แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาสุขศกึ ษา (พ23101) ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 เสนอ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พัชรภี รณ์ บางเขียว จดั ทาโดย นางสาวพมิ พภ์ สั สร มว่ งสิงห์ เลขที่ 13 หมู่เรยี น D5 คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ สาขาวชิ าภาษาไทย (ค.บ.5ป)ี รายงานเลม่ นเี้ ปน็ ส่วนหนึง่ ของรายวิชาการจัดการเรียนรู้และการจัดการชน้ั เรียน รหัสวิชา 1100301 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏบ้านสมเดจ็ เจ้าพระยา
ก คานา รายงานเล่มน้ีเป็นส่วนหน่ึงของรายวิชาการจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน (110301) โดยมี จุดประสงค์เพ่ือศึกษากระบวนการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้จากแผนการเรียนรู้ในสถานศึกษาต่าง ๆ เข้าใจการเขียนเพื่อตอบสนองการจัดการศึกษาในศตวรรษท่ี 21 กล่าวคือ การจัดการเรียนการสอนทเี่ น้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ มีจุดเน้นในเร่ืองของการได้ลงมือปฏิบัติสามารถนาองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้ใน ชีวิตประจาวัน กาหนดขอบเขตการศึกษาเป็น 4 ประเด็นหลัก คือ แผนจัดการเรียนรู้ โครงสร้างรายวิชา ตารางวิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 และ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 ทั้งน้ีแผนการจัดการเรียนรู้ที่ สาคัญคือ ผนวกเน้ือหาให้สอดคล้องกับทฤษฎใี น หัวข้อตา่ ง ๆ เพอื่ ความสมบูรณข์ องเนอ้ื หาและประสทิ ธผิ ลของการสอน ผูจ้ ัดทาได้เลือกหัวข้อน้ีในการทางานรายงาน เน่อื งมาจากเป็นเรื่องทม่ี ีความน่าสนใจ รวมถงึ เป็นเรื่อง ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ด้วย ท้ังน้ีผู้จัดทาขอขอบพระคุณ ผู้ช่วย ศาสตราจารย์ ดร. พชั รภี รณ์ บางเขียว อาจารยป์ ระจารายวิชา ซง่ึ เปน็ ผใู้ ห้ความรู้ และแนวทางการศึกษา ผจู้ ัดทาหวงั วา่ รายงานฉบบั นี้ จะใหค้ วามรู้และเป็นประโยชนแ์ กผ่ ูอ้ ่านทกุ ๆ ท่าน พมิ พภ์ ัสสร ม่วงสิงห์ ผ้จู ดั ทา
สารบัญ ข เรือ่ ง หนา้ คานา ก สารบัญ ข แผนการจัดการเรียนรูร้ ายปี 1 คาอธบิ ายรายวิชา 6 ตารางโครงสรา้ งรายวชิ า 7 แผนการจัดการเรยี นรู้รายหน่วย 10 แผนการจดั การเรยี นรู้หน่วยท่ี 1 11 แผนการจัดการเรียนรูห้ น่วยท่ี 2 26 แผนการจดั การเรียนรู้หน่วยท่ี 4 40 บรรณานกุ รม 54
1 แผนการจัดการเรยี นรูร้ ายปี สาระการเรยี นรู้ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา รายวิชา สขุ ศกึ ษา พ23101 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 เวลา 40 ชว่ั โมง จานวน 0.5 หนว่ ยกิต ครผู ูส้ อน นางสาวพิมพภ์ ัสสร มว่ งสิงห์ 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชี้วัด มาตรฐานการเรยี นรู้ พ 1.1 เข้าใจธรรมชาตขิ องการเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ย์ ตัวช้วี ัด พ 1.1 ม.3/1 เปรยี บเทียบการเปลยี่ นแปลงทางด้านร่างกายจิตใจ อารมณ์ สงั คม และ สตปิ ัญญา แต่ละช่วงชวี ิต พ 1.1 ม.3/2 วิเคราะห์อทิ ธพิ ลและความคาดหวงั ของสงั คมตอ่ การเปลี่ยนแปลงของ วยั รุ่น พ 1.1 ม.3/3 วิเคราะห์สอื่ โฆษณาทมี่ อี ทิ ธิพลตอ่ การเจริญเติบโต และพฒั นาการของ วัยรนุ่ มาตรฐานการเรียนรู้ พ 2.1 เขา้ ใจและเหน็ คณุ ค่าตนเอง ครอบครวั เพศศกึ ษา และมีทักษะ ในการ ดาเนนิ ชวี ติ ได้ ตวั ชว้ี ัด พ 2.1 ม.3/1 อธิบายอนามัยแม่และเด็ก การวางแผนครอบครวั และวธิ ีการปฏิบตั ิตนท่ี เหมาะสม พ 2.1 ม.3/2 วเิ คราะห์ปจั จัยท่มี ผี ลกระทบต่อการต้ังครรภ์ พ 2.1 ม.3/3 วิเคราะหส์ าเหตุ และเสนอแนวทางปอ้ งกนั แกไ้ ข ความขัดแย้งในครอบครัว มาตรฐานการเรียนรู้ พ 4.1 เหน็ คณุ คา่ และมีทักษะในการสรา้ งเสริมสขุ ภาพ การดารงสุขภาพ การปอ้ งกันโรค และการสร้างเสรมิ สมรรถภาพเพ่ือสุขภาพ ตัวชว้ี ดั พ 4.1 ม.3/1 กาหนดรายการอาหารที่เหมาะสมกบั วยั ตา่ ง ๆ โดยคานึงถึงความประหยดั และคุณค่าโภชนาการ พ 4.1 ม.3/2 เสนอแนวทางป้องกันโรคทเี่ ปน็ สาเหตสุ าคญั ของการเจ็บป่วยและการตาย ของคนไทย พ 4.1 ม.3/3 รวบรวมขอ้ มูลและเสนอแนวทางแกไ้ ขปัญหาสุขภาพในชมุ ชน พ 4.1 ม.3/4 วางแผนและจัดเวลาในการออกกาลังกาย การพักผอ่ นและการสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพทางกาย พ 4.1 ม.3/5 ทดสอบสมรรถภาพทางกาย และพัฒนาได้ตามความแตกตา่ งระหว่างบุคคล
2 มาตรฐานการเรียนรู้ พ 5.1 ปอ้ งกนั และหลกี เลี่ยงปจั จัยเส่ียง พฤตกิ รรมเส่ยี งต่อสุขภาพ อบุ ตั เิ หตุ การใชย้ า สารเสพตดิ และความรุนแรง ตวั ชีว้ ดั พ 5.1 ม.3/1 วิเคราะห์ปจั จัยเสย่ี งและพฤตกิ รรมเสีย่ งทม่ี ผี ลต่อสุขภาพและแนวทาง ปอ้ งกนั พ 5.1 ม.3/2 หลีกเล่ยี งการใชค้ วามรุนแรงและชกั ชวนเพ่ือนใหห้ ลีกเลยี่ งการใชค้ วาม รุนแรงในการแกป้ ัญหา พ 5.1 ม.3/3 วิเคราะหอ์ ทิ ธิพลของส่ือต่อพฤตกิ รรมสุขภาพและความรุนแรง พ 5.1 ม.3/4 วเิ คราะห์ความสัมพันธข์ องการด่ืมเครอื่ งดื่มทมี่ แี อลกอฮอลต์ อ่ สุขภาพ และการเกิดอบุ ัติเหตุ 2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 2.1 ความรู้ (K) 2.1.1 นกั เรียนสามารถเปรยี บเทียบการเปล่ียนแปลงทางดา้ นร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญาแตล่ ะช่วงชวี ิตได้ 2.1.2 นักเรยี นสามารถวิเคราะห์อทิ ธพิ ลและความคาดหวังของสงั คมต่อการเปลย่ี นแปลง ของวัยรนุ่ ได้อย่างถูกตอ้ ง 2.1.3 นักเรยี นสามารถวิเคราะหส์ ่อื โฆษณาท่ีมอี ิทธิพลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการ ของวัยรุน่ ไดอ้ ย่างถูกต้อง 2.1.4 นักเรียนสามารถอธบิ ายอนามยั แม่และเดก็ ได้ 2.1.5 นกั เรยี นสามารถอธบิ ายการวางแผนครอบครวั ได้ 2.1.6 นกั เรยี นสามารถบอกวธิ ีการปฏบิ ัติตนที่เหมาะสมได้ 2.1.7 นักเรยี นสามารถวเิ คราะห์ปจั จยั ท่มี ผี ลกระทบต่อการตั้งครรภ์ได้ 2.1.8 นักเรียนสามารถวเิ คราะห์สาเหตคุ วามขัดแยง้ ในครอบครวั ได้ 2.1.9 นกั เรียนสามารถบอกแนวทางปอ้ งกนั แกไ้ ขความขัดแยง้ ในครอบครวั ได้ 2.1.10 นักเรยี นสามารถบอกกาหนดรายการอาหารทเ่ี หมาะสมกบั วัยตา่ ง ๆ โดยคานึงถึง ความประหยดั และคุณค่าทางโภชนาการได้อย่างเหมาะสม 2.1.11 นกั เรยี นสามารถบอกแนวทางป้องกันโรคทเี่ ป็นสาเหตุสาคญั ของการเจ็บป่วยและ การตายของคนไทยไดอ้ ย่างถกู ต้อง 2.1.12 นักเรียนสามารถบอกวธิ กี ารรวบรวมข้อมลู และเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาสขุ ภาพ ในชุมชนไดอ้ ย่างถูกต้อง 2.1.13 นกั เรยี นสามารถอธบิ ายการวางแผนในการออกกาลังกาย การพักผอ่ น และการ สรา้ งเสรมิ สมรรถภาพทางกายได้ 2.1.14 นกั เรยี นสามารถอธิบายการจดั เวลาในการออกกาลงั กาย การพกั ผ่อน และการ สร้างเสริมสมรรถภาพทางกายได้ 2.1.15 นักเรยี นสามารถวเิ คราะห์ปัจจยั เส่ียงและพฤติกรรมเสยี่ งทม่ี ีผลต่อสขุ ภาพและ แนวทางป้องกนั ไดอ้ ย่างถกู ต้อง
3 2.1.16 นกั เรียนสามารถบอกวิธีหลีกเลย่ี งการใช้ความรนุ แรงและชักชวนเพือ่ นให้หลีกเล่ยี ง การใช้ความรุนแรงในการแก้ปัญหาได้อยา่ งถกู ต้อง 2.1.17 นักเรียนสามารถวเิ คราะห์อิทธิพลของสอ่ื ตอ่ พฤตกิ รรมสุขภาพและความรุนแรงได้ 2.1.18 นักเรียนสามารถวเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธข์ องการด่ืมเครอื่ งดม่ื ทีม่ ีแอลกอฮอล์ตอ่ สุขภาพและการเกดิ อบุ ัตเิ หตุได้ 2.2 ทกั ษะ (P) 2.2.1 นกั เรียนสามารถอภปิ รายการเปลีย่ นแปลงทางด้านร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม และสตปิ ัญญา แตล่ ะช่วงชวี ิตได้ 2.2.2 นกั เรียนสามารถอภปิ รายอทิ ธพิ ลและความคาดหวงั ของสังคมต่อการเปลี่ยนแปลง ของวัยรนุ่ ได้ถูกต้อง 2.2.3 นกั เรยี นสามารถนาเสนอสื่อโฆษณาที่มีอทิ ธพิ ลตอ่ การเจรญิ เตบิ โต และพัฒนาการ ของวัยรนุ่ ได้ 2.2.4 นกั เรียนสามารถอภิปรายอนามยั แมแ่ ละเดก็ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2.2.5 นักเรียนสามารถอภิปรายการวางแผนครอบครัวได้อยา่ งถกู ต้อง 2.2.6 นกั เรียนสามารถแสดงวิธกี ารปฏิบตั ติ นที่เหมาะสมได้อยา่ งถูกต้อง 2.2.7 นักเรยี นสามารถนาเสนอการวิเคราะห์ปัจจัยทม่ี ผี ลกระทบตอ่ การตงั้ ครรภไ์ ดถ้ กู ต้อง 2.2.8 นกั เรยี นสามารถมสี ว่ นร่วมในการวิเคราะหส์ าเหตุ และเสนอแนวทางปอ้ งกนั แกไ้ ข ความขัดแย้งในครอบครัวได้ถูกต้อง 2.2.9 นกั เรียนสามารถสว่ นรว่ มในการกาหนดรายการอาหารท่ีเหมาะสมกบั วัยต่าง ๆ โดย คานึงถงึ ความประหยดั และคณุ ค่าทางโภชนาการได้อย่างถูกต้อง 2.2.10 นกั เรยี นสามารถมีสว่ นรว่ มในการเสนอแนวทางป้องกันโรคท่ีเปน็ สาเหตสุ าคัญของ การเจบ็ ปว่ ยและการตายของคนไทยไดถ้ กู ต้อง 2.2.11 นักเรยี นสามารถแสดงวธิ ีการรวบรวมขอ้ มลู และเสนอแนวทางแกไ้ ขปัญหาสขุ ภาพ ในชุมชนได้อยา่ งถกู ต้อง 2.2.12 นกั เรียนสามารถนาเสนอการวางแผนและจดั เวลาในการออกกาลงั กาย การพกั ผ่อน และการสร้างเสรมิ สมรรถภาพทางกายได้ 2.2.13 นกั เรียนสามารถทดสอบสมรรถภาพทางกาย และพัฒนาไดต้ ามความแตกตา่ ง ระหวา่ งบุคคลไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม 2.2.14 นกั เรียนสามารถนาเสนอการวิเคราะหป์ จั จัยเสี่ยงและพฤตกิ รรมเส่ียงทมี่ ีผลต่อ สขุ ภาพและแนวทางปอ้ งกนั ไดอ้ ย่างถกู ต้องและเหมาะสม 2.2.15 นกั เรียนสามารถหลกี เล่ยี งการใช้ความรนุ แรงและชกั ชวนเพ่อื นให้หลีกเลี่ยงการใช้ ความรนุ แรงในการแกป้ ญั หาได้ 2.2.16 นกั เรยี นสามารถนาเสนอการวิเคราะห์อทิ ธพิ ลของส่ือต่อพฤตกิ รรมสุขภาพและ ความรนุ แรงได้อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม 2.2.17 นกั เรยี นสามารถนาเสนอการวเิ คราะห์ความสัมพนั ธข์ องการดมื่ เครือ่ งดม่ื ท่มี ี แอลกอฮอล์ตอ่ สุขภาพและการเกิดอบุ ัตเิ หตไุ ด้
4 2.3 เจตคติ (A) 2.3.1 นกั เรียนเข้าใจการเปลยี่ นแปลงทางด้านรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม และสติปญั ญา แตล่ ะชว่ งชวี ติ ได้อย่างเหมาะสม 2.3.2 นักเรียนมคี วามต้งั ใจในการวเิ คราะห์อิทธพิ ลและความคาดหวงั ของสังคมต่อการ เปล่ยี นแปลงของวยั ร่นุ ได้เปน็ อยา่ งดี 2.3.3 นักเรียนมคี วามรับผิดชอบในการวเิ คราะหส์ อื่ โฆษณาที่มอี ิทธพิ ลตอ่ การเจรญิ เติบโต และพัฒนาการของวยั รุ่นได้เป็นอย่างดี 2.3.4 นกั เรียนมคี วามตัง้ ใจในการอธิบายอนามยั แม่และเด็ก การวางแผนครอบครัวและวิธี ปฏบิ ตั ิตนทเ่ี หมาะสมไดเ้ ป็นอย่างดี 2.3.5 นักเรยี นมคี วามตง้ั ใจในการวเิ คราะห์ปัจจยั ที่มผี ลกระทบต่อการตงั้ ครรภ์ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี 2.3.6 นักเรยี นมคี วามรับผิดชอบในการวิเคราะห์สาเหตุ และเสนอแนวทางปอ้ งกันแก้ไข ความขัดแยง้ ในครอบครัวได้เปน็ อยา่ งดี 2.3.7 นกั เรยี นมคี วามตง้ั ใจในการกาหนดรายการอาหารทีเ่ หมาะสมกบั วัยต่าง ๆ โดยคานึง ถึงความประหยดั และคณุ ค่าทางโภชนาการได้ 2.3.8 นกั เรยี นมคี วามตงั้ ใจในการเสนอแนวทางปอ้ งกันโรคทเ่ี ป็นสาเหตุสาคญั ของการเจ็บ ป่วยและการตายของคนไทยได้เปน็ อย่างดี 2.3.9 นักเรียนมคี วามตง้ั ใจในการรวบรวมข้อมูลและเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาสุขภาพใน ชุมชนได้เป็นอยา่ งดี 2.3.10 นกั เรยี นเห็นประโยชนข์ องการวางแผนและจัดเวลาในการออกกาลงั กาย การพกั ผอ่ นและการสร้างเสรมิ สมรรถภาพทางกายได้อยา่ งถกู ต้อง 2.3.11 นักเรียนมีความตงั้ ใจในการทดสอบสมรรถภาพทางกาย และพัฒนาได้ตามความ แตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลได้เปน็ อย่างดี 2.3.12 นกั เรียนมีความรบั ผดิ ชอบในการวิเคราะห์ปจั จยั เสย่ี งและพฤติกรรมเสยี่ งทม่ี ผี ลตอ่ สุขภาพและแนวทางป้องกนั ไดเ้ ปน็ อย่างดี 2.3.13 นกั เรยี นเขา้ ใจวธิ ีหลีกเล่ยี งการใชค้ วามรุนแรงและชกั ชวนเพอ่ื นให้หลีกเลีย่ งการใช้ ความรุนแรงในการแกป้ ัญหาได้ 2.3.14 นกั เรยี นมคี วามรบั ผดิ ชอบในการวเิ คราะห์อิทธพิ ลของสอ่ื ต่อพฤติกรรมสุขภาพและ ความรุนแรงได้เปน็ อย่างดี 2.3.15 นักเรยี นมีความต้ังใจในการวิเคราะหค์ วามสัมพนั ธ์ของการดื่มเครื่องด่มื ทม่ี ี แอลกอฮอลต์ ่อสขุ ภาพและการเกิดอุบัติเหตไุ ด้ถูกต้อง
5 3. สาระสาคญั การเปรียบเทียบการเปล่ยี นแปลงทางดา้ นรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสตปิ ัญญาแตล่ ะช่วงชวี ติ ตั้งแต่วัยเด็กไปจนถึงวยั สูงอายุ ซ่ึงจะทาให้เข้าใจพัฒนาการของแต่ละดา้ นในแต่ละชว่ งวัยของชวี ติ ได้ การ วเิ คราะหอ์ ิทธิพลและความคาดหวงั ของสังคม และวเิ คราะห์ส่อื โฆษณาต่าง ๆ ไม่วา่ จะเป็นส่อื โทรทศั น์ ส่อื วิทยุ ส่ือสิ่งพิมพ์ และอินเทอร์เน็ต ท่ีมีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุ่น การอธิบาย อนามยั แม่และเด็ก การวางแผนครอบครวั และการปฏิบัติตนท่ีเหมาะสม การศกึ ษาวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผล ต่อการต้ังครรภ์ช่วยให้เข้าใจและรู้จักหลีกเลี่ยงปัจจัยท่ีมีผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ได้ การสร้าง สัมพันธภาพกับครอบครัวจะต้องวิเคราะห์สาเหตุความขัดแย้งท่ีเกิดข้ึนในครอบครัว และร่วมกันหาแนว ทางการป้องกนั แก้ไขความขัดแย้งในครอบครัวอย่างเหมาะสม การกาหนดรายการอาหารให้เหมาะสมกับ วัย ควรคานึงถึงความประหยัดและคุณค่าทางโภชนาการ การศึกษาโรคท่ีเป็นสาเหตุสาคัญของการ เจบ็ ปว่ ยและการตายของคนไทย พรอ้ มทั้งเสนอแนวทางป้องกันโรคต่าง ๆ ได้ การศึกษาปัญหาสุขภาพใน ชุมชนและการวิเคราะห์ปัจจัยและพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อสุขภาพ จะช่วยให้เสนอแนวทางแก้ไขปัญหา สุขภาพในชุมชนและป้องกันความเสี่ยงต่อสุขภาพได้ การวางแผนและจัดเวลาในการออกกาลังกาย การ พักผ่อนและการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย การทดสอบและพัฒนาสมรรถภาพทางกายเพ่ือสุขภาพ การหลกี เลย่ี งการใช้ความรุนแรงและชักชวนเพ่ือนให้หลีกเลีย่ งการใช้ความรุนแรงในการแกไ้ ขปัญหา การ วเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธข์ องการดม่ื เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ต่อสุขภาพและการเกิดอบุ ัตเิ หตุ 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม และสติปัญญา แตล่ ะช่วงชีวติ 4.2 อทิ ธพิ ลและความคาดหวังของสังคมท่ีมีตอ่ การเปลี่ยนแปลงของวัยร่นุ 4.3 สื่อ โฆษณา ทม่ี อี ิทธพิ ลต่อการเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของวยั รุ่น 4.4 องค์ประกอบของอนามัยเจริญพันธ์ุ 4.5 ปัจจยั ทมี่ ีผลกระทบตอ่ การต้ังครรภ์ 4.6 สาเหตุความขัดแย้งในครอบครัว 4.7 แนวทางป้องกันแก้ไขความขัดแยง้ ในครอบครัว 4.8 กาหนดรายการอาหารที่เหมาะสมกับวัยต่าง ๆ โดยคานึงถงึ ความประหยดั และคณุ คา่ ทาง โภชนาการ 4.9 โรคทเ่ี ป็นสาเหตสุ าคญั ของการเจบ็ ปว่ ยและการตายของคนไทย 4.10 ปญั หาสุขภาพในชุมชน 4.11 แนวทางแก้ไขปญั หาสุขภาพในชุมชน 4.12 การวางแผนและจัดเวลาในการออกกาลังกาย 4.13 การพักผ่อนและการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย 4.14 ทดสอบสมรรถภาพทางกายตา่ ง ๆ และพฒั นาสมรรถภาพเพอ่ื สุขภาพ 4.15 ปัจจยั เสยี่ งและพฤติกรรมเสย่ี งต่อสุขภาพ 4.16 แนวทางป้องกันความเสีย่ งตอ่ สุขภาพ 4.17 ปัญหาและผลกระทบจากการใชค้ วามรนุ แรง 4.18 วิธหี ลกี เล่ยี งการใชค้ วามรนุ แรง
6 4.19 อิทธิพลสือ่ ต่อพฤตกิ รรมสขุ ภาพและความรุนแรง 4.20 ความสมั พันธข์ องการดืม่ เครื่องด่ืมทม่ี ีแอลกอฮอล์ต่อสุขภาพและการเกิดอบุ ัติเหตุ 5. คาอธิบายรายวชิ า ศึกษาการเปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาแต่ละ ช่วงชีวิต วิเคราะห์อิทธิพลและความคาดหวังของสังคมต่อการเปล่ียนแปลงของวัยรุ่น สื่อโฆษณาท่ีมี อิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุ่น อธิบายอนามัยแม่และเด็ก การวางแผนครอบครัว และวิธีการปฏิบัติตนที่เหมาะสม วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ วิเคราะห์สาเหตุและบอก แนวทางป้องกันแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว บอกกาหนดรายการอาหารที่เหมาะสมกับวัยต่าง ๆ แนวทางป้องกันโรคที่เป็นสาเหตุสาคัญของการเจ็บป่วยและการตายของคนไทย บอกวิธีการรวบรวม ขอ้ มลู และแนวทางแกไ้ ขปญั หาสขุ ภาพในชุมชน วเิ คราะหป์ จั จัยเสีย่ งและพฤติกรรมเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพ และแนวทางป้องกัน อธิบายการวางแผนและจัดเวลาในการออกกาลังกาย การพักผ่อน และการสร้าง เสริมสมรรถภาพทางกาย บอกวิธีหลีกเลี่ยงการใช้ความรุนแรง วิเคราะห์อิทธิพลของสื่อต่อพฤติกรรม สุขภาพและความรุนแรง วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการดื่มเคร่ืองด่ืมท่ีมีแอลกอฮอล์ต่อสุขภาพและการ เกดิ อบุ ัตเิ หตุ โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการกลุ่มให้ผู้เรียนร่วมอภิปราย นาเสนอสื่อ แสดง วิธีการปฏิบัติ รวบรวมข้อมูล เสนอแนวทางป้องกันและแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว โรค และปัญหา สุขภาพในชุมชน วางแผนและจัดเวลาในการออกกาลังกาย สร้างเสริมและทดสอบสมรรถภาพทางกาย และหลีกเล่ียงการใช้ความรุนแรง เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ สานึกในคุณค่าและศักยภาพของ ตนเอง เพ่ือให้ผู้เรียนเข้าใจเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงในด้านต่าง ๆของแต่ละช่วงชีวิต มีความตั้งใจและ รับผิดชอบในการวิเคราะห์ กาหนดรายการอาหาร เสนอแนวทางป้องกัน รวบรวมข้อมูล วางแผนและจัด เวลาในการออกกาลังกาย รู้จักหลีกเลี่ยงการใช้ความรุนแรง สามารถนาความรู้และประสบการณ์ไปปรับ ใช้ให้เกิดประโยชนส์ งู สุดในการดาเนนิ ชวี ติ ประจาวันได้ ตัวช้ีวัด พ 1.1 ม.3/1,ม.3/2,ม.3/3, พ 2.1 ม.3/1,ม.3/2,ม.3/3 พ 4.1 ม.3/1,ม.3/2,ม.3/3,ม.3/4,ม.3/5 พ 5.1 ม.3/1,ม.3/2,ม.3/3,ม.3/4 รวม 15 ตัวชี้วดั
7 โครงสรา้ งรายวิชา รายวิชาพืน้ ฐาน รหัสวชิ า พ 23101 กลมุ่ สาระการเรียนร้สู ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศกึ ษา 2564 จานวน 20 ช่วั โมง/ 0.5 หน่วยกติ หน่วยที่ ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน เวลา (ชว่ั โมง) การเรียนร/ู้ ตัวช้ีวัด 1 พฒั นาการแหง่ ชวี ิต 4 1.1 การเปลย่ี นแปลงทางดา้ นร่างกายจิตใจอารมณ์ สงั คมและ พ 1.1 ม.3/1 4 สติปญั ญาแตล่ ะชว่ งชีวิต 3 - วัยทารก - วัยกอ่ นเรยี น - วยั เรยี น - วัยรนุ่ - วัยผู้ใหญ่ - วัยสงู อายุ 2 อิทธิพลของสังคมต่อพัฒนาการของวัยรุน่ 2.1 อทิ ธิพลและความคาดหวังของสังคมต่อการเปลี่ยนแปลงของ พ 1.1 ม.3/2 1 วัยรนุ่ พ 1.1 ม.3/3 2 2.2 สอ่ื โฆษณาท่มี ีอทิ ธิพลต่อการเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของ พ 2.1 ม.3/1 4 วัยรุ่น พ 2.1 ม.3/2 2 - โทรทศั น์ - วิทยุ 2 - ส่ือสิ่งพิมพ์ - อินเทอรเ์ น็ต 3 อนามัยเจริญพนั ธุ์และการต้งั ครรภ์ 3.1 องคป์ ระกอบของอนามยั เจรญิ พันธุ์ - อนามัยแมแ่ ละเดก็ - การวางแผนครอบครัว - การปฏิบัตติ นท่เี หมาะสม 3.2 ปจั จัยทม่ี ีผลกระทบต่อการตัง้ ครรภ์ - แอลกอฮอล์ - สารเสพติด - บุหรี่ - สภาพแวดล้อม - การติดเชื้อ - โรคทีเ่ กดิ จากภาวการณต์ ง้ั ครรภ์
8 หน่วยที่ ชอ่ื หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐาน เวลา (ช่ัวโมง) การเรียนรู้/ตวั ชีว้ ัด 4 การสรา้ งสมั พันธภาพในครบครัว 3 4.1 สาเหตุความขดั แย้งในครอบครัวและแนวทางป้องกันแก้ไข พ 2.1 ม.3/3 3 ความขัดแยง้ ในครอบครวั 5 อาหารที่เหมาะสมกับวยั 4 5.1 กาหนดรายการอาหารทีเ่ หมาะสมกับวัยตา่ งๆโดยคานึงถึง พ 4.1 ม.3/1 4 ความประหยดั และคณุ ค่าโภชนาการ - วยั เด็ก - วยั ก่อนเรียน - วัยเรียน - วยั รุน่ - วยั ผู้ใหญ่ - วยั สูงอายุ สอบกลางภาค ภาคเรียนท่ี 1 1 6 การปอ้ งกันโรค 4 6.1 โรคทเี่ ป็นสาเหตุสาคัญของการเจ็บปว่ ยและการตายของคนไทย พ4.1ม.3/2 2 - โรคท่ีเกดิ จากเพศสัมพนั ธ์ - โรคเอดส์ - โรคหวั ใจ - โรคเบาหวาน - โรคมะเร็ง 6.2 แนวทางการป้องกันโรคทเ่ี ป็นสาเหตสุ าคัญของการเจบ็ ปว่ ย พ4.1ม.3/2 2 และการตายของคนไทย 7 ปัญหาและพฤติกรรมเส่ยี งตอ่ สขุ ภาพ 4 7.1 ปญั หาสุขภาพในชุมชนและแนวทางแกไ้ ขปญั หาสุขภาพใน พ 4.1 ม.3/3 2 ชมุ ชน 7.2 ปัจจัยเสย่ี งและพฤตกิ รรมเสี่ยงตอ่ สขุ ภาพและแนวทางการ พ 5.1 ม.3/1 2 ปอ้ งกันความเสี่ยงต่อสุขภาพ 8 การเสรมิ สรา้ งสขุ ภาพ 4 8.1 การวางแผนและจัดเวลาในการออกกาลงั กายการพักผ่อนและ พ4.1ม.3/4 2 การสร้างเสรมิ สมรรถภาพทางกาย 8.2 ทดสอบสมรรถภาพทางกายแบบตา่ งๆ และการพฒั นา พ 4.1 ม.3/5 2 สมรรถภาพเพื่อสุขภาพ 9 ความรุนแรง 6 9.1 ปัญหาและผลกระทบจากการใชค้ วามรุนแรง พ 5.1 ม.3/2 2 9.2 วิธีหลีกเล่ยี งการใช้ความรนุ แรง พ 5.1 ม.3/2 2
9 หน่วยที่ ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐาน เวลา (ช่วั โมง) การเรยี นรู/้ ตัวช้วี ัด 9.3 อทิ ธิพลของสื่อตอ่ พฤตกิ รรมสุขภาพและความรนุ แรง พ 5.1 ม.3/3 2 10 อบุ ตั ิเหตจุ ากการดืม่ แอลกอฮอล์ 2 10.1 ความสัมพันธ์ของการดม่ื เครอื่ งดืม่ แอลกอฮอล์ต่อสุขภาพและ พ5.1ม.3/4 2 การเกิดอบุ ัติเหตุ สอบปลายภาค ภาคเรียนท่ี 1 1 รวม 40
10
11
12 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 สาระการเรียนรู้สุขศกึ ษาและพลศึกษา รายวชิ าสุขศกึ ษา ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เร่อื ง พัฒนาการแห่งชีวติ เวลา 4 ชว่ั โมง 1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ชว้ี ดั มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน พ 1.1 เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของมนษุ ย์ ตัวชวี้ ดั พ 1.1 ม.3/1 เปรียบเทยี บการเปล่ียนแปลงทางด้านร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม และ สติปญั ญาแต่ละชว่ งชีวิต 2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) - นักเรียนสามารถเปรียบเทียบการเปล่ียนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสตปิ ัญญาแต่ละช่วงชวี ติ ได้ ด้านทกั ษะ (P) - นักเรียนสามารถร่วมอภิปรายการเปลยี่ นแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสตปิ ัญญาแตล่ ะช่วงชีวิตได้ ด้านจติ พิสยั (A) - นักเรียนเข้าใจการเปล่ียนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา แตล่ ะช่วงชวี ิตได้อยา่ งเหมาะสม 3. สาระสาคญั การเปรียบเทียบการเปลย่ี นแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาแตล่ ะ ช่วงชีวิต ตั้งแต่วัยเด็กไปจนถึงวัยสูงอายุ ซึ่งจะทาให้เข้าใจพัฒนาการของแต่ละด้านในแต่ละช่วง วัยของชีวติ ได้ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 การเปล่ยี นแปลงทางด้านร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม และสติปญั ญา แตล่ ะชว่ งชีวติ 5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน (เฉพาะทเ่ี กิดในหน่วยการเรยี นรนู้ ี)้ ความสามารถในการสอื่ สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. ทกั ษะของผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21 (3R 8C + 2L) (จดุ เนน้ สูก่ ารพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น) ทกั ษะการอ่าน (Reading) ทกั ษะการ เขยี น (Writing) ทกั ษะการ คิดคานวณ (Arithmetic)
13 ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา (Critical thinking and problem solving) ทักษะดา้ นการสร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรม (Creativity and innovation) ทักษะดา้ นความรว่ มมือ การทางานเป็นทมี และภาวะผู้นา (Collaboration , teamwork and leadership) ทักษะด้านความเข้าใจตา่ งวัฒนธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural understanding) ทักษะด้าน การสือ่ สาร สารสนเทศ และรูเ้ ทา่ ทันสอ่ื (Communication information and media literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร (Computing) ทกั ษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้ (Career and learning self-reliance, change) ทกั ษะการเปล่ียนแปลง (Change) ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skills) ภาวะผูน้ า (Leadership) 7. ชิน้ งานหรอื ภาระงาน ( หลักฐาน / รอ่ งรอยแสดงความรู้ ) 7.1 บตั รภาพ 7.2 ใบงานที่ 1.1 เร่ือง วัยและการเปลีย่ นแปลง 7.3 ใบงานที่ 1.2 เรื่อง การเปล่ยี นแปลงในด้านต่าง ๆ ของแต่ละวยั 8. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงท่ี 1-4 (ใชร้ ปู แบบการเรยี นรู้สบื เสาะหาความรู้ Inquiry Method : 5E ) ขนั้ ที่ 1 การสร้างความสนใจ 1.1 ครูแนะนาตนเอง และกล่าวทักทายนกั เรียน 1.2 ครูนาบัตรภาพคนในวัยต่าง ๆ มาให้นักเรียนดู และให้นักเรียนช่วยกันตอบคาถาม เรียงลาดบั จากบตั รภาพให้ถกู ต้อง 1.3 ครูและนักเรียนร่วมกันพูดคุยเกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ของตนเองตามท่ีครู กาหนด ข้ันที่ 2 การสารวจและค้นหา 2.1 ครูให้นักเรียนจับกลุ่มละ 3 คน และให้แต่ละกลุ่มไปศึกษาความรู้เรื่อง วัยและการ เปลีย่ นแปลง ตามประเด็นท่ีกาหนดให้จากหนังสอื เรยี น หอ้ งสมดุ และอนิ เทอร์เนต็ ข้นั ท่ี 3 การอธบิ ายความรู้และลงข้อสรปุ 3.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มรว่ มกันอภิปรายความรทู้ ี่ได้จากการศึกษาเร่ือง วัยและการเปลี่ยนแปลง ตามประเด็นทกี่ าหนด 3.2 ครูสรุปความรู้ และให้นักเรียนนาความรู้ท่ีได้จากการศึกษามาเป็นพื้นฐานในการทาใบงาน 1.1 เรอ่ื ง วยั และการเปลี่ยนแปลง 3.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มทาใบงาน และช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง หากมีข้อบกพร่องให้ ชว่ ยกนั แกไ้ ขใหถ้ กู ต้องและสมบูรณ์
14 ขน้ั ที่ 4 การขยายความรู้ 4.1 ครูให้นักเรียนสง่ ตัวแทนแตล่ ะกลุม่ มาจบั ฉลากหัวข้อเพื่อใชใ้ นการทาใบงาน1.2 เรื่อง การ เปลี่ยนแปลงในด้านตา่ ง ๆ ของแต่ละวยั ตามประเดน็ ท่ีกาหนดให้ 4.2 นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มชว่ ยกนั ทาใบงานท่ี 1.2 เร่ือง การเปล่ียนแปลงในด้านต่าง ๆ ของแต่ละ วัย ขน้ั ท่ี 5 การประเมนิ ผล 5.1 นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ สง่ ตวั แทนออกมานาเสนอผลงานจากใบงานท่ี 1.2เรอ่ื ง การเปลี่ยนแปลง ในด้านต่าง ๆ ของแต่ละวัย แล้วให้เพื่อนกลุ่มอ่ืนเป็นผู้ตรวจสอบความถูกต้อง และซักถามข้อ สงสยั เปน็ รายกลุ่ม 9. สือ่ การสอน 9.1 บัตรภาพ 9.2 ใบงาน 9.3 ส่อื Power point 10. แหล่งเรยี นรู้ในหรอื นอกสถานท่ี 10.1 ห้องสมดุ 10.2 อนิ เทอร์เนต็ 11. การวดั และประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวดั เคร่อื งมือวดั เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑก์ ารประเมนิ แบบประเมนิ ใบงาน หรือสิ่งทตี่ อ้ งการจะวดั และ แบบประเมนิ ใบงาน ตามตารางเกณฑก์ ารให้ ผา่ นเกณฑ์ทอี่ ย่าง คะแนนใบงาน นอ้ ยระดับดี ประเมนิ ผล ตามตารางเกณฑก์ ารให้ ผ่านเกณฑ์ทอ่ี ย่าง 1. ใบงานที่ 1.1เรื่องวยั และ ตรวจใบงานที่ 1.1 คะแนนใบงาน นอ้ ยระดับดี การเปลย่ี นแปลง เรือ่ งวัยและการ เปลยี่ นแปลง 2. ใบงานท่ี 1.2เรื่องการ ตรวจใบงานท่ี 1.2 เปลย่ี นแปลงในด้านต่างๆของ เรื่องการ แตล่ ะวยั เปล่ยี นแปลงใน ด้านตา่ งๆของแต่ ละวัย สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น วิธีวดั เครื่องมอื วัด เกณฑก์ ารให้คะแนน เกณฑ์การประเมิน 1. ความสามารถในการสื่อสาร สังเกต แบบสงั เกต ตามตารางเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ผา่ นเกณฑ์ท่ีอยา่ ง พฤติกรรมการ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน น้อยระดบั ดี ทางานกลมุ่ ตามตารางเกณฑก์ ารให้คะแนน ผ่านเกณฑท์ ีอ่ ย่าง 2. ความสามารถในการคดิ ตรวจใบงาน แบบประเมิน สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น น้อยระดับดี ใบงาน
15 ทักษะของผู้เรยี นในศตวรรษ วธิ วี ัด เคร่อื งมอื วัด เกณฑก์ ารให้คะแนน เกณฑก์ ารประเมนิ ที่ 21 ตามตารางเกณฑก์ ารให้คะแนน ผา่ นเกณฑ์ท่ีอยา่ ง ทกั ษะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 นอ้ ยระดับดี 1. ทกั ษะดา้ นความร่วมมือ สงั เกต แบบสังเกต ตามตารางเกณฑ์การใหค้ ะแนน ผา่ นเกณฑ์ท่ีอย่าง การทางานเปน็ ทมี และภาวะ พฤติกรรมการ ทักษะของผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21 น้อยระดบั ดี ผู้นา ทางานกล่มุ 2. ทกั ษะการเรยี นรู้ ตรวจใบงาน แบบประเมนิ ใบงาน 12. กจิ กรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ 13. บนั ทกึ ผลหลังการสอน สรุปผลการเรยี นการสอน นกั เรยี นทงั้ หมดจานวน.....................คน จุดประสงคก์ ารเรยี นรขู้ ้อที่ จานวนนักเรียนที่ผ่าน จานวนนกั เรยี นที่ไม่ผา่ น 1 จานวนคน รอ้ ยละ จานวนคน รอ้ ยละ 2 3 15. ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข ........................................................................................................................................ ....................... ........................................................................................................... .................................................... ............................................................................................................................. .................................. ................................................................................................................................ ...............................
16 16. ข้อเสนอแนะ .................................................................................................. ............................................................. .................................................................................................. ............................................................. ลงชอ่ื ................................................................. () ตาแหนง่ ครวู ทิ ยฐานะ ....................................... ลงชือ่ ................................................................ หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ () ลงชื่อ.......................................................... รองผู้อานวยการกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ () ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา ได้ทาการตรวจแผนการเรยี นรู้ของ....................................................แลว้ มคี วามคดิ เห็นดังน้ี 1. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง 2. การจัดกจิ กรรมไดน้ าเอากระบวนการเรยี นรู้ เน้นผเู้ รียนเป็นสาคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม ยงั ไม่เนน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ ควรปรบั ปรุงพฒั นาต่อไป 3. ข้อเสนอแนะอืน่ ๆ .............................................................................................. .......................................................... .............................................................................................. .......................................................... .............................................................................................. .......................................................... .............................................................................................. .......................................................... ลงช่อื ............................................................................................. (..…………………………………………………………………………………) ผอู้ านวยการโรงเรียน…………………………………………………………..
17 ใบงาน/ แบบฝกึ หดั ตา่ งๆ
18 บตั รภาพ ภาพที่ 1 ภาพท่ี 2 ภาพท่ี 3 ภาพท่ี 4 ภาพที่ 5 ภาพท่ี 6
19 บัตรภาพ ภาพท่ี 7 ภาพที่ 8 ภาพท่ี 9 ภาพที่ 10 ภาพที่ 11 ภาพที่ 12
20 ใบงานท่ี 1.1 เรอ่ื ง วยั และการเปลย่ี นแปลง ชื่อ………………………………………นามสกุล…………………………………ชน้ั ……………เลขท…่ี ………… คาช้ีแจง : ให้นกั เรยี นตอบคาถามทก่ี าหนดใหถ้ ูกตอ้ ง 1. การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายของวัยทารกมลี ักษณะอย่างไร ตอบ…………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. การยึดตนเองเปน็ ศูนย์กลางจะเกดิ ข้นึ ในวัยใด และมลี ักษณะเดน่ ชดั อยา่ งไร ตอบ…………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. การเปลย่ี นแปลงทางด้านรา่ งกายของวัยรนุ่ มีลักษณะอยา่ งไร ตอบ…………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. วัยวกิ ฤตเกิดข้นึ วัยใด และมสี าเหตุอยา่ งไร ตอบ…………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. การยอ้ นคดิ ถึงความหลงั ของวัยสูงอายุ มีคุณและโทษอยา่ งไร ตอบ…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
21 ใบงานท่ี 1.2 เรอื่ ง การเปล่ียนปลงในดา้ งตา่ ง ๆ ของแตล่ ะวยั ช่อื …………………………………นามสกลุ ……………………………ชนั้ ……………เลขท่ี…………… คาช้ีแจง : ให้นกั เรียนเขยี นแผนผงั ความคดิ แสดงการเปลย่ี นแปลงในด้านตา่ ง ๆ ของแตล่ ะวยั (ตามทจ่ี ับฉลากได้)
22 แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน ระดับคะแนน ลาดบั ท่ี รายการประเมนิ 432 1 1 นาเสนอเนื้อหาในผลงานได้ถกู ต้อง 2 การลาดบั ขั้นตอนของเนอ้ื เรือ่ ง 3 การนาเสนอมีความนา่ สนใจ 4 การมีส่วนรว่ มของสมาชิกในกลุ่ม 5 การตรงตอ่ เวลา รวม เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงชือ่ ………………………………………………..ประเมิน ผลงานหรอื พฤติกรรมสมบูรณช์ ดั เจน ………………./…………………./……………… ผลงานหรอื พฤติกรรมมีข้อบกพรอ่ งบางส่วน ผลงานหรอื พฤติกรรมมีข้อบกพรอ่ งเป็นส่วนใหญ่ ให้ 4 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมขี ้อบกพรอ่ งมาก ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คแนน เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ ระดบั คุณภาพ ช่วงคะแนน ดมี าก 18-20 ดี 14-17 พอใช้ 10-13 ปรับปรุง ต่ากว่า 10
23 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม ช่ือ-สกลุ …………………………………………………………………………………..ชน้ั …………….เลขท…ี่ ………… คาชแ้ี จง้ : ให้ครผู ้สู อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียนแล้ว ลงในช่อง ตรงกบั ระดับคะแนน ลาดบั ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 4321 1 การแบง่ หนา้ ทอ่ี ยา่ งเหมาะสม 2 การร่วมมือในการทางาน 3 การแสดงความสามัคคี 4 การฟังความคิดเห็น 5 การมนี ้าใจชว่ ยเหลือกัน รวม เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงชื่อ………………………………………………..ประเมนิ ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่าเสมอ ………………/………………/ ……………… ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครั้ง ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ ให้ 4 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมนอ้ ยคร้ัง ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 18-20 ดมี าก 14-17 ดี 10-13 พอใช้ ตา่ กว่า10 ปรับปรงุ
24 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนใบงาน คะแนน ประเดน็ ทีป่ ระเมนิ 4 (ดีมาก) 3 (ด)ี 2 (พอใช)้ 1 (ปรับปรงุ ) ผลงานมีความสอดคล้องกบั 1. เน้ือหาผลงานตรงกบั เนือ้ หาท่เี รยี นทุกประเดน็ ผลงานมคี วามสอดคลอ้ งกบั ผลงานมีความสอดคลอ้ งกับ ผลงานไมม่ ีความสอดคลอ้ ง เนอื้ หาที่เรยี น เนือ้ หาสาระของผลงานมี เนอื้ หาทเี่ รียนเป็นสว่ นใหญ่ เน้อื หาทเี่ รียนบางประเด็น กับเนอ้ื หาที่เรียน 2.ผลงานมคี วามถูกต้อง เน้อื หาสาระของผลงานมี เน้ือหาสาระของผลงานมี สมบูรณ์ ความถูกต้องครบถว้ น ความถูกต้องเป็นสว่ นใหญ่ ความถกู ต้องบางประเดน็ เนอื้ หาสาระของผลงานไม่มี 3.ผลงานมคี วามคดิ ผลงานมคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ ผลงานมีความคดิ สร้างสรรค์ ผลงานบางส่วนมีความ ความถกู ต้อง สรา้ งสรรค์ แปลกใหม่ และเป็นระบบ แปลกใหม่ แตย่ งั ไมเ่ ปน็ น่าสนใจแต่ยงั ไมม่ แี นวคดิ ผลงานไมแ่ สดงออกถงึ 4.ผลงานมคี วามเป็น ผลงานมคี วามเปน็ ระเบยี บ ระบบ แปลกใหม่ แนวคิดทส่ี ร้างสรรค์ ระเบยี บ เรียบร้อย น่าอ่าน ผลงานมีความเปน็ ระเบียบ ผลงานมคี วามเปน็ ระเบยี บ ผลงานมคี วามเปน็ ระเบยี บ 5. การส่งงานตรงตอ่ เวลา ส่งงานตรงต่อเวลาตามท่ี เรยี บร้อยแต่ยังมี เรียบรอ้ ยแตย่ ังมี เรยี บร้อยแต่ยงั มี กาหนด ขอ้ บกพร่องเล็กนอ้ ย ขอ้ บกพรอ่ งบางสว่ น ขอ้ บกพร่องมาก สง่ งานเลยเวลา สง่ งานเลยเวลา สง่ งานเลยเวลา มากกว่า 5วนั 1-2 วนั 3-4 วัน เกณฑ์การประเมนิ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 16-20 ดีมาก 11-15 ดี 6-10 พอใช้ 0-5 ปรบั ปรุง
25 เกณฑ์การใหค้ ะแนนสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน 1 (ปรับปรุง) ไม่มีความสามารถ คะแนน พฤติกรรมบ่งชี้ ในการสอ่ื สาร 4 (ดมี าก) 3 (ดี) 2 (พอใช้) ไมม่ ีความสามารถ ในการคดิ และ 1. ความสามารถในการสือ่ สาร มีความสามารถใน มคี วามสามารถใน มีความสามารถใน การสือ่ สารออกมา การสือ่ สารออกมา การสอ่ื สารออกมา ตัดสนิ ใจ ได้ดีเย่ยี มและ ได้ดี และชดั เจน ได้ระดับปานกลาง ชดั เจน และไมช่ ัดเจน 2. ความสามารถในการคิด มคี วามสามารถใน มคี วามสามารถใน มีความสามารถใน การคดิ อย่างมี การคิดอย่างมี การคิดและ วจิ ารณญาณ วจิ ารณญาณ ตัดสนิ ใจได้ไม่ดี สรา้ งสรรค์ และ สร้างสรรค์ และ เท่าที่ควร ตัดสนิ ใจได้ดเี ย่ียม ตัดสินใจไดด้ ี เกณฑก์ ารตดั สนิ คุณภาพ เกณฑ์ประเมนิ ระดบั ดีข้ึนไป = ผ่าน พฤตกิ รรมบง่ ชี้ เกณฑก์ ารให้คะแนนทกั ษะของผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 1 (ปรับปรุง) คะแนน 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (พอใช)้ 1. ทกั ษะด้านความรว่ มมือ มีทกั ษะด้านความ มีทักษะด้านความ มีทักษะด้านความ ไมม่ ที ักษะดา้ น การทางานเปน็ ทีมและภาวะ รว่ มมอื ของการ ร่วมมือของการ ร่วมมอื ของการ ความรว่ มมอื ของ ผ้นู า ทางานเป็นทมี ท่ีดี ทางานเป็นทมี ทางานเปน็ ทีม การทางานเปน็ ทมี เยย่ี มและมีภาวะ และมีภาวะผ้นู าได้ และมภี าวะผนู้ าได้ และภาวะผู้นา 2. ทักษะการเรยี นรู้ ผนู้ าอย่างชดั เจน อยา่ งดี ค่อนขา้ งดี ไมม่ ที กั ษะการ มีทักษะการเรียนรู้ เรียนรู้ ท่ดี ีเยย่ี ม มีทกั ษะการเรยี นรู้ มีทักษะการเรียนรู้ ท่ีดี ที่ค่อนข้างดี เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ เกณฑป์ ระเมินระดับดีขึ้นไป = ผา่ น
26
27 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 2 สาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา รายวิชาสขุ ศกึ ษา ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เร่ือง อิทธิพลของสังคมตอ่ พัฒนาการของวยั รนุ่ เวลา 4 ชว่ั โมง 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชี้วัด มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน พ 1.1 เข้าใจธรรมชาตขิ องการเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนุษย์ ตวั ชี้วัด พ 1.1 ม.3/2 วเิ คราะหอ์ ทิ ธพิ ลและความคาดหวังของสงั คมต่อการเปลี่ยนแปลงของ วัยรุ่น พ 1.1 ม.3/3 วิเคราะห์สอื่ โฆษณาที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเตบิ โต และพฒั นาการของ วยั รุ่น 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K) - นักเรยี นสามารถวเิ คราะห์อิทธิพลและความคาดหวงั ของสงั คมต่อการเปลย่ี นแปลงของวัยรุ่น ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง - นกั เรียนสามารถวิเคราะหส์ ือ่ โฆษณาท่มี ีอทิ ธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรนุ่ ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ดา้ นทักษะ (P) - นักเรียนสามารถอภปิ รายอิทธพิ ลและความคาดหวงั ของสงั คมต่อการเปลีย่ นแปลงของวัยรุ่น ได้ถูกตอ้ ง - นักเรยี นสามารถนาเสนอสื่อโฆษณาทีม่ ีอทิ ธิพลต่อการเจริญเติบโต และพฒั นาการของวัยรนุ่ ไดถ้ ูกต้อง ดา้ นจติ พสิ ยั (A) - นกั เรยี นเห็นความสาคัญของอิทธพิ ลและความคาดหวังของสงั คมตอ่ การเปลี่ยนแปลงของ วยั รุ่นไดอ้ ย่างเหมาะสม - นกั เรียนมีความรบั ผิดชอบในการวิเคราะหส์ ื่อโฆษณาทีม่ ีอิทธิพลตอ่ การเจรญิ เติบโต และ พัฒนาการของวยั รนุ่ ได้เปน็ อย่างดี 3. สาระสาคัญ การวิเคราะห์อทิ ธิพลและความคาดหวังของสังคม และวิเคราะห์ส่ือโฆษณาต่าง ๆ ไม่วา่ จะเป็น ส่ือโทรทัศน์ สื่อวิทยุ สื่อสิ่งพิมพ์ และอินเทอร์เน็ต ท่ีมีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการ ของวัยรุ่น 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 อทิ ธพิ ลและความคาดหวงั ของสังคมที่มีตอ่ การเปล่ยี นแปลงของวัยรนุ่ 4.2 ส่อื โฆษณา ท่มี ีอิทธิพลตอ่ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของวยั รุ่น
28 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน ( เฉพาะท่เี กิดในหนว่ ยการเรียนรู้น)้ี ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. ทกั ษะของผ้เู รียนในศตวรรษท่ี 21 (3R 8C + 2L) (จุดเน้นส่กู ารพัฒนาคุณภาพผู้เรียน) ทักษะการอ่าน (Reading) ทกั ษะการเขียน (Writing) ทักษะการคิดคานวณ (Arithmetic) ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา (Critical thinking and problem solving) ทักษะด้านการสรา้ งสรรคแ์ ละนวัตกรรม (Creativity and innovation) ทักษะดา้ นความรว่ มมือ การทางานเป็นทมี และภาวะผู้นา (Collaboration , teamwork and leadership) ทกั ษะด้านความเข้าใจต่างวฒั นธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural understanding) ทกั ษะดา้ น การสอื่ สาร สารสนเทศ และรเู้ ทา่ ทันสอ่ื (Communication information and media literacy) ทักษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร (Computing) ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้ (Career and learning self-reliance, change) ทกั ษะการเปลี่ยนแปลง (Change) ทกั ษะการเรียนรู้ (Learning Skills) ภาวะผู้นา (Leadership) 7. ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน ( หลักฐาน / รอ่ งรอยแสดงความรู้ ) 7.1 ใบงาน 2.1 เร่อื ง วยั รนุ่ วัยเรา 7.2 แบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรียน หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 8. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ชัว่ โมงที่ 1-2 (ใช้รปู แบบการเรียนรสู้ บื เสาะหาความรู้ Inquiry Method : 5E ) หนว่ ยยอ่ ยที่ 1 อิทธิพลและความคาดหวังของสงั คมตอ่ การเปล่ยี นแปลงของวัยรนุ่ ขน้ั ที่ 1 การสรา้ งความสนใจ 1.1 ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนของหน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เพื่อกระตุ้นและตรวจสอบ ว่านักเรยี นมคี วามรพู้ ื้นฐานในเรอื่ งท่ีจะเร่ิมเรยี นมากนอ้ ยแคไ่ หน 1.2 หลังจากทดสอบเสร็จ ครูเล่ากรณีศึกษาเรอ่ื ง เพียงฟ้า ให้นักเรียนฟัง แล้วให้นักเรียนร่วมกัน แสดงความคิดเห็นในประเด็นท่กี าหนด
29 ขัน้ ท่ี 2 การสารวจและค้นหา 2.1 ครูให้นักเรียนจับกลุ่มละ 3 คน แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เร่ือง อิทธิพล และความคาดหวังของสังคมต่อวัยร่นุ ในหวั ข้อทกี่ าหนด 2.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มทบทวนภาระงานที่ได้รับมอบหมาย แล้วร่วมกันวางแผนวิเคราะห์ข้อมูล โดยแยกเป็นอิทธิพลและความคาดหวังของสังคมท่ีมีผลต่อการเปลยี่ นแปลงของวัยรุ่นในประเด็น ต่าง ๆ ขนั้ ท่ี 3 การอธิบายความร้แู ละลงข้อสรุป 3.1 นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันนาเสนอและสรปุ ความร้เู รือ่ ง อิทธิพลและความคาดหวงั ของสังคม ตอ่ วัยรนุ่ ตามที่ไดว้ างแผนไวใ้ นขน้ั ที่ 2 ข้นั ท่ี 4 การขยายความรู้ 4.1 เม่ือนาเสนอข้อมูลครบทุกกลุ่มแล้วให้นักเรียนนาประเด็นท่ีมีความแตกต่างมาอภิปราย เพ่ือ หาข้อสรุปรว่ มกนั 4.2 ครูใหน้ ักเรียนแตล่ ะคนทาใบงานที่ 2.1 เรื่องวัยรนุ่ วัยเรา เม่ือทาเสร็จแล้วนามาสง่ ครู ขนั้ ท่ี 5 การประเมินผล 5.1 นักเรียนร่วมกันสรุปผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างอิทธิพลและความคาดหวังของ สังคมท่มี ีตอ่ การเปล่ยี นแปลงของวัยรนุ่ ชั่วโมงท่ี 3-4 (ใชร้ ปู แบบการเรียนรู้สืบเสาะหาความรู้ Inquiry Method : 5E ) หน่วยยอ่ ยที่ 2 ส่ือโฆษณาที่มีอิทธิพลตอ่ การเจริญเตบิ โต และพฒั นาการของวัยรุน่ ขน้ั ท่ี 1 การสรา้ งความสนใจ 1.1 ครูให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างสื่อต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อวัยรุ่นในปัจจุบัน จากนั้นครูและ นักเรยี นร่วมกันพดู คุยเก่ียวกับขา่ วอาชญากรรมต่าง ๆ ทีม่ ีสาเหตุมาจากส่ืออนิ เทอร์เน็ต ขน้ั ท่ี 2 การสารวจและคน้ หา 2.1 ครูให้เรียนแต่ละกลุ่ม กาหนดหมายเลขประจาตัว 1-4 โดยให้สมาชิกในกลุ่มแต่ละคนศึกษา ความรู้และวิเคราะห์เรื่อง อิทธิพลส่ือต่อวัยรุ่น จากห้องสมุด หรืออินเทอร์เน็ต ตามประเด็นที่ กาหนดให้ ดังนี้ - หมายเลข 1 ศึกษาความรเู้ รอื่ ง อิทธพิ ลของสอ่ื โทรทัศนต์ ่อวยั รุ่น - หมายเลข 2 ศึกษาความรู้เรอ่ื ง อทิ ธิพลของส่อื วิทยตุ อ่ วัยรนุ่ - หมายเลข 3 ศึกษาความรู้เรื่อง อทิ ธิพลของสอื่ สิง่ พมิ พต์ ่อวยั รุ่น - หมายเลข 4 ศกึ ษาความรูเ้ ร่อื ง อิทธพิ ลของสื่อส่งิ อินเทอร์เน็ตตอ่ วัยรุ่น ขน้ั ท่ี 3 การอธิบายความร้แู ละลงข้อสรปุ 3.1 นักเรียนแต่ละคนนาความรู้ท่ีได้จากการศึกษามาอธิบายและนาเสนอให้เพื่อนสมาชิก หมายเลขอ่ืน ๆ ภายในกลุ่มฟัง โดยเรียงตามลาดับหมายเลข 1-4 ผลัดกันซักถามข้อสงสัย และ ผลดั กนั อธบิ ายจนทกุ คนมีความเขา้ ใจตรงกนั ขน้ั ท่ี 4 การขยายความรู้ 4.1 ครใู ห้นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ เลือกโฆษณาทส่ี มาชิกในกลุ่มสนใจมากลุ่มละ 1 โฆษณา แลว้ ร่วมกนั วเิ คราะห์ตามประเดน็ ทกี่ าหนดให้
30 ขัน้ ท่ี 5 การประเมินผล 5.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปผลการวิเคราะห์ แล้วส่งตัวแทนกลุ่มออกมานาเสนอผลงาน จากนัน้ ครแู ละนกั เรยี นช่วยกันตรวจสอบความถกู ต้อง 5.2 ครแู ละนกั เรยี นสรุปความร้เู รอื่ ง อทิ ธิพลของส่ือตอ่ วยั รุน่ 5.3 ครใู หน้ ักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี นของหน่วยการเรียนร้ทู ่ี 2 เสร็จแล้วนาส่งครู 9. ส่อื การสอน 9.1 ใบงาน 9.2 สื่อ Power point 10. แหล่งการเรียนรูใ้ นหรือนอกสถานท่ี 10.1 ห้องสมดุ 10.2 อนิ เทอรเ์ นต็ 11. การวดั และประเมนิ ผล เครื่องมือวัด เกณฑก์ ารให้คะแนน เกณฑ์การประเมิน แบบประเมนิ ใบงาน จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ หรือสง่ิ ท่ี วธิ วี ดั ตามตารางเกณฑก์ าร ผ่านเกณฑท์ อ่ี ยา่ งนอ้ ย ตอ้ งการจะวดั และประเมินผล แบบทดสอบ ใหค้ ะแนนใบงาน ระดบั ดี ตอบคาถามถกู ต้อง 1. ใบงาน2.1เร่ืองวยั รนุ่ วยั เรา ตรวจใบงาน2.1 จึงได้คะแนน คะแนน9-10= ดมี าก เรอ่ื งวยั รนุ่ วยั เรา คะแนน7-8= ดี คะแนน5-6= พอใช้ 2. แบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลัง ตรวจแบบทดสอบ คะแนน1-4= ปรับปรุง เรียนของหน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ก่อนเรียนและหลัง ผา่ นเกณฑใ์ นระดบั ดีข้ึน ไป เรียน ของหน่วย การเรียนรู้ท่ี 2 สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน วธิ ีวดั เครอื่ งมือวดั เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑ์การประเมนิ 1. ความสามารถในการสื่อสาร สังเกต แบบสงั เกต ตามตารางเกณฑก์ าร ผ่านเกณฑท์ ี่อย่างนอ้ ย 2. ความสามารถในการคิด ตรวจใบงาน พฤตกิ รรมการ ใหค้ ะแนนสมรรถนะ ระดบั ดี ทางานกล่มุ สาคัญของผู้เรยี น แบบประเมนิ ใบงาน ตามตารางเกณฑ์การ ผ่านเกณฑท์ อ่ี ยา่ งนอ้ ย ใหค้ ะแนนสมรรถนะ ระดับดี สาคญั ของผ้เู รียน ทกั ษะของผ้เู รียนในศตวรรษท่ี 21 วิธวี ัด เคร่อื งมอื วัด เกณฑก์ ารให้คะแนน เกณฑก์ ารประเมิน สงั เกต 1. ทักษะดา้ นความร่วมมอื การ แบบสังเกต ตามตารางเกณฑก์ าร ผา่ นเกณฑท์ ่อี ย่างนอ้ ย ทางานเปน็ ทีมและภาวะผ้นู า พฤติกรรมการ ทางานกล่มุ ใหค้ ะแนนทักษะของ ระดบั ดี ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
31 12. กจิ กรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 13. บนั ทึกผลหลังการสอน สรปุ ผลการเรียนการสอน นกั เรียนทั้งหมดจานวน.....................คน จุดประสงคก์ ารเรยี นรูข้ อ้ ท่ี จานวนนักเรียนท่ผี ่าน จานวนนกั เรยี นทไี่ ม่ผ่าน 1 จานวนคน ร้อยละ จานวนคน ร้อยละ 2 3 14. ปญั หา/ อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ 15. ข้อเสนอแนะ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ลงชื่อ................................................................. () ตาแหน่งครวู ทิ ยฐานะ ....................................... ลงชอ่ื ................................................................ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ () ลงชอื่ .......................................................... รองผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ ()
32 ความเห็นของหวั หนา้ สถานศึกษา ได้ทาการตรวจแผนการเรียนรู้ของ....................................................แล้วมีความคิดเห็นดงั นี้ 1. เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง 2. การจดั กจิ กรรมได้นาเอากระบวนการเรียนรู้ เนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคญั มาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม ยงั ไม่เน้นผ้เู รียนเป็นสาคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป 3. ข้อเสนอแนะอื่นๆ .............................................................................................. .......................................................... ........................................................................................................................................................ .............................................................................................. .......................................................... ........................................................................................................................................................ ลงชอื่ ............................................................................................. (..…………………………………………………………………………………) ผู้อานวยการโรงเรยี น…………………………………………………………..
33 ใบงาน/ แบบฝกึ หดั ตา่ งๆ
34 ใบงานที่ 2.1 เร่ือง วยั รนุ่ วัยเรา ชือ่ ………………………………………นามสกลุ …………………………………ชนั้ ……………เลขท…่ี ………… คาช้แี จง : ให้นกั เรยี นตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. การจัดกิจกรรมให้กับวัยรุ่น ควรคานงึ ถงึ สง่ิ ใดบ้างและการจดั กิจกรรมมปี ระโยชน์อยา่ งไร ตอบ…………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. การสรา้ งขอบเขตหรือกติกากบั วยั รนุ่ ควรมีลักษณะอย่างไร ตอบ…………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. วัยรนุ่ สามารถแสดงความรบั ผดิ ชอบต่อชมุ ชนได้อย่างไรบ้าง ตอบ…………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. สงั คมเสมอื นจรงิ มอี ิทธิพลต่อวัยรุ่นอยา่ งไร ตอบ…………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. ส่งิ ใดที่เป็นความคาดหวงั ทางสังคมท่มี ีต่อวัยรุน่ ตอบ…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
35 แบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรยี น หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 ช่ือ………………………………………นามสกุล…………………………………ชัน้ ……………เลขท…่ี ………… คาชีแ้ จง : ใหน้ กั เรยี นเลือกคาตอบท่ีถกู ต้องท่สี ดุ เพยี งคาตอบเดียว 1. บุคคลในวัยใดทีใ่ ห้ความสาคญั กบั เพ่ือน 6. ขอ้ ใดไม่ใชบ่ ทบาทของโรงเรยี นทม่ี ีต่อวัยรนุ่ มากทีส่ ุด 1. แนะแนวใหค้ าปรึกษา 1. วยั รุ่น 2. วยั เด็ก 2. จัดกิจกรรมที่เนน้ เพียงความบันเทิง 3. วยั ผ้ใู หญ่ 4. วยั ทางาน 3. ประยกุ ตป์ ระเดน็ รว่ มสมัยในเวลาเรียน 2. ความสัมพนั ธ์ท่แี สดงออกตอ่ เพ่ือนในช่วง 4. เป็นศูนยก์ ลางกจิ กรรมนอกเวลาราชการ วัยรนุ่ ตอนปลายจะมีลกั ษณะอยา่ งไร 7. วัยรุ่นที่มีพฤติกรรมแสดงว่าสามารถรับผดิ ชอบ 1. คอยจา้ จ้ีจา้ ไช ครอบครวั ไดจ้ ะมลี ักษณะอยา่ งไร 2. เป็นอยา่ งทีด่ ใี หแ้ ก่ลกู 1. ไมด่ ่มื เครอ่ื งด่มื แอลกอฮอล์ 3. ใหร้ างวลั ในพฤติกรรมที่ดี 2. แต่งตวั สุภาพเรียบร้อย 4. สังเกตจุดออ่ น และช่วงสร้างทักษะใหม่ท่ี 3. ชว่ ยเหลืองานบา้ นได้ สามารถเอาชนะจุดอ่อนได้ 4. สง่ การบา้ นไดท้ ันเวลา 3. การสง่ เสริมพฤติกรรมให้ลูกท่อี ย่ใู นช่วงวัยรุ่น 8. ข้อใดเปน็ ความคาดหวังทางสังคมตอ่ วัยรนุ่ เรียนรูใ้ ห้ครบทกุ ดา้ น ควรทาอยา่ งไร 1. มีความรบั ผิดชอบ 1. คอยจ้าจจ้ี ้าไช 2. สร้างช่อื เสียงให้กบั สงั คม 2. เป็นอยา่ งที่ดใี หแ้ กล่ กู 3. เป็นผู้นาของชมุ ชน 3. ให้รางวลั ในพฤติกรรมท่ีดี 4. กลา้ แสดงออก 4. สังเกตจดุ ออ่ น และช่วงสรา้ งทักษะใหม่ท่ี 9. อวาตาร์ (Avatar) ส่งผลกระทบต่อวยั รุน่ สามารถเอาชนะจุดอ่อนได้ อยา่ งไร 4. ข้อใดเปน็ ผลดีทเ่ี กิดจากการฝึกใหว้ ยั รนุ่ จดั การ 1. อยใู่ นโลกแหง่ จินตนาการ ทาใหเ้ กดิ ภาวะ กับความเส่ียงด้วยตนเอง แยกตวั ออกมาจากสังคม 1. มองโลกในแง่ดี 2. มกี ารแลกเปล่ยี นข้อมลู สว่ นตวั มากเกินไป 2. รูจ้ ักความผดิ พลาด 3. ทาให้มองโลกในแง่ร้าย หวาดกลัว 3. เขา้ ใจโลกและชีวิตมากขึ้น 4. ขาดการตดิ ต่อส่อื สารกับคนรอบข้าง 4. เรียนรวู้ ธิ ีการแกป้ ญั หาเฉพาะหน้าได้ดี 10. ส่อื ประเภทใดท่ีมีผลต่อพฤตกิ รรมของวัยรนุ่ 5. ขอ้ ใดเปน็ การหาพฤติกรรมทดแทนมาแทนที่ มากทส่ี ุด พฤติกรรมทไ่ี ม่ต้องการอยา่ งเหมาะสม 1. วทิ ยุ 1. การเรียนพิเศษอย่างหนัก 2. โทรทศั น์ 2. การเล่นกีฬาผาดโผด 3. อินเทอรเ์ นต็ 3. การเล่นเกมออนไลน์ 4. หนังสือพิมพ์ 4. การเล่นดนตรี
36 แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน ระดับคะแนน ลาดบั ท่ี รายการประเมนิ 432 1 1 นาเสนอเนื้อหาในผลงานได้ถูกต้อง 2 การลาดบั ขั้นตอนของเนอ้ื เร่ือง 3 การนาเสนอมีความนา่ สนใจ 4 การมีส่วนรว่ มของสมาชิกในกลุ่ม 5 การตรงตอ่ เวลา รวม เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงชอื่ ………………………………………………..ประเมิน ผลงานหรอื พฤติกรรมสมบูรณช์ ดั เจน ………………./…………………./……………… ผลงานหรอื พฤติกรรมมีข้อบกพรอ่ งบางส่วน ผลงานหรอื พฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่ ให้ 4 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมขี ้อบกพรอ่ งมาก ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คแนน เกณฑ์การตดั สนิ คณุ ภาพ ระดับคุณภาพ ช่วงคะแนน ดมี าก 18-20 ดี 14-17 พอใช้ 10-13 ปรับปรุง ต่ากว่า 10
37 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม ช่ือ-สกลุ …………………………………………………………………………………..ชน้ั …………….เลขท…ี่ ………… คาชแ้ี จง้ : ให้ครผู ้สู อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียนแล้ว ลงในช่อง ตรงกบั ระดับคะแนน ลาดบั ที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 4321 1 การแบง่ หนา้ ทอ่ี ยา่ งเหมาะสม 2 การร่วมมือในการทางาน 3 การแสดงความสามัคคี 4 การฟังความคิดเห็น 5 การมนี ้าใจชว่ ยเหลือกัน รวม เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงชื่อ………………………………………………..ประเมนิ ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่าเสมอ ………………/………………/ ……………… ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครั้ง ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ ให้ 4 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมน้อยคร้ัง ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 18-20 ดมี าก 14-17 ดี 10-13 พอใช้ ตา่ กว่า10 ปรับปรงุ
38 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนใบงาน คะแนน ประเดน็ ทีป่ ระเมนิ 4 (ดีมาก) 3 (ด)ี 2 (พอใช)้ 1 (ปรับปรงุ ) ผลงานมีความสอดคล้องกบั 1. เน้ือหาผลงานตรงกบั เนือ้ หาท่เี รยี นทุกประเดน็ ผลงานมีความสอดคลอ้ งกบั ผลงานมีความสอดคลอ้ งกับ ผลงานไมม่ ีความสอดคลอ้ ง เนอื้ หาที่เรยี น เนือ้ หาสาระของผลงานมี เนอื้ หาทเี่ รียนเป็นสว่ นใหญ่ เน้อื หาทเี่ รียนบางประเด็น กับเนอ้ื หาที่เรียน 2.ผลงานมคี วามถูกต้อง เน้อื หาสาระของผลงานมี เน้ือหาสาระของผลงานมี สมบูรณ์ ความถูกต้องครบถว้ น ความถูกต้องเป็นสว่ นใหญ่ ความถกู ต้องบางประเดน็ เนอื้ หาสาระของผลงานไม่มี 3.ผลงานมคี วามคดิ ผลงานมคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ ผลงานมคี วามคดิ สร้างสรรค์ ผลงานบางส่วนมีความ ความถกู ต้อง สรา้ งสรรค์ แปลกใหม่ และเป็นระบบ แปลกใหม่ แตย่ ังไมเ่ ปน็ น่าสนใจแต่ยงั ไมม่ แี นวคดิ ผลงานไมแ่ สดงออกถงึ 4.ผลงานมคี วามเป็น ผลงานมคี วามเปน็ ระเบยี บ ระบบ แปลกใหม่ แนวคิดทส่ี รา้ งสรรค์ ระเบยี บ เรียบร้อย น่าอ่าน ผลงานมีความเปน็ ระเบียบ ผลงานมคี วามเปน็ ระเบยี บ ผลงานมคี วามเปน็ ระเบยี บ 5. การส่งงานตรงตอ่ เวลา ส่งงานตรงต่อเวลาตามท่ี เรยี บร้อยแต่ยังมี เรียบรอ้ ยแตย่ ังมี เรยี บร้อยแต่ยงั มี กาหนด ขอ้ บกพร่องเล็กนอ้ ย ขอ้ บกพรอ่ งบางสว่ น ขอ้ บกพร่องมาก สง่ งานเลยเวลา สง่ งานเลยเวลา สง่ งานเลยเวลา มากกว่า 5วนั 1-2 วนั 3-4 วัน เกณฑ์การประเมนิ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 16-20 ดีมาก 11-15 ดี 6-10 พอใช้ 0-5 ปรบั ปรุง
39 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนสมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน 1 (ปรับปรงุ ) คะแนน ไม่มีความสามารถ พฤติกรรมบง่ ชี้ ในการสอื่ สาร 4 (ดมี าก) 3 (ด)ี 2 (พอใช้) ไม่มีความสามารถ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร มคี วามสามารถใน มคี วามสามารถใน มคี วามสามารถใน ในการคดิ และ การสือ่ สารออกมา การสอื่ สารออกมา การสอื่ สารออกมา ได้ดเี ยีย่ มและ ได้ดี และชัดเจน ได้ระดบั ปานกลาง ตดั สนิ ใจ ชดั เจน และไม่ชดั เจน 2. ความสามารถในการคดิ มีความสามารถใน มีความสามารถใน มีความสามารถใน การคิดอย่างมี การคดิ อยา่ งมี การคดิ และ วิจารณญาณ วจิ ารณญาณ ตัดสนิ ใจได้ไม่ดี สรา้ งสรรค์ และ สรา้ งสรรค์ และ เท่าที่ควร ตัดสนิ ใจได้ดเี ยยี่ ม ตดั สินใจไดด้ ี เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ เกณฑ์ประเมินระดบั ดีข้ึนไป = ผา่ น พฤติกรรมบง่ ช้ี เกณฑ์การใหค้ ะแนนทกั ษะของผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21 1 (ปรับปรุง) คะแนน 4 (ดีมาก) 3 (ด)ี 2 (พอใช)้ 1. ทักษะดา้ นความรว่ มมือ มที ักษะด้านความ มที ักษะด้านความ มีทักษะดา้ นความ ไมม่ ที กั ษะด้าน การทางานเปน็ ทมี และภาวะ ร่วมมือของการ รว่ มมอื ของการ ร่วมมอื ของการ ความรว่ มมือของ ผนู้ า ทางานเปน็ ทีมทีด่ ี ทางานเป็นทมี ทางานเป็นทมี การทางานเปน็ ทมี เยี่ยมและมภี าวะ และมีภาวะผูน้ าได้ และมีภาวะผนู้ าได้ และภาวะผ้นู า ผู้นาอย่างชดั เจน อยา่ งดี ค่อนขา้ งดี เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ เกณฑ์ประเมนิ ระดับดีขึ้นไป = ผา่ น
40
41 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 4 สาระการเรยี นรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษา รายวชิ าสขุ ศึกษา ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรอื่ ง การสร้างสมั พนั ธภาพในครอบครวั เวลา 3 ชวั่ โมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน พ 2.1 เข้าใจและเหน็ คุณค่าตนเอง ครอบครวั เพศศึกษา และมที ักษะใน การดาเนินชวี ิตได้ ตัวช้ีวัด พ 2.1 ม.3/3 วิเคราะหส์ าเหตุและเสนอแนวทางป้องกันแก้ไข ความขดั แย้งในครอบครวั 2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) - นกั เรียนสามารถวเิ คราะหส์ าเหตคุ วามขดั แย้งในครอบครวั ได้ - นักเรียนสามารถบอกแนวทางปอ้ งกันแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัวได้ ดา้ นทกั ษะ (P) - นักเรยี นสามารถมีสว่ นรว่ มในการวเิ คราะหส์ าเหตุ และเสนอแนวทางป้องกนั แก้ไขความ ขัดแย้งในครอบครัวได้ถูกต้องและเหมาะสม ด้านจติ พสิ ยั (A) - นักเรยี นมคี วามรบั ผดิ ชอบในการวเิ คราะห์สาเหตุ และเสนอแนวทางป้องกันแก้ไขความ ขดั แย้งในครอบครวั ไดถ้ ูกต้องและเหมาะสม 3. สาระสาคญั การสร้างสัมพันธภาพกับครอบครัวจะต้องวิเคราะห์สาเหตุความขัดแย้งท่ีเกิดข้ึนในครอบครัว และร่วมกนั หาแนวทางการป้องกนั แกไ้ ขความขัดแย้งในครอบครัวอยา่ งเหมาะสม 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 สาเหตุความขดั แย้งในครอบครัว 4.2 แนวทางปอ้ งกันแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว 5. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น ( เฉพาะท่ีเกดิ ในหนว่ ยการเรียนร้นู ี้) ความสามารถในการสอื่ สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. ทกั ษะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 (3R 8C + 2L) (จุดเน้นสกู่ ารพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รยี น) ทกั ษะการอา่ น (Reading) ทักษะการเขยี น (Writing) ทักษะการคดิ คานวณ (Arithmetic)
42 ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา (Critical thinking and problem solving) ทกั ษะด้านการสร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรม (Creativity and innovation) ทกั ษะด้านความร่วมมือ การทางานเปน็ ทีม และภาวะผ้นู า (Collaboration , teamwork and leadership) ทกั ษะด้านความเข้าใจต่างวฒั นธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding) ทกั ษะด้าน การสอ่ื สาร สารสนเทศ และรเู้ ทา่ ทนั สือ่ (Communication information and media literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร (Computing) ทักษะอาชพี และทักษะการเรยี นรู้ (Career and learning self-reliance, change) ทกั ษะการเปลยี่ นแปลง (Change) ทกั ษะการเรยี นรู้ (Learning Skills) ภาวะผู้นา (Leadership) 7. ชนิ้ งานหรือภาระงาน ( หลกั ฐาน / รอ่ งรอยแสดงความรู้ ) 7.1 ใบงาน 4.1 เรื่อง ความขัดแยง้ ในครอบครัว 7.2 ใบงาน 4.2 เร่อื ง การสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว 7.3 แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 8. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ชั่วโมงที่ 1-3 (ใช้รูปแบบการเรยี นร้สู ืบเสาะหาความรู้ Inquiry Method : 5E ) ขนั้ ที่ 1 การสรา้ งความสนใจ 1.1 ครูใหน้ กั เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี นของหนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 4 เพือ่ กระตุ้นและตรวจสอบ วา่ นกั เรยี นมคี วามรู้พ้นื ฐานในเรอื่ งทจ่ี ะเรมิ่ เรียนมากน้อยแค่ไหน 1.2 หลังจากทดสอบเสร็จ ครูเปดิ ซดี ีเพลง 18 ฝน 18 หนาว ใหน้ กั เรียนฟงั จากนน้ั ร่วมกันแสดง ความคดิ เห็นเกย่ี วกบั เนื้อหาสาระของเพลง และผลกระทบทีเ่ กิดขนึ้ กับบคุ คลจากปัญหาดงั กล่าว ขน้ั ท่ี 2 การสารวจและคน้ หา 2.1 ครใู ห้นักเรียนรวมกลุ่มกนั กล่มุ ละ 4 คน ตามความสมัครใจ แลว้ กาหนดหมายเลขประจาตัว ใหส้ มาชกิ แต่ละคนภายในกลุ่มเป็นหมายเลข 1-4 ตามลาดับ ให้แตล่ ะหมายเลขศกึ ษาความร้เู ร่ือง ความขดั แยง้ ในครอบครวั และแนวทางแก้ไขจากหนงั สือเรยี น ตามประเดน็ ที่กาหนดให้ ขั้นท่ี 3 การอธิบายความรแู้ ละลงข้อสรุป 3.1 นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันทาใบงานท่ี 4.1 เร่ือง ความขัดแยง้ ในครอบครัว โดยให้สมาชิกแต่ ละคนหาคาตอบในใบงานดว้ ยตนเองจนครบทกุ ขอ้ จากนัน้ ใหจ้ บั คู่กบั เพอ่ื นผลดั กนั อธบิ าย คาตอบของตนเองใหเ้ พื่อนฟัง 3.2 สมาชิกรวมกลุม่ 4 คน แลว้ นาความรทู้ ี่ไดจ้ ากการศึกษาและจากการทาใบงานที่ 4.1 มา อธิบายให้เพ่ือนสมาชิกในกลุ่มฟงั ผลดั กันซกั ถามขอ้ สงสัยจนมคี วามเขา้ ใจตรงกัน จากน้ันนาใบ งานส่งครู 3.3 ครอู ธิบายความร้เู กี่ยวกบั การสร้างสมั พนั ธภาพในครอบครัวว่า การอยรู่ ่วมกนั ในครอบครัว จะต้องรู้จักการสรา้ งสัมพันธภาพท่ีดีต่อกัน เพื่อลดปญั หาความขดั แยง้ ในครอบครัว
43 ข้ันท่ี 4 การขยายความรู้ 4.1 ครูให้นักเรียนศึกหาความรู้เพ่ิมเติมเก่ียวกับการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัวจากหนังสือ เรยี น ห้องสมุด หรืออนิ เทอร์เน็ต 4.2 ครูให้นักเรียนเขียนบันทึกการปฏิบัติตนเพ่ือสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับสมาชิกในครอบครัวลง ในใบงานท่ี 4.2 เร่อื ง การสร้างสมั พันธภาพในครอบครัว ขัน้ ท่ี 5 การประเมินผล 5.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานาเสนอใบงานที่ 4.2 เรื่อง การสร้างสัมพันธภาพใน ครอบครวั แล้วใหเ้ พอ่ื นกลุ่มอื่นตรวจสอบความถูกต้องและซักถามเป็นรายกลุ่ม 5.2 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เร่ือง การสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว จากน้ันให้ นักเรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียนของหนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 9. ส่ือการสอน 9.1 ใบงาน 9.2 สือ่ Power point 9.3 หนังสือเรยี นสขุ ศึกษา ม.3 9.4 VDO เพลง 10. แหลง่ การเรียนรใู้ นหรือนอกสถานท่ี 10.1 ห้องสมุด 10.2อินเทอร์เน็ต 11. การวัดและประเมินผล จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ หรอื สงิ่ ท่ี วิธีวดั เครื่องมือวัด เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑก์ ารประเมนิ ตอ้ งการจะวัดและประเมินผล 1. ใบงาน4.1เรอ่ื งความขัดแย้ง ตรวจใบงาน4.1 แบบประเมนิ ใบงาน ตามตารางเกณฑก์ าร ผา่ นเกณฑ์ทอี่ ย่างนอ้ ย ในครอบครัว เร่อื งความขัดแยง้ ให้คะแนนใบงาน ระดับดี ในครอบครวั 2. ใบงาน4.2เรื่องการสรา้ ง ตรวจใบงาน4.2 แบบประเมินใบงาน ตามตารางเกณฑ์การ ผ่านเกณฑ์ทอ่ี ย่างนอ้ ย สมั พนั ธภาพในครอบครวั เรอื่ งการสร้าง ให้คะแนนใบงาน ระดบั ดี สมั พันธภาพใน ครอบครัว 3. แบบทดสอบก่อนเรยี นและ ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบ ตอบคาถามถูกตอ้ งจงึ คะแนน9-10= ดมี าก หลงั เรยี นของหนว่ ยการเรยี นรู้ ก่อนเรียนและ ไดค้ ะแนน คะแนน7-8= ดี ที่ 4 หลังเรียนของ คะแนน5-6= พอใช้ หน่วยการเรยี นรู้ คะแนน1-4= ปรบั ปรุง ท่ี 4 ผา่ นเกณฑ์ในระดบั ดขี น้ึ ไป
44 สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น วิธวี ัด เครื่องมอื วดั เกณฑ์การใหค้ ะแนน เกณฑ์การประเมิน 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร สังเกต ผา่ นเกณฑท์ ี่อยา่ งน้อย แบบสงั เกต ตามตารางเกณฑ์การ 2. ความสามารถในการคิด ตรวจใบงาน พฤติกรรมการ ใหค้ ะแนนสมรรถนะ ระดบั ดี ทางานกลมุ่ สาคัญของผ้เู รยี น ผ่านเกณฑ์ทอ่ี ย่างนอ้ ย แบบประเมินใบงาน ตามตารางเกณฑก์ าร ระดบั ดี ใหค้ ะแนนสมรรถนะ สาคญั ของผู้เรียน ทกั ษะของผู้เรยี นในศตวรรษท่ี วธิ วี ัด เครื่องมือวัด เกณฑก์ ารให้คะแนน เกณฑ์การประเมนิ 21 สังเกต แบบสังเกต ตามตารางเกณฑก์ าร ผ่านเกณฑ์ทีอ่ ย่างนอ้ ย 1. ทกั ษะดา้ นความรว่ มมือการ พฤตกิ รรมการ ใหค้ ะแนนทักษะของ ระดับดี ทางานเป็นทมี และภาวะผู้นา ทางานกลุ่ม ผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 12. กิจกรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... ............................................................................................................................................... 13. บนั ทกึ ผลหลังการสอน สรุปผลการเรียนการสอน นกั เรยี นทั้งหมดจานวน.....................คน จดุ ประสงค์การเรียนรูข้ อ้ ท่ี จานวนนักเรยี นท่ผี ่าน จานวนนักเรยี นท่ีไม่ผ่าน 1 จานวนคน ร้อยละ จานวนคน ร้อยละ 2 3 14. ปัญหา/ อุปสรรค/แนวทางแก้ไข ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................
45 15. ขอ้ เสนอแนะ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ลงช่อื ................................................................. () ตาแหนง่ ครวู ทิ ยฐานะ ....................................... ลงชอื่ ................................................................ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้ () ลงชอื่ .......................................................... รองผอู้ านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ () ความเห็นของหวั หน้าสถานศึกษา ได้ทาการตรวจแผนการเรียนรู้ของ....................................................แลว้ มคี วามคิดเห็นดังน้ี 1. เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ 2. การจดั กจิ กรรมไดน้ าเอากระบวนการเรยี นรู้ เน้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญมาใช้ในการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม ยงั ไมเ่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ ควรปรบั ปรงุ พฒั นาต่อไป 3. ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ ........................................................................................................................................................ .............................................................................................. .......................................................... ........................................................................................................................................................ .............................................................................................. .......................................................... ลงชื่อ............................................................................................. (..…………………………………………………………………………………) ผ้อู านวยการโรงเรยี น…………………………………………………………..
Search