Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทักษะชีวิตเพื่อการป้องกันยาเสพติด

ทักษะชีวิตเพื่อการป้องกันยาเสพติด

Published by อรอนงค์ เยาวนิตย์, 2021-08-15 14:46:11

Description: ทักษะชีวิตเพื่อการป้องกันยาเสพติด

Search

Read the Text Version

ทกั ษะชวี ิตเพ่อื การปอ้ งกนั ยาเสพตดิ

ทกั ษะชีวติ คือ ความสามารถพ้นื ฐานที่ทุกคน ตอ้ งใชใ้ นการเลือกทางดาเนินชีวติ ใหม้ ีประสิทธิภาาพ ใครบางที่ควรมีทกั ษะชีวิต - ทุกคน - ทุกเพศ - ทุกวยั - ทกุ อาชีพ

ทําไมต้องมที กั ษะชีวติ ทุกคนตอ้ งมีทกั ษะชีวติ เพื่อใหส้ ามารถดาเนินชีวติ อยใู่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งมี ความสุข การสร้างหรือการถ่ายทอดทักษะชีวติ ทําได้โดย ๑. โดยการถ่ายทอดประสบการณ์ ๒. โดยการฝึกอบรมใหเ้ กิดความชานาญ จนสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้

ทกั ษะชีวติ ๑. การประเมินสถานการณ์และระบุปัญหา ๒. การประเมินศกั ยภาาพของตนเองในสถานการณ์เฉพาะหนา้ ๓. การคิดทางเลือกและจดั ลาดบั ทางเลือก ๔. การตดั สินใจเลือกทางท่ีเหมาะสม ๕. การส่ือสารแจง้ ความคิดและการตดั สินใจ ๖. การปฏิเสธและการต่อรองเพ่อื รักษาน้าใจและประโยชนข์ องตนเอง ๗. การส่ือสาร โนม้ นา้ วจูงใจไปสู่ทางท่ีถกู ตอ้ ง ๘. การควบคุมอารมณ์ ๙. การพฒั นาและปรับเปล่ียนอารมณ์

ทักษะชีวติ ท่จี าํ เป็ น ๑. ทกั ษะการคิด ๒. ทกั ษะการแกป้ ัญหา ๓. ทกั ษะการสื่อสาร ทกั ษะการคดิ ๑. หาปัญหา ๒. เห็นปัญหา ๓. หาแนวทางแกไ้ ข ๔. หาทางเลือกใหต้ นเอง

ความคดิ ได้มาจากไหน ๑. สงั เกต ๒. การส่งเสริมประสบการณ์ ๓. การเรียนรู้ ๔. จดจาเกี่ยวกบั ชีวติ เราเอง จินตนาการได้คาดการณ์ไว้ว่า ส่ิงท่ีเกิดข้ึนเป็นเร่ืองใกลต้ วั ไดฝ้ ึกคิดในช่วงเวลาชีวติ แต่ละวนั ทกั ษะการส่ือสาร ส่ือสารดว้ ยมือ ท่าทาง วาจา เพื่อถ่ายทอดความคิดและความรู้สึก การตดั สินใจเลือก ทางเลือกของตนที่เหมาะสมกบั สถานการณ์ การย้าขอ้ เสนอของตน และการสรุปเร่ืองราว

หลกั การปฏิเสธ การปฏิเสธเป็นสิทธิส่วนบุคคลท่ีทุกคนควรเคารพและยอมรับการปฏิเสธท่ีใชไ้ ดผ้ ลมกั เป็นการปฏิเสธ ในสถานการณ์ที่ถูกชวนไปทาในส่ิงท่ีไม่เกิดประโยชนห์ รือเกิดผลกระทบในแง่ลบตามมา การปฏิเสธท่ีดี จะตอ้ งปฏิเสธอยา่ งจริงจงั ท้งั ท่าทาง คาพดู และน้าเสียง เพอื่ แสดงความต้งั ใจอยา่ ง ชดั เจนท่ีจะปฏิเสธ ข้ันตอนการปฏิเสธ ๑. ใชค้ วามรู้สึกเป็นขอ้ อา้ งประกอบเหตุผล เพราะใชเ้ หตุผลอยา่ งเดียวมกั ถูกโตเ้ ถียงดว้ ยเหตุผลอื่น การอา้ งความรู้สึกจะทาใหโ้ ตแ้ ยง้ ไดย้ ากข้ึน เช่น “ฉนั กลวั คุณพ่อคุณแม่จะเป็นห่วงถา้ กลบั บา้ นชา้ ” ๒. การขอปฏิเสธ เป็นการบอกปฏิเสธใหช้ ดั เจนเป็นคาพดู เช่น “ขอไม่ไปนะเพ่อื น” ๓. การขอความเห็นชอบเพือ่ รักษาน้าใจของผชู้ วน และควรกล่าวขอบคุณเม่ือผชู้ วนยอมรับ เช่น “เธอคงไม่วา่ อะไรใช่ไหม...”

การหาทางออกเม่ือถูกเซ้าซี้หรือสบประมาท บางคร้ังผชู้ วนพดู เซา้ ซ้ีต่อเพอื่ ชวนใหส้ าเร็จ ผถู้ ูกชวนไมค่ วรหวนั่ ไหวไปกบั คาพดู เพราะจะทาใหข้ าดสมาธิในการหาทางออก ควรยนื ยนั การปฏิเสธดว้ ยท่าทีมนั่ คง และหาทางออกโดย เลือกวธิ ีต่อไปน้ี ๑. ปฏิเสธซ้าโดยไมต่ อ้ งใชข้ อ้ อา้ ง พร้อมท้งั บอกลาแลว้ เดินจากไปทนั ที เช่น “ไม่ไปดีกวา่ เราขอ กลบั ก่อนนะ” (เดินออกไปทนั ที) ๒. การตอ่ รอง โดยการชวนไปทากิจกรรมอ่ืนที่ดีกวา่ มาทดแทน เช่น “เอาอยา่ งน้ีดีไหม เธอไปดู หนงั สือท่ีบา้ นเรากแ็ ลว้ กนั ” ๓. การผดั ผอ่ น โดยการขอยดื ระยะเวลาออกไปเพ่ือใหผ้ ชู้ วนเปล่ียนความต้งั ใจ เช่น “ฉนั ตอ้ งไป แลว้ ไวว้ นั หลงั กแ็ ลว้ กนั นะ” (เดินออกจากเหตกุ ารณ์)

ทกั ษะการปฏิเสธ ๘ วธิ ี เม่ือถูกชักชวนเสพยา ๑. บอกไปตรงๆ “ไม่หรอก ขอบใจนะ” แมว้ ธิ ีปฏิเสธเช่นน้ีอาจดูวา่ แสนธรรมดา แต่ทวา่ เป็น คาพดู ท่ี หลายคนมกั จะมองขา้ ม คาวา่ “ไม่หรอก ขอบใจนะ” จะใชไ้ ดผ้ ล ท้งั เมื่อตกอยใู่ นสถานการณ์ที่ถูกเพอื่ นชวน อยา่ งเป็นมิตรหรือถูกกดดนั อยา่ งไรกด็ ี ตอ้ งตระหนกั อยเู่ สมอวา่ คาปฏิเสธเช่นน้ีอาจใชไ้ ม่ไดผ้ ลเสมอไป ดงั น้นั จึงจาเป็นตอ้ งมีวธิ ีการปฏิเสธรูปแบบอ่ืนเตรียมรองรับไวด้ ว้ ย ๒. ใหเ้ หตุผลหรือขอ้ อา้ ง บ่อยคร้ังที่เดก็ ๆ มกั จะลาบากใจที่จะบอกปฏิเสธเพ่อื น ดงั น้นั เดก็ ตอ้ งรู้เท่าทนั ท่ีจะหลีกเล่ียงการถูกกดดนั จากกลุ่มหรือแกง๊ ที่ชกั ชวนใหเ้ สพยา โดยการใหเ้ หตุผลหรือขอ้ อา้ ง เพียงแต่ตอ้ ง ระลึกเสมอวา่ เหตุผลหรือขอ้ อา้ งน้ี จะตอ้ งทาใหผ้ ชู้ กั ชวนยอมแพไ้ ปเองได้ เช่น ไม่มีเงิน สุขภาาพไม่ดี ไม่อยาก ทาใหแ้ ม่เสียใจ เป็นตน้ ๓. พดู ปฏิเสธซ้าซาก การยนื กระต่ายขาเดียว “ไม่” อยา่ งซ้าซากนบั เป็นวธิ ีปฏิเสธที่ไดผ้ ล เม่ือตอ้ งการ บอกจุดยนื ของตวั เอง และอาจใชเ้ ทคนิคปฏิเสธแบบอื่นร่วมดว้ ยได้

๔. เดินหนี วธิ ีการน้ีนบั วา่ เป็นอีกวธิ ีหน่ึงท่ีใชไ้ ดผ้ ลมากที่สุด ท้งั น้ีจะตอ้ งตระหนกั วา่ เรามีสิทธิ เตม็ ท่ี ท่ีจะปฏิเสธส่ิงไม่ดีท่ีมีผหู้ ยบิ ยนื่ ให้ ๕. เปลี่ยนเร่ืองสนทนาในบางสถานการณ์ เราอาจไม่สามารถเดินหนีหรือหลีกเล่ียงสภาาวะถูกกดดนั ได้ ดงั น้นั ใหล้ องเปล่ียนหวั ขอ้ การสนทนาเพ่อื เบ่ียงเบนความสนใจของผชู้ กั ชวน เมื่อคุยจนเบื่อแลว้ ใหห้ า โอกาสเดินออกมาทนั ที ๖. หลีกเล่ียงสถานการณ์ สามญั สานึกของมนุษยจ์ ะบอกวา่ สถานที่ใด เวลาใด สุ่มเสี่ยงต่อการเกิด เหตุการณ์รุนแรง หรือตอ้ งตกอยใู่ นสภาาวะกดดนั ดงั น้นั พยายามหลีกเล่ียงสถานการณ์เหล่าน้ีใหม้ ากที่สุด เพ่อื ความไม่ประมาทควรแจง้ ใหพ้ ่อแม่ทราบวา่ เราทากิจกรรมใดบา้ ง และไปกบั ใคร ๗. ทาเป็นไม่สนใจ หากตอ้ งเผชิญหนา้ กบั ผทู้ ี่ชกั ชวนใหเ้ สพยา พยายามอยา่ คุยดว้ ย ใหห้ นั ไปคุยกบั คนอ่ืนที่เหลือ เป็นการซ้ือเวลาก่อนที่จะนาทกั ษะปฏิเสธอื่นๆ มาใช้ ๘. เลือกคบเพอื่ นดี วธิ ีการน้ีนบั ไดว้ า่ เป็นทกั ษะการปฏิเสธ (การเสพยา) ท่ีสาคญั ที่สุด การคบเพ่อื น ท่ีดีจะทาใหเ้ ราไม่ตอ้ งตกอยใู่ นวงั วนของการสุ่มเส่ียง ถูกชกั นาใหล้ องเสพยา ตรงกนั ขา้ ม หากเราคบ เพือ่ นที่มีปัญหา ปัญหาที่จะมาถึงตวั เราไม่ชา้ กเ็ ร็ว

QR Code สำหรับชมวดิ โี อ ประกอบบทเรียนสำเร็จรูป ทักษะชวี ติ เพ่อื ปอ้ งกันยำเสพตดิ

อำ้ งอิง คู่มือการฝึกอบรม หลกั สูตรลกู เสือตา้ นภยั ยาเสพติด สานักการลูกเสอื ยุวกาชาด และกจิ การนกั เรียนสานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ https://www.youtube.com/watch?v=6Tmeyg9fCLM https://www.youtube.com/watch?v=0qcVncS2cfA&t=376s

ผู้จดั ทำ 1. นำยสมโชค จ่ำวสิ ตู ร ครู โรงเรยี นวดั พชิ ยั ยำรำม 2. นำยชุติกร ตนั ติวศิ ำลเกษตร ครู โรงเรยี นวัดพชิ ัยยำรำม 3. นำยสทุ ธิชัย หุนตระณี ครู โรงเรียนวดั พิชัยยำรำม 4. นำงสำวอรอนงค์ เยำวนิตย์ ครู โรงเรยี นวดั พิชัยยำรำม 5. นำงสำยใจ บัวเพชร ครู โรงเรียนวดั พชิ ัยยำรำม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook