Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานวิจัยในชั้นเรียน-การบอกเวลาเป็นชั่วโมงดุ๋ย

งานวิจัยในชั้นเรียน-การบอกเวลาเป็นชั่วโมงดุ๋ย

Published by cheerach30, 2022-08-28 09:44:59

Description: งานวิจัยในชั้นเรียน-การบอกเวลาเป็นชั่วโมงดุ๋ย

Search

Read the Text Version

1

2 บันทกึ ขอ้ ความ ส่วนราชการ โรงเรียนบ้านทา่ อาจ อาเภอแมส่ อด จงั หวัดตาก ท่ี /2564 วนั ท่ี 20 ธนั วาคม พ.ศ. 2564 เรือ่ ง รายงานการจัดส่งวจิ ัยในชน้ั เรยี น ประจาภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… เรยี น ผ้อู านวยการโรงเรยี นบา้ นทา่ อาจ ข้าพเจา้ นางสาวจรี ัชญ์ คฤหะมาน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ โรงเรียนบ้าน ท่าอาจ ได้จัดทาวิจัยในช้ันเรียน เร่ือง การพัฒนาทักษะการบอกเวลาเป็นช่ัวโมง โดยใช้ส่ือการเรียนรู้ ออนไลน์ สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๒/๑ ภายใต้สถานการณ์ COVID- 19 ซึ่งเป็นการแก้ไข ปัญหาและพัฒนาคุณภาพผู้เรียน วิชาคณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค12101 ช้ันประถมศึกษาปีที 2 ภาคเรียนที 2 ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ได้รับมอบหมายให้ทาการเรียนการสอนในรายวิชาคณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและพิจารณา ลงชื่อ ....................................................... ( นางสาวจีรชั ญ์ คฤหะมาน) ผจู้ ดั ทาวจิ ัย ๑.ความคดิ เห็นของหวั หน้างานวิจยั ในช้นั เรียน ๓. คาสงั่ ผู้อานวยการโรงเรียน  ทราบ................................................................... ................................................................................................................................  อนมุ ัติ.................................................................... ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ลงชื่อ........................................................ ลงชื่อ................................................ (นางสาวกณิการ์ ปรอื ปรัง) (นายกชิ สณพนธ์ เฉลมิ วสิ ตุ ม์กลุ ) หัวหนา้ งานวจิ ยั ในชัน้ เรยี น ผู้อานวยการโรงเรยี นบา้ นท่าอาจ ๒.ความคดิ เหน็ รองผอู้ านวยการ ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ................................................................................................................................ ลงชอ่ื ........................................................ (นางสาววรากร ทองทวี) รองผอู้ านวยการโรงเรียนบ้านทา่ อาจ

ก1 คานา การจัดทารายงานการพัฒนาทักษะการบอกเวลาเป็นช่ัวโมง โดยใช้ส่ือการเรียนรู้ออนไลน์ สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 ภายใต้สถานการณ์ COVID- 19 ฉบับนี้ จัดทาขึ้นเพื่อ รายงานผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการบอกเวลาเป็นชั่วโมง ซึ่ง ผู้รายงานได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารงานวิจัยต่างๆ เพื่อนาความรู้มาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน ของตนเอง และพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน โดยพัฒนาส่ือนวัตกรรมมาใช้ให้เหมาะสมโดยยึด ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั ซง่ึ ได้ดาเนินการพฒั นาในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 ขอขอบพระคุณผู้เชี่ยวชาญทุกท่านที่กรุณาให้ความรู้ คาปรึกษาคาแนะนาในกระบวนการ พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จนงานสาเร็จลุล่วงด้วยดี ขอบพระคุณคณะครู นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที 2 ที่เป็นกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาคร้ังน้ี หวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อผู้ที่เก่ียวข้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน คณิตศาสตร์ได้อีกทาง หนึง่ นางสาวจรี ัชญ์ คฤหะมาน

2ข สารบญั หนา้ คานา........................................................................................................................... ก สารบัญ........................................................................................................................ ข บทท่ี 1 บทนา............................................................................................................................ 1 ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา......................................................... 1 วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั ................................................................................. 2 สมตฐิ านของการวิจัย....................................................................................... 2 ขอบเขตของการวจิ ัย........................................................................................ 2 นยิ ามศัพท์เฉพาะ............................................................................................ 3 ประโยชนข์ องการวจิ ยั .................................................................................... 3 2 เอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กย่ี วข้อง................................................................................... 4 หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551…………….……. 6 ตวั ชวี้ ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์......... 9 สื่อการเรียนออนไลน.์ .................................................................................... 12 การบอกเวลา................................................................................................. 12 งานวจิ ัยท่ีเกยี่ วขอ้ ง........................................................................................ 13

3 สารบัญ (ต่อ) บทที่ หน้า 3 วิธีการดาเนนิ การวจิ ยั ................................................................................................ 15 ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง…………………………………………………………….….. 15 วธิ ดี าเนินการ.............................................................................................. 16 เครือ่ งมอื ทีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั ............................................................................. 16 วิธีการรวบรวมขอ้ มลู ..................................................................................... 16 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ........................................................................................ 17 สถิติทีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู ..................................................................... 17 4 ผลการวิจัย.................................................................................................................. 18 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ.................................................................... 20 บรรณานุกรม........................................................................................................................... 22 ภาคผนวก............................................................................................................................... 23

1 บทที่ 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ได้ส่งผลกระทบ ตอ่ ประชากรโลกในวงกวา้ งทาใหพ้ ฤติกรรมของมนษุ ย์ พฤตกิ รรมการบริโภค และการบริการ เกิดการ เปล่ียนแปลงที่สาคัญในหลายๆ ด้าน ส่งผลให้หลายภาคส่วนเกิดผลกระทบ เช่น เศรษฐกิจ สังคม การท่องเท่ียว เทคโนโลยี และการศึกษาส่งผลให้สถานศึกษาไม่สามารถจัดการเรียนการสอนได้ ตามปกติ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ได้ตระหนักถงึ ความสาคัญในการดูแลนักเรียน ผปู้ กครอง ครู และ บคุ ลากรทางการศึกษา จงึ ไดจ้ ัดทาแนวทางการจัดการเรยี นการสอนของโรงเรียนสังกัดสานกั งานคณะ กรรการการศึกษาข้ันพื้นฐานในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ปี การศึกษา 2563 เพ่ือให้โรงเรียนใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนในสังกัด อย่างมีประสิทธิภาพ (ศูนย์เฉพาะกิจการจัดการศึกษาทางไกลในสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สานักงานคณะกรรการการศึกษาข้นั พื้นฐาน, 2563: 2) สถานศึกษาจึงจาเป็นต้องปรับเปลี่ยน วิธีการจัดการเรียนรู้อย่างเร่งด่วน ในการพัฒนาการเรียนการสอนของครู มาเป็นแบบออนไลน์ เพ่ือลดการเผชิญหน้ากัน งดการรวมกลุ่ม งดกิจกรรมหลายๆ กิจกรรม เพ่ือพัฒนาผู้เรียนมาเป็น แบบออนไลนเ์ ต็มรูปแบบ การศึกษาออนไลน์ (Online Education) หรือการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ (Online Learning and Teaching) เป็นนวัตกรรมทางการศึกษาในยุคใหม่ ซ่ึงมีกรอบแนวคิดของการใช้ ที่สาคัญ เรียกว่า “สังคมแห่งการแสวงหาความรู้หรือสังคมแห่งปัญญา” (Community of Inquiry) โรงเรียนบ้านท่าอาจจึง ให้ครูผู้สอนจัดการเรียนการสอนตามตารางเรียน โดยประยุกต์ไปตาม ความถนัดและความสะดวกในการจัดการเรียนการสอนของครูและนักเรียน เช่น ใช้การจัดการ เรียนรู้ออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชันต่างๆ เช่น Line, Facebook, Zoom, Google Classroom, Microsoft team, Youtube หรือชอ่ งทางใดช่องทางหนงึ่ ใหก้ ารเรยี นการสอนดาเนนิ ตอ่ ไปได้ จากการท่ผี วู้ ิจัยไดจ้ ัดการเรยี นการสอนกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ในชั้นประถมศึกษาปที ่ี 2 พบว่านักเรยี น ส่วนใหญย่ งั ประสบปญั หาในเรือ่ งการขาดทกั ษะการบอกเวลาเป็นช่ัวโมง ซง่ึ เป็นทักษะ

2 ทีม่ ีความสาคัญ เหตุอาจเนอ่ื งมาจาก ไมไ่ ดร้ ับการสง่ เสริมและฝึกหดั การบอกเวลาของนาฬิกาอยา่ ง ต่อเนอ่ื งทาใหน้ กั เรยี นไม่สามารถบอกเวลาไดถ้ ูกตอ้ งและแม่นยา สาเหตดุ ังกลา่ วจึงทาใหผ้ ู้วจิ ยั เกิด ความสนใจท่ีจะทางการศกึ ษาผลของการสอนโดยใช้ส่อื การเรียนร้อู อนไลน์ สาหรับนกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 2 ภายใต้สถานการณ์ COVID- 19 ท่ีมตี ่อผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นวชิ าคณติ ศาสตร์ ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เพ่อื ทีจ่ ะนาไปพฒั นาทักษะการบอกเวลาเป็นชั่วโมงของนักเรียน ให้ดียง่ิ ขึน้ วัตถุประสงค์ของการวจิ ัย เพอื่ พฒั นาและเพ่ิมทักษะการบอกเวลาเป็นชวั่ โมง ของนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 2 โดย ใชส้ ่อื การเรียนรูอ้ อนไลน์ สมมตฐิ านของการวิจัย นักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรียนบ้านทา่ อาจ ที่ได้รับการฝกึ บอกเวลา โดยใชส้ ือ่ การ เรียนรอู้ อนไลน์ ภายใต้สถานการณ์ COVID- 19 มที กั ษะบอกเวลาเปน็ ช่ัวโมงดขี ึน้ ขอบเขตการวจิ ัย 1. ประชากรทีใ่ ช้ในการวจิ ยั ครัง้ นี้ นกั เรียนระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านท่าอาจ ตาบลท่าสายลวด จังหวดั ตาก ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 จานวนนักเรยี น 32 คน ซึ่งเปน็ นกั เรียนทผ่ี วู้ ิจยั รบั ผิดชอบสอน 2. กลุม่ ตวั อยา่ งในการวจิ ัยครง้ั น้ี เปน็ นกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรยี นบ้านทา่ อาจ ตาบลท่าสายลวด จงั หวดั ตาก ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 จานวน 7 คน ซง่ึ เป็นนักเรยี นที่ ยังขาดทกั ษะการบอกเวลาเป็นช่ัวโมง ช่วงกลางวนั และกลางคืน และสมคั รใจเข้ารว่ มการวิจัยคร้ังน้ี 3. ตวั แปรทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั ประกอบด้วย 3.1 ตวั แปรต้น คอื สื่อการเรยี นร้อู อนไลน์ การบอกเวลาเปน็ ช่ัวโมง ช่วงกลางวันและ กลางคนื สาหรบั นกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 2 ภายใตส้ ถานการณ์ COVID- 19

3 3.2 ตัวแปรตาม คอื ผลสมั ฤทธิข์ องการพฒั นาทกั ษะการบอกเวลาเปน็ ชัว่ โมง ชว่ ง กลางวันและกลางคนื สาหรับนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 2 นิยามศัพท์เฉพาะ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง สิ่งท่ีสะท้อนถึงความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียน ท่ีเกิดจากการเรียนรู้โดย ส่ือการเรียนรู้ออนไลน์แบบแจกลูกสะกดคา ภายใต้สถานการณ์ COVID- 19 ทสี่ ามารถวดั ได้จากแบบประเมนิ การอ่าน ท่ีผู้วจิ ยั ไดจ้ ัดสรา้ งขน้ึ 2. การบอกเวลากลางวนั กลางคนื หมายถึง การแบ่งเวลาออกเป็น 2 ช่วง ชว่ งแรกเร่มิ ตั้งแต่ เวลาเทยี่ งคนื ไปจนถึงเวลาเทย่ี งวนั รวมเวลา 12 ชั่วโมง เรยี กว่า“เวลาก่อนเที่ยงวัน” แล้วเร่ิมนับเวลา ช่วงหลังใหม่ จากเวลาเท่ียงวันไปจนถึงเท่ียงคืน รวม 12 ชั่วโมง เรียกว่า “เวลาหลังเท่ียงวัน” รวม เวลา 2 ช่วงเปน็ 24 ชวั่ โมง เรียกวา่ 1 วนั 3. สอื่ การสอนออนไลน์ หมายถึง สอื่ การสอนเรอื่ ง การบอกเวลาเปน็ ชว่ั โมง ช่วงกลางวันและ กลางคืน สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึนด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป Power point และนาเสนอผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในระบบ Microsoft team ประกอบด้วย ภาพ เวลาเป็นนาฬกิ าและการบอกเวลา กลางวนั และกลางคนื 4. นักเรียน หมายถึง นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน 7 คน ประโยชนข์ องการวิจยั 1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที 2 มีทักษะการบอกเวลาเป็นชั่วโมง ช่วงกลางวันและ กลางคืนดขี น้ึ 2. เป็นการสร้างเจคติท่ีดีต่อการเรียนในรายวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 2

4 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยที่เก่ยี วข้อง ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาทักษะการบอกเวลาเป็นชั่วโมง ช่วงกลางวนั และกลางคืน สาหรบั นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ภายใต้สถานการณ์ COVID- 19 มีรายละเอียดดงั นี้ 1. หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 2. ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ 3. สือ่ การเรยี นออนไลน์ 4. การบอกเวลาเป็นชวั่ โมง กลางวนั และกลางคนื 5. งานวจิ ัยท่ีเก่ียวข้อง หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ความนา กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ให้ เปน็ หลกั สูตรแกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและ กรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีด ความสามารถ ในการแข่งขันในเวทีระดับโลก พร้อมกันนี้ได้ปรับกระบวนการพัฒนาหลักสูตรให้มี ความสอดคล้องกับเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และ ที่แก้ไข เพมิ่ เติม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 ที่มุ่งเน้นการกระจายอานาจทางการศึกษาให้ท้องถิ่นและสถานศึกษา ได้มีบทบาทและมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพ และ ความต้องการ ของท้องถ่ิน จากการวิจัย และติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตรในช่วงระยะ 6 ปีที่ผ่านมา พบว่า หลกั สตู รการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2544 มีจุดดีหลายประการ เช่น ช่วยส่งเสริมการกระจาย อานาจทางการศึกษาทาให้ท้องถ่ินและสถานศึกษามีส่วนร่วมและมีบทบาทสาคัญในการพัฒนา หลักสูตรให้สอดคล้อง กับความต้องการของท้องถ่ิน และมีแนวคิดและหลักการในการส่งเสริมการ

5 พัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวมอย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษาดังกล่าวยังได้สะท้อนให้เห็นถึง ประเด็นท่ีเป็นปัญหาและความไม่ชัดเจนของหลักสูตรหลายประการทั้งในส่วนของเอกสารหลักสูตร กระบวนการนหลักสตู ร สู่การปฏบิ ตั ิ และผลผลติ ที่เกิดจากการใช้หลักสูตร ได้แก่ ปัญหาความสับสน ของผปู้ ฏบิ ตั ใิ นระดบั สถานศึกษาในการพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา สถานศึกษาสว่ นใหญก่ าหนดสาระ และผลการเรียนรู้ ที่คาดหวังไว้มาก ทาให้เกิดปัญหาหลักสูตรแน่น การวัดและประเมินผลไม่ สะท้อนมาตรฐาน ส่งผลต่อปัญหาการจัดทาเอกสารหลักฐานทางการศึกษาและการเทียบโอนผลการ เรียน รวมท้ังปัญหาคุณภาพ ของผู้เรียนในด้านความรู้ ทักษะ ความสามารถและคุณลักษณะท่ีพึง ประสงค์อันยังไมเ่ ป็นท่นี ่าพอใจ นอกจากนน้ั แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 10 ( พ.ศ. 2550 – 2554) ได้ ช้ีใหเ้ ห็นถึงความจาเป็นในการปรับเปลี่ยนจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพคนในสังคมไทยให้ มีคุณธรรม และมีความรอบรู้อย่างเท่าทัน ให้มีความพร้อมท้ังด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และศีลธรรม สามารถก้าวทันการเปล่ียนแปลงเพ่ือนาไปสู่สังคมฐานความรู้ได้อย่างมั่นคง แนวการพัฒนาคน ดังกล่าวมุ่งเตรียมเด็กและเยาวชนให้มีพ้ืนฐานจิตใจท่ีดีงาม มีจิตสาธารณะ พร้อมทั้งมีสมรรถนะ ทักษะและความรู้พื้นฐานท่ีจาเป็นในการดารงชีวิต อันจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบย่ังยืน ซ่ึง แนวทางดังกล่าวสอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนของชาติ เข้าสู่ โลกยุคศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งส่งเสริมผู้เรียนมีคุณธรรม รักความเป็นไทย ให้มีทักษะการคิด วิเคราะห์ สร้างสรรค์ มีทักษะด้านเทคโนโลยี สามารถทางานร่วมกับผู้อื่น และสามารถอยู่ร่วมกับ ผอู้ นื่ ในสังคมโลกได้อย่างสนั ติ จ า ก ข้ อ ค้ น พ บ ใ น ก า ร ศึ ก ษ า วิ จั ย แ ล ะ ติ ด ต า ม ผ ล ก า ร ใ ช้ ห ลั ก สู ต ร ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น พุทธศักราช 2554 ท่ีผ่านมา ประกอบกับข้อมูลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับ ที่ 10 เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาคนในสังคมไทย และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการใน การ พัฒนาเยาวชนสู่ศตวรรษที่ 21 จึงเกิดการทบทวนหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2554 เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีความ เหมาะสม ชัดเจน ท้ังเป้าหมายของหลักสูตรในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และกระบวนการนา หลักสูตรไปสู่การปฏิบัติในระดับเขตพื้นท่ีการศึกษาและสถานศึกษา โดยได้มีการกาหนดวิสัยทัศน์ จดุ หมาย สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดที่ ชัดเจน เพ่ือใช้เป็นทิศทางในการจัดทาหลักสูตร การเรียนการสอนในแต่ละระดับ นอกจากน้ันได้ กาหนดโครงสรา้ งเวลาเรยี นข้นั ตา่ ของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรใู้ นแต่ละช้ันปไี ว้ในหลักสูตรแกนกลาง และเปิดโอกาสให้สถานศึกษาเพิ่มเติมเวลาเรียนได้ตามความพร้อมและจุดเน้น อีกท้ังได้ปรับ กระบวนการวัดและประเมนิ ผลผ้เู รียน เกณฑ์การจบการศกึ ษาแตล่ ะระดบั และเอกสารแสดงหลกั ฐาน ทางการศกึ ษาให้มีความสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรู้ และมีความชดั เจนต่อการนาไปปฏบิ ตั ิ

6 เอกสารหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 น้ี จัดทาข้ึนสาหรับ ท้องถิน่ และสถานศึกษาได้นาไปใช้เปน็ กรอบและทิศทางในการจดั ทาหลกั สูตรสถานศกึ ษา และจัดการ เรียนการสอนเพ่ือพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานให้มีคุณภาพด้าน ความรู้ และทักษะทีจ่ าเปน็ สาหรับการดารงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลง และแสวงหาความรู้เพื่อ พัฒนาตนเองอยา่ งต่อเน่อื งตลอดชวี ติ มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตัวชว้ี ดั ท่กี าหนดไวใ้ นเอกสารน้ี ช่วยทาให้หนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้อง ใน ทุกระดับเห็นผลคาดหวังท่ีต้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซ่ึงจะ สามารถช่วยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับท้องถิ่นและสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่าง มน่ั ใจ ทาใหก้ ารจัดทาหลกั สูตรในระดับสถานศึกษามีคุณภาพและมีความเป็นเอกภาพย่ิงข้ึน อีกทั้งยัง ช่วยให้เกิดความชัดเจนเรื่องการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทียบโอน ระหว่างสถานศึกษา ดังน้ันในการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดับตั้งแต่ระดับชาติจนกระท่ังถึง สถานศึกษา จะต้องสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กาหนดไว้ในหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมทั้งเป็นกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และ ครอบคลมุ ผูเ้ รียนทุกกลุ่มเป้าหมายในระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน การจัดหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานจะประสบความสาเร็จตามเป้าหมายที่คาดหวังได้ ทุก ฝ่าย ท่ีเก่ียวข้องทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทางาน อย่างเป็นระบบ และต่อเน่ือง ในการวางแผน ดาเนินการ ส่งเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจน ปรับปรงุ แกไ้ ข เพ่อื พัฒนาเยาวชนของชาติไปสู่คณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ทีก่ าหนดไว้ วสิ ัยทศั น์ หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผเู้ รียนทุกคน ซ่ึงเป็นกาลังของชาติให้เป็น มนุษยท์ ่ีมคี วามสมดลุ ท้งั ด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็น พลโลก ยึดม่ันในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มี ความรู้และทกั ษะพนื้ ฐาน รวมท้งั เจตคติ ท่ีจาเปน็ ตอ่ การศกึ ษาตอ่ การประกอบอาชพี และการศึกษา ตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพ้ืนฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองไดเ้ ต็มตามศกั ยภาพ หลักการ หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน มีหลักการท่ีสาคญั ดังนี้ 1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการ เรียนรู้ เป็นเป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบน พน้ื ฐาน ของความเป็นไทยควบคู่กบั ความเป็นสากล

7 2. เปน็ หลักสตู รการศึกษาเพ่ือปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอ ภาค และมีคุณภาพ 3. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัด การศึกษา ให้สอดคลอ้ งกบั สภาพและความต้องการของทอ้ งถ่นิ 4. เปน็ หลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการ เรียนรู้ 5. เปน็ หลักสตู รการศกึ ษาท่ีเนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั 6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตาม อธั ยาศยั ครอบคลมุ ทุกกลมุ่ เป้าหมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์ จุดหมาย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มี ความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับ ผู้เรียน เม่อื จบการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ดังน้ี 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและ ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมี ทักษะชวี ิต 3. มสี ุขภาพกายและสุขภาพจิตทด่ี ี มสี ขุ นสิ ยั และรกั การออกกาลังกาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสานกึ ในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิตและการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ 5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา สิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่งท่ีดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคม อย่างมคี วามสุข สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิด สมรรถนะสาคัญ 5 ประการ ดงั น้ี 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการ ใช้ภาษาถา่ ยทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล ขา่ วสารและประสบการณ์อันจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาตอ่ รอง

8 เพ่ือขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและ ความถกู ต้อง ตลอดจนการเลอื กใชว้ ิธกี ารสื่อสาร ทมี่ ีประสิทธภิ าพโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบท่มี ีตอ่ ตนเอง และสังคม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้ หรือสารสนเทศเพ่อื การตัดสนิ ใจเกี่ยวกบั ตนเองและสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา เป็นความสามารถในการแกป้ ัญหาและอปุ สรรคตา่ ง ๆ ที่ เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสมั พันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มา ใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจท่ีมีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบท่ี เกดิ ขน้ึ ต่อตนเอง สังคมและส่งิ แวดล้อม 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ ในการดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยู่ ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความ ขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรจู้ ักหลกี เล่ยี งพฤตกิ รรมไมพ่ งึ ประสงค์ทสี่ ่งผลกระทบต่อตนเองและผูอ้ ่ืน 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้าน ต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่อื สาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมีคุณธรรม คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพือ่ ใหส้ ามารถอยรู่ ่วมกบั ผู้อ่ืนในสงั คมได้อย่างมคี วามสุข ในฐานะเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ดังน้ี 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 2. ซ่ือสัตยส์ จุ ริต 3. มวี นิ ยั 4. ใฝ่เรยี นรู้ 5. อยูอ่ ย่างพอเพียง 6. มุ่งมน่ั ในการทางาน 7. รักความเปน็ ไทย 8. มีจิตสาธารณะ

9 นอกจากน้ี สถานศึกษาสามารถกาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพิ่มเติมให้สอดคล้องตาม บรบิ ทและจุดเน้นของตนเอง มาตรฐานการเรียนรู้ การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน จงึ กาหนดให้ผเู้ รยี นเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดงั นี้ 1. ภาษาไทย 2. คณิตศาสตร์ 3. วิทยาศาสตร์ 4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 5. สุขศกึ ษาและพลศึกษา 6. ศิลปะ 7. การงานอาชพี และเทคโนโลยี 8. ภาษาต่างประเทศ ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสาคัญของการ พฒั นาคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ระบุส่ิงที่ผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ มีคุณธรรมจริยธรรม และ ค่านิยม ท่ีพึงประสงค์เม่ือจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรู้ยังเป็นกลไก สาคญั ในการขับเคลื่อนพัฒนาการศกึ ษาทัง้ ระบบ เพราะมาตรฐานการเรยี นรู้จะสะทอ้ นให้ทราบว่า ต้องการอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร รวมท้ังเป็นเคร่ืองมือในการตรวจสอบเพื่อการ ประกันคุณภาพการศึกษาโดยใช้ระบบการประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึงการทดสอบระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพ่ือ ประกนั คุณภาพดังกล่าวเปน็ สิ่งสาคัญที่ชว่ ยสะท้อนภาพการจดั การศึกษาว่าสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มี คณุ ภาพตามทม่ี าตรฐานการเรยี นรกู้ าหนดเพยี งใด ตวั ชวี้ ัด ตัวชี้วัดระบุสิ่งท่ีนักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมท้ังคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละ ระดับช้ัน ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็น รูปธรรม นาไปใช้ ในการกาหนดเนื้อหา จัดทาหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็น เกณฑ์สาคญั สาหรบั การวดั ประเมินผลเพื่อตรวจสอบคณุ ภาพผเู้ รียน 1. ตัวช้ีวัดชั้นปี เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละชั้นปีในระดับการศึกษาภาค บงั คบั (ประถมศึกษาปที ี่ 1 – มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3) 2. ตัวชี้วัดช่วงช้ัน เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (มัธยมศกึ ษาปีที่ 4- 6)

10 หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ทาไมตอ้ งเรยี นคณติ ศาสตร์ คณิตศาสตร์มีบทบาทสาคัญยิ่งต่อความสาเร็จในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เนื่องจาก คณติ ศาสตรช์ ว่ ยให้มนุษย์มคี วามคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มแี บบแผน สามารถ วิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบและถี่ถ้วน ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหา ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และสามารถนาไปใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ คณิตศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือในการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและศาสตร์อ่ืน ๆ อันเป็นรากฐานในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของชาติให้มีคุณภาพและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้ทัดเทียม กับนานาชาติ การศึกษาคณิตศาสตร์จึงจาเป็นต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง เพ่ือให้ทันสมัยและ สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคมและความรู้ทางวิทยาศาสตร์ละเทคโนโลยีท่ีเจริญก้าวหน้าอย่าง รวมเร็วในยคุ โลกาภิวัตน์ ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ( ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐ ) ฉบับน้ี จัดทาขึ้น โดยคานึงถึงการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะท่ีจาเป็นสาหรับการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ เป็นสาคัญ นั่น คือ การเตรียมผู้เรียนให้มีทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การแก้ปัญหา การ คิดสร้างสรรค์ การใช้เทคโนโลยี การสื่อสารและการร่วมมือ ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนรู้เท่าทันการ เปล่ยี นแปลงของระบบเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรมและสภาพแวดล้อม สามารถแข่งขันและอยู่ร่วมกับ ประชาคมโลกได้ ท้ังน้ี การจดั การเรียนรูค้ ณิตศาสตรท์ ปี่ ระสบความสาเร็จน้ัน จะต้องเตรียมผู้เรียนให้ มีความพร้อมที่จะเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ พร้อมที่จะประกอบอาชีพเม่ือจบการศึกษา หรือสามารถศึกษาต่อ ในระดับท่ีสงู ขึน้ ดังน้ันสถานศกึ ษาจัดการเรยี นรู้ใหเ้ หมาะสมตามศักยภาพของผ้เู รียน เรยี นรูอ้ ะไรในคณติ ศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ จดั เปน็ ๔ สาระได้แก่ จานวนและพีชคณิต การวดั และ เรขาคณิต สถิตแิ ละความน่าจะเป็น แคลคูลัส  จานวนและพีชคณิต ระบบจานวนจริง สมบัติเก่ียวกับจานวนจริง อัตราส่วน ร้อยละ การ ประมาณค่า การแก้ปัญหาเกี่ยวกับจานวน การใช้จานวนในชีวิตจริง แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน เซตตรรกศาสตร์ นิพจน์ เอกนาม พหุนาม สมการ อสมการ กราฟ ดอกเบ้ียและ มลู คา่ ของเงนิ เมทริกซ์จานวนเชิงซ้อน ลาดับและอนุกรม และการนาความรู้เกี่ยวกับจานวน และพชี คณติ ไปใชใ้ นสถานการณ์ตา่ ง ๆ  การวัดและเรขาคณิต ความยาว ระยะทาง น้าหนัก พื้นที่ปริมาตรและความจุ เงินและเวลา หน่วยวัดระบบต่าง ๆ การคาดคะเนเก่ียวกับการวัด อัตราส่วนตรีโกณมิติ รูปเรขาคณิตและ สมบัตขิ องรูปเรขาคณิต การนึกภาพแบบจาลองทางเรขาคณิต ทฤษฎีบททางเรขาคณิต การ

11 แปลงทางเรขาคณิตในเร่ืองการเล่ือนขนาน การสะท้อน การหมุน เรขาคณิตวิเคราะห์ เวกเตอรใ์ นสามมติ ิและการนาความรู้เกีย่ วกับการวัดและเรขาคณติ ไปใชใ้ นสถานการณต์ า่ ง ๆ  สถติ ิและความน่าจะเป็น การตั้งคาถามทางสถิติ การเก็บรวบรวมข้อมูล การคานวณค่าสถิติ การนาเสนอและแปลผลสาหรบั ขอ้ มลู เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ หลักการนับเบื้องต้น ความ น่าจะเป็น การแจกแจงของตัวแปรสุ่ม การใช้ความรู้เก่ียวกับสถิติและความน่าจะเป็นในการ อธิบายเหตุการณ์ต่าง ๆ และช่วยในการตดั สินใจ  แคลคูลัส ลิมิตและความต่อเน่ืองของฟังก์ชัน อนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต ปริพันธ์ของ ฟงั กช์ ันพีชคณิตและการนาความรู้เก่ยี วกบั แคลคูลสั ไปใชใ้ นสถานการณ์ต่าง ๆ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระท่ี ๑ จานวนและพชี คณติ มาตรฐาน ค ๑.๑ เขา้ ใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของ จานวน ผล ท่เี กดิ ข้นึ จากการดาเนนิ การ สมบัตขิ องการดาเนนิ การและนาไปใช้ มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจและวเิ คราะหแ์ บบรปู ความสัมพันธ์ ฟงั กช์ ัน ลาดบั และอนกุ รม และนาไปใช้ มาตรฐาน ค ๑.๓ ใช้นิพจน์ สมการ อสมการและเมทรกิ ซ์ อธิบายความสัมพันธ์หรอื ชว่ ยแก้ปัญหาที่ กาหนดใหห้ มายเหตุ : มาตรฐาน ค ๑.๓ สาหรับผู้เรียนในระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ - ๖ สาระที่ 2 การวดั และเรขาคณิต มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพนื้ ฐานเก่ยี วกบั การวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสงิ่ ที่ตอ้ งการวดั และ นาไปใช้ มาตรฐาน ค ๒.๒ เข้าใจและวเิ คราะห์รปู เรขาคณติ สมบตั ขิ องรปู เรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหวา่ ง รูป เรขาคณิตและทฤษฎบี ททางเรขาคณติ และนาไปใช้ มาตรฐาน ค ๒.๓ เข้าใจเรขาคณิตวเิ คราะหแ์ ละนาไปใช้ มาตรฐาน ค ๒.๔ เขา้ ใจเวกเตอร์ การดาเนนิ การของเวกเตอร์และนาไปใช้ หมายเหตุ : ๑. มาตรฐาน ค ๒.๑ และ ค ๒.๒ สาหรบั ผู้เรียนในระดับช้ันมประถมศึกษาปที ี่ ๑ ถึงระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ๒. มาตรฐาน ค ๒.๓ และ ค ๒.๔ สาหรบั ผเู้ รียนในระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔ – ๖ ท่ีเนน้ วทิ ยาศาสตร์ สาระท่ี 3 สถติ แิ ละความนา่ จะเปน็ มาตรฐาน ค ๓.๑ เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิ และใช้ความรูท้ างสถติ ิในการแก้ปัญหา มาตรฐาน ค ๓.๒ เข้าใจหลกั การนับเบอ้ื งต้น ความน่าจะเป็นและนาไปใช้ หมายเหตุ : มาตรฐาน ค ๓.๒ สาหรบั ผู้เรยี นในระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ - ๖ สาระที่ 4 แคลคูลัส

12 มาตรฐาน ค ๔.๑ เข้าใจลิมติ และความตอ่ เนอ่ื งของฟังก์ชนั อนพุ ันธข์ องฟังก์ชนั และปริพนั ธข์ อง ฟังก์ชนั และนาไปใช้ สื่อการเรยี นออนไลน์ ส่อื การเรยี นการสอนออนไลนถ์ อื วา่ มคี วามสาคัญอย่างย่ิงต่อการจัดการศึกษา สื่อการสอนที่ ดีจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถทาความเข้าใจในเน้ือหาขณะท่ีเรียนได้ สื่อท่ีใช้ในการสอนควรมีความ แปลกใหม่ ดึงดูดความสนใจของผู้เรียนและกระตุ้น การเรียนรู้ เช่น วีดีโอ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว สถานการณ์จาลอง บทความทางวิชาการ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ผู้สอนควร เลือกส่ือให้เหมาะสม เช่น ขนาดตัวหนังสือ สี ความคมชัดของรูปภาพ ความถูกต้องของข้อมูล รวมท้ังสื่อท่ีนามาใช้ ควรมีความสอดคล้องกับเนื้อหาของรายวิชาเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจเพ่ิม มากข้ึน นอกจากนี้แหล่งเรียนรู้ ได้แก่ หนังสือ ตารา E-book E-journal ห้องสมุด เป็น ทางเลือกให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงส่ือการเรียนรู้ ด้วยการสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเพ่ือนามาประกอบการ เรียน ซ่ึงแหล่งเรียนรู้ควรมีความหลากหลายให้ผู้เรียนสืบค้นได้อย่างเพียงพอ ทาให้ผู้สอนไม่ จาเป็นตอ้ งใส่เน้อื หาในบทเรยี นทั้งหมด นาฬิกา นาฬิกา เป็นเครื่องมือสาหรับบอกเวลาเริ่มแรกมนุษย์เร่ิมรู้จักใช้นาฬิกาทรายและนาฬิกาน้า ซ่ึงสร้างข้ึนโดยอาศัยการไหลเวียนของทรายและน้าผ่านรูเล็กๆ ท่ีจะไว้เพื่อบอกเวลา ต่อมาเช่ือกันว่า ชาวอยี ปิ ต์เปน็ ผ้รู เิ ริม่ ประดษิ ฐ์นาฬิกา นาฬกิ าชนดิ แรกคอื นาฬิกาแดด ตอ่ มาจึงมีการประดษิ ฐ์นาฬิกา ที่ มกี ลไกประเภททใี่ ช้ตวั จกั ร และฟนั เฟอื ง อาศยั การควบคุมเวลา โดยการแกวง่ ของลูกตุ้มต่อจากนั้น การประดิษฐ์นาฬิกาก็มีวิวัฒนาการต่อมาเร่ือยๆจนในปัจจุบันมีนาฬิกาหลายชนิดหลายประเภทมีท้ัง ประเภทมีเข็มบอกเวลาและไม่มีเข็มบอกเวลาคือมีแต่ตัวเลขปรากฏให้เห็น ตัวอย่างของนาฬิกาใน ปัจจุบันได้แก่ นาฬิกาไฟฟ้า นาฬิกาคอมพิวเตอร์เป็นต้น การสอนเรื่อง นาฬิกา เป็นการวัดเวลา ภายใน 1 วนั หลงั จากแนะนาใหน้ ักเรยี นรจู้ กั ส่วนประกอบของนาฬิกา ซง่ึ มีตวั เลข 1-12 และเข็มบอก เวลาได้แกเ่ ข็มส้ัน และเข็มยาว ในการสอนอ่าน เวลาเป็นช่ัวโมงตรงกับกิจกรรมท่ีนักเรียนทาอยู่เสมอ เช่น เวลาเข้าเรียน เวลาเลิกเรียน เวลารับประทาน อาหาร ต่อไปจึงอ่านเวลาเป็นนาที การสอนเรื่อง เวลา เนื่องจากเวลาเป็นนามธรรมเวลามีลักษณะแปลกเพราะเวลาจะผ่านไปไม่ สามารถหวนกลับมา ได้อีก ดังนั้นการสอนเวลาต้องมีการสอนเฉพาะเพื่อช่วยให้นักเรียนพัฒนาความ เข้าใจอย่างแท้จริง

13 (มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช. 2545: 270-271) ไดส้ รุปหลักการสอนไว้ดังน้ี 1. การสอนเวลาควร จัดประสบการณ์เพื่อส่งเสริมความเข้าใจแก่นักเรียนในรูปของกิจกรรมที่ เก่ียวข้องกับการเรียงลาดับ เหตุการณ์ก่อนหลัง 2. การสอนเวลาควรจัดประสบการณ์ให้มีการเปรียบเทียบเวลา 3. การสอนเวลา ควรใช้กิจกรรมประเภทท่ีให้นักเรียนได้สัมผัสกับเวลาจริงๆ 4. การสอนเวลาควรใช้กิจกรรมท่ีช่วยให้ นักเรียนเกิดแนวคิดว่าเหตุการณ์ใดก็ตามท่ีเกิดข้ึน สํม่าเสมอ ย่อมสามารถนามาใช้เป็นวิธีวัดได้ 5. การสอนวิธีวัดเวลาโดยใช้นาฬิกาควรเริ่มจากการให้นักเรียนสังเกตความสํม่าเสมอในการ เคลื่อนท่ี ของเข็มวินาทีอาจทาได้โดยใช้นิ้วเคาะโต๊ะเป็นจังหวะ การเคลื่อนท่ีของเข็มวินาทีเพ่ือให้เข้าใจ ว่า หน้าปัดนาฬิกามีการแบ่งออกเป็นส่วนเท่าๆกัน 6. การสอนความสัมพันธ์ของหน่วยเวลาท่ีวัดด้วย นาฬิกา ได้แก่วินาทีนาทีช่ัวโมงควรให้ นักเรียนสังเกตการเคลื่อนท่ีของเข็มนาฬิกาจริง 7. การสอน การวัดเวลา โดยใช้นาฬิกาควรช้ีให้เห็นความจากัดของเวลาที่วัดโดยใช้นาฬิกาว่า วัดได้เพียง 12 ชั่วโมง 8. การสอนบอกเวลาควรเร่ิมจากการบอกเวลาโดยใช้ภาษาพูดจนคล่องแล้วจึงหัดบอกโดยใช้ ภาษาเขียน 9. กจิ กรรมเกยี่ วกับการบนั ทกึ พฤตกิ รรมตามเวลาต่างๆช่วยส่งเสริมความเข้าใจเรื่องเวลา ได้ เป็นอยา่ งดี 10. การสอนวดั เวลาควรสง่ เสริมและฝึกฝนให้นักเรียนมคี วามสามารถในการคาดคะเน จากที่ กล่าวมาข้างต้นสรุปได้ว่าการสอนเร่ือง เวลาจะต้องจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยให้ นักเรยี นได้รบั ประสบการณ์ตรงจากลาดับเหตุการณ์ในชีวติ ประจาวนั ท่นี ักเรยี นไดส้ มั ผัสกับเวลาจริงๆ จะช่วยส่งเสรมิ ความเข้าใจเรื่องเวลาได้เปน็ อยา่ งดี งานวิจยั ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง ดร.ธนนิ กระแสร์ ( 2558 : บทคดั ย่อ) ได้พฒั นาแบบฝกึ ทักษะ เรือ่ ง เวลา โดยใช้วฏั จักร การเรยี นรู้ 4MAT สาหรบั นกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ ผลการวจิ ัยพบวา่ นกั เรยี นที่เรียนดว้ ยแบบฝึกทักษะ เรอื่ ง เวลา โดยใชว้ ัฏจักรการเรยี นรู้ 4MAT สาหรับนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปที ่ี 3 มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นสูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนยั สาคัญทางสถิตทิ รี่ ะดบั .01 ลดาวัลย์ เล็กกระจ่าง (2559 : บทคัดย่อ) ได้สอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการ จัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานร่วมกับบทเรียนบนแท็บเล็ตพีซี เร่ืองเวลา กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ สาหรับนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 พบว่ามีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ อยู่ใน ระดับมาก ปานทิพย์ ดอนอ่วมไพร (2553 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง “เวลา” ของนกั เรียน ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 2 ท่ีมีความบกพร่องทางสติปญั ญาระดับเล็กน้อย จากการสอนโดย ใช้สอื่ การสอนหนังสอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ (E-book) สูงข้นึ

14 สมสมยั ญาติฝงู (2556 : บทคดั ย่อ) ได้ศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นวิชา คณิตศาสตร์ เรื่อง เวลา ด้วยรปู แบบการเรียนรแู้ บบร่วมมอื ของนักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 โรงเรียนปรนิ ส์รอยแยลสว์ ทิ ยาลัย พบวา่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาคณติ ศาสตร์ เรอ่ื ง เวลา ของ นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4/5 ภายหลงั ไดร้ ับการสอนดว้ ยรูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือสงู กว่ากอ่ น ได้รับการสอนปกตโิ ดยมีคะแนนผลตา่ งเฉลี่ยเทา่ กบั 10 คะแนน และคา่ เฉลยี่ ร้อยละของคะแนนทเี่ พ่ิมขนึ ้ เทา่ กบั 33.33

15 บทท่ี 3 วธิ ีดาเนนิ การวิจัย ในกาวิจยั ครัง้ น้ี ผวู้ ิจัยดาเนินการวิจยั ดงั รายละเอยี ดตอ่ ไปนี้ 1. ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง 2. วธิ ีดาเนนิ การ 3. เครือ่ งมือทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัย 4. วธิ กี ารรวบรวมขอ้ มูล 5. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 6. สถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมลู ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรยี นบ้านทา่ อาจ อาเภอแม่สอด จงั หวัดตาก ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จานวนนักเรียน 32 คน ซงึ่ เปน็ นักเรยี นท่ผี ู้วิจัยรับผดิ ชอบสอน กลมุ่ ตวั อย่าง กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งน้ี เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านท่าอาจ อาเภอแม่สอด จงั หวดั ตาก ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน 7 คน ซงึ่ เปน็ นักเรียนทีย่ ังขาดทักษะการบอกเวลาเป็นช่ัวโมง ชว่ งกลางวันและกลางคืน

16 วิธดี าเนนิ การ 1. ใหน้ กั เรยี นฝึกบอกเวลาเป็นชวั่ โมงตามเข็มนาฬิกา ในเวลาเรียนแล้วทดสอบการการบอก เวลาตามทค่ี รู กาหนดให้นาผลทดสอบการอ่านมาคัดเลือกนักเรียนท่ีมีปัญหาการบอกเวลาเป็นช่ัวโมง ในคณิตศาสตร์ จากนั้นสอนซ่อมเสรมิ 2. วางแผนการจดั ทาสอื่ การเรียนรู้ออนไลน์การบอกเวลาเปน็ ชั่วโมง เพื่อแก้ปัญหาการบอก เวลาเป็นชว่ั โมง ในชว่ งกลางวันและกลางคืน และระยะเวลาในการปฏิบตั ิการแก้ปัญหา เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการวจิ ยั เคร่ืองมอื ท่ีใช้ในการศึกษาคร้งั น้ปี ระกอบดว้ ย 1. ส่อื การเรยี นรอู้ อนไลน์ การบอกเวลาเป็นช่วั โมง ในชว่ งกลางวนั และกลางคนื 2. หนงั สอื เรียนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 2 สถาบันพฒั นาคุณภาพวิชาการ ( พว.) 3. แบบทดสอบการบอกเวลาเปน็ ชั่วโมง วธิ ีรวบรวมขอ้ มลู ผวู้ ิจัยไดด้ าเนินการรวบรวมข้อมลู ดงั นี้ 1.ผู้วิจัยได้ดาเนินการพัฒนาทักษะการบอกเวลาเป็นช่ัวโมง ในช่วงกลางวันและกลางคืน ให้กบั ประชากรกลมุ่ ตัวอยา่ ง เป็นเวลา 6 วัน ดงั น้ี 1.1 วนั จันทร์ ท่ี 22 พฤศจิกายน 2564 ทดสอบการอ่านกับนักเรียนกล่มุ ตวั อยา่ ง สอน ซอ่ มเสริมโดยใช้ส่ือการเรียนรู้ออนไลน์ การบอกเวลาเปน็ ช่ัวโมง 1.2 วนั พฤหัสบดี ท่ี 25 พฤศจิกายน 2564 สอนซ่อมเสริมนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ สอื่ การเรยี นรูอ้ อนไลน์ การบอกเวลาเปน็ ชว่ั โมง 1.3 วันศุกร์ ท่ี 26 พฤศจิกายน 2564 ทดสอบการอ่านนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้คา จากหนังสือพัฒนาคณุ ภาพวิชาการ ( พว)

17 1.4 จันทร์ ที่ 29 พฤศจกิ ายน 2564 สอนซ่อมเสริมนกั เรยี นกลุ่มตัวอยา่ ง โดยใช้สื่อการ เรยี นรู้ออนไลน์ การบอกเวลาเปน็ ชั่วโมง 1.5 วันพฤหัสบดี ท่ี 2 ธันวาคม 2564 สอนซ่อมเสริมนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ส่ือ การเรียนรู้ออนไลน์ การบอกเวลาเปน็ ชัว่ โมง 1.6 วนั ศุกร์ ที่ 3 ธันวาคม 2564 ทดสอบการบอกเวลาเป็นช่ัวโมง นักเรียนกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้แบบฝกึ จากหนงั สอื พัฒนาคณุ ภาพวิชาการ ( พว) 2. ผู้วจิ ยั เกบ็ ขอ้ มลู ดว้ ยตนเอง โดยใชแ้ บบทดสอบการบอกเวลาเปน็ ชัว่ โมง เป็นรายบุคคล การวิเคราะหข์ อ้ มลู การวเิ คราะห์คะแนนจากการบอกเวลาเป็นช่ัวโมง ช่วงกลางวันและกลางคืน ท่ีนักเรียนได้ ทาการทดสอบการบอกเวลาเปน็ ชัว่ โมง ในแต่ละครงั้ นัน้ กระทาวิเคราะห์โดยหาค่าเฉล่ียรอ้ ยละ สถิตทิ ีใ่ ช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู หาค่ารอ้ ยละโดยใชส้ ตู ร คา่ รอ้ ยละ = ̅ x 100 โดยที่ ̅ แทน คะแนนทไ่ี ด้ N แทน จานวนกลุ่มตวั อย่าง คา่ เฉลย่ี โดยใช้สตู ร ̅ =∑ โดยที่ ̅ แทน คา่ เฉล่ีย ∑ แทน ผลรวมคะแนนผ้เู รยี นกลุ่มตวั อย่าง N แทน จานวนผู้เรยี นกลมุ่ ตัวอยา่ ง

18 บทท่ี 4 ผลการวจิ ยั สถิติท่ีใชใ้ นการวจิ ยั 1. การหาค่าเฉล่ีย 2. การหาคา่ รอ้ ยละ การวิเคราะห์ข้อมูล จากการวิจัยในชั้นเรียนได้ศึกษาประชากรกลุ่มตัวอย่างนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที 2 จานวน 7 คน ภาคเรียนที 2 ปีการศึกษา 2564 ผู้วิจัยได้ทาการพัฒนาทักษะการบอกเวลาเป็น ชั่วโมง โดยใช้สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภายใต้สถานการณ์ COVID- 19 ทาการประเมนิ การอา่ น ดงั นี้ ท่ี ชื่อ-สกลุ ผลการบอกเวลาเปน็ ชวั่ โมง 1 เด็กชายชิดวาย คะแนนกอ่ น ประเมินการ ประเมนิ การ 2 เดก็ ชายอ่าวโซโม ฝึก บอกเวลาคร้งั บอกเวลา 3 เด็กชายมังกร ครัง้ ที่ 2 4 เด็กหญิงแตแตอา่ ว 2 ที่ 1 5 เดก็ หญงิ โมนนิ อู 2 4 8 6 เดก็ หญิงเยง่ มา่ เอ 4 4 8 7 เดก็ หญิงยะมินตู่ 4 8 10 รวม 2 8 10 คา่ เฉล่ีย 4 4 8 รอ้ ยละ 2 8 10 20 4 8 2.85 40 62 28.5 5.71 8.85 57.1 88.5

19 เกณฑก์ ารให้คะแนน 9-10 คะแนน ระดับ ดมี าก 7-8 คะแนน ระดบั ดี 5-6 คะแนน ระดับ พอใช้ 0-4 คะแนน ระดับ ปรับปรุง

20 บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ สรปุ ผลการวิจยั จากผลการสรุปวจิ ยั ไดด้ งั น้ี นักเรียนประถมศึกษาปีท่ี 2 มีการพัฒนาทักษะการบอกเวลาเป็นชั่วโมง โดยใช้ส่ือการ เรียนรู้ออนไลน์ สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ภายใต้สถานการณ์ COVID- 19 ดีข้ึน สงั เกตจากการผลวิเคราะหใ์ นตาราง กอ่ นการสอื่ การเรียนรอู้ อนไลน์ใชม้ ีการพฒั นาขนึ้ รอ้ ยละ 50 อภปิ รายผลการวิจัย ผลจากการศึกษาคน้ ควา้ ครัง้ น้ี เปน็ การพฒั นาทักษะการบอกเวลาเป็นชั่วโมง โดยใช้ส่ือการ เรียนรู้ออนไลน์ สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ภายใต้สถานการณ์ COVID- 19 สามารถ อภปิ รายผลได้ดังนี้ ผลการเปรียบเทียบพัฒนาทักษะการบอกเวลาเป็นชั่วโมง โดยใช้สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ สาหรับนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปีที่ 2 ภายใต้สถานการณ์ COVID- 19 จากกลุ่มเป้าหมาย นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 พบว่า นักเรียนมีการพัฒนาทักษะพัฒนาทักษะการบอกเวลาเป็นช่ัวโมง โดย ใช้ส่ือการเรียนรู้ออนไลน์ สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภายใต้สถานการณ์ COVID- 19ที่ ดีข้นึ จากคะแนนก่อนการใช้สื่อพัฒนาทักษะการบอกเวลาเป็นช่ัวโมง โดยใช้สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ สาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 ภายใต้สถานการณ์ COVID- 19 ค่าเฉลี่ยเป็น 2.85 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 28.5 และคะแนนหลังใช้แบบฝึกทักษะมีค่าเฉล่ียเป็น 8.85 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 88.50 ซึ่งเป็นตามผลท่ีคาดหวังไว้ จากการสังเกตพบว่า นักเรียนที่ได้รับการพัฒนาทักษะการบอกเวลาเป็นช่ัวโมง โดยใช้สื่อ การเรียนรู้ออนไลน์ สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภายใต้สถานการณ์ COVID- 19 นักเรียนมีทักษะการบอกเวลาเป็นช่ัวโมง โดยใช้ส่ือการเรียนรู้ออนไลน์ดีขึ้น นักเรียนสามารถนา พฒั นาทกั ษะการบอกเวลาเป็นชัว่ โมงขึ้นนี้ ไปใช้กับการอ่านเพ่ือศกึ ษาในวิชาอนื่ ๆ ได้

21 ดังน้ัน การพัฒนาทักษะการบอกเวลาเป็นช่ัวโมง โดยใช้ส่ือการเรียนรู้ออนไลน์ สาหรับ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 ภายใต้สถานการณ์ COVID- 19 เป็นวิธีท่ีช่วยให้นักเรียนสามารถ บอกเวลาเป็นช่ัวโมง กลางวันและกลางคืนได้ดีข้ึน และมีผลการพัฒนาการเรียนในรายวิชา คณติ ศาสตร์ดีขนึ้ รวมทั้งยังสามารถนาไป บูรณาการในรายวิชาอื่น ๆ ได้ ขอ้ เสนอแนะ 1. ขอ้ เสนอแนะท่วั ไป ครูผูส้ อนควรพฒั นาสอ่ื การเรียนรู้ออนไลน์ การบอกเวลาเป็นชั่วโมง ท่ีหลากหลายรูปแบบ และมีภาพประกอบ มากย่ิงข้ึน เพ่ือที่จะได้ให้นักเรียนพัฒนาทักษะและมีการ ฝกึ ฝนเพ่มิ มากขน้ึ 2. ขอ้ เสนอแนะในการศกึ ษาคร้ังต่อไป 2.1 ควรพัฒนาสอ่ื การเรยี นรอู้ อนไลน์ให้มปี ระสทิ ธิภาพมากขน้ึ 2.2 ใช้ส่ือการเรียนรู้ออนไลน์ทักษะการบอกเวลาเป็นช่ัวโมง โดยใช้ส่ือการเรียนรู้ออนไลน์ สาหรับนกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 2 ภายใตส้ ถานการณ์ COVID- 19 การบอกเวลาเป็นชัว่ โมง ช่วง กลางวนั และกลางคนื ในเวลาชวี ิตประจาวนั กบั ท่บี ้าน และในระดับช้ัน อืน่ ๆ ท่ีเรียนวชิ าคณิตศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการบอกเวลาเป็นชั่วโมง โดยใช้สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ สาหรับนักเรียนชั้น ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 ภายใต้สถานการณ์ COVID- 19 ในคณิตศาสตร์ให้ดยี ่งิ ขนึ้ 2.3 ควรใชร้ ะยะเวลาท่ีเหมาะสมในการฝกึ ทักษะ เพอ่ื ใหไ้ ด้ผลและประสทิ ธิภาพทดี่ ี

22 บรรณานุกรม สมศรี ตรีทเิ พนทร์ . (2543). การศึกษาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น เรอ่ื งการบอกเวลา ของนกั เรียนทม่ี ี ความบกพร่อง ทางสติปญั ญา ระดับเรยี นได้ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 จากการสอนโดยใชช้ ดุ การสอน เร่อื ง การบอกเวลา.กรงุ เทพมหานคร : ฐานข้อมลู วทิ ยานิพนธ์ไทย. ศูนย์เฉพาะกิจการจัดการศึกษาทางไกลในสถานการณ์โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 สานักงานคณะ กรรการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน. (๒๕๖๓). แนวทางการจัดการเรยี นการสอนของ โรงเรียนสังกัดอย่างมีประสิทธิภาพ สานักงานคณะกรรการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานในสถานการณ์ การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา2019 ปีการศึกษา ๒๕๖๓. (ออนไลน์). แหล่งท่ีมา: https://www.obec.go.th/archives/246004 (๒๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔). สุวัฒน์ บรรลือ. (๒๕๖๐). รูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ที่เหมาะสม สาหรับ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. วารสารมหาวิทยาลัยร้อยเอ็ด ปีท่ี ๑๑ ฉบับท่ี ๒ กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๐, ๒๕๐ - ๒๖๐ มนธชิ า ทองหตั ถา. (๒๕๖๔). สภาพการจัดการเรยี นรูแ้ บบออนไลนใ์ นสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ของครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: file:///C:/Users/HP/Downloads/250028-Article%20Text-901975-1-10-20210629.pdf . (๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๔) ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๔๖). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พทุ ธศักราช ๒๕๔๒. กรุงเทพมหานคร. บริษทั อกั ษรเจรญิ ทัศน.์

23 ภาคผนวก

24

25

26

27


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook