Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore น้ำมันเครื่อง

น้ำมันเครื่อง

Published by วรากร ทองวอน, 2019-06-05 04:56:02

Description: น้ำมันเครื่อง

Search

Read the Text Version

คมู่ อื องค์ความรู้เกยี่ วกบั นํ้ามันหล่อลน่ื เร่อื ง โครงการจดั การความรู้เก่ียวกับน้ํามนั หลอ่ ล่นื ตามแผนจดั การความรู้ประจาํ ปงี บประมาณ ๒๕๕๔ กรมธรุ กจิ พลงั งาน กระทรวงพลงั งาน

ก คาํ นํา   กรมธุรกจิ พลังงาน เป็นส่วนราชการในสงั กัดกระทรวงพลงั งาน มีภารกิจในการกํากับธุรกิจพลังงาน ในดา้ นการค้า คณุ ภาพ ความปลอดภัย ส่งิ แวดล้อม และความม่นั คง เพ่ือคุ้มครองประชาชนให้มีพลงั งานใช้ อยา่ งปลอดภัย มีคุณภาพ มคี วามม่นั คง รวมท้งั สง่ เสริมและกาํ กบั ดแู ลธรุ กจิ พลังงาน ดงั นัน้ เพ่อื พัฒนาบุคลากร ในองค์กรให้มคี วามเช่ยี วชาญด้านพลังงาน จึงจัดทําองคค์ วามรู้เก่ียวกับน้าํ มนั หล่อลืน่ สําหรบั เคร่ืองยนต์ (นํา้ มนั เครื่อง) และธุรกิจการผลติ นาํ้ มันหลอ่ ล่นื ทีส่ อดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๓ : การเสรมิ สรา้ งความเข้มแขง็ ของภาคธรุ กิจ และสนบั สนุนตัวช้ีวัดที่ ๑.๑.๕ : ระดับความสําเรจ็ ของการศกึ ษาการจดั ตั้งศูนยใ์ หค้ ําปรึกษาดา้ นธุรกจิ พลังงาน โดยเปน็ การใหค้ วามรู้เกี่ยวกับน้ํามนั หลอ่ ลนื่ กระบวนการผลติ นาํ้ มันหล่อลน่ื การใชน้ าํ้ มันหล่อลนื่ ใหเ้ หมาะสม กบั เครอ่ื งยนต์ และบทบาทของภาครฐั ในการกํากับดแู ลคุณภาพนาํ้ มนั หล่อลน่ื สาํ หรบั เคร่ืองยนต์ นาํ้ มนั หล่อลน่ื สําหรับเครือ่ งยนต์ (น้าํ มนั เครอ่ื ง) มหี น้าทหี่ ล่อลื่นชนิ้ สว่ นของเครอื่ งยนต์ ลดการ เสยี ดสแี ละสกึ หรอ ระบายความรอ้ น ทาํ ความสะอาดช้ินสว่ นของเคร่ืองยนตแ์ ละอดุ ช่องว่างระหว่างช้ินส่วนต่างๆ ป้องกันการรัว่ ซมึ ของกา๊ ซไมใ่ หค้ วามดนั รัว่ ไหล ทําให้เครื่องยนต์มกี าํ ลังเตม็ ที่ ทํางานได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และ ยังมผี ลต่อเน่ืองชว่ ยใหป้ ระหยดั เชอ้ื เพลิง ยดื อายกุ ารใช้งานของเคร่ืองยนต์ กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อผขู้ บั ข่รี ถยนต์ และต่อประเทศชาติ วตั ถุประสงคก์ ารจดั ทําหนังสือองค์ความรู้เกยี่ วกบั นาํ้ มนั หลอ่ ลน่ื เลม่ นี้ เพื่อเปน็ เอกสารประกอบการ สมั มนา เรอ่ื ง “โครงการจัดการความรเู้ กี่ยวกับนํา้ มันหล่อล่ืน” ให้กบั บคุ ลากรในสงั กดั กระทรวงพลงั งาน ตาม แผนการจดั การความรกู้ ระทรวงพลงั งานประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยได้รวบรวมความรู้จากหนังสือ เอกสารวิชาการต่างๆ แลว้ นํามาเรยี บเรียงใหม่ ทั้งนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารท่ีได้จัดทําข้ึนเพื่อเผยแพร่น้ีจะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่าน ได้พัฒนา เสริมสร้างเพ่ิมพูนความรู้ความเข้าใจในเร่ืองเก่ียวกับนํ้ามันหล่อลื่นสําหรับเคร่ืองยนต์ และการผลิตน้ํามันหล่อลื่น สามารถนําความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน ในการส่งเสริมและกํากับดูแลธุรกิจพลังงานได้อย่างมี ประสิทธภิ าพต่อไป       กลมุ่ พฒั นามาตรฐานนํา้ มนั หลอ่ ลน่ื   สาํ นกั คณุ ภาพนํา้ มนั เชือ้ เพลงิ  

กรมธรุ กิจพลงั งาน  กระทรวงพลงั งาน มถิ นุ ายน ๒๕๕๔  ข สารบัญ หนา้ คํานาํ .......................................................................................................................................................ก สารบญั ....................................................................................................................................................ข บทท่ี 1. บทนํา ความรูเ้ บือ้ งต้นเก่ยี วกับนํ้ามนั หล่อลื่นสาํ หรับเคร่อื งยนต์ (นาํ้ มันเครือ่ ง) ....................................1 1.1 ความหมายของน้ํามนั เครือ่ ง..............................................................................................2 1.2 องค์ประกอบของน้าํ มันเครื่อง...........................................................................................2 1.3 ประเภทของน้าํ มันเครือ่ ง..................................................................................................3 1.4 หนา้ ทีข่ องนา้ํ มันเครอ่ื ง......................................................................................................4 1.5 คณุ สมบตั ิของน้าํ มนั เครื่อง................................................................................................5 1.6 มาตรฐานนา้ํ มันเครอ่ื ง......................................................................................................6 2. การผลิตนาํ้ มันหล่อล่ืน 2.1 กระบวนการผลิตน้ํามนั หลอ่ ลื่น........................................................................................8 2.2 แนวโนม้ การผลิตนาํ้ มันหล่อลน่ื ......................................................................................11 3. นาํ้ มันหล่อลนื่ สาํ หรบั เคร่ืองยนต์ 3.1 หลักการเลือกน้าํ มันเครอ่ื งตามมาตรฐาน API.................................................................12 3.2 สาเหตุที่ทําใหน้ ้ํามนั เคร่อื งเสื่อมสภาพ............................................................................17 3.3 ระยะเวลาในการเปลย่ี นถ่ายนาํ้ มนั เครอ่ื ง........................................................................18 3.4 ข้อแนะนําในการเลอื กซอื้ น้ํามนั เคร่ือง.............................................................................19 4. บทบาทของภาครัฐในการกาํ กบั ดูแลนา้ํ มนั เคร่อื ง 4.1 การกําหนดคณุ ภาพนา้ํ มันเครอ่ื ง.....................................................................................20 4.2 การตดิ ตามตรวจสอบคณุ ภาพน้ํามนั เครื่อง......................................................................21

4.3 นา้ํ มนั เครอื่ งปลอม...........................................................................................................22 เอกสารอา้ งอิง บทท่ี 1 บทนาํ ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาระบบราชการไทยวา่ ด้วยการบรหิ ารราชการแนวใหม่ และการบริหาร กจิ การบา้ นเมืองทีด่ ี กําหนดใหส้ ่วนราชการมีการดําเนนิ การพัฒนาบคุ ลากรด้านองค์ความร้ใู ห้เพียงพอตอ่ การ ปฏบิ ัตงิ านในหนา้ ที่ ให้มลี ักษณะเป็นองคก์ ารแห่งการเรยี นรู้อยา่ งสมาํ่ เสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสาร และ สามารถประมวลผลความรู้ในด้านตา่ งๆ เพอื่ นํามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการปฏบิ ัตริ าชการไดอ้ ยา่ งถูกต้อง และ เหมาะสมกับสถานการณ์ รวมทง้ั ต้องส่งเสริมและพฒั นาความรู้ความสามารถ สรา้ งวิสยั ทัศนแ์ ละปรบั เปลี่ยน ทศั นคติของขา้ ราชการในสังกดั ให้เป็นบคุ ลากรที่มปี ระสิทธภิ าพและมีการเรยี นรู้รว่ มกัน ทั้งน้ี เพอื่ ประโยชนใ์ น การปฏิบัตริ าชการของส่วนราชการใหส้ อดคล้องกับการบริหารราชการใหเ้ กิดผลสมั ฤทธ์ิ เพอ่ื ให้สอดคลอ้ งกับนโยบายดงั กล่าวข้างต้น จึงมีความจาํ เป็นตอ้ งพฒั นาบุคลากรของกระทรวง พลงั งานให้มคี วามสามารถสูง โดยเพิ่มทกั ษะความรอบร้ดู ้านปิโตรเลยี มอยา่ งครอบคลมุ ทุกด้าน และความรู้ เก่ียวกับธุรกจิ พลังงาน เพือ่ ใหเ้ ป็นผู้เชีย่ วชาญดา้ นพลังงาน อีกทง้ั กรมธรุ กิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน มหี นา้ ท่ี กํากับดแู ลธรุ กิจพลังงานในดา้ นคุณภาพนํา้ มันหล่อลนื่ ทจ่ี าํ หน่ายภายในประเทศ เพ่ือค้มุ ครองผบู้ ริโภคและสรา้ ง ความม่ันใจใหป้ ระชาชนในการใช้นาํ้ มนั หล่อลื่น ตลอดจนใหค้ าํ ปรึกษาผู้คา้ น้าํ มันหล่อลื่นในการขอความเหน็ ชอบลกั ษณะ และคุณภาพดา้ นการใชง้ านของน้าํ มันหล่อล่นื ความรูเ้ กยี่ วกบั น้าํ มนั หล่อล่ืนและธุรกจิ การผลิตนา้ํ มนั หลอ่ ลื่น เปน็ ความรดู้ ้านหนงึ่ ทจี่ ะช่วยเพิ่มพนู ทกั ษะดังกล่าว ดงั นน้ั จงึ จดั สมั มนา “โครงการจดั การความรู้เก่ยี วกับ น้ํามนั หล่อลนื่ ” เพอื่ ใหเ้ จา้ หนา้ ทผี่ ้เู ขา้ รับการอบรมมีความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ียวกับนํ้ามนั หลอ่ ลนื่ และธรุ กจิ การผลติ นาํ้ มนั หลอ่ ลนื่ สามารถนาํ ความรทู้ ่ีได้รบั ไปปรบั ใชเ้ พ่มิ คณุ ค่าในการทํางานตามหน้าทค่ี วามรบั ผดิ ชอบได้อยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ และกอ่ ให้เกิดประโยชนส์ งู สดุ ในการปฏิบัตงิ าน การจัดการความรูเ้ ก่ยี วกับน้ํามันหลอ่ ลื่นในครัง้ น้ี เป็นการจดั สมั มนาเพ่อื ให้ความรู้เกย่ี วกบั นํา้ มันหลอ่ ลน่ื ความสาํ คญั ของน้ํามันหลอ่ ล่ืน หนา้ ทขี่ องนํา้ มันเคร่อื งต่อเครอ่ื งยนต์ กระบวนการผลติ

นา้ํ มันหล่อลนื่ แนวโน้มการผลิตนํ้ามันหลอ่ ล่ืน และบทบาทของภาครัฐในการกาํ กบั ดแู ลคณุ ภาพนํ้ามนั เครอ่ื ง พร้อมเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เข้ารว่ มการอบรมซักถาม แลกเปลีย่ นความร้ปู ระสบการณ์และขอ้ คดิ เหน็ อีกทงั้ เรียนรจู้ าก ประสบการณจ์ ริงโดยการศกึ ษาดกู ระบวนการผลิต เทคโนโลยกี ารผลิตน้าํ มนั หล่อลื่น และการบรหิ ารจดั การ ของโรงงานผลิตน้าํ มนั หลอ่ ลน่ื 1. ความรเู้ บอ้ื งตน้ เก่ยี วกับนาํ้ มนั หลอ่ ลื่นสาํ หรบั เคร่ืองยนต์ (น้ํามนั เครื่อง) เครอื่ งยนตท์ ุกประเภทจะเคลอื่ นท่ีไดก้ ็ตอ้ งอาศยั พลังงาน แตพ่ ลังงานอย่างเดียวยงั ไมเ่ พยี ง พอที่จะทําใหเ้ คร่ืองยนตท์ าํ งานไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพสูงสดุ เน่อื งจากขณะที่เครอ่ื งยนต์ทาํ งานย่อมจะมีชิ้นส่วน ตา่ งๆทเ่ี ป็นโลหะเสยี ดสีกันอยู่ตลอดเวลา ถา้ ปล่อยใหเ้ สยี ดสีกันโดยตรงก็จะเกิดการสกึ หรอและเกดิ ความร้อน สะสมขึ้นเป็นจาํ นวนมาก เพอ่ื จะลดการเสยี ดสีและการสึกหรอทีเ่ กิดขนึ้ นั้น จึงต้องอาศัยนํ้ามันหล่อลนื่ เขา้ ไป แทรกระหวา่ งผิวโลหะทงั้ สองไมใ่ หก้ ระทบกนั โดยตรง นอกจากนี้นํ้ามนั หลอ่ ล่นื ยงั ชว่ ยระบายความรอ้ น ทํา ความสะอาดช้ินส่วนตา่ งๆ และอุดชอ่ งว่างระหว่างชิ้นส่วนตา่ งๆ ปอ้ งกนั การร่ัวซมึ ของกา๊ ซไมใ่ ห้ความดนั รั่วไหล ทําให้เคร่อื งยนต์มีกําลังเต็มทแี่ ละทํางานไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ จึงช่วยประหยดั เชอ้ื เพลิง ประหยัดค่าใชจ้ า่ ยใน การซอ่ มบํารงุ และยืดอายุการใชง้ านของเครอื่ งยนต์ -2- 1.1 ความหมายของนาํ้ มันเครอ่ื ง นา้ํ มนั เครอ่ื ง หมายถึง น้ํามันหลอ่ ลืน่ เครื่องยนตท์ มี่ ีการสนั ดาปภายใน ซง่ึ มีทงั้ เคร่ืองยนต์ เบนซนิ และเครื่องยนต์ดีเซล โดยจะทาํ หน้าทห่ี ล่อลนื่ ช้นิ ส่วนต่างๆ ท่เี คลอ่ื นไหวภายในเคร่ืองยนต์ เชน่ ลกู สบู เพลาข้อเหวี่ยง เพลาลูกเบยี้ ว และแบรงิ่ ต่างๆ เปน็ ต้น 1.2 องค์ประกอบของนา้ํ มนั เครอ่ื ง นา้ํ มันเครอื่ ง ผลิตจากการผสมนาํ้ มันหล่อลื่นพน้ื ฐาน (Base Oil) กบั สารเพ่ิมคณุ ภาพ (Additives) ในสดั ส่วนตา่ งๆ กนั   นาํ้ มันเครี่อง น้าํ มันหลอ่ ล่นื พ้ืนฐาน สารเพิ่มคณุ ภาพ               (  E  n  g  i n  e    O   i l s )         =               ( B   a  s e    O   i l s  )          +  (Additives)   สา  ร  เ พ   ่ิม  ค   ณุ    ภ  า  พ                                   น   ้าํ   ม  นั   ห   ล  ่อ  ล   ่ืน  พ   ้ืน  ฐาน                                                                                      กวนผสม

นํ้ามนั หลอ่ ล่ืนพ้นื ฐาน จะทําให้นํ้ามนั เครอื่ งมคี วามหนืดหรอื ความขน้ ใสตามท่ตี อ้ งการ มี 2 ประเภท ได้แก่ นา้ํ มนั แร่ (Mineral Oil) เป็นน้ํามนั หล่อลนื่ พน้ื ฐานซง่ึ ได้จากการกลั่นนา้ํ มันปโิ ตรเลียมโดยตรง และนาํ้ มัน หล่อลนื่ พืน้ ฐานสงั เคราะห์ (Synthetic Base Oil) เปน็ การนาํ ผลติ ภณั ฑ์ปโิ ตรเลียมหรอื นา้ํ มนั แร่ไปผ่านกระบวนการ ทางเคมีให้มีคณุ ภาพดีขึ้น มีอายกุ ารใชง้ านที่ยาวนานกว่า แตม่ ีราคาแพงกวา่ น้ํามันแร่ สารเพ่ิมคุณภาพ จะชว่ ยทาํ ให้นํ้ามนั เครือ่ งมคี ุณสมบตั ิดา้ นการใช้งานท่เี หมาะสมกบั เคร่อื งยนต์ เช่น - สารปอ้ งกันการกัดกร่อน - สารป้องกนั สนมิ - สารตา้ นทานการรวมตัวกบั ออกซเิ จนในอากาศ - สารชะล้างและกระจายสงิ่ สกปรก - สารปอ้ งกันการเกดิ ฟอง - สารลดจุดไหลเท - สารรบั แรงกดสูง - สารเพิ่มดชั นีความหนืด ฯลฯ นา้ํ มันเครอื่ งจะมีคณุ สมบัติที่ดีได้ขึน้ อยกู่ ับการเลือกใชน้ าํ้ มนั หล่อลนื่ พ้ืนฐานและสารเตมิ แตง่ ท่เี หมาะสม และจะต้องผ่านการทดสอบกับเครอื่ งยนต์หลายๆ ประเภทเปน็ เวลานานตามมาตรฐาน เพ่ือให้เกิด ความมัน่ ใจในคณุ ภาพและให้เหมาะสมกับการใชง้ านของเคร่อื งยนต์แตล่ ะประเภท -3- 1.3 ประเภทของนาํ้ มันเครื่อง น้าํ มันเครอ่ื งมมี ากมายหลายชนดิ หลายเกรด สาํ หรับใช้กบั เครอ่ื งยนต์ท่แี ตกตา่ งกัน ดังนัน้ จงึ ตอ้ งแยกประเภทเพื่อให้เลอื กใชไ้ ด้ถูกต้อง โดยทวั่ ไปมีการแบ่งออกเป็น 3 แบบ ไดแ้ ก่ (1) แบ่งตามชนิดของนาํ้ มันหลอ่ ลืน่ พ้นื ฐาน ซงึ่ จะบอกถึงอายุการใชง้ านเป็นหลัก ไลเ่ รยี ง กันลงมาจากน้อยไปหามาก แบ่งออกเปน็ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ - น้ํามนั เครอ่ื งธรรมดาที่ผลติ จากนํา้ มันแร่ (Mineral Oil) - นาํ้ มนั เครื่องกึง่ สังเคราะห์ (Semi - Synthetic) ผลิตจากน้ํามันแรแ่ ละน้าํ มนั พืน้ ฐาน สังเคราะห์ในสัดส่วนตา่ งๆ กนั - นํ้ามันเคร่ืองสงั เคราะห์ (Fully Synthetic) ผลิตจากนํา้ มนั หลอ่ ลนื่ พน้ื ฐานสงั เคราะห์ นํา้ มนั เครอ่ื งสงั เคราะห์มคี ุณสมบตั ิทนทานตอ่ สภาพการใชง้ านท่ีความรอ้ นสงู ได้ดี และ ไหลได้ดีท่อี ณุ หภูมิตา่ํ อีกทัง้ มอี ายกุ ารใชง้ านนานกว่านา้ํ มันเคร่ืองธรรมดามาก แต่ราคาน้ํามันเคร่ืองสังเคราะห์

สูงกว่าน้าํ มัน เคร่อื งธรรมดามากเชน่ กัน ดงั นัน้ จงึ ควรพจิ ารณาว่าใชแ้ ล้วจะคุม้ คา่ หรอื ไม่ เมอื่ เปรยี บเทียบ ระยะเวลาการเปลี่ยนถา่ ยกบั ราคานํา้ มนั ทีต่ อ้ งจ่ายแพงขึน้ (2) แบ่งตามชนิดความหนืด เนอื่ งจากความหนดื จะมสี ว่ นสาํ คญั ในการป้องกนั การสึกหรอ ของช้นิ สว่ นของเคร่ืองยนต์ กลา่ วคือหากนํา้ มนั เคร่อื งท่มี ีความหนดื น้อยเกินไป จะไม่สามารถคงสภาพเปน็ ฟิลม์ บางๆ แทรกระหวา่ งผิวของโลหะ หรือถา้ มคี วามหนดื มากไป กไ็ ม่สามารถถกู ป้ัมไปหลอ่ ล่ืนชนิ้ สว่ นต่างๆ ได้ อยา่ งทว่ั ถึง โดยแบง่ เป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ - นํ้ามนั เครือ่ งเกรดเดยี ว (Monograde) โดย SAE (Society of Automotive Engineers) หรอื สมาคมวิศวกรรมยานยนต์แห่งสหรัฐอเมริกา ไดว้ างมาตรฐานโดยแบ่งตามคา่ ความขน้ ใส ได้แก่ SAE 0W, 5W, 10W, 15W, 20W, 25W อกั ษร W (Winter) สาํ หรับใชใ้ นเขตหนาว และ SAE 20, 30, 40, 50 และ 60 สําหรบั ใชใ้ นเขตรอ้ น ตัวเลขมากยง่ิ ขน้ มาก - นา้ํ มนั เครือ่ งเกรดรวม (Multigrade) เปน็ การพฒั นานํ้ามันเคร่อื งให้สามารถใช้งานได้ ทง้ั สภาพอากาศรอ้ นและเย็น นา้ํ มนั เคร่ืองเกรดรวมจะมีค่าดัชนีความหนืดสูง สามารถทนต่อการเปลย่ี นแปลง สภาพอากาศได้ดีกว่านา้ํ มนั เคร่ืองเกรดเดียว เช่น SAE 5W-40, 10W-30, 15W-40, 20W-50 เป็นตน้ (3) แบ่งตามช้ันคณุ ภาพดา้ นการใชง้ าน ซงึ่ มีหลายสถาบนั เป็นผู้แบ่งเกรด แต่มาตรฐานที่ แพรห่ ลาย ไดแ้ ก่ มาตรฐาน API โดยสถาบันปโิ ตรเลียมแหง่ สหรัฐอเมรกิ า (American Petroleum Institute) ท่ีกาํ หนดมาตรฐานน้ํามนั เครอื่ งโดยแบง่ ออกตามประเภทของเครือ่ งยนต์ ดังน้ี - น้ํามนั เครือ่ งสําหรับเคร่ืองยนตเ์ บนซิน จะใชอ้ ักษร S (Station Service) นําหน้า เรียงตามลําดบั ได้แก่ API SA , SB , SC , SD, SE , SF , SG , SH , SJ , SL , SM และสงู สดุ ในปจั จุบนั คอื SN โดย A, B, C,.., N เปน็ การแบง่ ระดับชัน้ คุณภาพของนาํ้ มนั เครอ่ื งทไ่ี ดพ้ ฒั นาให้มคี ณุ ภาพสงู ขึ้น - นา้ํ มันเครอ่ื งสําหรับเคร่ืองยนต์ดีเซล จะใชอ้ ักษร C (Commercial Service) นาํ หนา้ เรียงตามลําดับ ไดแ้ ก่ API CA ,CB , CC , CD, CD-II, CE , CF-4 ,CF , CF-2 , CG-4 , CH-4 , CI-4 , CI-4 PLUS และสูงสดุ ในปัจจุบนั คอื CJ-4 -4– ประเทศไทยมกี ารจําหน่ายน้ํามนั เครอื่ งเกือบทกุ ชั้นคุณภาพ ยกเวน้ SA, SB, CA, CB เน่ืองจากเปน็ ชั้นคณุ ภาพท่ีไมม่ สี ารเตมิ แต่งหรือมนี ้อยมากจงึ ไมเ่ หมาะสมทจี่ ะนาํ มาใช้งาน ซ่ึงตามประกาศกรม ธรุ กจิ พลงั งาน เรื่อง กาํ หนดลกั ษณะและคณุ ภาพของน้ํามนั หลอ่ ล่นื พ.ศ. 2547 ไดก้ าํ หนดหา้ มไมใ่ ห้มกี าร จําหน่ายน้าํ มันเครือ่ งชัน้ คณุ ภาพดังกล่าวแลว้ นอกจากนี้ API บ่งบอกถึงคุณภาพและประสทิ ธภิ าพของนาํ้ มนั เครื่อง โดยนํา้ มนั เครอ่ื ง ทจ่ี าํ หน่ายในปจั จุบันส่วนใหญ่มกี ารระบุ API ท่มี อี กั ษร S และ C อยดู่ ว้ ยกนั ซ่งึ สามารถนาํ ไปใชไ้ ดก้ บั

เครอื่ งยนต์เบนซินและดีเซล เช่น API SF/CF, CG-4/SG เป็นตน้ แต่การนาํ ไปใชจ้ ะเหมาะสมกบั เครือ่ งยนต์ ประเภทใดมากกวา่ กันให้สังเกตจากชัน้ คณุ ภาพ API น้นั ขึน้ ต้นดว้ ยอกั ษร S หรือ C 1.4 หนา้ ทีข่ องนา้ํ มันเคร่ือง (1) หลอ่ ลน่ื ชน้ิ ส่วนตา่ งๆ ท่เี คลอื่ นไหวภายในเครอ่ื ง ลดแรงเสียดทานและป้องกันการ สกึ หรอ เคร่อื งยนตป์ ระกอบดว้ ยช้ินส่วนโลหะท่ีเคล่อื นไหวอยู่หลายส่วนด้วยกนั เมอื่ เครอื่ งยนต์ ทํางานชน้ิ สว่ นต่างๆ ที่มีการเคลอื่ นทจี่ ะเสียดสกี ัน ทาํ ให้เกดิ ความฝดื แรงเสียดทาน และการสึกหรอ น้ํามันเครือ่ งจะสร้างฟลิ ม์ บางๆ เขา้ ไปแทรกอยู่ระหว่างผวิ หน้าของชิน้ ส่วนตา่ งๆ เหลา่ นน้ั เพือ่ ป้องกันการ สัมผสั กันโดยตรงของโลหะ ลดการเสียดสี ลดแรงเสยี ดทาน และลดการสกึ หรอ ทาํ ใหเ้ ครื่องยนตม์ ีอายุการใช้ งานยาวนานขึ้น (2) ชว่ ยระบายความร้อนให้แก่เครื่องยนต์ ขณะเครื่องยนต์ทํางานจะเกิดความร้อนขึ้นกับช้ินส่วนภายในเครื่องนํ้ามันเคร่ืองจะ เข้าไปช่วยดูดซับความร้อนท่ีเกิดข้ึนกับช้ินส่วนต่างๆ ออกมา และควบคุมอุณหภูมิของเครื่องยนต์ให้เหมาะสม เพอ่ื จะไดท้ าํ งานอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ (3) ชะลา้ งส่ิงสกปรกต่างๆ ทเ่ี กดิ จากการเผาไหม้ เมื่อเครื่องยนต์ทาํ งานจะก่อให้เกิดสิ่งสกปรกหรอื เขม่าตกค้างจากการเผาไหมเ้ กาะติด อยู่เป็นจํานวนมาก น้ํามันเคร่ืองจะมีสารชะล้างส่ิงสกปรกต่างๆ เม่ือไหลเวียนไปตามจุดต่างๆ ของเครื่องยนต์ก็ จะชําระล้างสิ่งสกปรก หรือเขม่า และตะกอนท่ีสะสมอยู่ไหลปะปนมากับน้ํามันเครื่องแล้วเข้าสู่ไส้กรอง นาํ้ มนั เคร่ือง (4) ชว่ ยในการรกั ษากาํ ลงั อดั ของเครื่องยนต์ นํ้ามันเครื่องจะแทรกเข้าไประหว่างลูกสูบ แหวนลูกสูบและกระบอกสูบ ซึ่งเป็น กระบวนการสร้างแรงอัดให้กับเครือ่ งยนต์ ป้องกันก๊าซท่ีเป็นส่วนผสมของเชื้อเพลิงกับอากาศไม่ให้เล็ดลอดผ่าน ช่องห่างระหว่างแหวน เพื่อไม่ให้กําลังอัดของเครื่องยนต์ที่อยู่บริเวณบนหัวลูกสูบรั่วไหลออกจากห้องเผาไหม้ จนทําให้เครอ่ื งยนตไ์ มม่ กี ําลงั (5) ป้องกันสนมิ และการกัดกรอ่ นของชน้ิ สว่ นเครอื่ งยนต์ กรดท่เี กดิ ขึ้นจากการเผาไหมเ้ ชื้อเพลิงทําใหช้ นิ้ ส่วนของเคร่ืองยนต์ถกู กัดกร่อน นํ้ามันเคร่อื ง จะเคลอื บผิวช้นิ ส่วนของเคร่อื งยนต์ ปอ้ งกันการเกิดสนิมและทาํ ใหค้ วามเปน็ กรดลดลง -5-

1.5 คุณสมบตั ขิ องนาํ้ มนั เคร่ืองท่ีดี (1) มีความหนดื หรอื ความข้นใสท่เี หมาะสมกับการใชง้ าน (Optimum Viscosity) ซ่ึงฟลิ ์ม บางๆ ของนํา้ มนั เครอื่ ง จะเคลือบผวิ โลหะไม่ให้เกิดการเสยี ดสโี ดยตรงอันจะทําใหเ้ กิดการสึกหรอได้ ความหนา ของฟลิ ์มนา้ํ มันขึน้ อยู่กับความหนดื ถา้ ความหนืดของน้าํ มันสูง ฟลิ ์มนาํ้ มนั จะหนา และความหนืดของนาํ้ มันต่าํ ฟิล์มนาํ้ มันจะบาง (2) มคี ่าดัชนีความหนืดสงู (High Viscosity Index) เพอื่ ช่วยรักษาคา่ ความหนดื ไว้ได้ดี ฟลิ ม์ นา้ํ มันจะไมบ่ างเกนิ ไป (ใสมาก) เมือ่ อณุ หภมู สิ ูง และไมห่ นาเกินไป (ขน้ มาก) เมือ่ อณุ หภูมติ ่าํ ทาํ ใหก้ ารหลอ่ ลื่น มีประสทิ ธิภาพสงู เครอ่ื งยนต์สตาร์ทตดิ งา่ ย ลดการสกึ หรอ (3) มคี ณุ สมบตั ิในการชะล้าง (Detergency) เน่อื งจากขณะที่เครือ่ งยนต์ทํางานมีการเผาไหม้ จึงทําให้เกดิ มคี ราบเขม่า ยางเหนยี ว เถ้า และส่ิงสกปรกต่างๆ ติดเป็นคราบอยตู่ ามช้ินสว่ นของรถยนต์ ดังน้นั น้ํามันเครื่องทดี่ จี ะช่วยล้างส่ิงสกปรกออกไปได้ (4) มคี ุณสมบตั ิในการกระจายสง่ิ สกปรก (Dispersancy) เม่อื ส่งิ สกปรกตา่ งๆ ถกู ชะลา้ งดว้ ย น้ํามันเครื่องแลว้ ไหลลงมาในอา่ งน้าํ มันเครื่อง นา้ํ มันเครอ่ื งนน้ั จะต้องสามารถกระจายสง่ิ สกปรกต่างๆ ไมใ่ ห้ เกาะรวมตัวกันเปน็ ก้อน เพราะอาจทาํ ให้ท่อทางเดินนาํ้ มนั อุดตนั ได้ (5) มสี ารปอ้ งกนั การทําปฏิกิริยากับออกซิเจน (Anti-Oxidant) ชว่ ยให้ปฏกิ ริ ยิ าระหว่าง นา้ํ มนั เครื่องกบั ออกซเิ จนในอากาศเกดิ ได้ช้าลง ถา้ ไม่มสี ารนน้ี าํ้ มนั เคร่ืองจะทําปฏิกริ ิยากบั ออกซเิ จนในอากาศ ได้งา่ ย เกดิ เป็นยางเหนียว (Varnish) เปน็ ผลให้น้ํามันเครอ่ื งมคี วามหนืดเพิ่มขน้ึ ได้ ซงึ่ ไม่เปน็ ผลดตี อ่ เครอ่ื งยนต์ (6) มีค่าความเปน็ ดา่ งทเ่ี หมาะสม (Total Base Number : TBN) เนือ่ งจากการเผาไหมใ้ น เครอ่ื งยนต์ กาํ มะถนั ที่มอี ยู่ในนาํ้ มนั เชอื้ เพลิง จะทาํ ใหเ้ กดิ เปน็ กรดกํามะถันขนึ้ ซงึ่ จะเป็นสาเหตทุ าํ ใหเ้ กิดการ กดั กร่อนภายในเคร่ืองยนต์ นา้ํ มันเครอื่ งทด่ี ีจะตอ้ งมีค่ามคี ่าความเป็นดา่ งท่เี หมาะสม สามารถตวั ปรบั สภาพ นํา้ มนั เครื่องใหัมีคา่ ความเป็นกลาง ซง่ึ จะช่วยป้องกันการกัดกรอ่ นในเครอ่ื งยนตไ์ ด้ (7) มสี ารป้องกนั การสึกหรอ (Anti-Wear) ซงึ่ จะชว่ ยทําใหฟ้ ิลม์ ของน้ํามนั เคร่ืองคงทนตอ่ แรง เฉอื นได้ดี ช่วยลดการสกึ หรอท่ีจะเกิดขึน้ มากกว่าปกติตรงบริเวณวาล์วและลกู เบยี้ วของเพลาลกู เบ้ยี วได้ (8) มสี ารป้องกนั สนิม (Anti-Rust) ชว่ ยให้นาํ้ มนั เครอ่ื งเปน็ ตัวเคลอื่ บไมใ่ หช้ นิ้ สว่ นของ เคร่อื งยนตท์ ่ที ําด้วยเหล็กเป็นสนิม ขณะทเี่ ครอ่ื งยนต์หยดุ ทํางานเป็นเวลานานๆ (9) มสี ารปอ้ งกันการเกดิ ฟอง (Anti-Foam) เนื่องจากความเรว็ สูงของเครอ่ื งยนต์ ทําให้เกดิ ฟองของนา้ํ มนั เครอื่ งภายในห้องเพลาข้อเหวี่ยงมาก ซง่ึ ทาํ ให้ประสทิ ธิภาพของระบบการหลอ่ ลื่นลดลง สาร ป้องกนั การเกิดฟองจะช่วยทาํ ให้ฟองอากาศละลายตัวได้งา่ ย (10) มสี ารลดความฝดื (Friction Modifier) ซงึ่ จะชว่ ยลดความฝืดทีเ่ กดิ ขน้ึ กบั ส่วนท่มี ีการ เคล่ือนทลี่ ดลง เปน็ ผลทําใหค้ วามรอ้ นในน้าํ มนั เครอ่ื งลดลง ช่วยประหยัดการใชเ้ ชอ้ื เพลิงได้ดีข้ึน (11) มกี ารระเหยตาํ่ (Volatility) นํ้ามันเคร่ืองทีด่ จี ะต้องมีจุดวาบไปสงู ทาํ ให้เกดิ การระเหย ตัวตา่ํ และทนต่อความร้อนสงู ๆ ได้ ไม่เกิดเผาไหมไ้ ดง้ า่ ย ซง่ึ ไมท่ าํ ใหเ้ กิดความสน้ิ เปลอื งน้ํามันเครอ่ื งขณะ เครอื่ งยนตท์ ํางาน

(12) มีจดุ ไหลเทตา่ํ (Low Pour Point) เพ่ือท่จี ะนํานํา้ มันหลอ่ ลื่นเครอื่ งยนต์ไปใชง้ านในทม่ี ี อุณหภูมติ าํ่ ได้ -6- 1.6 มาตรฐานน้าํ มนั เครือ่ ง มาตรฐานสากล ท่นี ิยมใชอ้ า้ งอิงทวั่ ไป มอี ยู่ 5 มาตรฐาน ได้แก่ (1) มาตรฐานของประเทศสหรัฐอเมริกา กําหนดโดยสถาบันปิโตรลียมแห่งสหรัฐอเมริกา (API : American Petroleum Institute) เช่น API SM (สําหรับเคร่ืองยนต์เบนซิน) , API CI-4 (สําหรับ เคร่ืองยนต์ดีเซล) เป็นตน้ (2) มาตรฐานของกลุ่มประเทศในทวีปยุโรป กําหนดโดยสมาคมผู้ผลิตยานยนต์ในทวีป ยุโรป (ACEA : Association of European Automotive Manufacturers) เช่น ACEA A5/B5 (สําหรับ เครอื่ งยนตเ์ บนซินและดเี ซลขนาดเลก็ ) , ACEA E4 (สําหรบั เครือ่ งยนต์ดเี ซลขนาดใหญ่) เปน็ ตน้ (3) มาตรฐานของประเทศญี่ปุ่น กําหนดโดยองค์กรมาตรฐานรถยนต์ของประเทศญี่ปุ่น (JASO : Japan Automotive Standard Organization) เช่น JASO DH-1 (สําหรับดีเซล) , JASO MA หรือ MB (สําหรับรถจกั รยานยนต์ 4 จงั หวะ) เป็นตน้ (4) มาตรฐานกลาง (Global) ซ่ึงสมาคมผู้ผลิตเคร่ืองยนต์ในประเทศสหรัฐอเมรกิ า (EMA : Engine Manufacturers Association) ใน ท วี ป ยุ โร ป (ACEA) แ ล ะ ป ร ะ เท ศ ญี่ ปุ่ น (JAMA : Japan Automobile Manufacturers Association) ได้ร่วมกําหนดขึ้น เช่น Global DHD-1 และ DLD-1 (สําหรับ ดีเซลขนาดใหญ่และขนาดเล็ก) เป็นตน้ (5) มาตรฐานเฉพาะของผู้ผลิตเครื่องยนต์แต่ละชนิด เช่น BMW, Volvo, Mercedes Benz, Volkswagen เปน็ ตน้ ผู้บริโภคจะสังเกตการแสดงมาตรฐานของนํ้ามันเครื่องได้จากฉลากภาชนะบรรจุ มาตรฐานท่ีแพร่หลาย คือ มาตรฐาน API ซึ่งข้อกําหนดของมาตรฐานต่างๆ จะกําหนดรายละเอียดแตกต่างกัน บ้างเล็กนอ้ ย ตามสภาพการใช้งานจริงในภูมิภาคนั้น โดยแต่ละสถาบันพยายามผลกั ดันให้มาตรฐานของตนเป็น ท่รี ู้จักมากยิ่งขึน้ ผูผ้ ลิตสารเตมิ แต่ง หรอื ผู้ผลิตน้ํามนั เคร่ือง มักจะทดสอบนา้ํ มนั เคร่อื งให้ผ่านหลายๆ มาตรฐาน เพอ่ื ทจ่ี ะสามารถจาํ หน่ายไดอ้ ย่างกวา้ งขวางในทุกภูมิภาค

บทที่ 2 การผลิตนาํ้ มนั หลอ่ ลนื่ นาํ้ มันหล่อลืน่ ผลติ จากการผสมนํ้ามันหลอ่ ล่ืนพืน้ ฐาน (Base Oil) กบั สารเพิม่ คณุ ภาพ (Additives) ในสัดสว่ นต่างๆ กัน เพ่อื ใหค้ ณุ สมบตั ติ ามตอ้ งการ เหมาะสมกบั สภาพการใช้งานตา่ งๆ นํ้ามันหล่อล่ืนพ้ืนฐาน ท่ีนิยมนํามาผลิตน้ํามันหล่อล่ืน โดยท่ัวไปแบ่งออกเป็น 2 ประเภท หลักๆ คือ 1. น้ํามนั หลอ่ ลนื่ พืน้ ฐานจากปโิ ตรเลียม (Petroleum Base Oils) หรอื นํ้ามันแร่ (Mineral Oil) ใช้กนั มาก เพราะหางา่ ยและราคาถูก เป็นสว่ นท่แี ยกออกมาจากหอกลน่ั น้าํ มนั ดิบ หลังจากกลน่ั แยกเอา นาํ้ มนั เชอ้ื เพลงิ ต่างๆออกไปแลว้ สว่ นท่เี หลอื จะนําไปกลัน่ ต่อในหอกล่นั สญู ญากาศ (Vacuum Tower) เพอ่ื ให้ ส่วนท่เี ปน็ น้ํามนั หลอ่ ลน่ื พ้ืนฐานกล่นั แยกออก หลงั จากน้นั จะนํามาผา่ นกระบวนการปรับปรงุ คุณภาพ กาํ จดั ส่ิง ที่ไมต่ ้องการออก เพอ่ื ทาํ ให้นํา้ มันหล่อล่ืนบรสิ ทุ ธ์แิ ละมคี ณุ ภาพดขี ึน้ 2. นาํ้ มันหล่อล่นื พื้นฐานสงั เคราะห์ (Synthetic Base Oils) เป็นนํา้ มนั ที่สงั เคราะห์ข้นึ โดย กระบวนการทางเคมกี ายภาพ เพื่อใหค้ ณุ สมบัตทิ ีเ่ หมาะสมกบั เครอื่ งยนต์ นา้ํ มันสังเคราะห์ใช้กันอยมู่ ีหลายชนดิ แต่ราคาค่อนขา้ งสูง มกั จะใชก้ ับงานท่ตี อ้ งการคุณสมบตั พิ ิเศษ เชน่ งานในอุณหภูมสิ ูงมากๆ หรืออุณหภมู ิตาํ่ มากๆ เพราะนํา้ มนั สงั เคราะห์จะมดี ัชนคี วามหนดื สงู มาก จะมีความคงตัวในอณุ หภมู ิสงู ๆ ไดด้ ี ไม่เสอ่ื มสลาย ง่าย และมกี ารระเหยต่ํามาก เป็นต้น สารเพ่มิ คุณภาพ (Additives) เป็นสารที่เตมิ ลงไปในน้าํ มนั หล่อล่ืนพ้นื ฐาน เพอ่ื เพิ่มคณุ สมบัติ ในดา้ นกายภาพและเคมใี หเ้ หมาะสมกบั ชนดิ และประเภทการใช้งานของเครื่องยนต์ หนา้ ที่หลกั ของสารเพิม่ สารคุณภาพ สรุปได้ 3 ประการ ดังน้ี 1. ปกป้องผิวโลหะจากการสึกหรอ

2. เพิม่ ประสิทธิภาพในการใชง้ านของน้ํามนั หล่อลื่น นอกเหนอื จากการป้องกันการสึกหรอ เช่น สารชะล้าง ทําความสะอาด, สารต้านการกัดกร่อนและป้องกันสนิม, สารป้องกันการเกิดฟอง, สารลดจุดไหลเท เปน็ ตน้ 3. ยืดอายกุ ารใช้งานของนํ้ามันหล่อลืน่ คณุ สมบตั ิองสารเพ่ิมคุณภาพท่ใี ชใ้ นนา้ํ มนั หล่อล่ืน ประเภทของสารเพม่ิ คุณภาพ คณุ สมบัติ 1. สารชะลา้ งทาํ ความสะอาด ชะลา้ งสงิ่ สกปรกออกจากผิวของช้ินส่วนเคร่อื งยนต์ (Detergent) 2. สารกระจายเขม่า กระจายเขม่าและตะกอนส่งิ สกปรกไมใ่ ห้จับตัวเปน็ กอ้ น (Dispersants) 3. สารป้องกันการสึกหรอ ป้องกันการสึกหรอที่เกิดจาการขัดสีของช้ินส่วนเคร่ืองยนต์ที่มีการ (Anti-wear Agents ) เคลื่อนไหว และลดแรงกระแทก -8- ประเภทของสารเพม่ิ คุณภาพ คุณสมบตั ิ 4.สารช่วยลดการเกดิ ฟอง ช่วยยับยั้งการเกิดฟอง และช่วยได้ฟองที่เกิดข้ึนแล้วแตกตัวเร็วไม่ (Anti Foam Agents) เหลอื สะสมในระบบหล่อลนื่ 5. สารลดการเกดิ ออกซเิ ดชน่ั ช่วยป้องกันไม่ให้ออกซิเจนทําปฏิกิริยากับเนื้อน้ํามัน ลดการเกิดยาง (Anti Oxidation Agents) เหนียวและตะกอน ยับย้งั การเสื่อมคุณภาพของนํา้ มันหลอ่ ลื่น 6. สารปอ้ งกันสนิม ป้องกันการเกิดสนิมในงานที่อาจมีความช้ืน หรือนํ้าเข้ามาสัมผัสกับ (Rust Inhibitors) ผวิ โลหะ 7. สารปอ้ งกนั การกดั กรอ่ น ปอ้ งกนั การกัดกร่อนของสารเคมี เช่น กรดที่เกิดจากการเผาไหม้ของ (Corrosion Inhibitors) เชื้อเพลิงซ่งึ มีฤทธก์ิ ัดกรอ่ นผวิ ชิ้นส่วนเครื่องยนต์ 8. สารชว่ ยลดจุดไหลเท ช่วยให้หล่อล่ืนไม่แข็งตัวท่ีอุณหภูมิต่ํามากๆ ช่วยป้องกันไม่ให้ไขใน (Pour Point Depressants) น้ํามนั เกาะตวั เปน็ ผลกึ 9. สารลดแรงเสยี ดทาน ชว่ ยลดค่าความเสียดทานของผิวช้นิ ส่วนเครื่องยนต์ท่ีสัมผสั กับน้าํ มัน (Friction Modifiers) 10. สารชว่ ยเพิม่ ดัชนีความหนดื ช่วยลดอัตราเปล่ียนแปลงความหนืดของหล่อล่ืน เม่ืออุณหภูมิ (Viscosity Index Improver) เปล่ียนแปลง 2.1 กระบวนการผลติ นา้ํ มนั หลอ่ื ลืน่ (Lubricants Manufacturing)

กระบวนการผลติ นาํ้ มันหลอ่ ล่นื แบง่ ออกเปน็ 3 ขน้ั ตอน 1. Raw Material Receiving Process 2. Blending Process 3. Filling Process Raw Material ‐ Base Oil Receiving Process   ‐ Additive Blending Process ‐ Bulk Truck ‐ Drum   ‐ Tote Filling Process ‐ Pail ‐ Small package -9- 1. Receiving Process Raw Material Receiving Process คือ ขั้นตอนในการรบั วตั ถุดิบในการผลิตนํ้ามันหลอ่ ลนื่ คือ น้ํามันหล่อล่ืนพ้ืนฐาน ( Base oil) และสารเพ่ิมคุณภาพ (Additive) โดยทางเรือและรถบรรทุก เมอ่ื วตั ถุดบิ มาถงึ ก็จะเกบ็ ตัวอยา่ งมาทดสอบคุณภาพ ถ้าคณุ ภาพผ่าน จะสง่ เข้าสถู่ งั เก็บ (Storage Tank) แต่ถา้ คุณภาพไม่ ผ่านกจ็ ะ Reject สินคา้ หลงั จากนน้ั เมอ่ื จะนําวตั ถุดบิ มาดําเนินการผลิตนํา้ มนั หลอ่ ลน่ื ก็จะเกบ็ ตวั อยา่ งมา ทดสอบอกี ครง้ั หนึ่ง ถา้ คุณภาพผ่านจะสง่ เขา้ สู่กระบวนการผสม (Blending Process) แต่ถ้าคณุ ภาพไมผ่ า่ นก็ จะ Reject dip tank Shipment

Take sample to QC pass Storage (check property) Tank Not pass Take sample Reject Not pass to QC pass Blending Tank Truck 2. Blending Process Blending Process คือ ขน้ั ตอนการผสมสารเพิ่มคณุ ภาพ (Additive) ตา่ งๆ ลงใน น้ํามันหลอ่ ลน่ื พนื้ ฐาน (Base oil) เพือ่ ช่วยให้น้าํ มนั หลอ่ ลื่นมีคณุ สมบตั ทิ เ่ี หมาะต่อการใช้งานของเคร่อื งยนต์ และอายุการใช้งานทยี่ าวนานขน้ึ ในข้นั ตอนน้จี ะดําเนินการทดสอบนาํ้ ถา้ ผ่านกจ็ ะผสมกับสารเตมิ แต่งแล้วเข้า สกู่ ระบวนการผสม โดยกวนให้เป็นเน้อื เดยี วกนั ดว้ ยใบพดั หรอื ใช้กระแสลมเปา่ กวนให้ทวั่ นาํ ตวั อยา่ งออกมา ทดสอบความเป็นเน้อื เดยี วกัน ถ้าไมผ่ ่านกวนต่อไป แตถ่ ้าผา่ นวิเคราะหค์ ณุ ภาพก่อนเติมลงในภาขนะบรรจุ -10- Blending Process Base Oil Water pass Storage Checking Blending Additive Circulating Tank Tank Not pass  No Homogeneous Check Water Removal pass Full Item Test

Filling 3. Filling Process คอื ขน้ั ตอนการบรรจุน้ํามันหลอ่ ลนื่ ลงในภาชนะตา่ งๆ ก่อนจําหน่าย Blending “Flushing” Take Sample Tank Filling (Flushing) Machine Take Sample QC (First Fill) Warehouse pass  Filling Not pass  Check quality for next filling no. -11- 2.2 แนวโน้มในการผลติ นาํ้ มนั หลอ่ ลน่ื ปัจจุบนั ความตอ้ งการใชพ้ ลังงานของโลกยังคงสงู ขึ้นอย่างตอ่ เนือ่ ง ปจั จัยทส่ี าํ คัญ ไดแ้ ก่ การ ขยายตวั ทางด้านเศรษฐกจิ ของประเทศท่ีกําลงั พัฒนา ซงึ่ มกี ารใช้นาํ้ มนั เช้อื เพลิงเป็นปัจจัยหลัก จงึ พยายามท่ีจะ

จดั หาพลงั งานใหพ้ อเพยี ง โดยการใชพ้ ลงั งานทีม่ ปี ระสิทธภิ าพมากขนึ้ หรือการประหยดั พลงั งาน ประกอบกบั การเกดิ ภาวะโลกร้อน ประเทศตา่ งๆ จงึ มคี วามตนื่ ตัวในการรกั ษาส่ิงแวดลอ้ ม โดยการบังคับใช้กฎระเบยี บด้าน สิง่ แวดล้อมทเ่ี ขม้ งวดขน้ึ เพอ่ื ลดการปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก และพัฒนาพลังงานทางเลอื กต่างๆ เปน็ เชือ้ เพลิง ทดแทนเช้อื เพลิงฟอสซลิ เปน็ ตน้ ทศิ ทางการพัฒนาเทคโนโลยเี ครอื่ งยนต์จึงต้องตอบสนองต่อปัจจยั ดังกลา่ ว น้ํามนั เครื่อง หรอื น้าํ มนั หลอ่ ลื่นเครอ่ื งยนต์ ทําหนา้ ที่ในการหลอ่ ลื่นเครอ่ื งยนต์ ดังนน้ั หาก เคร่ืองยนตถ์ ูกพัฒนาไปทางใด นา้ํ มันเครือ่ งกจ็ ะถกู พัฒนาไปในทางเดียวกัน เพ่อื รองรับเทคโนโลยีของ เครือ่ งยนตท์ เ่ี ปล่ยี นไป และเมื่อพิจารณาจากภาพรวมของแรงขับดันในปัจจุบัน เครอื่ งยนตร์ นุ่ ใหม่ในอนาคตจะ ถกู พัฒนาเพ่อื รองรับความต้องการตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ - ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น การลดการปลดปล่อยมลพิษทางอากาศ การลดปริมาณ การใชเ้ ช้ือเพลิง และการลดการปลดปลอ่ ยกา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ เป็นตน้ - รองรบั ความต้องการของผู้ใชร้ ถยนต์ เชน่ ต้องการรถยนตท์ ่มี ีสมรรถนะสูงข้นึ ตอบสนองการ ขบั ข่ที ี่ดขี น้ึ ประหยดั เชื้อเพลิงมากข้นึ และลดการบาํ รงุ รกั ษาเครอื่ งยนต์ เปน็ ต้น จากความต้องการขา้ งต้น ส่งผลให้นาํ้ มนั เครอื่ งต้องไดร้ ับการพัฒนาควบคไู่ ปดว้ ย โดยแนวโนม้ ของน้ํามันหล่อลืน่ ในอนาคต จะให้ความสําคัญในด้านต่าง ๆ ดงั น้ี 1. ลดการใชเ้ ชื้อเพลิง และยังช่วยลดการปลดปลอ่ ยมลพิษ และกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ ท้งั จากการลดความหนืดนํ้ามันหลอ่ ล่นื ลง และพัฒนาสารเติมแต่งเพือ่ ลดความเสยี ดทาน 2. ตอบสนองกบั เทคโนโลยกี ารลดมลพษิ ของเครื่องยนต์ เช่น ลดการระเหย และใช้สารเตมิ แตง่ ทเ่ี หมาะสม เพ่อื ไม่เป็นอนั ตรายกบั อุปกรณบ์ ําบัดไอเสีย (เชน่ Diesel Particulate Filter : DPF , Selective Catalytic Reduction : SCR และ Catalyst อ่ืน ๆ ) 3. มีมาตรฐาน และคุณภาพสูงขึน้ นอกจากใหร้ องรับกับข้อ 1 และ 2 แล้ว ยังหวงั ผลให้ เครอ่ื งยนต์นน้ั สะอาด และทนทานมากข้ึน (Engine Robustness) ทนตอ่ การเส่ือมสภาพมากข้นึ เพอื่ ยืดอายุ การใช้งานยาวนาน (Extended Drain Interval) และเพอ่ื รักษาสิ่งแวดล้อมจากการลดปรมิ าณหล่อลืน่ ใช้แล้ว โดยการพัฒนาน้ํามนั หล่อลนื่ นั้น จะต้องพัฒนาทั้งนา้ํ มันหล่อล่นื พน้ื ฐาน และสารเตมิ แตง่ ไป พรอ้ มกนั ดังนัน้ แนวโนม้ การใช้นํา้ มนั หลอ่ ลน่ื พื้นฐานคุณภาพสูง หรอื การใชน้ ้ํามันสงั เคราะหจ์ ะสูงขึ้นตามไป ด้วย ในส่วนของประเทศไทยนั้น พลังงานทดแทน นบั เป็นอกี หนง่ึ ปจั จัยทสี่ ง่ ผลตอ่ การใชพ้ ลงั งาน สําหรบั ยานยนต์ ท่ีเปน็ ผลมาจากปจั จัยเศรษฐกิจพน้ื ฐานของการเป็นประเทศเกษตรกรรม และปัจจยั ภายนอก จากความไม่มีเสถียรภาพของสถานการณ์พลังงาน จงึ เป็นอีกแรงขบั ดันหน่งึ ของการพฒั นาเครอ่ื งยนต์ และ น้าํ มันหล่อลืน่

บทที่ 3 นํา้ มนั หลอ่ ลืน่ เคร่ืองยนต์ 3.1 หลกั การเลอื กน้ํามนั เครอื่ ง หลักการเลอื กนาํ้ มันหลอ่ ลน่ื เคร่ืองยนต์ คอื การเลือกให้ถกู ชนดิ ความหนดื และระดับคณุ ภาพ โดยตอ้ งสอดคล้องกับความต้องการของเคร่ืองยนต์ และพจิ ารณาควบคกู่ บั สภาพเครอ่ื งยนต์ สภาวะแวดลอ้ ม และสภาวะการใช้งาน รวมถึงชนิดเชื้อเพลิงทใ่ี ช้ โดยผู้ผลติ รถยนตจ์ ะกาํ หนดไว้ในคมู่ ือรถ นา้ํ มันเคร่อื งมีความสาํ คญั ในการบํารงุ รักษาเครือ่ งยนต์ หลายคนเลือกซอ้ื จากยีห่ อ้ ดงั ราคา แพง การโฆษณาทจ่ี ูงใจ หรอื มกี ารลดแลกแจกแถม สว่ นจะใชค้ วามหนืดเบอร์อะไร ช้ันคุณภาพอย่างไร ข้ึนอยู่ กับศูนย์บริการหรือผู้ขายจะเสนอให้ ท่ผี ่านมาคุณภาพของน้ํามนั เคร่ืองจะมกี ารพัฒนาอยา่ งตอ่ เน่ือง ผบู้ ริโภคจึง ควรติดตามขา่ วสารความรู้ เพอ่ื เลือกใชน้ ํา้ มนั เครอ่ื งได้อย่างเหมาะสม การพจิ ารณาสภาพของเครือ่ งยนตต์ ้องคํานึงถงึ รนุ่ ปที ผี่ ลิตเครอ่ื งยนต์ เนือ่ งจากการพัฒนา นํ้ามันเคร่อื งจําเปน็ ที่จะตอ้ งสอดคล้องและรองรับการพัฒนาเครอ่ื งยนตใ์ นแต่ละรนุ่ ดว้ ย ความคบั หลวมของ กลไกและชิน้ สว่ นตา่ งๆ จะแตกตา่ งกันไปตามอายกุ ารใชง้ านของเครอ่ื งยนต์ ซง่ึ จาํ เป็นทีจ่ ะต้องใช้น้าํ มันเคร่ืองที่ มีความหนืดมากขึ้น อกี ทง้ั สภาพการใช้งานของรถยนต์ทต่ี อ้ งวิ่งในทีจ่ ราจรแออัด วงิ่ ๆ หยดุ ๆ เร่งเคร่อื งขึน้ ลง ตลอดเวลา หรือบรรทุกของหนกั ก็ย่อมต้องการนํ้ามันเครื่องท่ีสามารถรับแรงกดและอุณหภูมทิ สี่ งู ขนึ้ นอกจากนย้ี ังต้องสามารถทาํ ปฏิกิรยิ ากับสงิ่ ท่ีหลงเหลอื จากการเผาไหม้นํ้ามนั เชอื้ เพลิง เชน่ นํา้ หรอื กรด เพ่ือ ป้องกันไมใ่ ห้กรดกดั กร่อนช้นิ ส่วนต่างๆ และเกดิ สนิม เปน็ ตน้ มาตรฐานของน้ํามันหล่อลืน่ มหี ลากหลายค่าย อาทิ มาตรฐานของประเทศสหรฐั อเมรกิ า (API) มาตรฐานของผู้ผลิตยานยนต์ในทวีปยุโรป (ACEA) มาตรฐานของประเทศญี่ปุ่น (JASO) และมาตรฐานเฉพาะ ของผู้ผลิตเคร่ืองยนต์แต่ละชนิด (OEM) แต่ที่ใช้อ้างอิงกันอย่างแพร่หลาย ได้แก่ มาตรฐาน API ท้ังน้ี ตาม มาตรฐาน API ผู้ผลิตน้ํามันเครื่องสามารถยื่นขอเครื่องหมายรับรองคุณภาพ (API Donut ) จาก API ได้ ซึ่ง เม่ือ API ประกาศช้ันคุณภาพใหม่ (API Licensed) ก็จะยุติการรับรองสําหรับบางชั้นคุณภาพเดิม (API Non-Licensed) อย่างไรก็ตาม แม้ว่า API จะยุติการออกเคร่ืองหมายรับรองคุณภาพแล้ว ผู้ค้าน้ํามันยังคง จําหน่ายน้ํามันเครื่องตามช้ันคุณภาพดังกล่าวได้ จนกว่าความต้องการใช้ในตลาดจะหมดไป เน่ืองจาก API DONUT ไม่ได้เป็นมาตรฐานบังคับ แต่สําหรบั ประเทศไทย เพื่อเปน็ การกํากับดแู ลคุณภาพนา้ํ มนั เครอื่ งทั้งหมด ให้สอดคล้องเหมาะสมกับการใช้งานในประเทศ นํ้ามันเครื่องที่จําหน่ายในประเทศยังคงต้องได้รับความ เห็นชอบ และแสดงเลขทะเบียน ธพ. บนฉลาก ต้ังแต่ API SC และ CC ขึน้ ไป นํา้ มนั หลอ่ ลืน่ ตามมาตรฐาน API นา้ํ มันเครอ่ื งแต่ละช้ันคุณภาพจะถกู พฒั นามาให้เหมาะสมกบั เคร่ืองยนต์แตล่ ะรุ่น ดงั ต่อไปนี้

เครื่องยนต์เบนซิน 4 จังหวะ ต้ังแต่อดีตถึงปัจจุบัน API ได้จําแนกช้ันคุณภาพนํ้ามันเคร่ือง สําหรบั เครื่องยนต์เบนซิน 4 จังหวะ ไว้ทั้งหมด 12 ชั้นคุณภาพ ได้แก่ SA , SB , SC , SD , SE , SF , SG , SH , SJ , SL , SM และล่าสุด SN -13- ชนั้ คณุ ภาพเบนซนิ ปีทเ่ี ริม่ ใช้ และ คุณสมบัตกิ ารใชง้ าน SA สําหรับเครือ่ งยนต์รุ่นเก่าและสภาพงานเบา น้าํ มันเคร่ืองชนิดนี้ไม่มีการเติมสารเติมแต่ง และไม่ได้กําหนดการทดสอบทางเคร่ืองยนต์ไว้ ช้ันคุณภาพนี้ไม่แนะนําแล้วสําหรับ เคร่อื งยนตเ์ บนซินปจั จบุ นั SB สําหรับเครื่องยนต์สภาพงานเบา ประกาศใช้ต้ังแต่ปี 1930 มีสารเพ่ิมคุณภาพเล็กน้อย ในการป้องกันการสึกหรอ และการกัดกร่อน ช้ันคุณภาพน้ีไม่แนะนําแล้วสําหรับ เครื่องยนตเ์ บนซินในปจั จุบัน SC สําหรับเคร่ืองยนต์รุ่นปี ค.ศ. 1964 - 1967 เร่ิมพัฒนาคุณสมบัติด้านการรักษาความ สะอาด ป้องกันการสะสมของคราบเขม่า กระจายสิ่งสกปรก ป้องกันการสึกหรอ การ เกดิ สนมิ และการกดั กรอ่ น SD สาํ หรับเคร่ืองยนต์ปี ค.ศ. 1968 - 1970 และสําหรับปี 1971 บางรนุ่ มีการเติมสารเติม แต่งมากกวา่ SC เพอื่ เพิ่มประสทิ ธิภาพในด้านการรกั ษาความสะอาด ป้องกันการสะสม ของคราบเขม่า กระจายส่งิ สกปรก ปอ้ งกนั การสกึ หรอ การเกิดสนิม และการกดั กรอ่ น SE สําหรับเคร่ืองยนต์ต้ังแต่ปี ค.ศ. 1972 และ 1971 บางรุ่น มีการเติมสารเติมแต่ง มากกว่า SC และ SD พัฒ นาในด้านความต้านทานการรวมตัวกับออกซิเจน (Antioxidation) เพิม่ ประสิทธิภาพปอ้ งกันสนิม และการกดั กรอ่ น SF สําหรับเครื่องยนต์ตั้งแต่ปี ค.ศ 1980 มีสารต้านทางการรวมตัวกับออกซิเจนในอากาศ คุณสมบัติการรักษาความสะอาด การป้องกันคราบสกปรก ต้านทานการสึกหรอได้ ดีกว่า SE SG สําหรับเครื่องยนต์ต้ังแต่ปี ค.ศ 1988 เป็นช่วงปีที่มีการพัฒนาอย่างชัดเจน เนื่องจาก ขณะนั้นเครื่องยนต์ถูกพัฒนาให้ประหยัดเช้ือเพลิงมากขึ้น การเผาไหม้จึงต้องสมบูรณ์ ส่งผลให้อุณหภูมิเคร่ืองยนต์สูงขึ้น น้ํามันเคร่ืองจึงเสื่อมสภาพเร็ว ปัญหาท่ีพบคือการ เกิดคราบเหนียว และตม ดังนั้นการพัฒนาคุณภาพน้ํามันเครื่องช้ันคุณภาพนี้ จึงต้อง ป้องกันการเกิดตม (Sludge) ได้ดี สารเติมแต่งต้องสามารถกระจายสิ่งสกปรก (Dispersancy) ต้านทานการรวมตัวกับออกซเิ จน และตา้ นทานการสึกหรอ SH สาํ หรบั เครื่องยนต์ต้งั แตป่ ี ค.ศ. 1994 เร่ิมเข้มงวดในเร่อื งปริมาณธาตฟุ อสฟอรัส (P) ซึ่ง เป็นองค์ประกอบของสาร Antiwear และ Antioxidant แม้ว่าการพัฒนาสารเติมแต่ง จําเป็นต้องเพ่ิมประสิทธิภาพในด้านน้ี แต่ก็ต้องควบคุมปริมาณธาตุ P ไม่เกินร้อยละ

0.12 โดยนํ้าหนัก เนื่องจากธาตุ P จะไปขัดขวางประสิทธิภาพการทํางานของอุปกรณ์ ลดมลพิษในไอเสีย (Catalytic Convertor) ท่ีติดต้ังมากับรถยนต์ตามมาตรฐานมลพิษ โดยกําหนดเฉพาะน้ํามันเคร่ืองชนิดความหนืดใส ในขณะน้ัน ได้แก่ SAE 5W-30 และ 10W-30 เนื่องจากน้ํามันใสจะมีโอกาสที่จะไหลลงไปเผาไหม้รวมกับน้ํามันเช้ือเพลิงได้ งา่ ยกว่า และธาตุ P ก็จะปะปนออกมาทางท่อไอเสีย เข้าสู่อุปกรณ์กําจัดไอเสีย อย่างไร ก็ตามเพื่อป้องกันไม่ให้มีการลดปริมาณ ธาตุ P มากเกินไปจนเกิดผลกระทบต่อ ประสิทธิภาพในด้านป้องกัน การสึกหรอ จึงได้กําหนดอัตราข้ันตํ่าไว้ ไม่ให้ต่ํากว่า รอ้ ยละ 0.06 โดยน้ําหนัก -14- ช้ันคณุ ภาพเบนซนิ ปีท่เี ร่ิมใช้ และ คุณสมบัติการใช้งาน SJ สําหรับเคร่ืองยนต์ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1997 เป็นช้ันคุณภาพทผ่ี ่านการทดสอบทางเครอื่ งยนต์ เช่นเดียวกับ SG และ SH แต่ควบคุมการสะสมของคราบสกปรกในอุณหภูมิสูงมากกว่า และควบคุมปริมาณธาตุ P เข้มงวดข้ึน ไม่เกินร้อยละ 0.10 โดยนํ้าหนัก สําหรับชนิด ความหนืดที่ใสข้ึน ได้แก่ SAE 0W-20 , 5W-20 , 5W-30 , 10W-30 จะสังเกตได้ว่า การพัฒนา ชนิดความหนืดของน้ํามันเคร่ือง มีแนวโน้มท่ีใสมากขึ้น ทั้งน้ีเพื่อการ นําไปใชก้ บั เคร่ืองยนต์ร่นุ ใหมท่ ป่ี ระหยดั เช้อื เพลิง SL ประกาศใช้วันที่ 1 กรกฏาคม ค.ศ. 2001 (พ .ศ. 2544) มีการพัฒนาด้านการทําความ สะอาดของเครื่องยนต์ เกณฑ์การทดสอบเข้มงวดขึ้น ด้านการสะสมคราบสกปรกใน อุณหภูมิสูง เน้นการประหยัด และยืดอายุของนํ้ามันเคร่ือง ( Extended Drain Interval ) สําหรับการกําหนดปริมาณธาตุ P ยังคงเดิม เพราะหากลดไปมากกว่าน้ีจะ มปี ัญหาเรอื่ ง wear SM ประกาศใช้วันท่ี 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 2004 (พ.ศ. 2547) เป็นชั้นคุณภาพที่พัฒนา ต่อมาจาก SL เพิ่มเติมการกําหนดค่ากํามะถัน ในด้านการป้องกันผลกระทบที่อาจเกิด ขึน้ กับอุปกรณ์กําจัดไอเสยี เชน่ กัน รวมทั้งพัฒนาคุณสมบัตดิ ้านการระเหย การต้านทาน การรวมตวั กับออกซเิ จน และการป้องกนั การสกึ หรอ SN ประกาศใช้วันท่ี 1 ตุลาคม ค.ศ. 2010 (พ.ศ.2553) พัฒนาต่อจาก SM โดยเพิ่ม ความสามารถด้านการชะล้าง ทําความสะอาดเคร่ืองยนต์ (Detergency) มีการ ประเมินผลการเกิดคราบเขม่าคาร์บอนสะสมท่ีลูกสูบ (Weighted Piston Deposits) ท่ีเข้มงวดขึ้น ต้านทานการกระจายสิ่งสกปรก (Dispersancy) และเข้มงวดในการวัดค่า ตมทเี่ กดิ ข้ึนในเคร่ืองยนต์

สําหรบั เคร่ืองยนต์ดเี ซล ทผ่ี า่ นมา API ไดจ้ าํ แนกชัน้ คุณภาพสาํ หรับเครือ่ งยนต์ดีเซลไวท้ งั้ หมด 14 ช้นั คุณภาพ ไดแ้ ก่ CA , CB , CC , CD , CD-II , CE , CF , CF-2 , CF-4 , CG-4 , CH-4 , CI-4 , CI-4 PLUS และ CJ-4 ดังตารางตอ่ ไปนี้ ชน้ั คณุ ภาพดีเซล ปที ีเ่ ริ่มใช้ และ คณุ สมบตั ิการใช้งาน CA ใช้กับเคร่ืองยนต์ดีเซลธรรมดา ปี ค.ศ. 1940 - 1950 สภาวะการทํางานเบาถึงปาน กลาง มีการเติมสารเติมแต่งบ้างเล็กน้อย ชั้นคุณภาพนี้ ไม่แนะนําแล้วสําหรับ CB เครอ่ื งยนตด์ เี ซลในปัจจบุ ัน ใช้กับเคร่ืองยนต์ดีเซลธรรมดา ปี ค.ศ.1949 - 1960 ภาวะการทํางานเบาถึงปานกลาง CC มีการเติมสารเติมแต่งบ้างเล็กน้อย เพื่อป้องกันการกัดกร่อน มีสารชะล้าง และกระจาย ตะกอน ชนั้ คุณภาพนีไ้ ม่แนะนาํ แลว้ สําหรบั เคร่อื งยนต์ดีเซลในปัจจุบนั ใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลธรรมดา หรือท่ีติดระบบเพ่ิมแรงอัดอากาศ ซูเปอร์ชาร์จ เทอร์โบชาร์จ ปี ค.ศ. 1961 ใช้กับทุกสภาวะการทํางาน ปานกลาง ถึงหนักได้ มคี ุณสมบัติป้องกันสนมิ และคุณสมบัตดิ ้านอ่นื ๆ ดีขึ้นเล็กนอ้ ย -15- ชน้ั คณุ ภาพดเี ซล ปที ่ีเร่มิ ใช้ และ คณุ สมบตั ิการใช้งาน CD ใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลตั้งแต่ปี ค.ศ. 1955 ในสภาวะการทํางานหนัก ความเร็วรอบ สูงข้ึน และสามารถใช้กับนํ้ามันดีเซลท่ีมีค่ากํามะถันสูงได้ นํ้ามันเครื่องจึงต้องมีการ CD II พัฒนาคุณสมบัติด้านการป้องกันคราบสกปรก ชะล้าง และกระจายเขม่าได้ดี รวมทั้ง CE ป้องกนั การสึกหรอ และการกดั กรอ่ น สมรรถนะเทยี บเท่า CD แต่ใช้กับเครอ่ื งยนต์ดีเซลสองจังหวะ ประกาศปี ค.ศ. 1987 CF-4 ใช้กับเคร่ืองยนต์ดีเซลปี ค.ศ. 1983 น้ํามันเคร่ืองช้ันคุณภาพน้ีพัฒนาข้ึนเพื่อรองรับ เคร่ืองยนต์ดีเซลรุ่นใหม่ที่มีกําลังมากขึ้น อาจติดซูเปอร์ชารจ์ หรือเทอร์โบชาร์จ สภาพ CF-2 การทํางานหนัก ภายใต้ความเร็วรอบต่ํา ภาระสูง (high load) โดยเพิ่มคุณสมบัติการ รวมตัวกับออกซิเจน ป้องกันการเกิดคราบเขม่า ลดการสึกหรอ และเพิ่มการทดสอบ กับเครอื่ งยนตห์ นกั อาทิ Catterpilla , Mack และ Cummins ประกาศใชป้ ี ค.ศ.1990 พฒั นาขน้ึ แทนชน้ั คณุ ภาพ CE เนน้ สาํ หรบั เครอ่ื งยนต์ดีเซลท่ีมี ความเร็วรอบสูง บรรทุกหนัก และว่ิงระยะไกล มีคุณสมบัติพิเศษในการควบคุมความ ส้นิ เปลืองของน้ํามันเคร่ือง และควบคุมคราบสกปรกท่ีลูกสูบเข้มงวดกว่า CE แต่ API ก็ ได้ยุติการออกเครื่องหมายรับรองสําหรับช้ันคุณภาพนี้แล้ว ต้ังแต่วันที่ 30 มิถุนายน ค.ศ. 2008 (พ.ศ. 2551) เนือ่ งจากสามารถใช้นา้ํ มนั เครื่องชนั้ คุณภาพทส่ี ูงกวา่ แทนได้ ประกาศใช้ปี ค. ศ. 1994 (พ.ศ. 2537) ใช้แทน CD II สําหรับเครื่องยนต์ดีเซล

2 จังหวะ ที่ใช้งานท่ัวไป สามารถป้องกันการเกิดรอยขีดข่วนในกระบอกสูบ แหวน ลูกสูบ ป้องกันการเกิดคราบสกปรกได้ดี ปัจจุบัน API ได้ยุติการออกเคร่ืองหมาย รับรองสําหรับช้ันคุณภาพน้ีแล้ว ในวันท่ี 1 กุมภาพันธ์ 2553 เนื่องจากเครื่องยนต์ Detroit Diesel 6V - 92T และอะไหล่ช้นิ สว่ นทีใ่ ชท้ ดสอบ จัดหาได้ยากข้นึ CF ประกาศใช้ในปี ค.ศ. 1994 (พ.ศ. 2537) เพ่ือทดแทน CD โดยสามารถใช้กับ เคร่ืองยนต์ดีเซลทีมีห้องเผาไหม้แบบ Indirect Injection เคร่ืองยนต์ดีเซลธรรมดา ติดเทอร์โบชาร์จ หรือซูเปอร์ชารจ์ และสามารถใช้ได้กับนํ้ามันดีเซล ทั้งที่มีค่า กํามะถันตํ่า และสูงกว่าร้อยละ 0.5 โดยนํ้าหนัก มีคุณสมบัติควบคุมการเกิดคราบ สกปรกทล่ี ูกสบู ป้องกนั การสึกหรอ และการกัดกรอ่ นของแบรงิ่ ได้ดี โดยเฉพาะแบร่ิง ที่มีทองแดงผสมอยู่ ทั้งนี้ในวันท่ี 30 ธันวาคม 2553 API จะยุติการออกเคร่ืองหมาย รับรองสําหรับช้ันคุณภาพน้ี เนื่องจากเครื่องยนต์ Catterpilla 1 M–PC และอะไหล่ ชนิ้ ส่วนทีใ่ ชท้ ดสอบ จดั หาได้ยากข้ึน CG-4 ประกาศใช้ปี ค.ศ. 1994 (พ.ศ. 2537) สําหรับเคร่ืองยนต์ดีเซลท่ีใช้งานหนัก ความเร็ว รอบสูง สามารถใช้กับน้ํามันดีเซลท่ีมีค่ากํามะถันสูง มีคุณสมบัติลดคราบสกปรกที่ ลูกสูบเม่ือใช้งานท่ีอุณหภูมิสูง ป้องกันการสึกหรอ และกัดกร่อน ป้องกันการรวมตัวกับ ออกซิเจน และควบคุมการสะสมของเขม่า น้ํามันเคร่ืองชั้นคุณภาพนี้ถูกพัฒนาข้ึน สําหรับเครื่องยนต์ที่ผ่านมาตรฐานมลพิษไอเสียปี ค.ศ. 1994 สามารถใช้แทน CD, CE, และ CF-4 ได้ แต่ปัจจุบัน API ได้ยุติการออกเคร่ืองหมายรับรองสําหรับช้ันคุณภาพนี้ แล้วตัง้ แตว่ นั ที่ 31 สิงหาคม ค.ศ. 2009 (พ.ศ. 2552) -16- ชัน้ คณุ ภาพดเี ซล ปที ่เี ร่มิ ใช้ และ คุณสมบตั ิการใช้งาน CH-4 ประกาศใช้เดือนธันวาคม ค.ศ. 1998 (พ.ศ. 2541) สามารถใช้กับน้ํามันดีเซลท่ีมีค่า กาํ มะถันสูง เพ่ิมประสิทธภิ าพจาก CG-4 ในดา้ นการควบคุมการกระจายเขมา่ ลดคราบ สกปรกท่ีลูกสูบเม่ือใช้งานที่อุณหภูมิสูง น้ํามันชั้นคุณภาพน้ีถูกพัฒนาข้ึนสําหรับ เคร่ืองยนต์ที่ผ่านมาตรฐานมลพิษไอเสียปี ค.ศ. 1998 สามารถใช้แทนน้ํามันมาตรฐาน CD, CE, CF-4 และ CG-4 ท่ี API Non-Licensed ได้ CI-4 ประกาศใช้วันที่ 5 กันยายน ค.ศ.2002 (พ.ศ. 2545) น้ํามันเครื่อง ชั้นคุณภาพนี้ได้ พัฒนาข้ึนเพ่ือเตรียมรับมาตรฐานมลพิษ ปี ค.ศ. 2004 เนื่องจากสถาบันส่ิงแวดล้อม ของประเทศสหรัฐอเมริกา (EPA) ได้กําหนดมาตรฐานไอเสียที่เข้มงวดขึ้น โดยลด ปริมาณก๊าซไนโตรเจนออกไซด์ ลงครึ่งหน่งึ จากปี ค.ศ. 1998 ส่งผลให้ผู้ผลิตรถยนตต์ อ้ ง

CI-4 PLUS ติดตั้งระบบกําจัดไอเสีย EGR (Exhaust Gas Recirculation) ซ่ึงเป็นระบบที่นําไอเสีย CJ-4 ไปหมุนเวียนใหม่ เพ่ือลดส่วนผสมระหว่างอากาศ และไอดี เพ่ือลดปริมาณออกซิเจน และอุณหภูมิการเผาไหม้ลง ส่งผลให้การรวมตัวระหว่างไนโตรเจน และออกซิเจนลดลง ด้วย แต่การนําไอเสียมาหมุนเวียนใหม่ เป็นการนําความร้อนเข้าสู่ระบบ ทําให้ น้ํามันเครื่องมีอุณหภูมิสูงข้ึน เขม่าสะสมมากขึ้น และเสื่อมสภาพเร็ว ดังน้ันจึงมีการ ปรับปรุงคุณสมบัติด้านการชะล้าง ทําความสะอาด รักษาความสะอาดบริเวณลูกสูบ และร่องแหวน ให้ดีขึ้น ควบคุมการกระจายเขม่า นอกจากนี้ยังต้องสามารถต้านกรดท่ี เกิดจากกํามะถันในนํ้ามันเช้ือเพลิง อย่างเพียงพอ จึงจะป้องกันการกัดกร่อนได้ รวมทั้ง ป้องกันการสึกหรอที่เกิดจากการขัดสีบริเวณชุดขับเคลื่อนวาล์ว (Valve train) มี เสถยี รภาพต่ออุณหภูมิการใช้งาน ทั้งสูงมากและตํ่ามาก ทั้งคงความหนืดได้ดีตลอดอายุ การใชง้ าน ประกาศใช้เดือนกันยายน ค.ศ. 2004 (พ.ศ.2547) เหมาะกับเคร่ืองยนต์ที่ติดต้ัง EGR เช่นเดียวกัน CI-4 ต่ปรับปรุงในเรื่องการกระจายเขม่า และต้านทานการเพิ่มข้ึนของ ความหนืด ประกาศใช้เดือนกันยายน ค.ศ. 2006 (พ.ศ. 2549) มีการกําหนดอัตราสูงต่ําของ ปรมิ าณธาตุกาํ มะถนั S ธาตุฟอสฟอรัส P และปริมาณเถา้ เพ่มิ เตมิ เพื่อปกปอ้ งอุปกรณ์ กาํ จัดมลพษิ ที่ติดตงั้ มากับยานยนต์ เพอ่ื รองรบั มาตรฐานมลพษิ ทเี่ ข้มงวดขึน้ จะเห็นได้ว่า น้ํามันเคร่ืองแต่ละชั้นคุณภาพมีคุณสมบัติการใช้งานต่างกัน น้ํามันหล่อล่ืนท่ีมีช้ัน คุณภาพสูงไม่ใช่ว่าจะเหมาะสมกับรถเสมอไป รถเก่าที่ใช้งานมานาน รถที่เครื่องยนต์ไม่แรง ความเร็วรอบไม่สูง มาก หากไปเลือกน้ํามันหล่อลื่นที่มีคุณภาพสูงๆ ราคาก็จะแพงขึ้น เป็นการเสียเงินเพิ่มโดยไม่จําเป็นเช่นกัน ดงั นั้น ผใู้ ชร้ ถจะต้องพิจารณาเลอื กใช้ให้รอบคอบ เพื่อไม่ใหต้ ้องเสียค่าใชจ้ า่ ยโดยเปลา่ ประโยชน์ ข้ันคุณภาพของนํ้ามันเครื่องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ปัจจัยสําคัญท่ีมีส่วนผลักดัน ได้แก่ มาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมท่ีเข้มงวดข้ึน ส่งผลต่อการพัฒนาเทคโนโลยียานยนต์ นอกจากนี้การตอบสนองต่อ ความต้องการของผู้บริโภค อาทิ การประหยัดน้ํามันเชื้อเพลิง ก็มีส่วนสําคัญต่อการพัฒนาคุณสมบัติของ น้ํามันเครอ่ื ง -17- 3.2 สาเหตุทที่ าํ ใหน้ าํ้ มนั เครอ่ื งเส่อื มสภาพ รถยนต์ต้องอาศัยเชอ้ื เพลิงเป็นพลังงาน แตน่ ้าํ มันเชื้อเพลงิ อยา่ งเดยี วยังไม่เพียงพอ ต้องมีการ หล่อลน่ื ส่วนตา่ งๆ ในเครอ่ื งยนต์ โดยท่วั ไปน้ํามันหลอ่ ลนื่ มีหน้าทห่ี ล่อลน่ื ช้ินส่วนของเคร่อื งยนต์ และมลี ักษณะ เป็นแผ่นฟิล์มชว่ ยไมใ่ หเ้ กดิ การเสียดสีโดยตรง โดยเฉพาะถ้าเคร่อื งยนตย์ งิ่ เรง่ ยิง่ เกดิ การเสยี ดสี และสึกหรอมาก

ข้นึ นาํ้ มันหล่อล่นื จะเป็นตัวช่วยลดการเสยี ดสแี ละสึกหรอนนั้ ทาํ ให้เครือ่ งยนตท์ ํางานไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และยังมผี ลต่อเน่ืองชว่ ยให้ประหยัดเชอื้ เพลิงอีกดว้ ย นอกจากนี้จากการทน่ี ํา้ มนั หล่อลน่ื สามารถไหลผา่ นหมุนเวยี น ไปตามจุดต่าง ๆ ของเคร่อื งยนต์ ยังเปน็ การชว่ ยระบายความร้อน ชว่ ยทาํ ความสะอาดช้นิ สว่ นของเครื่องยนต์ และยังสามารถอดุ ชอ่ งว่างระหวา่ งชน้ิ ส่วนตา่ งๆ ป้องกนั การรัว่ ซมึ ของก๊าซไมใ่ หค้ วามดนั รวั่ ไหลทาํ ให้เครื่องยนต์ มีกําลงั เตม็ ที่ ถงึ แม้จะใชน้ ํา้ มันหล่อล่ืนทม่ี คี ุณภาพสูงเทา่ ใดก็ตาม ก็ยงั ต้องเปล่ียนถา่ ยเมอ่ื ถงึ กาํ หนดเวลา เพราะนํ้ามนั เครื่องแตล่ ะชนิดถกู ออกแบบและผลิตมา เพอ่ื ใหม้ ีคุณสมบตั เิ หมาะสมกับการใช้งานของเครอื่ งยนต์ แต่เม่ือใชไ้ ประยะหนงึ่ คณุ ภาพของนํา้ มันเครื่องก็จะเสอ่ื มสภาพลงไปเร่อื ยๆ จนไมเ่ หมาะกบั การใชง้ าน โดยมี จากหลายสาเหตุ ดังน้ี (1) การเกดิ ปฏิกิริยาออกซเิ ดชัน่ ของน้ํามันเครอื่ ง แม้วา่ ในน้าํ มันจะมีการเติมสารเพม่ิ คณุ ภาพปอ้ งกันการเกิดปฏิกิรยิ าออกซเิ ดชั่นอย่แู ลว้ แตห่ ากสารนี้ถกู ใช้หมดไปหรือเสือ่ มสภาพ นาํ้ มันก็จะทาํ ปฏิกริ ิยากบั ออกซเิ จนในอากาศแลว้ เกดิ เป็นสารประเภทกรดและคราบยางเหนยี ว ปฏิกิริยานจี้ ะเกดิ ไดเ้ ร็วถ้า อุณหภูมสิ งู น้ํามันเครื่องจะเสื่อมสภาพ เกดิ ความเป็นกรด ความหนืดเพิ่ม เกดิ ยางเหนียว และในทสี่ ุดเกดิ การ กัดกร่อนเนื้อโลหะในเครื่องยนต์ (2) สารเพมิ่ คุณภาพถกู ใชห้ มดไปหรอื เส่ือมสภาพ เมือ่ มกี ารใช้นาํ้ มนั เคร่อื งเปน็ เวลานาน สารเพ่ิมคณุ ภาพจะถูกใชห้ มดไป หรอื เสือ่ มสภาพ หรอื อาจจะมกี ารเปลยี่ นเป็นสารอนื่ ทไี่ มช่ ่วยเพิ่มคุณภาพนน้ั อีกต่อไป ทาํ ใหน้ ํ้ามันเครื่องไมม่ คี ุณสมบตั ดิ ีพอท่จี ะทาํ งานไดด้ ีอีกตอ่ ไป (3) มีสิ่งสกปรกจากภายนอกเขา้ ไปปนเปอ้ื นอยใู่ นระบบ ทาํ ให้นาํ้ มันเคร่ืองเสือ่ มสภาพ เช่น เม่อื มีน้ําปนเปือ้ น อนภุ าคของนา้ํ จะเข้าไปแทรกตวั ในเน้อื น้ํามนั จะทําให้น้าํ มนั หลอ่ ล่นื มลี กั ษณะขาวขุ่น ความหนดื จะเปล่ียนไปจนไมเ่ หมาะสมท่จี ะใชง้ าน หรือมเี ศษโลหะปนอยูใ่ นน้าํ มันเปน็ จํานวนมาก เศษโลหะจะ ไปขดู กับผิวโลหะของเครือ่ งจักร ทาํ ใหเ้ กิดการสกึ หรอได้ หรือน้าํ มนั เช้ือเพลิงเข้าไปปนเปื้อนในนํา้ มนั เครือ่ ง จะ ทําใหค้ วามหนดื ของนาํ้ มนั เครือ่ งลดลง ทําให้ไมเ่ หมาะกับการใช้งานอีกต่อไป ดังน้ัน จงึ จําเปน็ ตอ้ งเปล่ียนถ่ายน้าํ มันหลอ่ ล่ืนเพือ่ เอาสิ่งสกปรกออกและเปน็ การกําจัดส่ิง สกปรกออกจากเครื่องยนต์ไปในตัว เพอื่ ช่วยปกป้องรักษาเครือ่ งยนต์ และยดื อายุการทํางานของเคร่ืองยนตใ์ ห้ ยาวนานขน้ึ ระยะเวลาในการเปล่ยี นถา่ ยน้าํ มนั หลอ่ ล่นื ขน้ึ อยู่กับลกั ษณะและสภาพของเครือ่ งยนต์ รวมท้งั ลักษณะของงานท่ใี ช้หรือการใชร้ ถของผูข้ บั ข่ี โดยท่ัวไปควรพยายามปฏิบัตติ ามหนังสือคู่มอื รถ และทส่ี ําคญั อีก ประการหนึง่ ควรตรวจสอบดูระดบั นํ้ามันหลอ่ ลนื่ และเติมอยา่ งสมาํ่ เสมอดว้ ย เพราะถ้ามีปริมาณนาํ้ มันหลอ่ ลื่น ไม่เพยี งพอการทํางานก็จะไม่เต็มท่ีและทาํ ใหเ้ ครือ่ งยนตเ์ สียหายไดเ้ ชน่ กัน

-18 – 3.3 ระยะเวลาในการเปลี่ยนถา่ ยนา้ํ มันเครื่อง เน่ืองจากผู้ขับข่ีรถยนต์ต้องการให้เครื่องยนต์สามารถทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพตลอด การใช้งาน จึงตอ้ งเปล่ียนถ่ายนํา้ มันเคร่ืองตามระยะเวลาท่ีผูผ้ ลิตรถยนต์ระบุไว้ในคมู่ ือประจํารถ ซง่ึ จะระบุชนิด ความหนดื มาตรฐานคณุ ภาพขัน้ ต่ํา รวมถึงระยะในการเปลยี่ นถา่ ยนาํ้ มนั เคร่อื งไว้ ปัจจุบนั นา้ํ มันเครือ่ ง ไดม้ ีการ พัฒนาคุณภาพด้านการใช้งานให้สูงข้ึนตามมาตรฐานสากล โดยผสมสารเพ่ิมคุณภาพซึ่งได้จากสารสังเคราะห์ หลายชนิด ให้เหมาะสมกับการใช้งานของเคร่ืองยนต์ และมีอายุการใช้งานเพิ่มมากข้ึน นํ้ามันเคร่ืองจึงมีหลาย ชนิด หลายระดับคุณภาพ ซึ่งมปี ริมาณสารเพิ่มคุณภาพที่ใช้แตกต่างกันและรักษาคุณสมบัติท่ีดีของน้ํามันเครื่อง ไวไ้ ดใ้ นระยะเวลาทแ่ี ตกต่างกัน อย่างไรก็ตาม องค์ประกอบทว่ั ไปท่สี ามารถใช้ในการตัดสินใจในการเปลย่ี นถ่าย นาํ้ มนั เครื่อง คอื ระยะทางและเวลา (ขน้ึ อยู่วา่ สิ่งใดครบกําหนดก่อน) รวมทั้งสภาพการใช้งาน ดงั น้ี (1) ระยะทาง เก่ียวข้องกับชนิดของน้ํามันเครื่องเป็นหลัก แต่ก็ต้องขึ้นอยู่กับ องค์ประกอบอื่นด้วย เช่น น้ํามันเคร่ืองธรรมดากําหนดการเปล่ียนถ่าย 7,000-7,500 กิโลเมตร นํ้ามันเครอ่ื งกึ่ง สังเคราะห์ 10,000-15,000 กโิ ลเมตร และนา้ํ มันเคร่ืองสงั เคราะห์ 15,000-20,000 กโิ ลเมตร (2) ระยะเวลา รถยนต์บางคันจอดรถท้ิงไว้เป็นระยะเวลานานๆ มากกว่าใช้งาน น้ํามันเครื่องสามารถเสื่อมสภาพลงได้ จึงมีความจําเป็นที่จะต้องเปลี่ยนถ่ายตามระยะเวลา แม้ระยะทางยังไม่ ครบกําหนด เพื่อให้รถสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพตลอดการใช้งาน นํ้ามันเคร่ืองธรรมดากําหนด เปลี่ยนทกุ 6 เดอื น นา้ํ มันเคร่อื งกึ่งสงั เคราะห์ 6-9 เดอื น และนา้ํ มันเครื่องสงั เคราะห์ ประมาณ 1 ปี (3) สภาพการใช้งาน ส่งผลโดยตรงและเกี่ยวข้องกับระยะทาง / ระยะเวลาท่ีใช้น้ํามัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้รถในสภาพการจราจรที่ติดขัด หรือเส้นทางท่ีเต็มไปด้วยฝุ่น และรถท่ีใช้งานหนักกว่า ปกติ เช่น ขับรถระยะสั้นๆ เป็นประจํา บรรทุกของหนักมาก การขับรถลุยสายฝน หรือขับรถลุยนํ้าท่วมอยู่เป็น ประจํา หรือเครื่องยนต์ที่ต้องการความเร็วสูงสุด เช่น รถแข่ง ซ่ึงต้องม่ันใจว่าคุณสมบัติของนํ้ามันเครื่องต้องไม่ ลดลง ควรจะต้องเปลย่ี นถ่ายก่อนระยะทาง หรือเรว็ กว่าเวลาที่กําหนด และหากใช้เคร่ืองยนต์ที่การดัดแปลงมาใช้ก๊าซธรรมชาติอัดหรือก๊าซหุงต้ม การเปลี่ยนถ่าย นํ้ามันเครื่องควรจะลดลงจากท่ีผู้ผลิตรถยนต์กําหนดไว้เช่นกัน เน่ืองจากอุณหภูมิในห้องเผาไหม้ของเครื่องยนต์ เหล่านี้ จะสูงกว่าเคร่อื งยนตท์ ี่ใชน้ ํ้ามันเชือ้ เพลงิ ทั่วไป ส่ิงที่สําคัญอีกประการหนึ่ง คือ ควรตรวจสอบดูระดับน้ํามันเครื่องอย่างสมํ่าเสมอด้วย แม้ว่า นํ้ามันเครื่องจะมีประสิทธิภาพในการหล่อล่ืนเพียงใดก็ตาม แต่ถ้ามีปริมาณไม่มากพอ การทํางานก็จะไม่เต็มท่ี ทําให้เครื่องยนต์เสียหายได้เช่นกัน ดังน้ัน ควรตรวจสอบระดับนํ้ามันเครื่องสม่ําเสมอแล้วเติมให้เพียงพอ และ ควรเลือกซื้อน้ํามันเคร่ืองในขนาดบรรจุพอเหมาะกับความจุห้องน้ํามันเคร่ือง เพราะถ้ามีน้ํามันเครื่องเหลือมาก เก็บรกั ษาไวไ้ มด่ ี เช่น ปิดฝาไมส่ นิท ทําใหน้ ้าํ มนั เคร่ืองเสอ่ื มสภาพลงได้

-19– 3.4 ข้อแนะนาํ ในการเลือกซ้ือน้ํามันเครอื่ ง เคร่ืองยนต์แต่ละชนิดมีเทคโนโลยีของเครื่องยนต์แตกต่างกัน จึงควรเลือกชนิดนํ้ามันเคร่ืองให้ เหมาะสมกับการใช้งานเคร่ืองยนต์ เช่น รถยนต์เครื่องยนต์เบนซินควรเลือกใช้นํ้ามันเคร่ืองที่ออกแบบสําหรับ เคร่ืองยนต์เบนซินโดยเฉพาะ หากเป็นเคร่ืองยนต์ดีเซลก็ควรเลือกใช้น้ํามันเคร่ืองสําหรับเคร่ืองยนต์ดีเซลโดย เฉพาะเช่นกัน สามารถดูได้จากมาตรฐานคุณภาพ และที่นิยมใช้กันทั่วโลก คือ มาตรฐาน API ( American Petroleum Institute) โดยสถาบันปิโตรเลียมแห่งสหรัฐอเมริกาที่กําหนดมาตรฐานน้ํามันเครื่องตามลักษณะ การใช้งาน สําหรับมาตรฐานเคร่ืองยนต์เบนซิน จะระบุเป็นอักษร S ตามหลัง API เช่น API SH , API SM เป็นต้น ส่วนเครื่องยนต์ดีเซล จะระบุเป็นอักษร C ตามหลัง API เช่น API CH-4 , API CJ-4 เป็นต้น แต่การ นําไปใช้จะเหมาะสมกับเคร่ืองยนต์ประเภทใดมากกว่ากัน ให้สังเกตจากช้ันคุณภาพ API นั้นขึ้นต้นด้วยอักษร S หรือ C นํ้ามันเครื่องท่ีจําหน่ายอยู่ในท้องตลาดมีหลายยี่ห้อ ดังน้ัน ผู้บริโภคจึงต้องพิจารณาก่อน เลือกซ้ือน้ํามันเครื่องไปใช้ เพ่ือให้ได้ผลิตภัณฑ์ท่ีมีคุณภาพเหมาะสมกับการใช้งานของรถยนต์ โดยมีข้อควร สังเกต ดังนี้ (1) มีเลขทะเบียน รหสั ตวั เลข/ปี พ.ศ. ซ่ึงได้รับความเห็นชอบจากกรมธุรกิจพลังงาน แล้ว บนฉลากภาชนะบรรจุ (2) มีเกรดมาตรฐานด้านการใช้งาน API และเกรดความหนืด SAE ตามที่แนะนําไว้ใน คู่มือประจํารถ ซ่ึงจะระบุเกรด หรือมาตรฐานด้านการใช้งาน และชนิดความหนืดท่ีเหมาะสมกับเคร่ืองยนต์ แตล่ ะรนุ่ (3) รายละเอียดของฉลากบนภาชนะบรรจุน้ํามันเคร่ือง จะต้องระบุช่ือของผู้ผลิต หรือ ผู้นําเข้า หรือผู้จําหน่าย มีช่ือทางการค้า หรือเครื่องหมายการค้าของผู้ที่ได้รับความเห็นชอบ สถานท่ีผลิต มาตรฐานการใชง้ าน ชน้ั คุณภาพ ชนดิ ความหนืด ขอ้ แนะนําการใชง้ าน ปริมาณที่บรรจุ และวนั เดอื นปีท่ผี ลติ (4) ราคาของนํ้ามันเครื่องควรเหมาะสมกับคุณภาพ เช่น เกรดที่สูงกว่าควรจะมีราคาท่ีสูง กว่าเกรดตํ่า และไม่ควรจะมีราคาถูกกว่าราคาท่ีระบุบนภาชนะจําหน่ายมากๆ ซึ่งอาจจะเป็นนํ้ามันปลอมได้ หรือราคาสูงเกินกว่าควรจะเป็น ผู้บริโภคควรเทียบเคียงราคากับนํ้ามันเคร่ืองยี่ห้ออ่ืนๆ ท่ีอยู่ในมาตรฐานและ เกรดเดยี วกัน

(5) สถานที่จําหน่าย ควรจะเป็นสถานท่ีเปิดเผย หรือน่าเช่ือถือ หรือเป็นร้านค้าตัวแทน จําหนา่ ยของบริษัทฯ โดยตรง (6) สําหรับรถยนต์ที่ผ่านการใช้งานมาเป็นเวลานาน ควรจะเลือกนํ้ามันเคร่ืองท่ีมีความ หนืดเหมาะสมกับสภาพเคร่ืองยนต์นนั้ ๆ โดยเคร่อื งยนตท์ ่ีหลวมมากควรจะใช้ความหนดื ทขี่ ้นมากขนึ้ บทที่ 4 บทบาทของภาครฐั ในการกํากบั ดูแลและควบคมุ คุณภาพน้ํามนั เคร่อื ง ในภาวะท่ีเศรษฐกิจมีการขยายตัว นอกจากจะส่งผลให้การใช้น้ํามันเช้ือเพลิงสูงข้ึนแล้ว นํ้ามันเครื่องก็เป็นผลิตภัณฑ์หนึ่ง ท่ีมีอัตราการขยายตัวทางการตลาด และมีมูลค่าทางเศรษฐกิจสูง ผู้ผลิตมีการ คิดค้น พัฒนาและแข่งขัน เพ่ือออกสินค้าใหม่ๆ มาจําหน่ายอยู่เสมอ ซ่ึงในยุคท่ีค่าครองชีพปรับตัวสูงขึ้นสวน ทางรายได้ผู้บริโภคท่ีลดลง ก็กลายเป็นช่องว่างให้ธุรกิจผิดกฎหมายเติบโต อาทิ นํ้ามันเคร่ืองปลอม แต่การจะ พิสูจน์ว่านํ้ามันนั้นเป็นของแท้ หรือของปลอม การดูด้วยสายตา ดูสี ดูความใส สัมผัสทดสอบความเหนียว อาจ ไม่สามารถพิสูจน์ได้ การพิสูจน์ว่าเป็นน้ํามันคุณภาพต่ํา หรือเป็นนํ้ามันเคร่ืองปลอมหรือไม่ จําเป็นต้อง ตรวจสอบโดยเคร่ืองมือในห้องปฏบิ ัติการ ซง่ึ กอ่ นจะพิสูจนผ์ ้บู ริโภคก็จา่ ยเงนิ ซื้อนํ้ามันเหลา่ น้ันไปแลว้ ดงั นน้ั จึง มีความจําเป็นทีห่ นว่ ยงานภาครฐั ต้องเข้ามามีบทบาท เพอื่ กํากับดแู ลตง้ั แต่ตน้ ทางใหม้ ีการผลติ น้ํามันเครื่องท่ีได้ มาตรฐานไปจนถึงปลายทางการจําหน่าย อันเป็นการคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้ใช้นํ้ามันเคร่ืองท่ีมีคุณภาพถูกต้อง และลดความเสยี หายทีเ่ กิดจากการใชน้ าํ้ มนั เครื่องปลอม สํานักคุณภาพน้ํามันเชื้อเพลิง กรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน มีหน้าที่รับผิดชอบ กําหนดมาตรฐานและควบคุมคุณภาพน้ํามันเช้ือเพลิงให้ถูกต้องและเหมาะสมกับการใช้งานของเคร่ืองยนต์ ตามพระราชบัญญัติการค้านํ้ามันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543 โดยนัยนํ้ามันเชื้อเพลิง หมายรวมถึงนํ้ามันหล่อล่ืนด้วย ทั้งนี้อธิบดีมีอาํ นาจกาํ หนดลักษณะและคุณภาพของนาํ้ มันเชอื้ เพลงิ หรือกําหนดใหผ้ ้คู า้ น้ํามันเช้อื เพลิงชนดิ หนึ่ง ชนิดใดต้องแจ้งลักษณะและคุณภาพของนํ้ามันเชื้อเพลิง เพื่อขอความเห็นชอบตามหลักเกณฑ์วิธีการ และ เงื่อนไขที่อธบิ ดปี ระกาศกําหนด อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 25 กรมธุรกิจพลังงานจึงได้ออกประกาศ เร่ือง กําหนด ลักษณะและคุณภาพของน้ํามันหล่อล่ืน พ.ศ. 2547 เพ่ือสามารถควบคุมคุณภาพนํ้ามันหล่อล่ืนอย่างเหมาะสม สอดคลอ้ งกับมาตรฐานสากล โดยมีการกาํ กับดแู ลตั้งแต่ตน้ ทางการผลติ จนถึงปลายทางการจําหน่าย ดงั น้ี - การกาํ หนดคณุ ภาพของนาํ้ มนั เครอ่ื ง

- การติดตามตรวจสอบคณุ ภาพของนํา้ มันเครอ่ื ง 4.1 การกาํ หนดคณุ ภาพของน้ํามันเครือ่ ง แบง่ ออกเป็น 2 ดา้ น 1.1 คุณสมบัติทางด้านเคมีและฟิสิกส์ ต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามข้อกําหนด ซึ่งเป็น คุณสมบัตทิ ั่วไป อาทิ ค่าความหนืดที่แสดงถึงความขน้ ใสของนํ้ามันเครอื่ ง ค่าจุดวาบไฟเปน็ คุณสมบัติที่แสดงถึง อุณหภูมิท่ีน้ํามันหล่อลื่นจะสามารถติดไฟได้ เพื่อความปลอดภัยในการใช้งานและการเก็บรักษา ค่าจุดไหลเท เป็นการกําหนดเพ่ือป้องกันไม่ให้นํ้ามันเคร่ืองจับตัวเป็นไขท่ีอากาศเย็นหรืออุณหภูมิตํ่า ปริมาณน้ํา ปริมาณ ตะกอน เพอ่ื ปอ้ งกันไม่ใหม้ สี ิ่งปนเปอื้ น เป็นตน้ 1.2 คุณสมบัติด้านการใช้งานของเคร่ืองยนต์ เพื่อให้น้ํามันเคร่ืองมีคุณสมบัติที่เหมาะสม กับสมรรถนะของเคร่ืองยนต์ โดยกําหนดวิธีการให้ผู้ค้าน้ํามันที่เป็นผู้ผลิต ผู้นําเข้า ผู้จําหน่ายที่ใช้เคร่ืองหมาย การค้าของตนเอง ต้องแสดงสูตรการผลิต และผลการทดสอบทางเคร่ืองยนต์ตามมาตรฐาน และชั้นคุณภาพ ของนํ้ามันเครื่องที่ผู้ค้านํ้ามันจะ จําหน่าย ให้กรมธุรกิจพลังงานให้ความเห็นชอบ (ข้ึนทะเบียน) และ กาํ หนดเลขทะเบียนนา้ํ มนั เครอ่ื ง รหสั ตวั เลข/ปี พ.ศ. ใหผ้ ู้ค้าน้ํามนั นําไปแสดงบนฉลาก เพอ่ื ให้ผู้บริโภค ได้สังเกต โดยผู้ค้านํ้ามันจะต้องผลิตนํ้ามันเครื่องให้ได้มาตรฐานตามท่ีกรมธุรกิจพลังงานกําหนด และให้ความ เห็นชอบไว้ -21- การขอความเห็นชอบลักษณะและคุณภาพด้านการใช้งานของนํ้ามันหล่อลื่น จะครอบคลุม เฉพาะน้ํามนั หลอ่ ล่นื สาํ หรับเครอ่ื งยนต์เบนซิน 4 จงั หวะ และเครอื่ งยนต์ดเี ซล หรือท่ีเรยี กทัว่ ไปวา่ น้ํามันเคร่ือง โดยอ้างอิงเกณฑ์การพิจารณาตามมาตรฐานสากล ได้แก่ มาตรฐาน API เนื่องจากเป็นมาตรฐานที่นิยมใช้กัน อยา่ งแพร่หลาย โดยกาํ หนดต้งั แต่ชัน้ คุณภาพ API SC และ CC ข้นึ ไป แต่หากไม่มผี ลการทดสอบตามมาตรฐาน API จะพิจารณาตามมาตรฐาน ACEA , JASO, GLOBAL และ OEM อย่างใดอย่างหนึ่ง ตามที่ผู้ค้าน้ํามันแสดง ความประสงค์ รวมทง้ั การพิจารณาชนดิ ความหนดื ตาม SAE ผู้ค้าน้ํามันท่ีมาขอรับความเห็นชอบ คือ ผู้ค้านํ้ามันหล่อล่ืนท่ีเป็นผู้ผลิต ผู้นําเข้า ผู้ค้า นํ้ามันหล่อล่ืนท่ีเป็นเจ้าของชื่อในทางการค้า หรือเครื่องหมายการค้าท่ีใช้ หรือจะใช้กับน้ํามันหล่อล่ืนน้ัน โดย ตอ้ งย่ืนขอความเห็นชอบลักษณะและคุณภาพของนํ้ามันหล่อล่ืนต่อกรมธุรกิจพลังงาน และได้รับความเห็นชอบ กอ่ นนาํ ออกจาํ หน่าย ปจั จุบันมีผู้ค้าน้ํามนั หลอ่ ลนื่ ที่ได้รบั ความเหน็ ชอบการจําหน่ายจากกรมธุรกจิ พลังงาน จํานวน 167 ราย 3,729 เลขทะเบยี น 4.2 การติดตามตรวจสอบคุณภาพของน้ํามันเคร่ือง การกําหนดเลขทะเบียนนาํ้ มนั เคร่ือง นอกจากจะมีประโยชน์เพ่ือให้ผูบ้ รโิ ภคได้สังเกต และ เกิดความม่ันใจในคุณภาพของน้ํามันเครื่องในเบื้องต้นก่อนท่ีจะซื้อนํ้ามันเคร่ืองไปใช้แล้ว ยังใช้ในการติดตาม

ตรวจสอบคุณภาพของนํ้ามันเคร่ืองท่ีผลิตและจําหน่าย ให้เป็นไปตามที่ประกาศกําหนด และได้รับความ เห็นชอบไว้ เพื่อป้องกันการปลอมปนปลอมแปลงน้ํามันเคร่ืองได้อย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน ท้ังนี้ สํานักคุณภาพน้ํามันเชื้อเพลิง กรมธุรกิจพลังงาน มีการสุ่มเก็บตัวอย่างนํ้ามันเครื่องจากผู้ค้านํ้ามันแต่ละรายท่ี ได้รับความเหน็ ชอบเปน็ ประจําทุกปี เพอ่ื นาํ มาตรวจสอบคุณภาพในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ นอกจากน้ีเพ่ือเป็นการเสริมมาตรการในการกํากับดูแลท้ังระบบ ตั้งแต่ต้นทางการผลิต จนถึงปลายทางการจําหน่าย กรมธุรกิจพลังงาน ได้มีการสํารวจผลิตภัณฑ์นํ้ามันหล่อลื่นที่จําหน่ายตามร้านค้า ทั้งนี้ เพ่ือสํารวจว่าผู้ค้าน้ํามันได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กฎหมายกําหนด มีการแสดงเลขทะเบียนบนฉลาก รวมทั้ง สํารวจผลิตภัณฑ์นํ้ามันหล่อลื่นท่ีหลีกเล่ียงไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย พร้อมท้ังทําความเข้าใจ แนะนําร้านค้าให้ จาํ หน่ายผลติ ภัณฑ์ที่มีเลขทะเบยี น และกระตุ้นใหผ้ ้คู า้ น้ํามันหันมาผลิตน้าํ มนั หลอ่ ลืน่ ท่ีมีคณุ ภาพไดม้ าตรฐาน ตามพระราชบัญญัติการค้านํ้ามันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2543 กําหนดโทษผู้ค้าน้ํามันและ ผู้ประกอบการที่จําหน่ายน้ํามันเครื่องที่ไม่ได้รับความเห็นชอบ หรือมีคุณภาพแตกต่างไปจากที่ได้รับความ เห็นชอบ ต้องระวางโทษจําคกุ ไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือท้ังจําท้ังปรับ และสําหรบั ผู้ที่ทํา การปลอมปนน้ํามัน หรือกระทําการอย่างใดอย่างหน่ึงอันทําให้น้ํามันเคร่ืองมีลักษณะและคุณภาพแตกต่างไป จากท่ีกําหนด และให้ความเห็นชอบ หรือลดคุณภาพ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 300,000 บาท หรอื ทัง้ จําทั้งปรับ -22– 4.3 น้ํามันเครื่องปลอม การเพมิ่ ขึ้นของจาํ นวนยานพาหนะบนทอ้ งถนน ส่งผลใหต้ ลาดนํา้ มนั เครื่องขยายตัวขน้ึ อยา่ ง รวดเรว็ ในแตล่ ะปี นอกจากการแข่งขนั ทท่ี วคี วามรุนแรงขนึ้ ทกุ ขณะแลว้ ตลาดนํ้ามันเครอื่ งยังตอ้ งเผชญิ ปญั หา ของนาํ้ มันเครื่องปลอมอีกด้วย นํ้ามันเคร่ืองปลอม หมายถึง น้ํามันเคร่ืองท่ีไม่ได้รับความเห็นชอบ หรือมีคุณภาพไม่เป็นไป ตามที่ได้รับความเห็นชอบไว้แล้ว นอกจากน้ียังมีนํ้ามันเครื่องปลอมในลักษณะอื่นๆ อีก อาทิ ปลอมคุณภาพ อาจเป็นการนําน้ํามันเคร่ืองใช้แล้ว มากรอง และฟอกสีโดยกรด หรือการนํานํ้ามันหล่อลื่นพื้นฐาน (Base Oil) มาบรรจุขายโดยไม่เติมสารเติมแต่ง ฉลากมักจะไม่มีการแสดงวัตถุประสงค์ มาตรฐานการใช้งาน แต่จะใช้ส่ือ รูปภาพ เช่น รูปรถยนต์ ยานพาหนะต่างๆ หรอื รูปเครือ่ งยนต์ หรอื ใช้ชอื่ ยีห่ อ้ ทใี่ กล้เคียงกับย่หี ้อดังซงึ่ เปน็ การ สื่อให้ผู้บริโภคเข้าใจผิด และอาจมีการจูงใจในด้านราคา ที่ค่อนข้างถูกกว่าสินค้าทั่วไป และที่สังเกตได้ยากคือ

การนําภาชนะเก่ามาบรรจุ หรือผลิตภาชนะใหม่แต่เลียนแบบยี่ห้อดัง ในทางปฏิบัติ ผู้ประกอบการท่ีเป็น เจ้าของยี่ห้อก็ได้มีความพยายามท่ีจะนํามาตรการต่างๆ มาใช้ เช่น การผลิตฟอยล์ฝา หรือ ซีลปิดผนึกท่ีมี ลักษณะพเิ ศษ การใสร่ หสั ตา่ งๆ เพอ่ื ใหก้ ารปลอมแปลงหรอื เลียนแบบทําไดย้ ากขึน้ การไม่ระมัดระวังในการเลือกซื้อหรือเลือกใช้นํ้ามันเครื่อง จะเกิดผลเสียหายจากการใช้นํ้ามัน เครอ่ื งปลอมหรือไมไ่ ดม้ าตรฐาน คอื 1. เคร่ืองยนต์เกิดการสึกหรอ อายุการใช้งานส้ันลง หรือได้รับความเสียหายเร็วกว่าปกติ เนื่องจากประสิทธิภาพในการทําหน้าท่ีหล่อลื่นลดลง โดยเฉพาะน้ํามันหล่อลื่นท่ีมีกรดหลงเหลืออยู่จากการนํา นํ้ามันหล่อล่ืนใช้แล้วไปฟอกด้วยกรด ซ่ึงจะทําให้ชิ้นส่วนของเคร่ืองยนต์ท่ีมีน้ํามันหล่อลื่นไหลผ่าน และอ่างของ นํ้ามันเครอ่ื งเกิดการผุกรอ่ น หรืออาจทะลไุ ด้ 2. สน้ิ เปลอื งน้าํ มนั เชือ้ เพลิง เน่อื งมาจากการสึกหรอในเคร่ืองยนต์ ทําใหเ้ ครอ่ื งยนต์หลวม การ ใชน้ ํ้ามันเชอ้ื เพลิงจะมากขน้ึ กว่าเดิม 3. เครื่องยนต์เผาไหม้ไม่สมบูรณ์ ปลดปล่อยมลพิษออกมาซ่ึงเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค และ สรา้ งปัญหาดา้ นส่ิงแวดล้อมให้กับประเทศ 4. ผบู้ รโิ ภคมีภาระคา่ ใช้จา่ ยเพม่ิ ข้นึ ในการซอ่ มแซมเครือ่ งยนต์ ดังนนั้ ในการเลอื กซือ้ น้ํามันเคร่อื ง ผ้บู รโิ ภคอาจมปี จั จยั ในการเลอื กซอ้ื ทแ่ี ตกตา่ งกนั ไป แต่ สว่ นใหญจ่ ะพจิ ารณาในเร่อื งของยหี่ ้อทเี่ ป็นทีร่ จู้ กั รองลงมากอ็ าจเปน็ เรอ่ื งราคา อย่างไรก็ตาม ในเบ้ืองต้น ผ้บู รโิ ภคควรสงั เกตฉลากเปน็ ส่งิ แรกก่อนตัดสินใจซ้ือ ซ่งึ นอกจากจะสงั เกตเลขทะเบยี นนํ้ามนั เคร่ืองแลว้ ควร พิจารณารายละเอยี ดอน่ื ๆ ประกอบ อาทิ รายละเอยี ดของมาตรฐาน ช้นั คณุ ภาพการใชง้ าน เช่น API และชนิด ความหนืด SAE ตอ้ งชดั เจน ต้องแสดงชือ่ และสถานที่ตั้งของผคู้ า้ น้ํามันทไี่ ดร้ ับความเหน็ ชอบ ซึ่งจะเป็น ประโยชน์กบั ผ้บู ริโภคในการตรวจสอบ และควรเลอื กซ้อื จากแหล่งที่เปดิ เผยเชอื่ ถอื ได้ แม้ว่าภาครฐั จะไดด้ ําเนนิ มาตรการตา่ งๆ ในการแกไ้ ข และลดปญั หานาํ้ มันเคร่ืองปลอมมาแล้ว ในระดับหนึง่ แต่จากภาวะเศรษฐกจิ ทีค่ ่าครองชพี สงู แตร่ ายไดต้ า่ํ ทําใหม้ แี รงจูงใจต่อผู้ท่คี ิดจะหลีกเล่ียง กฎหมายอยู่เสมอ ซึ่งการแกไ้ ขปญั หาจําเป็นต้องไดร้ ับความร่วมมอื จากหลายภาคสว่ น ทงั้ หนว่ ยงานราชการท่ี ต้องเข้มงวดในการกํากับดูแลและตดิ ตามตรวจสอบ ภาคเอกชนท่ตี ้องพยายามสรา้ งความเช่อื ถือ และผู้ใช้น้ํามัน ทป่ี จั จบุ นั มคี วามร้ทู ่ีจะรกั ษาและปกปอ้ งผลประโยชนข์ องตนมากข้นึ -23 – และหากทา่ นพบปญั หานาํ้ มนั เคร่ืองคณุ ภาพตํา่ นํา้ มนั เคร่ืองปลอม หรือพบการกระทาํ ท่ี หลีกเล่ยี งกฎหมาย มขี อ้ แนะนาํ ในการร้องเรยี น ดังนี้ ผ้รู อ้ งเรียนจาํ เป็นต้องสงั เกต และจดจาํ รายละเอยี ดตา่ งๆ อาทิ ช่อื ทีต่ ัง้ ของสถานบี รกิ าร ศนู ย์เปลีย่ นถา่ ย อ่ซู อ่ ม รา้ นค้า หรืออาจเก็บใบเสรจ็ ไว้ รวมทง้ั รายละเอยี ดของ นา้ํ มันเครือ่ งที่ใช้ ความผดิ ปกติของเคร่อื งยนต์ เพ่ือแสดงให้เห็นวา่ การร้องเรียนดงั กล่าวมีหลกั ฐานแวดลอ้ ม ปรากฏชัดเจน และเจา้ หนา้ ทสี่ ามารถเดนิ ทางไปเก็บตัวอย่างมาตรวจสอบในหอ้ งปฏบิ ัติการตอ่ ไปได้ ทัง้ นี้ สามารถแจ้งเบาะแส หรือรอ้ งเรียนได้ท่ีส่วนตรวจสอบ สํานกั คณุ ภาพนา้ํ มนั เชอ้ื เพลิง กรมธุรกิจพลังงาน

หมายเลข โทรศัพท์ 02 547 4324-5 โทรสาร 02 547 4323 หรือทางกระดานถามตอบในเวป็ ไซตก์ รมธุรกจิ พลังงาน www. doeb.go.th หรอื แจง้ ผ่านพลงั งานจังหวดั ในภมู ิลําเนาของทา่ น ----------------------------------------------------- เอกสารอา้ งอิง

1. บทความเร่อื ง “ น้ํามันหลอ่ ล่นื (Lubricating Oils)” ของนายบรรจง บหุ ริ ัญ วนั ที่ 4 กมุ ภาพนั ธ์ 2552 http://www.vcharkarn.com/vblog/39949/2 2. หนังสอื เร่ือง “ Ready Reference for Lubricants ” ส่วนเทคนคิ หลอ่ ลื่น ฝ่ายพัฒนาตลาดหลอ่ ลื่น บรษิ ทั ปตท. จํากดั (มหาชน) 3. เอกสาร “แนวโนม้ ในการผลติ น้าํ มันหล่อลนื่ ” ของบริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) 4. เอกสาร PSP Presentation ของบริษัท พี. เอส. พี สเปเชยี ลต้สี จํากดั 5. เอกสาร เรือ่ งน่ารูเ้ ก่ียวกับนํา้ มนั เคร่อื ง (นาํ้ มันหล่อลนื่ สําหรบั เคร่อื งยนต)์ ของกลมุ่ พฒั นามาตรฐาน นํ้ามันหลอ่ ล่นื สํานักคุณภาพนา้ํ มันเชอื้ เพลิง กรมธรุ กิจพลังงาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook