13หน่วยการเรียนที่ 1 เครื่องมอื และอปุ กรณ์ ในการเขียนแบบ1.8 วงเวยี น (COMPASS) วงเวยี นเป็ นเคร่ืองมือสาหรับใชเ้ ขียนส่วนโคง้ หรือวงกลม ก่อนจะใชว้ งเวยี นควรจะปรับระยะ ไส้ดินสอใหเ้ สมอกบั หลกั ศนู ยก์ ลาง และควรลบั ดินสอใหเ้ อียงเพอ่ื สะดวกในการวดั ระยะรัศมี และจะ ทาใหเ้ ขียนส่วนโคง้ สะดวก วงเวยี นที่ใชง้ านในการเขียนแบบมีหลายลกั ษณะควรเลือกใชว้ งเวยี นให้ เหมาะสมกบั ขนาดเส้นผา่ นศูนยก์ ลางของวงกลมท่ีจะเขียน เช่น 1.8.1 วงเวยี นวงกลมเล็ก (BOW COMPASS) เป็นวงเวยี นสาหรับใชเ้ ขียนวงกลมที่มีรัศมีไม่เกิน 15 มิลลิเมตร วงเวยี นชนิดน้ีใชแ้ รงสปริง และสกรูเป็ นตวั ปรับขนาดความกวา้ งของรัศมี ภาพที่1.16 ลกั ษณะวงเวยี นเขียนวงกลมเลก็1.82 วงเวยี นเขยี นวงกลมโต (LARGE COMPASS) เป็นวงเวยี นท่ีใชง้ านมาตรฐานทว่ั ไป ออกแบบสาหรับใชเ้ ขียนวงกลมขนาดใหญซ่ ่ึงไม่สามารถเขียนดา้ ยวงเวยี นแบบ BOW COMPASS ได้ ภาพที่ 1.17 ลกั ษณะของวงเวยี นวงกลมโต

วชิ า เขยี นแบบเบอื้ งต้น ใบเน้ือหา 9/13หน่วยการเรียนที่ 1 เคร่ืองมือและอปุ กรณ์ ในการเขียนแบบ1.83 วงเวยี นคาน (BEAM COMPASS) เป็นวงเวยี นท่ีออกแบบสาหรับใชเ้ ขียนวงกลมขนาดใาหญ่ ซ่ึงไมส่ ามารถเขียนดว้ ยวงเวียนธรรมดาได้ ภาพท่ี 1.18 ลกั ษณะวงเวยี นคาน1.9 วงเวยี นวดั ระยะ (DIVIDERS) วงเวยี นวดั ระยะมีรูปร่างลกั ษณะคลา้ ยกบั วงเวยี นท่ีนาใชง้ านเขียนแบบทวั่ ไปแตป่ ลายขาวงเวยี นจะเป็ น ปลายแหลมท้งั สองขา้ งใชส้ าหรับวดั ระยะจากเคร่ืองมือวดั แลว้ นาไปถ่ายขนาดลงบนแบบงาน หรือใช้ เส้นตรงออกเป็นส่วน ๆ กนั ภาพท่ี 1.19 การใชง้ านวดั ระยะแบง่ เส้น

วชิ า เขยี นแบบเบอื้ งต้น ใบเน้ือหา 10/13หน่วยการเรียนที่ 1 เครื่องมือและอปุ กรณ์ ในการเขียนแบบ ภาพที่ 1.20 ลกั ษณะของดินสอท่ีใชง้ านในวงเวยี น1.10 ปากการเขยี นแบบ (DRAWING PEN) ปากกาเขียนแบบ เป็นเครื่องมือที่ใชเ้ ขียนใหเ้ ป็ นเส้นหรือสญั ลกั ษณ์สาหรับกระดาษเขียนแบบท่ีเป็น กระดาษไข ปากกาเขียนแบบประกอบดว้ ยหลอด และปลายเขม็ ใชส้ าหรับเขียนเส้นที่มีขนาดความหนาของ เส้นจะเพ่ิมข้ึนตามอนุกรมกา้ วหนา้ เรขาคณิตคูณดว้ ยภาพท่ี 1.21 ขนาดของเส้นท่ีเขียนจากปากกา

วชิ า เขยี นแบบเบอื้ งต้น ใบเน้ือหา 11/13 หน่วยการเรียนที่ 1 เคร่ืองมือและอปุ กรณ์ ในการเขียนแบบ1.11 ดนิ สอเขียนแบบ (DRAWING PENCIL) ดินสอเขียนแบบเป็นเครื่องมือที่ใชข้ ีดใหเ้ ป็ นเส้นบนกระดาษเขียนแบบ ดินสอเขียนแบบมี 2 ชนิด คือ ดินสอเปลือกไมแ้ ละดินสอแบบเปลี่ยนไส้ได้ ส่วนท่ีสาคญั ท่ีสุดของดินสอเขียนแบบคือ ไส้ดินสอ ซ่ึงดินสอ ซ่ึงทาจากกราไฟต์ (GRAPHITE) โดยนามาอดั ใหเ้ ป็ นแทง่ โดยใหม้ ีความแขง็ อ่อนของไส้แบง่ เป็ นกรดต่าง เพื่อใหเ้ หมาะสมกบั การนาไปใชใ้ นงานเขียนแบบ ภาพที่ 1.22 ลกั ษณะของดินสอเขียนแบบเกรด B, HB, F ใชส้ าหรับเขียนเส้นรอบรูป ตวั เลข ตวั อกั ษรเกรด H, 2H ใชส้ าหรับเขียนเส้นบอกขนาด เส้นช่วยบอกขนาด เส้นตดัเกรด 3H,5H ใชส้ าหรับร่างแบบ ภาพที่ 1.23 การแบง่ เกรดของไส้ดินสอ

วชิ า เขยี นแบบเบอื้ งต้น ใบเน้ือหา 12/13หน่วยการเรียนท่ี 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ ในการเขียนแบบ1.12 เคร่ืองเหลาดนิ สอ (PENCIL SARPENERS) เคร่ืองเหลาดินสอเป็ นอุปกรณ์มาตรฐานที่ใชใ้ นงานเขียนแบบ เพอ่ื อานวยความสะดวกในการทางานโดยเครื่องเหลาจะเหลาปอกเฉพาะเปลือกไมอ้ อกโดยจะปล่อยไส้ดินสอเปลือยไวเ้ พื่อสามารถนาไปทาการเหลาเป็นรูปร่างตามตอ้ งการ ภาพที่ 1.24 เครื่องเหลาดินสอ1.12 อปุ กรณ์ทาความสะอาด อุปกรณ์ทาความสะอาดในงานเขียนแบบดว้ ยมือ ประกอบดว้ ย ยางลบ แปรงปัดเศษยางลบ และแผน่ กนั ลบ เป็นตน้ ภาพที่ 1.25 แปรงปัดเศษยางลบและอุปกรณ์ทาความสะอาด

วชิ า เขยี นแบบเบอื้ งต้น ใบเน้ือหา 13/13หน่วยการเรียนท่ี 1 เคร่ืองมอื และอุปกรณ์ ในการเขียนแบบ1.13 ยางลบ รูปร่างโดยทวั่ ๆ ไปของยางลบจะเป็นรูปทรงส่ีเหล่ียมผนื ผา้ โดยยางลบแบง่ ออกเป็น 3 ชนิด คือ 1. ยางลบดินสอ 2. ยางลบหมึก 3. ยางลบพลาสติกควรเลือกใชย้ างลบตามวสั ดุท่ีใช้ เช่น เมื่อใชห้ มึกควรใชย้ างลบหมึกลบดว้ ยแรงกดเบาๆ และตอ้ งระมดั ระวงั ดว้ ยเพราะวา่ ความเสียดทานท่ีเกิดจากความเร็วของการลบ อาจจะทาใหผ้ วิ หนา้ งานเขียนแบบเสียหายได้ภาพท่ี1.26 ยางลบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook