Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-Book คอมพิวเตอร์และการบำรุงรักษา

E-Book คอมพิวเตอร์และการบำรุงรักษา

Published by momiizoap2545, 2021-02-04 07:39:08

Description: E-Book คอมพิวเตอร์และการบำรุงรักษา

Search

Read the Text Version

หนังสอื อิเล็กทรอนกิ ส์ (E-Book) เรอื่ ง คอมพิวเตอรแ์ ละการบาํ รุงรกั ษา

หัวข้อท่ี 1 ความรูพ้ ้ืนฐาน เก่ียวกับคอมพิวเตอร์

ความรูพ้ ้ืนฐานเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ สาระสาํ คัญ หน่วยการเรยี นรูน้ ้ีผู้เรยี นจะได้ศึกษาเก่ียวกับความรูพ้ ้ืนฐานเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ ความหมายของคอมพิวเตอร์ ประวตั ิความเปน็ มาและววิ ฒั นาการของคอมพิวเตอร์ ยคุ ของคอมพิวเตอร์ ประเภทของคอมพิวเตอร์ โครงสรา้ งการทํา งานของคอมพิวเตอร์ และข้นั ตอนการทํางานของคอมพิวเตอร์ สาระการเรยี นรู้ 1. ความหมายของคอมพิวเตอร์ 2. ประวตั ิความเปน็ มาและววิ ฒั นาการของคอมพิวเตอร์ 3. ยคุ ของคอมพิวเตอร์ 4. ประเภทของคอมพิวเตอร์ 5. โครงสรา้ งการทํางานของคอมพิวเตอร์ 6. ข้ันตอนการทํางานของคอมพิวเตอร์ สมรรถนะประจาํ หน่วย แสดงความรูเ้ ก่ียวกับความรูพ้ ้ืนฐานเก่ียวกับคอมพิวเตอร์

ความหมายของคอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีสรา้ งข้นึ มา เพ่ือชว่ ยในการทํางานต่าง ๆ ของมนุษยใ์ หส้ ะดวก รวดเรว็ และ แม่นยาํ ข้นึ ท่ีเกินความสามารถของมนุษยแ์ ละอ่ืน ๆ สําหรบั เคร่อื งคอมพิวเตอรท์ ่ีใชก้ ันมากท่ีสุดในปจั จบุ นั เรยี กวา่ “PC” (พีซ)ี ยอ่ มาจากคําวา่ “Personal Computer ” หมายถึง คอมพิวเตอรส์ ่วนบุคคล ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอรเ์ ปน็ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีมีววิ ฒั นาการมาหลายรอ้ ยปี ต้นแบบของคอมพิวเตอรก์ ็คือ “ลูกคิด” ค.ศ.1617 จอหน์ เนเปยี ร์ (John Napier) นักคณิตศาสตรช์ าวสก็อต ได้สรา้ งลอการทึ ึม (Logarithms) ชว่ ยใหค้ ูณและ หารง่ายข้นึ โดยใชบ้ วกและลบ และยงั ประดิษฐเ์ คร่อื งคิดชว่ ยคํานวณ Multipication rods ทําใหค้ ูณ หาร และกรณ์ (Root) ง่าย ข้นึ คนท่ัวไปเรยี กวา่ “Napier’s bones” ค.ศ.1632 วลิ เลียม ออกเทรด (William Oughtred) นักคณิตศาสตรช์ าวอังกฤษ ได้นําแนวคิดของจอห์น เนเปียรไ์ ด้คิด ค้นกําเนิดเคร่อื งมือสไลด์รูล (Slide Rule) เพ่ือใชใ้ นการคูณ ต่อมาไอแซค นิวตัน (Isaac Newton) และอเมดี มันไฮม์ (Amedee Mannheim) ได้พัฒนาไม้บรรทัดคํานวณของวลิ เลียม ออกเทรดเปน็ Slide Rule และใชก้ ันถึงปัจจบุ นั ต่อมาได้ กลายเปน็ ต้นกําเนิดของคอมพิวเตอร์ Analog Computer เคร่อื งแรกของโลก

ค.ศ.1642 เบลส์ ปาสคาล (Blaise Pascal) นักปรชั ญาและนักคณิตศาสตรช์ าวฝรงั่ เศส ได้ประดิษฐเ์ คร่อื งบวกเลขท่ี สรา้ งจากฟันเฟือง 8 ตัว เม่ือครบ 10 ตัวติดกันทางซา้ ยจะขยบั ไป 1 ตําแหน่ง ซ่งึ เปน็ รากฐานการพัฒนาเคร่อื งคํานวณ ถือวา่ เปน็ เคร่อื งแรกของโลก ค.ศ.1671 กอทท์ฟรดี วลิ เฮล์ม ฟอนโลบ์นิช (Gottfreied Wilhelm von Leibniz) นักคณิตศาสตรช์ าวเยอรมัน ประดิษฐ์ เคร่อื งกล Arithmomerter Machine ใชค้ ูณ หารได้รวดเรว็ โดยอาศัยบวก ลบซา ๆ นอกจากน้ียงั ได้ค้นพบเลขฐาน 2 (Binary Number) ประกอบด้วยเลข 0 และ 1 เปน็ เลขท่ีเหมาะกับการคํานวณด้วยเคร่อื งคิดเลขท่ีคิดข้นึ มาช่อื “Leibniz’s stepped pinion” ค.ศ.1822 ชารล์ แบบเบจ (Charles Babbage) ชาวอังกฤษ ได้ประดิษฐเ์ คร่อื งคํานวณท่ีเรยี กวา่ “เคร่อื งหาผลต่าง” (Difference Engine) เพ่ือคํานวณและพิมพ์ค่าตรโี กณมิติและฟังก์ชนั ทางคณิตศาสตร์ ต่อมาชารล์ แบบเบจ ได้พยายามสรา้ ง เคร่อื งคํานวณชนิดหน่ึงเรยี กวา่ “เคร่อื งวเิ คราะห์” (Analytical Engine) เปน็ เคร่อื งมือใชก้ ารคํานวณตารางคณิตศาสตร์ การทํางานของเคร่อื งมือใชก้ ารเจาะรูบนบตั ร โดยแบง่ การทํางานเปน็ 3 ส่วน คือ ส่วนเก็บข้อมูล ส่วนควบคุม และส่วนคํานวณ เคร่อื งมือน้ีได้ออกแบบใชร้ ะบบเคร่อื งยนต์ไอนาเปน็ ตัวหมุนฟันเฟือง โดยมีขอ้ มูลบันทึกในบตั รเจาะรู สามารถคํานวณได้อัตโนมัติ และเก็บผลลัพธใ์ นหน่วยความจาํ ก่อนท่ีจะพิมพ์ออกมาทางกระดาษ แต่เคร่อื งชารล์ แบบเบจ คิดข้นึ มีความก้าวหน้าเกินกวา่ ชว่ ง สมัยนั้นจะทําได้ ประกอบขาดทุนทรพั ยแ์ ละผู้สนับสนุนจงึ ไม่สามารถสรา้ งได้สําเรจ็ อยา่ งไรก็ตามหลักการและแนวคิดดังกล่าวได้ นํามาใชส้ รา้ งคอมพิวเตอรใ์ นปจั จบุ นั จงึ ยกยอ่ งชารล์ แบบเบจวา่ เปน็ “บดิ าแห่งคอมพิวเตอร”์

ค.ศ.1943 เลด้ี เอดา ออกัสตา เลิฟเลซ (Lady Ada Augusta Lovelace) นักคณิตศาสตรช์ าวอังกฤษ ผู้รว่ มงานกับแบบเบจ ซ่งึ เข้าใจการทํางานเคร่อื งวเิ คราะหข์ องเขาเปน็ อยา่ งดี จงึ ได้เขยี นบทอธบิ ายเทคนิคการเขียนโปรแกรมเพ่ือแก้ปญั หาคณิตศาสตรไ์ วใ้ น หนังสือ Taylor’s Seientijic Memors จงึ ได้ยกยอ่ งใหเ้ อดา เลิฟเลซเปน็ โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คนแรกของโลก ค.ศ.1890 ดร.เฮอรแ์ มน ฮอลเลอรชิ (Dr.Herman Hollerish) นักสถิติสํามะโนประชากรของสหรฐั อเมรกิ าและเจา้ หน้าท่ีของ สํานักงานอเมรกิ าได้ประดิษฐเ์ คร่อื งประมวลทางสถิติซง่ึ ใชบ้ ัตรเจาะรู ได้รบั การพัฒนาดียงิ่ ข้ึนและนํามาใชง้ านประมวลผลจาก สํามะโนประชากรของสหรฐั อเมรกิ าชว่ ยให้สรุปผลได้สําเรจ็ และได้นํามาใชใ้ นทางธรุ กิจ ต่อมาได้ต้ังบรษิ ัทท่ีพัฒนาเปน็ บรษิ ัท IBM ซง่ึ เปน็ บรษิ ัทคอมพิวเตอรท์ ่ีใหญท่ ่ีสุดในปจั จบุ นั ค.ศ.1944 ศาสตราจารยโ์ ฮเวริ ด์ ไอเกน (Howard Aiken) ได้ประดิษฐค์ อมพิวเตอรเ์ คร่อื งแรกข้นึ มาช่อื วา่ “Mark I” โดยใชแ้ นว ความคิดของชารล์ แบบเบจ ผสนผสานกับแนวคิดเคร่อื งเจาะบัตร เปน็ เคร่อื งกลไฟฟ้าสามารถทํางานได้อยา่ งต่อเน่ืองโดยอัตโนมัติเปน็ เคร่อื งแรก ค.ศ.1946 จอหน์ มอชลีย์ (John Mauchly) และเพรสเปอร์ เอ็คเคิรท์ (Paesper Aclert) ได้รว่ มประดิษฐค์ อมพิวเตอร์ อิเล็กทรอนิกส์เคร่อื งแรกข้นึ มาช่อื วา่ “ENAIC” ตัวเคร่อื งทํางานด้วยไฟฟ้าและใชห้ ลอดสุญญากาศ ทําให้เกิดความรอ้ นมาก จงึ ต้องติด ต้ังในหอ้ งปรบั อากาศ แต่ไม่สามารถเก็บคําสั่งในเคร่อื งได้ ค.ศ.1949 จอห์น ฟอน นอยมันน์ (John von Neumann) ได้สรา้ งคอมพิวเตอรท์ ่ีสามารถเก็บคําส่ังในการปฏิบัติงานทั้งหมดไว้ ในเคร่อื งท่ีช่อื วา่ “EDVAC” นับเปน็ คอมพิวเตอรเ์ คร่อื งแรกท่ีสามารถเก็บโปรแกรมไวใ้ นเคร่อื งได้ ในระยะเวลาต่อมา มอชล่ีและ เอคเคิรท์ ได้สรา้ งคอมพิวเตอรอ์ ีกเคร่อื งหน่ึงช่อื วา่ “UNIVAC” นับเปน็ คอมพิวเตอรเ์ คร่อื งแรกท่ีใชใ้ นด้านธรุ กิจ

ยคุ ของคอมพิวเตอร์ ววิ ฒั นาการของคอมพิวเตอร์ ต้ังแต่อดีตจนถึงปจั จบุ นั แบง่ เปน็ 5 ยคุ ดังน้ี 3.1 ยุคท่ี 1 ยคุ หลอดสุญญากาศ (1951-1958) คอมพิวเตอรย์ คุ น้ีเรยี กวา่ เปน็ คอมพิวเตอรท์ ่ีสมบูรณ์แบบยคุ แรก โดยใชอ้ ุปกรณ์หลอดสุญญากาศในการผลิต กิน กระแสไฟฟ้ามาก ความรอ้ นสูง ยงั ต้องใชก้ ลไกชว่ ย ราคาแพงมาก สั่งงานด้วยภาษาเคร่อื ง การเรยี นชุดคําสั่งยงุ่ ยาก จงึ ได้ พัฒนาเปน็ ภาษาสัญลักษณ์ คือ “Assembly” คิดค้นในปี ค.ศ.1952 โดย ดร.เกรส ฮูเปอร์ และเปน็ จดุ เรมิ่ ต้นการพัฒนา ภาษาคอมพิวเตอรอ์ ่ืน ๆ ตามมา ความเรว็ ในการประมวลผลเท่ากับ 1 ใน 1,000 ของวนิ าที (1/103 : Millisecond) ส่ือ บนั ทึกขอ้ มูลและแสดงผล คือ บัตรเจาะรูและเทปกระดาษ ใชท้ างด้านการเงินและบัญชใี นธรุ กิจขนาดใหญ่ คอมพิวเตอรย์ คุ น้ี ได้แก่ UNIVAC I, IBM 701, IBM 600 เปน็ ต้น ภาพที่ 1.1 คอมพิวเตอรใ์ นยุคที่ 1

3.2 ยุคที่ 2 ยคุ ทรานซสิ เตอร์ (1959-1964) คอมพิวเตอรใ์ นยคุ ท่ี 2 ใชท้ รานซสิ เตอรผ์ ลิตขนาดเคร่อื งจงึ เล็กลง ประมวลได้เรว็ ข้ึนถึง 1 ใน 1,000,000 วนิ าที (1/106: Microsecond) เกิดความรอ้ นน้อยลง ชุดคําสั่งสรา้ งจากภาษาระดับสูง เชน่ ภาษาฟอรแ์ ทน (FORTRAN) สรา้ งเม่ือ ค.ศ.1957 ใชก้ ับ ด้านวทิ ยาศาสตร์ และยงั มีภาษาโคบอล (COBOL) สรา้ งเม่ือ ค.ศ.1961 ใชง้ านด้านธรุ กิจ ส่ือบันทึกและแสดงผล นอกจากบตั รเจาะรู แล้วยงั มีเทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape) และจานแม่เหล็ก (Magnetic Disk) คอมพิวเตอรย์ คุ น้ี ได้แก่ IBM 1620, IBM 1401, IBM 7070 เปน็ ต้น ภาพที่ 1.2 คอมพวิ เตอรใ์ นยคุ ที่ 2

3.3 ยุคท่ี 3 ยุคไอซี (1965-1971) หน่วยความจาํ เปน็ แบบวงจรผนึกหรอื IC (Integrated and Miniaturized Curcuit) ทําใหก้ ารประมวลผลมีความ เรว็ สูงมากถึง 1 ในพันล้านวนิ าที (1/109 : Nanosecond) สรา้ งชุดคําส่ังด้วยภาษาระดับสูงมาก เชน่ ภาษา PL/L (พัฒนาจาก ฟอรแ์ ทนและโคบอล) เหมาะกับงานวทิ ยาศาสตรแ์ ละธรุ กิจ ภาษา RPG ชว่ ยอํานวยความสะดวกการพิมพ์รายงานต่าง ๆ เหมาะกับ งานธรุ กิจและในสํานักงาน ส่ือบันทึกและแสดงผลขอ้ มูลยงั เหมือนยคุ ท่ี 2 มีการใชก้ วา้ งขวางข้ึน ใชร้ ะบบส่ือสารโยงใย คอมพิวเตอรเ์ ข้าเปน็ ระบบเครอื ขา่ ย (Network) มีประมวลผลแบบออนไลน์ (Online) มีการสรา้ งฐานข้อมูล (Database) เพ่ือใช้ รว่ มกัน คอมพิวเตอรย์ คุ น้ี ได้แก่ IBM 360, CDC 3300, NCR 359, UNIVAC 9400, NCR V-8600 เปน็ ต้น ภาพที่ 1.3 คอมพิวเตอรใ์ นยคุ ที่ 3

3.4 ยุคท่ี 4 ยุคชิพ LSI-VLSI (1972-1982) มีการพัฒนาวงจรผนึกหรอื ไอซใี หใ้ หญข่ ้ีนและประสิทธภิ าพท่ีสูงข้นี คือ วงจร LSI (Large Scale Integrated Curcuit) และวงจร VLSI (Very Large Integrated Curcuit) มีความสามารถเท่ากับหลอดทรานซสิ เตอรห์ ลายพันตัว เรว็ กวา่ ยคุ ท่ี 3 มาก ขนาดเล็กลงและราคาถูกลงเรยี กวา่ “ชิป” ทําให้การผลิตคอมพิวเตอรป์ ระเภทมินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer) และ ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) ออกจาํ หน่ายแพรห่ ลาย มีการพัฒนาโปรแกรมสําเรจ็ รูปท่ีใชง้ านง่ายกับเคร่อื งเหล่าน้ี ความเรว็ ในการประมวลผลถึง 1 ในล้านล้านวนิ าที (1/1012 : Pico Second) สามารถแบ่งเวลา (Time Sharing) ใหห้ ลาย ๆ โปรแกรมผลัดกันใชง้ านแบบอเนกวธิ ได้ (Multi Tasking) คอมพิวเตอรย์ คุ น้ี ได้แก่ IBM 370, IBM 3033, UNIVAC 9700, CDC 7600, IBM PC (XT AT) เปน็ ต้น ภาพที่ 1.4 คอมพิวเตอรใ์ นยคุ ที่ 4

3.5 ยุคที่ 5 ยุค AI เปน็ ยคุ ประดิษฐกรรมอัจฉรยิ ะ AI (Artificial Intelligence) ไม่แน่นอนวา่ เรมิ่ และจบเม่ือใด เปน็ ยคุ ท่ีทําให้คอมพิวเตอร์ เขา้ ใจภาษามนุษย์ สั่งงานด้วยเสียงได้ มีระบบส่ือประสม (Multimedia) มีระบบเครอื ขา่ ยระดับโลก (Internet) มีโปรแกรมสําเรจ็ รูป ด้านต่าง ๆ ท่ีดีมีประสิทธภิ าพให้เลือกมากมาย เปน็ ยคุ ของข่าวสารไรพ้ รมแดนหรอื โลกาภิวฒั น์ (Globalization) ภาพที่ 1.5 คอมพิวเตอรใ์ นยคุ ที่ 5

ตัวอยา่ งประดิษฐกรรมอัจฉรยิ ะของคอมพิวเตอรย์ คุ ท่ี 5 พัฒนาโดยบรษิ ัทโซน่ี ใชซ้ พี ียู RISC ขนาด 64 บติ หน่วยความจาํ 32 MB ยงั ใชก้ ับเมมโมรส่ี ต๊ิกได้ด้วย ลักษณะพิเศษ คือ มีตัววดั อุณหภูมิแบบอินฟราเรด วดั ความเรว็ วดั แรงดัน วดั ความสั่นสะเทือน มีเซนเซอรแ์ บบ CMOS ความละเอียด 100,000 พิกเซล และมีกล้องดิจทิ ัล ถ่ายภาพได้ความสามารถพิเศษ คือ จาํ คําส่ังได้ 75 คําส่ัง และการเคล่ือนไหวเหมือนจรงิ มากข้นึ กวา่ รุน่ ก่อน ภาพที่ 1.6 หุ่นยนต์ “ไอโบ้” หมาพันธใ์ุ หม่ยุค 2002 ทีม่ า : http://www.aibo.com, 2556 : (Online)

ประเภทของคอมพิวเตอร์ ภาพที่ 1.7 คอมพิวเตอรแ์ บบแอนะล็อก คอมพิวเตอรส์ ามารถแบ่งได้หลายประเภท โดยทั่วไปจาํ แนกได้ 3 แบบ คือ 4.1 จาํ แนกตามลักษณะการทาํ งานของคอมพวิ เตอร์ 4.1.1 คอมพวิ เตอรแ์ บบแอนะลอ็ ก (Analog Computer) คือ คอมพิวเตอรท์ ่ีรบั ขอ้ มูลในรูปของปรมิ าณท่ีวดั ต่อเน่ืองกัน แล้วแปลงให้เปน็ ตัวเลข เชน่ เคร่อื งวดั อุณหภูมิ เคร่อื งวดั ความเขม้ ของแสง เคร่อื งวดั ความดังเสียง อุปกรณ์ จา่ ยนามันในสถานีบรกิ ารนามัน เปน็ ต้น แอนะล็อกคอมพิวเตอรเ์ หมาะกับงานด้าน วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และวศิ วกรรมศาสตร์ 4.1.2 คอมพิวเตอรด์ ิจทิ ัล (Digital Computer) คือ คอมพิวเตอรท์ ่ีมีการ ทํางานแบบอิเล็กทรอนิกส์ มีการคํานวณโดยนับจาํ นวนโดยตรง มีลักษณะการจดั เก็บ ข้อมูลด้วยระบบตัวเลขฐาน 2 คือ 0 กับ 1 ขนั้ ตอนในการประมวลผลเปน็ อยา่ งต่อเน่ือง มีหน่วยความจาํ เปน็ ท่ีเก็บข้อมูลและแลกเปล่ียนได้ตลอดเวลา คอมพิวเตอรท์ ่ัว ๆ ไป มักเปน็ ดิจทิ ัล เชน่ คอมพิวเตอรส์ ่วนบุคคล คอมพิวเตอรท์ ่ีใชใ้ นการสํารองท่ีน่ังของ บรษิ ัทการบนิ การควบคุมการยงิ ขีปนาวุธ เปน็ ต้น ภาพที่ 1.8 คอมพวิ เตอรแ์ บบดิจทิ ัล

4.1.3 คอมพวิ เตอรแ์ บบลกู ผสม (Hybrid Computer) คือ การ ผสมผสานกันระหวา่ งแอนะล็อกและดิจทิ ัลคอมพิวเตอร์ สรา้ งข้นึ มาเพ่ือใชง้ าน เฉพาะกิจ ด้านวทิ ยาศาสตรห์ รอื งานควบคุมกระบวนการทางอุตสาหกรรม ด้านการ แพทย์ เชน่ เคร่อื งตรวจวดั สายตา เคร่อื งตรวจคล่ืนสมอง เคร่อื งตรวจคล่ืนหวั ใจ การ จาํ ลองเหตุการณ์ของเคร่อื งฝึกบนิ ให้ตอบสนองด้วยเสียง ภาพ และการส่ันสะเทือน คล้ายกับการบนิ ด้วยเคร่อื งจรงิ ชว่ ยลดค่าใชจ้ า่ ยในการฝึกบนิ จรงิ ได้มาก ภาพที่ 1.9 คอมพิวเตอรแ์ บบลกู ผสม ภาพที่ 1.10 คอมพิวเตอรอ์ เนกประสงค์ 4.2 จาํ แนกตามลกั ษณะการใชง้ านคอมพิวเตอร์ 4.2.1 คอมพวิ เตอรอ์ เนกประสงค์ (General Purpose Computer) หมายถึง คอมพิวเตอรท์ ่ีสามารถทํางานได้ตามวตั ถุประสงค์ของ ผู้ใชข้ ้นึ อยกู่ ับโปรแกรมท่ีเลือกใช้ สามารถปรบั ปรุง แก้ไข เพิ่มเติมโปรแกรมได้ เชน่ ใชท้ ําบญั ชดี ้วยโปรแกรมระบบบญั ชี ใชพ้ ิมพ์เอกสารต่าง ๆ ด้วยโปรแกรม ประมวลผลคํา

4.2.2 คอมพิวเตอรเ์ ฉพาะกจิ (Special Purpose Computer) หมายถึง คอมพิวเตอรท์ ่ีออกแบบมาสําหรบั งานใดงานหน่ึงเท่าน้ัน โปรแกรมจะถูก บรรจไุ วถ้ าวร และมีประสิทธภิ าพสูง เชน่ เคร่อื งตรวจวดั สายตา เคร่อื งควบคุม อากาศยาน เคร่อื งเอกซเรย์ หุ่นยนต์ท่ีถูกสรา้ งข้นึ มาเพ่ือทํางานแทนมนุษยใ์ นสถาน ท่ีอันตราย เปน็ ต้น ภาพที่ 1.11 คอมพิวเตอรเ์ ฉพาะกจิ ภาพที่ 1.12 ซเู ปอรค์ อมพวิ เตอร์ 4.3 จําแนกตามขนาดของคอมพิวเตอร์ ทีม่ า : http://flies.itproportal.com/wp-content/ 4.3.1 ซเู ปอรค์ อมพวิ เตอร์ (Supercomputer) uploads/photos/Mainframe.original.jpg เปน็ คอมพิวเตอรข์ นาดใหญท่ ่ีสุด มักใชใ้ นองค์กรขนาดใหญร่ ะดับ โลก มีประสิทธภิ าพสูงสุด ทํางานด้วยความเรว็ สูงถึง 100 ล้าน คําส่ังต่อวนิ าทีข้นึ ไป มีความแม่นยาํ สูง ใชใ้ นหน่วยงานสําคัญ ๆ และใชเ้ ฉพาะด้าน เชน่ งานด้านอวกาศขององค์กรนาซา งาน พยากรณ์อากาศ ธนาคารโลก เปน็ ต้น

4.3.2 เมนเฟรม (Mainframe) เปน็ เคร่อื งอเนกประสงค์ ขนาด เล็กรองจากซูเปอรค์ อมพิวเตอร์ ความเรว็ 5 ล้านคําสั่งต่อวนิ าทีข้นึ ไป ใชใ้ น หน่วยงานท่ีมีขอ้ มูลปรมิ าณมาก และต้องการประมวลผลท่ีรวดเรว็ ใชใ้ นการ ดําเนินการเปน็ ศูนยค์ อมพิวเตอร์ โดยนําเคร่อื งเมนเฟรมติดต้ังในหอ้ ง ปรบั อากาศ มีระบบรกั ษาความปลอดภัยม่ันคง หน่วยงานท่ีใช้ ได้แก่ กระทรวงทบวงกรม มหาวทิ ยาลัย ธนาคาร สํานักงานสถิติแห่งชาติ กรม สรรพากร โรงพยาบาลขนาดใหญ่ ท่าอากาศยาน เปน็ ต้น ภาพที่ 1.13 เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ ทมี่ า : http://www.ipesp.ac.th, 2556 (Online) ภาพที่ 1.14 มนิ คิ อมพวิ เตอร์ 4.3.3 มินิคอมพวิ เตอร์ (Minicomputer) เปน็ เคร่อื ง ทีม่ า : http://www.sciencemuseum.org.uk/ อเนกประสงค์ ขนาดเล็กลงจากเมนเฟรม ความเรว็ 1 ล้านคําสั่งต่อ images/object_images/535x53510327207.jpg วนิ าทีข้นึ ไป ใชเ้ ช่อื มโยงกับเทอรม์ ินัลหลาย ๆ เคร่อื ง มักใชใ้ นโรงงาน ขนาดยอ่ ม ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรม โรงพยาบาล สถานศึกษา หา้ ง สรรพสินค้า เปน็ ต้น เคร่อื งชนิดน้ีไม่จาํ เปน็ ต้องควบคุมอุณหภูมิตลอด เวลาก็ได้

4.3.4 ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เปน็ เคร่อื งอเนกประสงค์ และขนาดเล็ก ได้รบั การพัฒนาให้มีประสิทธภิ าพสูงข้ึน บางครง้ั เรยี กวา่ “PC” หรอื “Personal Computer” มีหลายขนาดใหเ้ ลือกตามความเหมาะสม เชน่ ขนาดตั้งโต๊ะ มี แบบ Desktop และ Tower สําหรบั ติดตั้งไวใ้ นบา้ น สํานักงาน หรอื หอ้ งเรยี น ขนาดวาง ไวบ้ นตัก (Laptop) ขนาดพกพา (Notebook) ไมโครคอมพิวเตอรจ์ ะใชง้ านง่าย สะดวก เรยี นรูไ้ ด้เรว็ ปจั จบุ นั มีหน่วยความจาํ มากถึง 128 ล้านตัวอักษรข้ึนไป สามารถต่อพ่วงเข้า กับระบบเครอื ข่ายสากล (Internet) ใชง้ านได้พรอ้ มกันหลาย ๆ เคร่อื ง ใชเ้ พ่ือเรยี นรู้ สันทนาการ เขยี นโปรแกรม ออกแบบต่าง ๆ เปน็ ต้น ภาพที่ 1.15 ไมโครคอมพวิ เตอรแ์ บบตา่ ง ๆ ภาพที่ 1.16 เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ 5. องคป์ ระกอบระบบของคอมพวิ เตอร์ องค์ประกอบระบบของคอมพิวเตอรท์ ่ีทําใหค้ อมพิวเตอรท์ ํางานได้อยา่ ง สมบูรณ์นั้น ประกอบไปด้วยองค์ประกอบหลักท่ีสําคัญ 3 ส่วน คือ 5.1 Hardware คือส่วนต่าง ๆ ท่ีประกอบเปน็ ตัวคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ของ คอมพิวเตอรท์ ุก ๆ ชนิ้ ท่ีสามารถจบั ต้องหรอื สัมผัสได้ เชน่ แรม เมนบอรด์ จอภาพ คียบ์ อรด์ เม้าส์ และอ่ืน ๆ

5.2 Software คือ โปรแกรมหรอื ชุดคําส่ังต่าง ๆ ท่ีสั่งงานใหค้ อมพิวเตอรท์ ํางานท่ีต้องการ ซอฟต์แวรจ์ ะแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท 5.2.1 ซอฟตแ์ วรร์ ะบบ (Operating Software) เปน็ ระบบ ซอฟต์แวรท์ ่ีทําหน้าท่ีบูตเคร่อื งและควบคุมการทํางานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ใน ระบบคอมพิวเตอร์ โดยเปน็ ตัวกลางท่ีชว่ ยใหผ้ ู้ใชส้ ามาถติดต่อและสั่งงาน ได้ง่ายข้นึ ซอฟต์แวรจ์ ะถูกติดตั้งมากับเคร่อื งจากผู้ขายหรอื บรษิ ัท ผู้ผลิต ซอฟต์แวรช์ นิดน้ีมีความสําคัญมาก ถ้าขาดจะทําใหค้ อมพิวเตอรไ์ ม่สามารถ ทํางานได้ ซอฟต์แวรร์ ะบบมีอยหู่ ลายชนิด เชน่ Dos, Linux, Windows 98/ME/XP เปน็ ต้น ภาพที่ 1.17 โปรแกรมระบบปฏบิ ตั ิการ

5.2.2 ซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์ (Application Software) เปน็ โปรแกรมท่ีต้องใชป้ ระมวลผลสารสนเทศตามความต้องการของผู้ใช้ เชน่ โปรแกรม ประมวลผลคํา โปรแกรมตารางงาน โปรแกรมนําเสนองาน เปน็ ต้น โปรแกรม ประยกุ ต์แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ได้แก่ โปรแกรมประยกุ ต์ใชท้ ่ัวไปหรอื เรยี กวา่ “โปรแกรมสําเรจ็ รูป” (Package Application Software) และโปรแกรม ประยกุ ต์เฉพาะงาน (Customized Application Software) เชน่ Microsoft Office 97/2000/XP, Adobe Photoshop, WinAmp เปน็ ต้น ภาพที่ 1.18 ซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์ ภาพที่ 1.19 บุคลากรทางด้านคอมพวิ เตอร์ 5.3 บคุ ลากร (Peopleware) คือ เจา้ หน้าท่ีปฏิบัติงานต่าง ๆ ผู้ใชใ้ นหน่วยงานน้ัน ๆ บุคลากรทาง ด้านคอมพิวเตอรน์ ั้นสําคัญมาก เพราะการใชค้ อมพิวเตอรท์ ํางานต่าง ๆ น้ัน จะ ต้องมีการจดั เตรยี มระบบโปรแกรมและดําเนินการต่าง ๆ หลายอยา่ งท่ีไม่สามารถ ทําด้วยตัวเองได้ บุคลากรคอมพิวเตอร์ ได้แก่ พนักงานเตรยี มขอ้ มูล (Data Entry) พนักงานควบคุมเคร่อื ง (Computer Operation) โปรแกรมเมอร์ (Programmer) นักวเิ คราะห์ระบบ (System Analyst and Design) วศิ วกร คอมพิวเตอร์ (System Engineer) เปน็ ต้น

หัวข้อท่ี 2 การประกอบ เคร่อื งคอมพิวเตอร์

การประกอบเคร่อื งคอมพิวเตอร์ สาระสําคัญ หน่วยการเรยี นน้ีผู้เรยี นจะได้ศึกษาเก่ียวกับการเตรยี มอุปกรณ์สําหรบั ประกอบเคร่อื งคอมพิวเตอร์ และขน้ั ตอน การประกอบเคร่อื งคอมพิวเตอร์ เน่ืองจาก การประกอบเคร่อื งคอมพิวเตอรเ์ ปน็ เร่อื งท่ีจาํ เปน็ ต้องมีความเขา้ ใจเปน็ อยา่ งดี นอกจากการนําไปใชใ้ นการประกอบเคร่อื งโดยตรงแล้ว ในการอัพเกรดเคร่อื งหรอื ซอ่ มเคร่อื งท่ีมีปญั หาจาก อุปกรณ์ฮารด์ แวรน์ ั้น ต้องมีส่วนเก่ียวขอ้ งกับการถอด หรอื ประกอบเคร่อื งคอมพิวเตอร์ สาระการเรยี นรู้ 1. การเตรยี มอุปกรณ์สําหรบั ประกอบเคร่อื งคอมพิวเตอร์ 2. ขัน้ ตอนการประกอบเคร่อื งคอมพิวเตอร์ สมรรถนะประจําหน่วย แสดงความรูเ้ บ้อื งต้นเก่ียวกับการประกอบเคร่อื งคอมพิวเตอร์

การประกอบเคร่อื งคอมพิวเตอร์ 1.การเตรยี มอุปกรณส์ าํ หรบั ประกอบเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ 1.1 การเตรยี มเคร่อื งมือต่าง ๆ อุปกรณ์ท่ีจาํ เปน็ สําหรบั การประกอบเคร่อื งงคอมพิวเตอร์ เชน่ ไขควงส่ีแฉก กล่องสําหรบั ใส่นอต คู่มือเมน บอรด์ คีมปากจง้ิ จก 1.1.1 ไขควงชนิดต่าง ๆ เชน่ ไขควงแฉก และไขควงแบน สําหรบั ใชข่ นั นอตจดุ ต่าง ๆ 1.1.2 คีมปากยาว ใชส้ ําหรบั คีบนอตหรอื ชนิ้ ส่วนท่ีเข้าถึงได้ยาก 1.1.3 ไฟฉาย สําหรบั ใชส้ ่องดูภายในตัวเคร่อื ง เพ่ืออ่านตัวอักษรหรอื เลขต่าง ๆ ท่ีกํากับไวบ้ นเมนบอรด์ หรอื ใช้ ส่องใชส้ ่องดูในบรเิ วณท่ีเปน็ ซอกแคบ ๆ 1.1.4 อุปกรณ์อ่ืน ๆ เชน่ กล่องสําหรบั ใส่จมั เปอรแ์ ละนอตขนาดต่าง ๆ ท่ีถูกถอดออกมา ซลิ ิโคนสําหรบั ทา ลงบนคอรข์ องซพี ียู ในกรณีท่ีฮิตซงิ ก์ไม่ได้ติดแผ่นสารเช่อื มความรอ้ นมาใหด้ ้วยการด์ หรอื นามบตั รสําหรบั เกล่ียซลิ ิโคนให้ ราบเรยี บ เข็มขัดรดั สายและอ่ืน ๆ

ภาพที่ 2.1 เครอื่ งมอื ต่าง ๆ สาํ หรบั ใชใ้ นการประกอบเครอื่ งคอมพิวเตอร์ ทีม่ า : http://www.custom-build-computers.com, 2556 : (Online) 1.2 อุปกรณ์ต่าง ๆ ท่ีจะประกอบเคร่อื งคอมพิวเตอร์ 1.2.1 ซพี ียตู รวจสอบดูสภาพของขาซพี ียทู ่ีมีการหกั หรอื งอหรอื ไม่ จากน้ันให้ดู 1.2.2 แรม 1.2.3 ฮารด์ ดิสก์ 1.2.4 เมนบอรด์ 1.2.5 อุปกรณ์อ่ืน ๆ 1.2.6 แผ่น CD หรอื DVD ติดต้ังระบบปฏิบัติการและไดรเ์ วอรอ์ ุปกรณ์

2. ขนั้ ตอนการประกอบเครอื่ งคอมพิวเตอร์ 2.1 การติดตั้งซพี ียู การติดต้ังซพี ียสู ่ิงท่ีต้องระมัดระวงั คือ ขาเขม็ ท่ีตัวซอ็ กเก็ตท่ีมีขนาดเล็กมาก หากน้ิวไปกระทบอาจหกั งอเสียหายทันที CPU Socket LGA 775 มีลักษณะพิเศษตรงท่ีขาของซพี ียจู ะเปน็ หน้าสัมผัสตรง ๆ ท่ีตัว ซอ็ กเก็ตซพี ียจู ะมีแผ่นเหล็กครอบอยอู่ ีกชน้ั หน่ึง สําหรบั ข้นั ตอนการติดตั้งซพี ียแู ละชุดระบายความรอ้ น มีขน้ั ตอน ดังน้ี 2.1.1 ง้างกระเด่ืองท่ีด้านขา้ งของซอ็ กเก็ตบนเมนบอรด์ ออก ทางด้านข้างแล้ว โยกข้นึ จนสุด จากน้ันโยกฝาครอบข้นึ ไปในทิศทางตรงข้ามจนสุด

2.1.2 วางซพี ียดู ้านท่ีมีขาจาํ นวนมากเสียบลงไปตรงตําแหน่งของรูเสียบขาซพี ียู บน Socket โดยให้มุมท่ีมีสัญลักษณ์เปน็ รูปสามเหล่ียมของทั้งตัวซพี ียแู ละท่ีอยบู่ นตัว Socket ตรงกัน ต่อจากน้ันใหโ้ ยกกระเด่ืองกลับเขา้ ท่ีโดยดันกลับมาจนสุดกระเด่ืองจะ กลับเขา้ ล็อกและยดึ ซพี ียใู ห้ติดอยกู่ ับตัว Socket อยา่ งม่ันคง 2.1.3 การติดตั้งชุดระบายความรอ้ น (Heat Sink & Fan) ลงไปบนตัวซพี ียู โดยก่อนท่ีจะติดตั้งสังเกตด้านใต้วา่ มีแผ่นสารเช่อื มความรอ้ นติดมาให้ด้วยหรอื ไม่ ในกรณ์ไม่มีให้ทําการทาสารเช่อื มความรอ้ นบรเิ วณจดุ สัมผัสกับซพี ียใู หท้ ่ัวโดยสาร ท่ีทาลงไปจะทําหน้าท่ีนําพาความรอ้ นจากตัวซพี ียไู ปสู่ Heat Sink ได้ดียง่ิ ข้นึ

2.1.4 บีบซลิ ิโคนลงไปบนตัวถังหรอื ฝาครอบท่ีเรยี กวา่ KIS (Integrated Heat Spreader) ของตัวซพี ียพู อประมาณ แล้วใชก้ ารด์ หรอื นามบัตรเกล่ียซลิ ิโคนให้เปน็ ฟิล์ม บาง ๆ ฉาบอยบู่ นตัวถังของซพี ียู 2.1.5 จากน้ันติดตั้งชุดระบายความมรอ้ น โดยวางลงไปบนตัวซพี ียใู หห้ น้าสัมผัสของ Heat Saink และส่วนท่ีเปน็ แผ่นสารเช่อื มความรอ้ นแตะอยบู่ นตัวซพี ียแู ละกดเพียงเล็กน้อย ท่ีคียล์ ็อกทั้ง 4 โดยกดคียล์ ็อกทีละคู่ตรงข้ามกันเพ่ือล็อกให้ Heat Sink ยดึ ติดแน่นอยกู่ ับซพี ี ยแู ละเมนบอรด์ 2.1.6 สุดท้ายใชห้ ัวต่อไปเล้ียงของพัดลมซพี ียเู สียบลงข้ันต่อท่ีอยบู่ นเมนบอรด์ ซง่ึ มักจะ อยบู่ รเิ วณใกล้ ๆ กันกับจดุ ท่ีติดตั้งซพี ียู และมักจะมีขอ้ ความกํากับไว้ CPU FAN เม่ือเสียบลง ขั้วต่อเรยี บรอ้ ยแล้ว เปน็ อันเสรจ็ ส้ินขั้นตอนการติดต้ังซพี ียลู งบนเมนบอรด์ ภาพที่ 2.2 การติดตัง้ CPU

2.2 การตดิ ตงั้ แรม การติดต้ังแรมน้ันมีขั้นตอนท่ีไม่ยงุ่ ยากเหมือนซพี ียู จดุ ท่ีควรระวงั จะอยทู่ ่ีรอ่ งบากของแผงแรม ซง่ึ แรมแต่ละประเภทก็มี รอ่ งบากท่ีแตกต่างกัน จงึ ต้องสังเกตรอ่ งบากใหต้ รงกันก่อนท่ีจะออกแรงกดลงไปบนซอ็ กเก็ตแรม เพราะถ้าวางผิดรอ่ งอาจทําให้ หกั เสียหายได้ RAM ท่ีใชก้ ันในปัจจบุ นั เปน็ แรมแบบ DDR3 มีจาํ นวนขา 204-pin ใชเ้ สียบลงบนชอ่ งสล็อตแบบ DIMM 204-pin และมีรอ่ งบากบรเิ วณแนวขาสัญญาณ 1 รอ่ ง เหมือนกับแรมรุน่ ก่อนหน้าอยา่ ง DDR2 แต่จะมีตําแหน่งรอ่ งบากท่ีไม่ ตรงกัน ทําใหไ้ ม่สามารถใชง้ านรว่ มกัน หรอื เสียบลงบนชอ่ งสล็อตแบบเดียวกันได้ ดังน้ันก่อนการเลือก RAM ชนิดใด ๆ มาใช้ ควรตรวจสอบดูก่อนวา่ เมนบอรด์ รองรบั RAM ชนิดใดหรอื มีชอ่ งสล็อตแบบใด ขั้นตอนการติดตั้งแรม มีดังน้ี ภาพที่ 2.3 ดตู าํ แหนง่ รอ่ งบากทตี่ ัวแผงแรม DDR หรอื DDR3 ทมี่ า : http:www.notebookfocus.com, 2556 : (Online)

2.2.1 ใชน้ ิ้วมือทั้ง 2 ข้างกดแผงแรมลงไปใน ซอ็ กเก็ตตรง ๆ โดยใหแ้ ผงแรม ค่อย ๆ ถูกกดลงไปได้เพียงด้านเดียว อาจจะเกิดการใส่แผงแรมผิดด้านจงึ ไม่ตรง กับรอ่ งบากของซอ็ กเก็ต 2.2.2 เม่ือดันแรงลงไปตรง ๆ จนสุด ซ่งึ จะสังเกตเห็นวา่ แขนล็อก กระดกกลับมาล็อกปรายแรมทั้งสองข้างพอดี กรณีท่ีแขนล็อกไม่กระดก กลับมาใหใ้ ชน้ ้ิวกดใหต้ รงล็อก ภาพที่ 2.4 การตดิ ตงั้ แรม

2.3 การตดิ ตงั้ เมนบอรด์ หลังจากการเตรยี มเคสและประกอบแผงหลังของเคร่อื งพรอ้ มทั้งติดต้ังซพี ียู ชุดระบายความรอ้ น และแรมลงบน เมนบอรด์ เสรจ็ เรยี บรอ้ ยแล้ว ขน้ั ตอนต่อไป คือ การนําเอาเมนบอรด์ น้ีไปติดต้ังเข้ากับตัวเคร่อื ง ข้นั ตอนการติดตั้ง มีดังน้ี ภาพที่ 2.5 ตําแหนง่ รูนอตบนเมนบอรด์ 2.3.1 เรมิ่ จากการวางตัวเคสให้นอนลงโดยหงายด้านท่ีจะใชว้ างเมนบอรด์ ข้นึ มา แล้วจดั ระเบยี บสายไฟและสายสัญญาณต่าง ๆ ภายในไม่ใหเ้ กะกะเพ่ือ เตรยี มพ้ืนท่ีให้โล่งสําหรบั จดั วางเมนบอรด์ ลงไป

2.3.2 จดั วางเมนบอรด์ ลงไปบนแท่นรองภายในตัวเคร่อื ง โดยหนั เอาด้านท่ีเปน็ พอรต์ ต่าง ๆ ลงไปก่อน แล้วขยบั ตําแหน่งใหพ้ อรต์ ของเมนบอรด์ เขา้ กันได้พอดีกับแผ่น หลังของตัวเคร่อื ง จากนั้นจงึ ค่อย ๆ วางเมนบอรด์ ลงไปแล้วขยบั ให้ตําแหน่งของรูนอต หรอื ชอ่ งสําหรบั ขันสกูบนเมนบอรด์ และแท่นรองให้ตรงกันทุกจดุ 2.3.3 ขันนอตยดึ ตัวเมนบอรด์ เขา้ กับเคสใหค้ รบทุกรู ควรขนั จนแน่นพอดีเท่านั้นอยา่ ขนั จนแน่นเกินไป เพราะอาจ ทําให้เมนบอรด์ เสียหายได้ ภาพที่ 2.6 การติดตัง้ เมนบอรด์

2.4 การติดตงั้ การด์ แสดงผล ปัจจบุ นั อุปกรณ์จาํ พวกการด์ ต่าง ๆ เชน่ การด์ เสียงและการด์ แลน มักถูกติดต้ังมาให้อยแู่ ล้วพรอ้ มกับบนเมนบอรด์ ซง่ึ อยใู่ นรูปแบบของซปิ ออนบอรด์ (on board) รวมถึงซปิ การฟิกบนเมนบอรด์ บางรุน่ ด้วย ทําให้ภายหลังการติดตั้งไดรฟ์ เวอ รแ์ ล้วก็จะสามารถใชง้ านได้ทันที โดยไม่จาํ เปน็ ต้องจดั หาการด์ เหล่าน้ีมาเพ่ิมเติม แต่หากไม่มีอุปกรณ์หรอื ซปิ ออนบอรด์ ใด ๆ เชน่ ซปิ แสดงผลกราฟิกไม่มีก็อาจจกั หามาติดตั้งเพิ่มเติม โดยใชช้ อ่ งสก็อตแบบ PCI-Express x 16 ซง่ึ มีขนั้ ตอน ดังน้ี 2.4.1 ทําการเจาะหรอื เปิดชอ่ งท่ีอยดู่ ้านท้ายของเคสในตําแหน่งท่ี ตรงกันกับสล็อต PCI-Express X16 2.4.2 เสียบการด์ จอแบบ PCI-Express ลงบนสล็อต โดยใหห้ ัน ด้านท่ีมีขัว้ ต่อหรอื พอรต์ ต่าง ๆ ของการด์ จอไปทางด้านท้ายของเคสท่ีมีการ เจาะหรอื เปดิ ชอ่ งเตรยี มไว้ ภาพที่ 2.7 การติดตงั้ การด์ จอ

2.5 การตดิ ตงั้ ซีดรี อมไดรฟ์ การติดตั้งไดรฟ์ ซดี ีหรอื ดีวดี ีจะมีวธิ กี ารเหมือนกัน เพราะการเช่อื มต่อไดรฟ์ CD/DVD จะต้องกําหนดจมั เปอรเ์ พ่ือใหไ้ ด รฟ์ เปน็ ตัวหลัก (Master) หรอื ตัวรอง (Slave) โดยขน้ั ตอนการกําหนดจมั เปอรข์ องไดรฟ์ CD/DVD มีดังน้ี ภาพที่ 2.8 การกําหนดจมั เปอรไ์ ดรฟ์ CD/DVD 2.5.1 ส่วนด้านหน้าของตัวเคร่อื งใหเ้ ราเลือกชอ่ งท่ี ต้องการจะใส่อุปกรณ์ดิสก์ไดรฟ์ พรอ้ มท้ังฝาปิดบรเิ วณ ด้านนอกออก

2.5.2 เสียบอุปกรณ์ดิสก์ไดรฟ์ โดยหนั เอาด้านท้ายของอุปกรณ์เข้าไปใน ชอ่ งท่ีถูกเปิดไว้ แล้วเล่ือนไดรฟ์ ไปจนถึงตําแหน่งท่ีเหมาะสม ภาพที่ 2.9 การตดิ ตัง้ อปุ กรณด์ ิสกไ์ ดรฟ์ 2.5.3 ทําการตรงึ จกุ ยดึ ล็อกไดรฟ์ ใหต้ ิดแน่นอยกู่ ับท่ี 2.5.4 เช่อื มต่อสายสัญญาณโดยนําเอาหัวต่อสาย สัญญาณ SATA ด้านหน่ึง เสียบเข้าท่ีข้วั ต่อแบบ 7-pin ท่ี อยดู่ ้านท้ายของอุปกรณ์ดิสก์ไดรฟ์

2.5.5 ปลายอีกด้านหน่ึงเสียบเขา้ ท่ีขั้วต่อ SATA Connector บนเมนบอรด์ โดยเสียบเขา้ กับข้วั ต่อไหน ก็ได้หรอื อาจเปน็ อันดับต่อจากฮารด์ ดิสก์ก็ได้ ภาพที่ 2.10 การเชือ่ มต่อสายสญั ญาณ 2.6 การตดิ ตัง้ ฮารด์ ดิสก์ การติดตั้งฮารด์ ดิสก์จะต้องกําหนดจมั เปอรเ์ พ่ือให้ไดรฟ์ เปน็ ตัว หลัก (Master) หรอื ตัวรอง (Slave) ของฮารด์ ดิสก์แต่ละตัวท่ีต่ออยู่ สายแพเส้นเดียวกัน ในการกําหนดจมั เปอรข์ องฮารด์ ดิสก์ แต่ละย่หี ้อ มักจะมีวธิ กี ารท่ีแตกต่างกันควรศึกษาฉลากท่ีอยหู่ ลังฮารด์ ดิสก์ให้ เขา้ ใจ ซ่งึ การติดต้ังฮารด์ ดิสก์มีข้นั ตอน ดังน้ี ภาพที่ 2.11 ตาํ แหน่งของหวั ตอ่ ฮารด์ ดสิ ก์แบบ Serial ATA

2.6.1 ติดต้ังฮารด์ ดิสก์เข้ากับเคสถ้าเปน็ เคสทั่ว ๆ ไป ให้เสียบฮารด์ ดิสก์ใน ลักษณะควาเขา้ ไปในชอ่ งสําหรบั ใส่ฮารด์ ดิสก์ โดยหนั เอาหัวท่ีไม่มีข้วั เข้าไปก่อน เม่ือถึงตําแหน่งท่ีเหมาะสมแล้วจงึ ขนั นอตยดึ 2.6.2 ทําการเช่อื มต่อสาย Power ก่อนเน่ืองจากตําแหน่งของสายอยู่ ด้านใน หากเสียบสาย Sata Data ก่อนจะทําการติดตั้งได้ยาก 2.6.3 ต่อสายสัญญาณ SATA โดยเอาหัวต่อด้านหน่ึงเสียบเขา้ ท่ีข้วั ต่อแบบ 7-pin ท่ีอยดู่ ้านท้ายของฮารด์ ดิสก์ เวลาเสียบต่อหวั กับขั้วแบบน้ี ถ้าหากเสียบผิดจะ เสียบไม่เขา้ เพราะท้ังหัวต่อและขัว้ ต่อถูกออกแบบมาใหม้ ีรูปรา่ งเปน็ ตัวอักษร L หาก กลับด้านจะเสียบไม่เข้า

2.6.4 เสียบหวั ต่อสาย SATA Data เข้าไปยงั หัวต่อ Serial ATA บน เมนบอรด์ วธิ กี ารควรจะเลือกเสียบท่ีหัวต่อ SATA1 ไปตามลําดับ ภาพที่ 2.12 การตดิ ตงั้ ฮารด์ ดสิ ก์ 2.7 ตดิ ต้ังแหล่งจ่ายลงในเคส แหล่งจา่ ยไฟหรอื เพาเวอรซ์ พั พลาย (Power Supply) มีลักษณะเปน็ กล่องส่ีเหล่ียมติดต้ังไวภ้ ายในตัวเคส ทําหน้าท่ี จา่ ยกระแสไฟใหก้ ับอุปกรณ์และชน้ิ ส่วนต่าง ๆ ภายในเคร่อื ง และเน่ืองจากวา่ อุปกรณ์คอมพิวเตอรป์ ระกอบด้วยชน้ิ ส่วนทาง อิเล็กทรอนิกส์มากมายท่ีทํางานโดยอาศัยไฟฟ้าแรงดันตาจงึ ไม่สามารถจา่ ยไฟตามบา้ น 220 โวลต์โดยตรงให้กับอุปกรณ์ ได้ มิฉะนั้นจะทําใหอ้ ุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เหล่านั้นเสียหาย จาํ เปน็ ต้องมีเพาเวอรซ์ ปั พลายทําหน้าท่ีเปน็ ตัวแปลงแรงดัน ไฟฟ้าตามบา้ นจาก 220 โวลต์ ให้เหลือไฟฟ้าออกมา 2-3 ชุด คือ 5 โวลต์ จา่ ยใหก้ ับเมนบอรด์ และ 12 โวลต์ จา่ ยให้กับ อุปกรณ์ทั่ว ๆ ไป เชน่ ฮารด์ ดิสก์ ซดี ีรอม เปน็ ต้น ปัจจบุ นั เพาเวอรซ์ ปั พลายรุน่ ใหม่ท่ีออกแบบมาให้ใชก้ ับซพี ียรู ุน่ ใหม่ จะมีขว้ั จา่ ยไฟ 12 โวลต์ ให้กับเมนบอรด์ เพิ่มข้นึ ด้วย และเมนบอรด์ รุน่ ใหม่บางรุน่ ใชห้ ัวต่อไฟเล้ียงแบบ ATX 24 ชอ่ ง แทนแบบเดิม ท่ีเปน็ แบบ ATX 20 ชอ่ ง

2.7.1 การติดตั้ง Power Supply โดยการวางลงไปในตัวเคสใหต้ รงตําแหน่ง และท่ีการขนั ส กูรเพ่ือยดึ ให้ตัว Power Supply ติดแน่นอยกู่ ับเคส โดยขนั สกูรใหค้ รบทุกจดุ 2.7.2 หัาต่อไฟหลักแบบ 24-pin หรอื ATX Power Connector ของสายท่ีโยงมา จากแหล่งจา่ ยไฟ หรอื Power Supply ภาพที่ 2.13 การตดิ ตัง้ Power Supply 2.7.3 เสียบหัวต่อไฟหลักแบบ 24-pin ลงบนขั้วต่อ ATX Power Connector ท่ีอยบู่ น เมนบอรด์ เพ่ือป้อนไฟเล้ียงให้กับวงจรและส่วนประกอบต่าง ๆ ท่ีถูกติดตั้งอยบู่ นเมนบอรด์ เวลา เสียบหวั ต่อจาก Power Supply ลงบนข้ัวต่อจะได้ง่ายเพราะมีรูปแบบเฉพาะ โดยหากเสียบผิด ด้านจะเสียบไม่เขา้ โดยสังเกตจากตําแหน่งของตัวล็อกท่ีอยบู่ นหวั ต่อและขว้ั ต่อนั้นตรงกัน

2.7.4 หัวต่อสายไฟเล้ียงแบบ 4,6 หรอื 8 ขา ทําการเสียบลงบนข้ัวดังกล่าวโดย สังเกตใหต้ ําแหน่งของตัวล็อกท่ีอยบู่ นหวั ต่อและขั้วต่อตรงกัน ภาพที่ 2.14 การติดตัง้ สายไฟ 2.8 การต่อสายไฟเลีย้ งและสาบสัญญาณต่าง ๆ การต่อสายสัญญาณหน้าเคส ก่อนจะทําการต่อสายสัญญาณให้ตรวจสอบตําแหน่งของขาต่าง ๆ ใหด้ ีเสียก่อน เพราะ ถ้าเสียบผิดชอ่ งก็อาจทําให้หลอด LED หรอื สวติ ชไ์ ม่ทํางานก็ได้ โดยเฉพาะการต่อสาย LED ทั้งหลาย จาํ เปน็ ต้องเสียบให้ถูก ข้วั บวก-ขว้ั ลบ เพราะถ้าเสียบผิดขัว้ จะทําให้หลอด LED ไม่ทํางาน ในส่วนของสายท่ีลงท้ายด้วย SW (Swicth) สายเหล่าน้ีไม่ จาํ เปน็ ต้องดูข้วั เพียงแต่เสียบให้ถูกตําแหน่งเท่านั้น ขวั้ ต่อสัญญาณ มีรายละเอียด ดังน้ี

Power SW เปน็ สายไฟของสวติ ชท์ ่ีใชใ้ นการเปดิ - ปดิ เคร่อื ง ซ่งึ จะต่อมาจากสวติ ชท์ ่ีอยดู่ ้านหน้าเคส RESET SW เปน็ สายไฟท่ีต่อมาจากปุ่ม RESET Switch ท่ีอยทู่ างด้านหน้าของเคส ซ่งึ จะเปน็ ปุ่มท่ีใช้ บูตเคร่อื งใหม่ ใชแ้ ทนการกดปุม่ Power เพ่ือปิด และเปดิ เคร่อื งใหม่ Power LED เปน็ คอนเน็กเตอรท์ ่ีจะส่งไฟเล้ียงไปยงั หลอด LED ท่ีอยทู่ างด้านหน้าของเคส เพ่ือแสดง สถานะของเคร่อื งวา่ เปดิ หรอื ปดิ ถ้าเคร่อื งเปิดอยู่ หลอด LED ก็จะแสดงไฟสีเขียว แต่ถ้าปดิ เคร่อื งไฟ ก็จะดับ

H.D.D LED เปน็ สายไฟของหลอด LED ท่ีต่อมาจาก ด้านหน้าของเคส ใชแ้ สดงสถานะการอ่านหรอื เขยี น ข้อมูลของอุปกรณ์ท่ีต่อกับคอนเน็กเตอร์ Primary IDE หรอื Secondary IDE ได้แก่ ฮารด์ ดิสก์ ซดี ีรอม ไดรฟ์ SPEAKER เปน็ คอนเน็กเตอรท์ ่ีต่อไปยงั ลําโพงของ เคร่อื ง ใชแ้ สดงเสียง Beep Code เท่านั้น จะใชแ้ สดง เสียงในรูปแบบอ่ืน ๆ ไม่ได้ ภาพที่ 2.15 สายสญั ญาณต่าง ๆ ทมี่ า : http://www.techreprot.com/review/13671/how-to-build-a-pc, 2556: (Online)

หลังจากติดตั้งเมนบอรด์ การด์ แสดงผล ซดี ีรอมไดรฟ์ และฮารด์ ดิสก์เรยี บรอ้ ยแล้ว ขนั้ ตอนต่อไปคือต่อสายไฟเล้ียง อุปกรณ์และสายสัญญาณต่าง ๆ ใหก้ ับอุปกรณ์ ซง่ึ มีขน้ั ตอนต่าง ๆ ดังน้ี 2.8.1 ติดตั้งสายสวติ ชส์ ําหรบั เปิดใหเ้ คร่อื งทํางาน 2.8.2 สวติ ชท์ ่ีใชร้ เี ซต็ เคร่อื ง เพ่ือรสี ตารต์ ใหเ้ คร่อื งทํางานใหม่หลังจากท่ีเคร่อื ง ค้างไม่ทํางาน 2.8.3 ต่อกับหลอดไฟท่ีอยดู่ ้านหน้าของเคส เพ่ือบอกใหเ้ ราทราบวา่ เคร่อื งถูกเปิดทํางานอยู่ ภาพที่ 2.16 การตดิ ตัง้ สายสญั ญาณ

2.9 เชือ่ มต่ออปุ กรณ์ภายนอกเขา้ กบั พอรต์ หรอื ชอ่ งต่อตา่ ง ๆ หลังจากได้ติดตั้งและเช่อื มต่อสายไฟกับสายไฟสัญญาณเอาไวเ้ รยี บรอ้ ยแล้ว ใหใ้ ชเ้ ขม็ ขัดรดั สายรวบสายต่าง ๆ ไวใ้ ห้เปน็ ระเบียบ จากนั้นปิดฝาเคสแล้วขนั สกูรยดึ ฝาด้านขา้ งใหเ้ รยี บรอ้ ยทุกจดุ จากน้ันทําการเช่อื มต่อพอรต์ เขา้ กับอุปกรณ์ภายนอก ดังน้ี เสียบหัวต่อ PS/2 ของคียบ์ อรด์ เข้ากับพอรต์ PS/2 (สีม่วง) ภาพที่ 2.17 พอรต์ เชอื่ มตอ่ อปุ กรณ์ เสียบอุปกรณ์เมาส์เขา้ กับพอรต์ USB เสียบหัว DVI หรอื HDMI ของจอภาพเขา้ กับพอรต์ DVI หรอื HDMI ของการด์ จอ

เสียบแจค็ ลําโพงเขา้ กับต่อชอ่ ง Line Out (สีเขยี ว) การด์ เสียง เสียบหวั RJ-45 ของสายแลน เข้าท่ีชอ่ งต่อของ การด์ แลน เสียบหัวต่อไฟ AC เขา้ ท่ีชอ่ งต่อของ Power Supply ส่วนหัวต่ออีกด้านเสียบเขา้ กับปล๊ักไฟ ภาพที่ 2.18 การเสียบสายไฟช่อง Power Supply ทมี่ า : http://www.teachreprot.com/review/13671/how-to-build-a-pc, 2556 : (Online)

2.10 ตรวจสอบและทดสอบหลงั จากประกอบเสรจ็ หลังจากประกอบเคร่อื งคอมพิวเตอรเ์ สรจ็ เรยี บรอ้ บ ควรตรวจสอบดูความเรยี บรอ้ ยด้วยตาเปล่าตามรายการ ต่อไปน้ี 2.10.1 ตรวจสอบการติดต้ังซพี ียู ชุดระบายความรอ้ นและแรมวา่ แน่นหนาล็อกดีแล้วหรอื ไม่ กรณีท่ีชุดระบายความ รอ้ นไม่แนบสนิทกับตัวซพี ียู ทําใหเ้ คร่อื งดับหลังจากเปิดไปได้ไม่นาน หรอื กรณีแรมติดตั้งไม่สนิท อาจมีเสียงสัญญาณ เตือนจนเคร่อื งไม่ทํางาน 2.10.2 ตรวจสอบการติดต้ังเมนบอรด์ วา่ ไม่มีส่วนใดแนบชดิ กับตัวเคร่อื ง เพราะจะทําใหเ้ กิดไฟฟ้าลัดวงจรได้โดย เฉพาะตรงขาและสกูรสําหรบั ยดึ เมนบอรด์ 2.10.3 ตรวจสอบสายไฟและขัว้ ต่อไฟของอุปกรณ์ท้ังหมดวา่ ถูกต้องแน่นหนาหรอื ไม่ 2.10.4 ตรวจสอบสายสัญญาณและขัว้ ต่อทั้งหมด เชน่ สายของอุปกรณ์ดิสก์ไดรฟ์ต่าง ๆ ปลายสายสัญญาณท่ีต่อ ไปยงั หน้าเคร่อื ง ถ้าไม่ถูกต้องอาจทําให้เคร่อื งทํางานผิดพลาด 2.10.5 ตรวจสอบการด์ ต่าง ๆ วา่ เสียบไวต้ รงชอ่ งและแน่นสนิทดีหรอื ไม่

Monitor ศัพทเ์ ทคนิค Keyboard จอภาพ ใชแ้ สดงผลการทํางานต่าง ๆ ของเคร่อื งคอมพิวเตอร์ Mouse แปน้ พิมพ์ ใชส้ ําหรบั ปอ้ นข้อมูลหรอื คําสั่งต่าง ๆ เข้าเคร่อื งคอมพิวเตอร์ Speaker เมาส์ใชส้ ําหรบั ควบคุม Cursor บนหน้าจอเพ่ือจดั การคําสั่งการทํางาน Case ลําโพง ใชส้ ําหรบั แสดงข้อมูลท่ีอยใู๋ นรูปแบบของเสียง Floppy Disk Drive ทําหน้าท่ีบรรจอุ ุปกรณ์ต่าง ๆ และจา่ ยพลังงานให้กับระบบ CPU การอ่านและเขยี นขอ้ มูลลงแผ่นดิสเก็ต ปจั จบุ นั ไม่นิยมติดตั้งแล้ว Mainboard ทําหน้าท่ีประมวลผลข้อมูล แผงวงจรหลัก เปน็ อุปกรณ์ท่ีใชส้ ําหรบั ติดตั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ

RAM ศพั ท์เทคนิค (ต่อ) Hard disk หน่วยความจาํ VGA Card ทําหน้าท่ีในการเก็บบนั ทึกข้อมูลและโปรแกรม Sound Card การด์ แสดงผล Modem การด์ เสียง โมเด็มใชเ้ ช่อื มต่อกับเคร่อื งคอมพิวเตอรเ์ คร่อื งอ่ืนโดยผ่านทางสาย LAN Card โทรศัพท์ เช่อื มต่อคอมพิวเตอรห์ ลาย ๆ เคร่อื งเขา้ ด้วยกันผ่านทางเครอื ข่าย

หัวข้อท่ี 3 การจัดการความปลอดภัย ของโปรแกรมและขอ้ มูล

การจัดการความปลอดภัยของโปรแกรมและขอ้ มูล สาระสําคัญ หน่วยการเรยี นรูน้ ้ีผู้เรยี นจะได้ศึกษาเก่ียวกับการสํารองข้อมูล การกู้คืนข้อมูล การกําหนดรหัสผ่าน และการปอ้ งกัน และกําจดั ไวรสั ปัจจบุ นั การปกป้องความมั่นคงปลอดภัยของระบบ และขอ้ มูลภายในองค์กรถือเปน็ เร่อื งสําคัญ เน่ืองจาก การถูกคุกคามจากผู้ไม่ประสงค์ดี หรอื จากโปรแกรมบางประเภทได้เพ่ิมมากข้ึน และอาจนําความเสียหายอยา่ งมากต่อ องค์กร ดังน้ัน ถ้าภายในระบบมีการควบคุมความปลอดภัยท่ีดี จะชว่ ยลดโอกาสเส่ียงต่อการถูกคุกคามได้ สาระการเรยี นรู้ 1. การสํารองขอ้ มูล 2. การกู้คืนข้อมูล 3. การกําหนดรหสั ผ่าน 4. การป้องกันและกําจดั ไวรสั สมรรถนะประจําหน่วย แสดงความรูเ้ บ้อื งต้นเก่ียวกับการจดั การความปลอดภัยของโปรแกรมและข้อมูล

1. การสาํ รองข้อมลู 1.1 เข้าใชง้ านท่ี Start > All Programs > Norton Ghost 2003 > Norton Ghost การใชง้ าน Norton Ghost น้ีจะเปน็ การทําสํารองข้อมูลเปน็ พารต์ ิชนั หรอื แบก๊ อัพขอ้ มูลทั้งพารต์ ิชนั ของฮารด์ ดิกส์ ก่อนทํา ภาพที่ 3.1 หนา้ หลักของโปรแกรม การแบ๊กอัพ จะต้องมีการแบ่งอยา่ งน้อย 2 พารต์ ิชนั หรอื จะต้องมีอยา่ ง Norton Ghost น้อย 2 ไดรฟ์ จะนําข้อมูลท้ังหมดใน Drive C: เอาไปเก็บไวใ้ น Drive D: เพ่ือทําการฟอรแ์ มต Drive C: ได้ หลังจากน้ันก็นําข้อมูลใน Drive D: มาใส่คืนใน Drive C: ใหม่ หรอื เรยี กวา่ “Restore” ดังนั้น หากมีฮารด์ ดิกส์แค่ Drive C: จะต้องวางแผนการแบง่ พารต์ ิชนั ใหม่ อยา่ งน้อยควรแบง่ เปน็ 2 ไดรฟ์ เพ่ือใชส้ ําหรบั ลง Windows และ สําหรบั เก็บข้อมูลและไฟล์แบก๊ อัพอยา่ งละไดรฟ์ ในการเลือก Drive และ Partition ต้องระวงั หากทําผิดอาจทําใหข้ อ้ มูลหายได้ ก่อนจะทํา ต้องสํารองเก็บขอ้ มูลสําคัญไว้ เพ่ือความปลอดภัยท่ีสามารถโคลนนิ่ง ระหวา่ ง 2 ฮารด์ ดิกส์ได้เลย โดยเลือกในเมนู Drive ทําให้ Copy ข้อมูลทุกอยา่ งไปใส่อีกฮารด์ ดิกส์ได้อยา่ งรวดเรว็ ส่วนใหญม่ ักนิยมใช้ วธิ นี ้ี เพราะใชเ้ วลาไม่เกิน 20 นาที ก็สามารถลงโปรแกรมได้ หากมี หลาย ๆ เคร่อื ง อุปกรณ์เหมือนกัน มักจะมีปัญหา Software ต่าง ๆ สามารถทําได้โดยวธิ นี ้ี

1.2 คลิก Next เขา้ สู่หน้า Backup a disk or partition ในชอ่ ง Source ใหเ้ ลือกวา่ จะ แบก๊ อัพท้ังฮารด์ ดิสก์ หรอื เฉพาะพารต์ ิชนั ในท่ีน้ี ต้อง Drive C เท่านั้น และในส่วน Destination ต้องเลือกวา่ จะเก็บในรูปแบบไฟล์ (Flie) ในฮารด์ ดิกส์ หรอื เก็บไวใ้ นแผ่น (CD or DVD) ในท่ีน้ีคลิก เลือกแบบ Flie และกด Next ภาพที่ 3.2 เลอื ก Backup Partition


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook