1
2 แผนการจดั การเรยี นรู้ หลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ (ปวช.) พุทธศกั ราช 2562 รหสั วิชา 20200 - 1003 วิชา การขายเบ้ืองต้น ท-ป-น ( 1-2-2 ) รวม 54 ช.ม. จานวน 2 หนว่ ยกติ เรยี น 3 ช.ม./สปั ดาห์ จุดประสงค์รายวชิ า เพ่อื ให้ 1. เขา้ ใจความร้พู น้ื ฐานของงานขายและกระบวนการขาย 2. มที ักษะในการวางแผนการขายและการเสนอขายสินค้าและบรกิ าร 3. มีเจตคติและกิจนิสัยท่ีดีในการทางานด้วยความรับผิดชอบ ความซ่ือสัตย์สุจริต ความ เชือ่ ม่นั ใน ตนเองและความมมี นุษย์สัมพันธ์ สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกย่ี วกบั ความร้พู ้ืนฐานของงานขายและกระบวนการขายตามหลกั การ 2. วางแผนการขายและการเสนอขายสินค้าและบรกิ าร 3. ปฏิบตั ิงานขายตามกระบวนการขาย คาอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการขาย แนวคิดทางการขาย วิวัฒนาการการขาย หน้าท่ี ทางการขาย ประเภทและลักษณะของงานขาย ความรู้เกี่ยวกับตนเอง ความรู้เกี่ยวกบั กิจการความรู้ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ความรู้เกี่ยวกับลูกค้า และความรู้เกี่ยวกับคู่แข่งขันคุณสมบัติของนักขาย โอกาส และความก้าวหน้าของนักขายและเทคโนโลยีที ่เี กยี่ วขอ้ งกบั การขาย
3 วิทยาลยั การอาชีพคลองท่อม ตารางวเิ คราะห์หลักสตู ร รหัสวิชา 20200 - 1003 ช่ือวิชา การขายเบือ้ งต้น ท-ป-น ( 1-2-2 ) ระดับ ปวช. 1 รวมท้งั ส้นิ 54 ช่ัวโมง พทุ ธิพสิ ัย ทักษะพสิ ยั จติ พิสยั พฤติกรรม ความ ู้ร-ความจา บท/หนว่ ยการสอน ความเข้าใจ การนาไปใช้ 1 ความสาคัญของการขาย ิวเคราะห์ และแนวความคดิ ทางการ ัสงเคราะห์ ตลาด ประเ ิมนค่า การเลียนแบบ 2 ประเภทและลกั ษณะของ การขาย การลง ืมอทาตามแบบ ความถูก ้ตอง 3 จรรยาบรรณและคณุ สม บตั ขิ องพนักงานขาย ความ ัรบผิดชอบ ีมระเ ีบยบ ิว ันย ัอบ ัดบความสาคัญ 4 โอกาสความก้าวหนา้ ของ จานวนชั่วโมงสอน พนกั งานขาย 10 10 10 10 10 10 10 10 10 10 รวม 6 5 ความรู้เกย่ี วกบั ผลิตภัณฑ์ 4 3 - - - - - - 2 2 11 6 ความรู้เก่ียวกับลกู ค้า 6 7 ความรเู้ ก่ียวกบั กิจการ 4 4 - - - - - - 2 2 12 8 ความรู้เกี่ยวกับคูแ่ ขง่ 3 9 เทคนิคการขาย 2--- - - --226 10 ความรู้ทางเทคโนโลย่ีทีท่ นั 3 22 - - - - - -- 2 6 สมยั เก่ยี วกับการขาย 3 รวม 22 -- - - - -- 2 6 3 อนั ดบั ความสาคัญ 22 -- - -- - - 2 6 6 สอบกลางภาคและปลายภาค 4 4 - - - - - - 2 2 12 3 22 - - - -- -- 2 6 15 8 8 7 - - - - - 3 3 29 3 22- - - - - - - 2 6 51 32 29 7 - - - - - 11 21 100 3 54 รวมชง่ั โมงสอนตลอดหลกั สตู ร
4 การแบง่ หนว่ ยเรียน ข้อความของคาอธบิ ายรายวชิ า ชอ่ื หน่วยเรยี น ชั่วโมงสอน ศึกษาความสาคญั ของการขายและ 1. ความสาคญั ของการขายและแนวความ 6 แนวความคดิ ทางการตลาด คดิ ทางการตลาด 1.1 วิวัฒนาการของการขาย 1.2 ความหมายของการขาย 1.3 การตลาดและหนา้ ท่ีทางการตลาด 1.4 ความสาคัญของการขายและการตลาด 1.5 ส่วนผสมทางการตลาด 1.6 แนวความคิดทางการตลาด ศึกษาประเภทและลกั ษณะของการขาย 2. ประเภทและลักษณะของการขาย 6 2.1 ความหมายของพนักงานขายและงานขาย 2.2 ประเภทของงานขาย 2.3 ความหมายของช่องทางการจาหน่าย 2.4 ระบบชอ่ งทางการจาหนา่ ยโดยตรง 2.5 ระบบชอ่ งทางการจาหน่ายโดยอ้อม 2.6 ชอ่ งทางการจัดจาหนา่ ยสินค้าอุตสาหกรรม 2.7 ปจั จยั ทีจ่ ะนามาพจิ ารณาเลอื กชอ่ งทางการ จาหน่าย ศกึ ษาจรรยาบรรณและคุณสมบัตขิ องพนัก 3. จรรยาบรรณและคุณสมบัติของพนกั งานขาย 3 งานขาย 3.1 จรรยาบรรณหรือจริยธรรมของพนกั งานขาย 3.2 การวิเคราะหต์ นเอง 3.3 บุคลกิ ภาพและบุคลิกภาพขาย 3.4 การพัฒนาบุคลิกภาพ ศกึ ษาโอกาสความกา้ วหนา้ ของพนกั งานขาย 4. โอกาสความก้าวหน้าของพนักงานขาย 3 4.1 โอกาสก้าวหน้าในตาแหนง่ หน้าท่ี ศึกษาความรู้เกยี่ วกับผลติ ภัณฑ์ 5. ความรู้เก่ียวกบั ผลิตภัณฑ์ 3 5.1 ประเภทของสนิ ค้า 5.2 ประโยชน์ของการมคี วามร้เู กีย่ วกบั สินคา้ 5.3 สิ่งทต่ี ้องรูเ้ กี่ยวกบั สนิ คา้ 5.4 แหล่งความรเู้ ก่ยี วกบั สนิ ค้า
5 การแบ่งหนว่ ยเรยี น ข้อความของคาอธบิ ายรายวิชา ช่ือหน่วยเรียน ชวั่ โมงสอน ศึกษาความรู้เก่ยี วกับลูกคา้ 6. ความรเู้ กี่ยวกบั ลูกค้า 3 6.1 ลาดับขน้ั ความตอ้ งการของลูกค้า ศกึ ษาความรู้เก่ยี วกบั กิจการ 6.2 สาเหตกุ ารตดั สนิ ใจซ้อื 6.3 ประเภทของลูกค้า ศึกษาความรู้เกีย่ วกับคู่แข่งขัน 6.4 ลาดับขัน้ การตดั สนิ ใจซ้ือของลูกค้า ศึกษาเทคนิคการขาย 7. ความรเู้ กย่ี วกบั กจิ การ 6 7.1 สาเหตทุ ี่ต้องมีความรู้เกย่ี วกับกจิ การ 7.2 ส่ิงท่ตี ้องทราบเก่ียวกับกิจการ 7.3 ประโยชนข์ องการมคี วามรเู้ ก่ยี วกับกิจการ 7.4 แหล่งความรเู้ ก่ียวกับกิจการ 8. ความรู้เก่ียวกบั คู่แขง่ ขัน 3 8.1 ความร้เู ก่ยี วกบั ค่แู ขง่ ขนั 8.3 แหล่งความรเู้ ก่ยี วกับคูแ่ ข่งขัน 9. เทคนิคการขาย 15 9.1 การแสวงหาผู้มุง่ หวงั 9.1.1 ความหมายของ “ผู้มุ่งหวงั ” 9.1.2 ประเภทของผมู้ งุ่ หวัง 9.13 วธิ ีการแสวงหาผู้มงุ่ หวงั 9.1.4 ประโยชน์ของการแสวงหาผมู้ ุ่งหวงั 9.2 ยุทธวธิ กี ารเตรยี มตวั ก่อนเขา้ พบ 9.2.1 การเตรียมตวั ก่อนเข้าพบสาหรบั สินค้า ประเภทตา่ ง ๆ 9.2.2 ประโยชน์ของการเตรยี มตัวกอ่ นเข้าพบ 9.2.3 ข้อมูลเก่ียวกบั ผู้ม่งุ หวงั , แหล่งข้อมลู เกีย่ วกับผ้มู งุ่ หวงั ,การนัดหมายผมู้ ่งุ หวัง 9.3 ความหมายของการสาธิต,จุดประสงคข์ อง การสาธติ ,การเตรียมตวั ก่อนการสาธติ ,องค์ประ กอบของการสาธติ ขอ้ ควรพิจารณาในการสาธิต 9.4 ความหมายของข้อโตแ้ ยง้ ,ประเภทของขอ้ โต้แยง้ ,วิธกี ารตอบขอ้ โต้แย้ง,ความหมายของ การปดิ การขาย,หลักสาคัญในการปดิ การขาย, เทคนิคการปิดการขาย 9.5 ความหมายของการตดิ ตามผลหลงั การขาย
ข้อความของคาอธบิ ายรายวิชา ชอ่ื หน่วยเรยี น 6 ความรูท้ างเทคโนโลยีทันสมยั ท่ีเก่ยี วขอ้ งกับ 10. ความรู้ทางเทคโนโลยีทันสมัยทเี่ กี่ยวกบั ชั่วโมงสอน งานขาย การขาย 10.1 ความหมายของ Internet, ประวตั ิความ 3 เปน็ มาของ Internet 10.2 ความหมายของ E – Commerce , ประโยชน์และขอ้ จากัดของการตลาด E – Commerce,การเปรยี บเทยี บวิธกี ารทา ธุรกรรมบนคอมพวิ เตอร์กับระบบการค้าเดิม
สปั ดาห์ ชว่ั โมงท่ี กาหนดการสอน 7 1 1–3 หมายเหตุ รายการสอน 1. ความสาคญั ของการขายและแนวความคดิ ทางการตลาด 1.1 วิวัฒนาการของการขาย 1.2 ความหมายของการขาย 1.3 การตลาดและหน้าที่ทางการตลาด 2 4 – 6 1.4 ความสาคญั ของการขายและการตลาด 1.5 ส่วนผสมทางการตลาด 1.6 แนวความคิดทางการตลาด 3 7 - 9 2. ประเภทและลักษณะของงานขาย 2.1 ความหมายของ “พนักงานขาย” และ “งานขาย” 2.2 ประเภทของงานขาย 2.3 ความหมายของช่องทางการจาหนา่ ย 4 10 - 12 2.4 ระบบชอ่ งทางการจาหนา่ ยโดยตรง 2.5 ระบบชอ่ งทางการจาหนา่ ยโดยอ้อม 2.6 ชอ่ งทางการจาหน่ายสินค้าอุตสาหกรรม 2.7 ปจั จัยทีจ่ ะนามาพจิ ารณาเลือกช่องทางการจาหนา่ ย 5. 13 - 15 3. จรรยาบรรณและคุณสมบัติของพนักงานขาย 3.1 จรรยาบรรณหรอื จรยิ ธรรมของพนกั งานขาย 3.2 การวิเคราะห์ตนเอง 3.3 บคุ ลกิ ภาพและบคุ ลิกภาพขาย 3.4 การพัฒนาบุคลิกภาพ 6 16 - 18 4. โอกาสความกา้ วหนา้ ของพนักงานขาย 4.1 โอกาสกา้ วหนา้ ในตาแหนง่ หนา้ ท่ี 7 19 - 21 5. ความรู้เกย่ี วกบั ผลิตภัณฑ์ 5.1 ประเภทของสินค้า 5.2 ประโยชน์ของการมคี ามรู้เกยี่ วกบั สนิ ค้า 5.3 สิง่ ทต่ี อ้ งรู้เกย่ี วกบั สินคา้ 5.4 แหลง่ ความรเู้ ก่ยี วกับสินค้า
สัปดาห์ ชัว่ โมง กาหนดการสอน 8 8 22 - 24 หมายเหตุ รายการสอน 6. ความรู้เกีย่ วกบั ลกู คา้ 6.1 ลาดับขัน้ ความตอ้ งการของลกู ค้า 6.2 สาเหตกุ ารตดั สนิ ใจซ้ือ 6.3 ประเภทของลกู คา้ 6.4 ลาดับข้นั การตัดสนิ ใจซ้อื ของลูกคา้ 9 25 - 27 7. ความรเู้ กีย่ วกับกจิ การ 7.1 สาเหตุท่ีตอ้ งมีความรู้เกีย่ วกบั กิจการ 7.2 สง่ิ ที่ต้องการทราบเกี่ยวกบั กจิ การ 10 28 - 30 7.3 ประโยชน์ของการมคี วามรเู้ ก่ียวกับกจิ การ 7.4 แหล่งความรเู้ กี่ยวกับกิจการ 11 31 - 33 8. ความร้เู กย่ี วกับคแู่ ข่งขัน 8.1 ส่งิ ท่ตี อ้ งร้เู กี่ยวกบั คูแ่ ขง่ ขัน 8.2 แหลง่ ความรู้เกยี่ วกับค่แู ขง่ ขนั 8.3 ประโยชนข์ องการมคี วามรู้เก่ยี วกับคแู่ ข่งขัน 12 34 - 36 9. เทคนคิ การขาย 9.1 การแสวงหาผมู้ ่งุ หวัง 9.1.1 ความหมายของ “ผ้มู ุ่งหวงั ” 9.1.2 ประเภทของผมู้ ุง่ หวงั 9.1.3 วิธกี ารแสวงหาผมู้ งุ่ หวงั 9.1.4 ประโยชน์ของการแสวงหาผู้ม่งุ หวงั 13 37 - 39 9.2 ยทุ ธวธิ ีการเตรียมตวั กอ่ นเข้าพบ 9.2.1 การเตรยี มตัวก่อนเข้าพบสาหรบั สินค้าประเภทตา่ ง ๆ 9.2.2 ประโยชนข์ องการเตรยี มตัวกอ่ นเข้าพบ 9.2.3 ขอ้ มูลเกย่ี วกับผมู้ ุง่ หวัง,แหลง่ ขอ้ มลู เกีย่ วกับผ้มู งุ่ หวงั ,การนัด หมายผู้มุ่งหวัง
กาหนดการสอน 9 หมายเหตุ สปั ดาห์ ชว่ั โมง รายการสอน 14 40 - 42 9.3 ความหมายของการสาธิต,จุดประสงค์ของการสาธติ ,การเตรียม ตวั ก่อนการสาธติ ,องค์ประกอบของการสาธิต ขอ้ ควรพิจารณา ในการสาธติ 15 43 - 45 9.4 ความหมายของขอ้ โตแ้ ย้ง, ประเภทของขอ้ โต้แยง้ , วิธกี ารตอบข้อ โต้แยง้ ,ความหมายของการปดิ การขาย, หลักสาคญั ในการปิด การขาย, เทคนคิ การปดิ การขาย 16 46 - 48 9.5 ความหมายของการตดิ ตามผลหลังการขาย,วตั ถปุ ระสงคข์ อง การติดตามผลหลงั การขาย, การบริการหลงั การขาย,ปัญหา หลงั การขาย 17 49 - 51 10. ความรู้ทางเทคโนโลยที ันสมัยทเ่ี กีย่ วกับการขาย 10.1 ความหมายของ Internet, ประวัติความเป็นมาของ Internet 10.2 ความหมายของ E – Commerce, ประโยชน์และขอ้ จากัดของ 18 52 -54 การตลาด E – Commerce,การเปรียบเทียบวิธกี ารทาธุรกรรมบนคอม
10 การประเมินผลรายวิชา วิชา การขายเบ้อื งต้น 1. วิธกี าร ดาเนนิ การรวบรวมเพ่ือการประเมินผลแยกเปน็ 3 ส่วน โดยแบง่ แยก คะแนนแต่ละสว่ นจากคะแนนเตม็ 100 คะแนน 1.1 กจิ นสิ ยั 20 คะแนน พิจารณาลักษณะที่พงึ ประสงคจ์ าก 1.1.1 การเขา้ ชั้นเรียนอยา่ งสมา่ เสมอ 5 คะแนน 1.1.2 การท่ีมีบคุ ลกิ ภาพทด่ี ีและตง้ั ใจเรียน 5 คะแนน 1.1.3 การมอี ปุ กรณ์การเรียนอยา่ งสม่าเสมอ 5 คะแนน 1.1.4 การมีส่วนร่วมเกี่ยวกับกิจกรรมในชั้นเรยี น 5 คะแนน 1.2 มอบหมายงานและกิจกรรมเสริม 30 คะแนน พจิ ารณาจากงานและ กิจกรรมดงั นี้ 1.2.1 แบบฝึกหัดและใบงาน 10 คะแนน 1.2.2 ทากิจกรรมตามทมี่ อบหมาย 10 คะแนน 1.2.3 รายงาน / ช้ินงาน / กิจกรรมกฬี าสี 10 คะแนน 1.3 ทดสอบหน่วยเรียน 50 คะแนน ดงั น้ี 1.3.1 ทดสอบย่อยรายหน่วยเรียน 30 คะแนน 1.3.2 ทดสอบปลายภาค 20 คะแนน 2. เกณฑผ์ ่าน เกณฑ์ผทู้ จ่ี ะสอบผ่านรายวิชามดี งั นี้ 2.1 มเี วลาเรยี นไม่ตา่ กว่า ร้อยละ 80 ของเวลาเรียนท้ังหมด 2.2 ผลรวมของคะแนนท้งั หมดต้องไม่ตา่ กว่าร้อยละ 50 3. เกณฑ์ค่าระดับคะแนน พจิ ารณาจากคะแนนกจิ นสิ ัย งานมอบหมายและกิจกรรมเสริม และ การทดสอบหน่วยเรยี นรวม 100 คะแนน แบ่งเกรดตามเกณฑด์ ังต่อไปน้ี ชว่ งคะแนน ค่าระดบั ผลการศกึ ษา 80 ขึน้ ไป 4.00 75 – 79 3.50 70 – 74 3.00 65 – 69 2.50 60 – 64 2.00 55 - 59 1.50 50 - 54 1.00 0 – 49 0
11 แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 1 ชือ่ วิชา การขายเบือ้ งต้น ( 20200 – 1003 ) สอนครัง้ ที่ 1 จานวน 3 ช.ม. ชือ่ หน่วย ความสาคัญของการขายและแนวความคดิ ทางการตลาด รายการสอน 1. ววิ ัฒนาการของการขาย 2. ความหมายของการขาย 3. การตลาดและหน้าทที่ างการตลาด สาระสาคญั การขายถือเป็นวิถีแห่งชีวิตเพราะเป็นกิจกรรมท่ีบุคคลต้องเกี่ยวข้องด้วยในชีวิตประจาวัน เชน่ ในการสนทนาแลกเปลย่ี นความคิดเห็น การสรา้ งความเข้าใจในหมู่มติ รสหาย การอยู่ในสงั คมให้ คนอ่ืนยอมรับ ส่วนการขายในทางธุรกิจเป็นการช่วยเหลือชกั จงู ใจให้ผูบ้ รโิ ภคสนใจสนิ คา้ หรือบริการ ที่นาเสนอ การขายมีบทบาทหลายประการคือ เป็นการให้บริการ เป็นการชักจูงใจการให้ความ ช่วยเหลือร่วมมอื การสร้างความพึงพอใจ การขายในระบบธุรกิจเร่ิมจากการแลกเปล่ียนของต่อของ พฒั นาเป็นการแลกเปล่ียนสิ่งของดว้ ยเงนิ ตราและพัฒนาเป็นการใชร้ ะระบบเครดิต แต่ท้ัง 3 ระบบก็ ยังใชอ้ ยู่จนถงึ ปจั จบุ ันน้ี การขายมีความสาคัญทางธรุ กิจเพราะเป็นแหล่งรายไดแ้ ละผลกาไร การขายมี ความสาคญั ต่อเศรษฐกจิ ของประเทศ โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ในระบบการค้าระหว่างประเทศ การขายทา ให้สังคมเจริญขึ้นเพราะมีการผลิตสินค้าที่ทันสมัยเพื่อใข้อานวยความสะดวกและยกระดับมาตรฐาน การครองชีพ การขายมีความสาคัญทกุ หน่วยงานในสงั คม สมรรถนะท่พี ึงประสงค์ (ความรู้ ทักษะ – คณุ ธรรมจรยิ ธรรม) 1. นกั เรยี นรู้ความหมายของการขายและการตลาด 2. นักเรียนร้คู วามสาคญั ของการขายและการตลาดต่อสังคมและเศรษฐกิจ 3. นกั เรยี นรู้หน้าทขี่ องการขายและการตลาดต่อสงั คมและเศรษฐกจิ จุดประสงค์ปลายทาง มคี วามรู้และเขา้ ใจความสาคญั ของการขายและแนวความคิดทางการตลาด วิวัฒนาการของ การขาย ความหมายของการขาย และหนา้ ทที่ างการตลาด จดุ ประสงค์นาทาง 1. บอกววิ ัฒนาการของการตลาดได้ 2. อธบิ ายความหมายของการขายได้ 3. อธบิ ายการตลาดและบอกหนา้ ท่ีทางการตลาดได้ การบูรณาการ นกั เรยี นได้รับความรู้ เร่ืองความหมาย ความสาคญั ของการขาย การตลาดและหนา้ ท่ีทางการ ตลาดได้เข้าใจมากขึ้น โดยมีพ้ืนฐานความรู้ในเรื่องประเภทของการประกอบธุรกิจแบบตา่ ง ๆ ได้แก่ กจิ การเจ้าของคนเดียว ห้างหุ้นส่วนประเภทต่าง ๆ บริษัทจากัด การสหกรณ์จากัดและรัฐวิสาหกิจ ซึ่งเป็นการร่วมลงทุนของรฐั บาลและเอกชน และไดน้ าปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาประยุกต์ใชใ้ น การดาเนินธุรกิจ
12 เนื้อหา/สาระ 1. ววิ ฒั นาการของการขาย 2. ความหมายของการขาย - การขายหมายถงึ การให้บรกิ าร - การขายหมายถึงการชกั จงู ใจ - การขายหมายถงึ การติดต่อส่อื สาร - การขายหมายถงึ การแกป้ ัญหาและการสรา้ งความพึงพอใจ - การขายหมายถงึ การให้ความรู้ 3. การตลาดและหน้าท่ีทางการตลาด - กิจกรรมที่เกีย่ วกับตัวสินคา้ - กิจกรรมทเี่ กย่ี วกบั การจดั จาหน่าย - กิจกรรมทเี ก่ียวกับการอานวยความสะดวกต่าง ๆ 4. แนวความคดิ ในการทาธรุ กิจแบบเศรษฐกจิ พอเพียง - ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง - การประยุกตป์ รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการดาเนนิ ธุรกิจ กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขน้ั นา 1. ครูชนี้ าให้นักเรียนเห็นถึงความจาเป็นในการซื้อขายท่ีมีความเกีย่ วขอ้ งกับชีวติ ประจาวัน ของเราทกุ คน 2. ครูชี้แจงเรื่องการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยให้นักเรียนแบ่งเป็นกลุ่ม ๆ ละ 6-7 คน และให้แตล่ ะกลมุ่ เลอื กหวั หน้ากลุม่ เพอ่ื เป็นตวั แทนในการนาเสนอหนา้ ช้ันเรียน ข้นั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ครูบอกวิวฒั นาการขายในแตล่ ะช่วงเวลาพรอ้ มยกตวั อย่างประกอบ 2. ครูซกั ถามนักเรยี นถึงความหมายของการขายว่าคืออะไร โดยใหน้ ักเรียนตอบตามความ เขา้ ใจของตนเองเปน็ รายบคุ คล ซ่ึงผูส้ อนจะส่มุ เรียกชอื่ ขึ้นมา 3. ครูสรุปความหมายของ “การขาย” ทีถ่ ูกตอ้ ง ใหผ้ เู้ รียนบันทกึ ลงสมุด เพ่ือสง่ ใหค้ รูตรวจ 4. ให้ผู้เรียนที่จัดกลมุ่ ไว้แล้วแต่ละกลุ่มร่วมอภิปรายกลุ่มย่อยถึงความสาคัญของการตลาด และหน้าทที่ างการตลาด ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงในการดาเนนิ ธุรกิจ โดยสง่ ตวั แทนกกลมุ่ ออกมานาเสนอหนา้ ชน้ั เรยี น 5. ครูสรุปประเด็นที่ผู้เรียนอภิปรายเพ่ิมเติมในส่วนที่ผู้เรียนยังไม่กล่าวถึง และให้ผู้เรียน บนั ทกึ ลงสมุดเพอื่ ส่งใหค้ รตู รวจ สือ่ /นวตั กรรม/แหลง่ เรยี นรู้ 1. หนงั สอื แบบเรียนวชิ าการขายเบ้อื งตน้ 2. ห้องสมดุ 3. เวบ็ ไซดธ์ ุรกจิ 4. แบบทดสอบกอ่ นเรียน-หลังเรียน 5. แบบฝกึ หดั ทา้ ยบทเรยี น 6. ใบงานปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
13 การวัดและประเมนิ ผล วิธวี ดั ผล - สงั เกตการปฏบิ ัติงานในกลมุ่ - สังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ชื่อเคร่ืองมือ - แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล - แบบประเมินกระบวนการกลุม่
แผนการจดั การเรียนรู้ 14 ช่อื วิชา การขายเบ้ืองตน้ ( 20200 – 1003 ) หนว่ ยที่ 1 สอนครงั้ ท่ี 2 ช่อื หน่วย ความสาคัญของการขายและแนวความคดิ ทางการตลาด จานวน 3 ช.ม. รายการสอน 1. ความสาคญั ของการขายและการตลาด 2. ส่วนผสมทางการตลาด 3. แนวความคดิ ทางการตลาด สาระสาคัญ การขายมีความสาคัญท้ังในด้านของการดารงชีวิต ความสาคัญต่อสังคม ความสาคัญต่อ ธุรกิจและความสาคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศชาติ ปัจจัยท่ีสามารถควบคุมได้หรือส่วนผสมทาง การตลาด หมายถึงสิ่งท่ีจะต้องนามาผสมผสานกันอย่างเหมาะสมกับกลุ่มเปา้ หมาย เพ่ือความสาเร็จ ในการดาเนินงาน และช่วยใหก้ ิจการบรรลุถึงเป้าหมายท่ีวางไว้ แนวความคิดทางการตลาด หมายถึง การกาหนดแผนงานและนโยบายทางการตลาด โดยพจิ ารณาความเหมาะสมกับสภาพการณ์ทีม่ ีการ เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เพื่อให้ได้ผลตอบแทนจากทรัพยากรของกิจการในอัตราท่ีกิจการพอใจ โดยลูกค้าเป้าหมายได้รับความพอใจสูงสดุ สมรรถนะทีพ่ งึ ประสงค์ (ความรู้ ทักษะ - คุณธรรมจริยธรรม) 1. นักเรียนรู้ความสาคัญของการขายและการตลาด 2. นกั เรยี นรูแ้ ละอธิบายส่วนผสมทางการตลาด 3. นกั เรยี นร้แู ละเข้าใจแนวความคิดทางการตลาด จุดประสงคป์ ลายทาง ผู้เรียนรู้และเข้าใจความสาคัญของการขายและการตลาด ส่วนผสมทางการตลาด และ แนวความคิดทางการตลาด จดุ ประสงคน์ าทาง 1. บอกความสาคัญของการขายและการตลาดได้ 2. อธบิ ายส่วนผสมทางการตลาดได้ 3. บอกแนวความคิดทางการตลาดได้ เนอ้ื หา/สาระ 1. ความสาคัญของการขายและการตลาด - ความสาคญั ของการขายท่ีมีต่อบุคคล - ความสาคัญของการขายและตลาดที่มีตอ่ สังคม - ความสาคัญของการขายและตลาดที่มีต่อเศรษฐกิจ - ความสาคญั ของการขายและตลาดท่มี ีตอ่ กิจการ
15 2. ส่วนผสมทางการตลาด - ผลติ ภัณฑ์ - ราคา - ชอ่ งทางการจาหนา่ ย - การส่งเสรมิ การจาหน่าย 3. แนวความคิดทางการตลาด - แนวความคิดทางการตลาดท่ีมงุ่ การผลิต - แนวความคิดทางการตลาดท่ีมุ่งผลิตภัณฑ์ - แนวความคิดทางการตลาดท่มี ุ่งการขาย - แนวความคิดทางการตลาดท่ีมงุ่ การตลาด - แนวความคิดทางการตลาดที่มุง่ สังคม กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้ันนา 1. ผู้สอนชี้นาให้ผู้เรียนเห็นถึงความสาคัญของการขายและการตลาดที่มีต่อชีวิตประจาวัน ของบคุ คล และในระดบั ประเทศชาติ 2. ผ้สู อนช้แี จงเรอ่ื งการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนโดยใหผ้ เู้ รียนแบง่ เปน็ กลมุ่ ๆ ละ 7 – 8 คน และใหแ้ ตล่ ะกลุ่มเลอื กตัวแทนกลมุ่ 1 คนเพอ่ื นาเสนอหน้าชัน้ เรียน ขั้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. ผู้สอนให้ผู้เรียนช่วยกันบอกความสาคัญของการขายและการตลาด โดยผู้สอนเขียนบน กระดานดาตามทผ่ี เู้ รยี นบอกเป็นข้อ ๆ 2. ผสู้ อนสรุปความสาคญั ของการขายและการตลาดจากที่ผู้เรียนช่วยกันบอกบนกระดานดา และอธิบายเพิ่มเติม 3. ให้ผู้เรียนท่ีจัดกลุ่มไว้แล้วแต่ละกลุ่ม ส่งตัวแทนออกมาจับฉลากเลือกส่วนผสมทางการ ตลาดแตล่ ะสว่ นผสม และแนวความคิดทางการตลาดแตล่ ะแนวความคดิ 4. เม่อื จับฉลากไดแ้ ล้วใหแ้ ต่ละกลุ่มไปอภิปรายกล่มุ ย่อยตามหัวข้อท่ีจับฉลากได้ แล้วให้แต่ ละกล่มุ ส่งตวั แทนทเ่ี ลอื กไว้แลว้ ออกมานาเสนอหน้าชนั้ เรียน 5. ผู้สอนสรุปประเด็นท่ีผ้เู รียนแต่ละกลุ่มอภิปรายเพิ่มเติมในส่วนท่ีผเู้ รียนยังไม่กล่าวถึงและ ให้ผเู้ รียนบนั ทกึ ลงสมดุ เพ่อื สง่ ให้ครูตรวจ สือ่ / นวัตกรรม / แหลง่ เรยี นรู้ 1. หนงั สอื ประกอบการเรยี นวชิ าการขาย 2. แบบทดสอบกอ่ นเรียน 3. เว็บไซด์ธรุ กจิ 4. ฉลากหวั ข้องาน 5. ห้องสมดุ โรงเรียน
16 การวัดผล ประเมนิ ผล วธิ วี ดั ผล - สงั เกตการปฏบิ ตั งิ านในกลุม่ - สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล ชื่อเครือ่ งมอื - แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล - แบบสังเกตกระบวนการกล่มุ
17 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 2 สอนครง้ั ท่ี 3 ช่อื วชิ า การขายเบอื้ งต้น ( 20200 – 1003 ) จานวน 3 ช.ม. ชื่อหนว่ ย ประเภทและลักษณะของงานขาย รายการสอน 1. ความหมายของ “พนกั งานขาย” และ “งานขาย” 2. ประเภทของงานขาย 3. ความหมายของช่องทางการจาหน่าย สาระสาคัญ งานขายเป็นหัวใจของการดาเนินกิจการด้านธุรกิจ ผู้ท่ีประกอบอาชีพเป็นพนักงานขาย จะต้องรู้จักใช้ท้ังศาสตร์และศิลป์ที่จะดาเนินกิจกรรมด้านการขายให้ประสบผลสาเรจ็ โดยการจูงใจ ใหล้ กู คา้ สนใจและตัดสนิ ใจซื้อสินค้าแต่เนอ่ื งจากสินค้าและบรกิ ารที่มีอยู่ในสังคมปัจจบุ ันมหี ลากหลาย ประเภท งานขายสินค้าและบรกิ ารจึงมวี ิธีการแตกต่างกันไปตามชนดิ และประเภทของสินคา้ ขน้ึ อยู่กับ ดุลยพิ นิ จขอ งพ นั กงาน ขาย แต่ ละ คน จะสรรค์สร้างแ น วทางห รือวิธี การม าเสน อ ขายให้ ป ระสบ ความสาเรจ็ สมรรถนะทพี่ ึงประสงค์ (ความรู้ ทกั ษะ – คณุ ธรรมจริยธรรม) 1. นักเรยี นร้คู วามแตกตา่ งของ “พนักงานขาย” และ “งานขาย” 2. นักเรียนรู้และเข้าใจงานขายแตล่ ะประเภท 3. นักเรียนรู้ชอ่ งทางการจาหน่ายแตล่ ะชอ่ งทาง จดุ ประสงคป์ ลายทาง นกั เรียนร้แู ละเข้าใจความหมายของ “พนักงานขาย” และ “งานขาย” ประเภทของงานขาย และช่องทางการจาหนา่ ยไดถ้ กู ต้อง จดุ ประสงคน์ าทาง 1. แยกความแตกตา่ งของ “พนักงานขาย” และ “งานขาย” ได้ 2. บอกประเภทของงานขายได้ 3. อธบิ ายชอ่ งทางการจาหน่ายได้ เน้ือหา/สาระ 1. ความหมายของ”พนกั งานขาย” และ “งานขาย” “พนักงานขาย” หมายถึงผู้ที่มีหน้าที่ในการขายสินค้าหรือบริการให้ลูกค้าหรือผู้ท่ี ต้องการสนิ คา้ “งานขาย” หมายถึงงานท่ีเกิดขึ้นในกิจกรรมการขายและต้องการพนักงานขายที่มี คณุ สมบตั ิแตกตา่ งกนั ไปตามชนดิ และประเภทของสนิ ค้าท่ีทาการขาย 2. ประเภทของงานขาย - งานขายทีแ่ บ่งตามลักษณะงานขาย - งานขายท่ใี ช้พนกั งานขาย (Personal Selling) - งานขายทไ่ี ม่ใชพ้ นักงานขาย ( Non – Personal Selling)
18 - งานขายอุตสาหกร (Industrial Selling) - พนักงานขายอุตสาหกรทัว่ ไป (The General Industrial Salesman) - วศิ วกรขาย (The Sales Engineer) - พนักงานขายบรกิ าร The Service Salesman) - งานขายส่ง (Wholesale Selling) - พนกั งานขายบุกเบิก ( The Pioneer Salesman) - พนักงานขายบริการพอ่ ค้า (The Dealer Service Salesman) - พนกั งานขายแกพ่ ่อค้า (The Jobber Salesman) - พนักงานขายรายละเอยี ด (The Detail Salesman) - งานขายปลกี (Retail Selling) - พนกั งานขายหนา้ ร้าน (The Store Salesman) - พนกั งานขายสินคา้ พเิ ศษ (The Specialty Salesman) - พนกั งานขายตามบ้าน (The Door to Door Salesman) - พนักงานขายตามเสน้ ทาง (The Route Salesman) 3. ความหมายของช่องทางการจาหนา่ ย หมายถึง ช่องทางหรือเส้นทางท่ีสนิ คา้ จะเคลอื่ นย้ายผ่านจากมือผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค คนสุดท้าย (Ultimate consumer) หรือผู้ใช้ทางอุตสาหกรรม (Industrial User) โดยอาจเป็นการ ผ่านโดยตรงจากผู้ผลิตไปยงั ผูบ้ รโิ ภค หรือมตี วั กลางอ่นื ๆ เขา้ มาเกย่ี วขอ้ ง กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขั้นนา 1. ผู้สอนช้ีนาให้ผเู้ รียนเห็นความสาคัญของพนักงานขายที่มีต่อการดาเนินชวี ิต และสังคม ของบคุ คลในชีวติ ประจาวนั 2. ผ้สู อนช้ีแจงเรื่องการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใหผ้ ู้เรยี นจัดเป็นกลุ่ม ๆละ 4-5 คน และ ใหเ้ ลือกประธานกลุ่ม เลขากลมุ่ เพือ่ อภปิ รายกลมุ่ ย่อย ขั้นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. ให้ผู้เรียนท่ีจัดกลุ่มไว้แล้วอภิปรายกลุ่มย่อยหาความหมายของ “พนักงานขาย” และ “งานขาย” พร้อมทั้งเปรียบเทยี บความแตกต่าง เพอ่ื ออกมานาเสนอหนา้ ชั้นเรยี น 2. หลังจากท่ีแต่ละกลุ่มนาเสนอหน้าชน้ั เรียนแลว้ ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นได้แลกเปล่ียน เรยี นรู้และซกั ถาม ข้อขอ้ งใจซ่งึ กนั และกัน 3. ผู้สอนสรุปความหมาย “พนักงานขาย” และ “งานขาย” จากการนาเสนอของผู้เรียน และให้ผู้เรียนแตล่ ะกล่มุ ไปศึกษาประเภทของงานขายตามที่กลุม่ สนใจ 4. ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนองานขายประเภทท่ีแต่ละกลุ่มไปศึกษาค้นคว้ามาให้ เพ่ือน ๆ ฟงั หนา้ ชน้ั เรียนและเปิดโอกาสให้ซัก-ถามแลกเปลย่ี นเรียนรู้ซง่ึ กนั และกนั 5. ผู้สอนอธิบายเพ่ิมเติมโดยแยกประเภทของงานขายบนกระดานดาพร้อมท้ังนาเสนอ ความหมายของชอ่ งทางการจาหนา่ ยหน้าชนั้ เรียน
19 ส่ือ/นวัตกรรม/แหลง่ เรียนรู้ 1. ห้องสมดุ ของโรงเรยี น 2. เว็บไซดธ์ ุรกจิ 3. แบบทดสอบ ก่อน – หลังเรียน 4. แผนผังมโนทศั น์ การวดั ผลและประเมนิ ผล วิธวี ดั ผล - สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล - สงั เกตการทางานของกลุม่ ชอื่ เคร่ืองมอื - แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล - แบบประเมนิ กระบวนการกลุ่ม
20 แบบทดสอบก่อนเรียน และ หลังเรยี นหนว่ ยท่ี 2 เร่ือง ประเภทและลักษณะของงานขาย ให้นักเรียนเลอื กคาตอบทถ่ี กู ต้องเพยี งหน่ึงข้อ 1. ข้อใดคอื การขายปลกี ก. การซือ้ ขายครัง้ ละไมม่ ากนัก เพอ่ื บาบดั ความต้องการของตนเอง ข. การซื้อขายจานวนมากเพอื่ นาไปขายตอ่ ค. การซื้อขายท่ีผ่านตวั แทนประเภทต่าง ๆ ถอื เป็นการขายปลีก ง. สว่ นใหญ่สินคา้ ทซ่ี ้อื ขายเปน็ สินค้าประเภทมีจุดประสงค์เพ่อื นาไปผลิตสินค้า 2. ข้อใดคอื การขายส่ง ก. การซอ้ื ขายครั้งละไมม่ ากนักเพอื่ บาบดั ความต้องการของตนเอง ข. การซ้อื ขายจานวนมากเพอื่ นาไปขายต่อ ค. การซ้อื ขายที่ผา่ นตัวแทนประเภทตา่ ง ๆ ถือเป็นการขายปลีก ง. สว่ นใหญส่ ินค้าที่ซื้อขายเปน็ สนิ คา้ ประเภททนุ มีจุดประสงค์เพ่อื นาไปผลิตสินคา้ 3. ข้อใดคืองานขายอตุ สาหกร ก. การซอ้ื ขายคร้งั ละไมม่ ากนักเพื่อบาบัดความต้องการของตนเอง ข. การซือ้ ขายจานวนมากเพือ่ นาไปขายตอ่ ค. การซื้อขายที่ผา่ นตัวแทนประเภทต่าง ๆ ถือเป็นการขายปลีก ง. ส่วนใหญ่สินค้าท่ีซื้อขายเปน็ สนิ ค้าประเภททนุ มจี ดุ ประสงค์เพือ่ นาไปผลิตสินคา้ 4. ผู้บริโภคคนสุดท้ายมคี วามสัมพนั ธก์ ับตัวแทนประเภทใดมากท่ีสดุ ก. พอ่ คา้ ส่ง ข. พ่อค้าปลีก ค. ตวั แทนผู้ผลติ ง. ตัวแทนขายอนื่ ๆ 5. หนา้ ทข่ี องพนักงานขาย คอื ขอ้ ใด ก. ขายสนิ ค้าใหไ้ ดเ้ พยี งอย่างเดียว ข. ให้ความรูเ้ ก่ียวกบั สินค้ากับลูกค้าให้มากทสี่ ุด ค. สร้างภาพยนตร์ใหก้ บั รา้ นค้า โดยปฏิบตั ิตนสุภาพ ง. พยายามขายสินค้าให้ได้และให้ลูกคา้ เกดิ ความพอใจสงู สุด 6. “การเบิกสนิ ค้าจากคลังสนิ คา้ การวางขายสนิ คา้ การเสนอขาย” มีความสมั พนั ธ์กบั ข้อใด ก. การขาย ข. งานขาย ค. กิจกรรมขาย ง. กิจกรรมการตลาด 7. พนกั งานขายข้อใด มคี วามรูค้ วามสามารถสงู ที่สุด ก. วศิ วกรขาย ข. พนักงานขายบริการ ค. พนักงานขายบกุ เบิก ง. พนกั งานขายอตุ สาหกรทว่ั ไป 8. พนกั งานขายที่ไมไ่ ด้ทาหนา้ ที่ขายโดยตรง แตม่ หี นา้ ท่ีให้รายละเอียดเกย่ี วกันสินคา้ แก่ลกู คา้ เปน็ พวกทม่ี ีความชานาญเฉพาะด้าน คือพนักงานขายประเภทใด ก. พนกั งานขายบุกเบกิ ข. พนกั งานขายบรกิ ารลูกคา้ ค. พนักงานขายแก่พ่อค้า ง. พนกั งานขายรายละเอยี ด
21 9. งานขายทไี่ มใ่ ชพ้ นักงานขายหมายถงึ ข้อใด ก. การโฆษณาในละครเรอื่ ง “จาเลยรัก” ข. เอวอนเปน็ เคร่ืองสาอางย่หี อ้ แรกที่ใช้การขายตรง ค. การโฆษณาสัง่ ซือ้ ทางไปรษณีย์ ที่ให้ผู้ที่สนใจสั่งซอื้ ได้ ง. การแจกของตวั อย่างตามป้ายรถเมล์ หรือตามห้างสรรพสินคา้ 10. พนกั งานขายท่มี ขี อบเขตการขายจากดั อาจจะไม่ไดข้ ายสินค้าแตส่ ง่ สนิ คา้ กไ็ ด้ เช่น สาวยาคลู ท์ เป็นพนกั งานขายประเภทใด ก. พนกั งานขายสินค้าหนา้ ร้าน ข. พนกั งานขายสินคา้ พเิ ศษ ค. พนกั งานขายสนิ คา้ ตามบา้ น ง. พนักงานขายตามเสน้ ทาง
22 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 2 สอนคร้งั ท่ี 4 ชื่อวิชา การขายเบ้ืองต้น ( 20200 – 1003 ) จานวน 3 ช.ม. ชือ่ หนว่ ย ประเภทและลกั ษณะของงานขาย รายการสอน 1. ระบบชอ่ งทางการจาหนา่ ยโดยตรง 2. ระบบชอ่ งทางการจาหนา่ ยโดยออ้ ม 3. ชอ่ งทางการจาหน่ายสนิ คา้ อุตสาหกรรม 4. ปัจจยั ท่ีนามาพจิ ารณาเลอื กชอ่ งทางการจาหนา่ ย สาระสาคัญ ชอ่ งทางการจัดจาหน่าย เป็นการนาสินค้าจากผู้ผลิตออกสู่ตลาด เป็นการสะดวกแก่ลูกค้าใน การเลอื กซือ้ สินค้าได้หลายรูปแบบ ในสถานทีต่ ่าง ๆ ได้อยา่ งรวดเร็ว ตรงตามความต้องการของลูกค้า ซ่งึ ผู้ผลิตจะเลือกใชช้ ่องทางการจัดจาหน่ายทางตรง จากผู้ผลิตถึงผบู้ ริโภค หรือช่องทางการจาหน่าย ทางอ้อมท่ีมีคนกลางช่วยทาหน้าที่กระจายสินค้าก็ข้ึนอยู่กับชนิดของสินค้าและความเหมาะสมของ กจิ การ โดยจะตอ้ งคานึงถึงค่าใช้จา่ ยตลอดจนการแข่งขนั กับคู่แขง่ ด้วย สมรรถนะท่ีพึงประสงค์ (ความรู้ ทกั ษะ – คุณธรรม) 1. ผู้เรียนรรู้ ะบบช่องทางการจาหนา่ ยโดยตรง 2. ผเู้ รยี นรู้ระบบช่องทางการจาหนา่ ยโดยออ้ ม 3. ผเู้ รียนรู้ชอ่ งทางการจาหน่ายสินคา้ อุตสาหกรรม 4. ผเู้ รียนรแู้ ละเขา้ ใจปจั จัยที่จะนามาพจิ ารณาเลือกช่องทางการจาหน่าย จดุ ประสงค์ปลายทาง มีความรแู้ ละเข้าใจระบบช่องทางการจาหน่ายโดยตรงและออ้ ม ชอ่ งทางการจาหน่ายสินค้า อุตสาหกรรม และปัจจยั ท่ีจะนามาพจิ ารณาเลือกช่องทางการจาหนา่ ย จุดประสงค์ทาง 1. ผเู้ รียนสามารถอธิบายระบบชอ่ งทางการจาหน่ายโดยตรงได้ 2. ผู้เรียนสามารถอธิบายระบบชอ่ งทางการจาหน่ายโดยอ้อมได้ 3. ผเู้ รียนสามารถบอกช่องทางการจาหน่ายสนิ ค้าอุตสาหกรรมได้ 4. ผเู้ รยี นสามารถบอกปัจจัยทีจ่ ะนามาพจิ ารณาเลอื กชอ่ งทางการจาหน่ายได้ เนอ้ื หา / สาระ 1. ระบบช่องทางการจาหน่ายโดยตรง 2. ระบบชอ่ งทางการจาหนา่ ยโดยอ้อม - ชอ่ งทางการจาหน่ายจากผู้ผลิตผ่านพอ่ คา้ ปลีกและถึงมือผู้บรโิ ภค - ช่องทางการจาหนา่ ยจากผู้ผลิต ผา่ นพ่อค้าสง่ ผ่านพ่อค้าปลีก และถึงมอื ผูบ้ รโิ ภค - ชอ่ งทางการจาหนา่ ยโดยผ่านตวั แทน ผา่ นพอ่ ค้าปลกี และถึงมือผบู้ ริโภค - ชอ่ งทางการจาหน่ายผ่านตัวแทน ผ่านพ่อคา้ สง่ ผา่ นพ่อค้าปลีก และถึงมอื ผู้บริโภค
23 3. ชอ่ งทางการจาหนา่ ยสินคา้ อตุ สาหกรรม 4. ปัจจัยท่จี ะนามาพจิ ารณาเลอื กช่องทางการจาหนา่ ย - ปจั จยั เกีย่ วกบั ตวั ลกู ค้า - จานวนลูกค้า - ความหนาแนน่ ของลกู ค้า - ความถใ่ี นการซื้อ - ขนาดของใบส่งั ซอื้ - ปจั จยั ทีเ่ ก่ียวกับตัวสินค้า - ถ้าตัวสินค้าเน่าเสียง่าย - จานวนสนิ ค้าที่จะขายในสาย - ราคาของสินคา้ - ปจั จัยทีเ่ ป็นตวั บรษิ ทั เอง - นโยบายของกิจการ - ฐานะการเงนิ ของกิจการ - ถ้ากิจการมวี ตั ถปุ ระสงค์ที่จะขายสินคา้ ในวงกวา้ งท่ัวประเทศ กระบวนจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขนั้ นา 1. ผ้สู อนทบทวนความหมายของ “พนักงานขาย” และ “งานขาย” ชอ่ งทางการจดั จาหน่าย โดยการซกั ถามผ้เู รียนเป็นรายบุคคล 2. ผู้สอนช้แี จงเร่อื งการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนโดยให้ผูเ้ รียนแบ่งเป็นกลมุ่ ๆ ละ 6-7 คน และใหแ้ ต่ละกลุ่มเลอื กตวั แทนกล่มุ 1 คน เพื่อนาเสนอหนา้ ชนั้ เรียน ขั้นการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน 1. ให้นกั เรยี นทจี่ ัดกลุ่มไว้แลว้ แต่ละกลุ่มส่งตวั แทนออกมาจับฉลากเลอื กหวั ข้อ “ระบบช่อง ทางการจาหน่ายโดยตรง” “ระบบช่องทางการจาหนา่ ยทางออ้ ม” และ “ช่องทางการ จาหน่ายสนิ คา้ อุตสาหกรรม” 2. ให้ผ้เู รียนแต่ละกล่มุ ไปคน้ คว้าหาข้อมูลตามหัวขอ้ ทจี่ บั ฉลากไดแ้ ละอภิปรายกลมุ่ ยอ่ ยหา ขอ้ สรุปเพือ่ นามานาเสนอหนา้ ช้ันเรยี น โดยวิธกี ารสมุ่ เรยี ก 3. หลังจากที่ได้นาเสนอครบทกุ หวั ข้อแลว้ ให้ผู้เรยี นแต่ละกล่มุ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกัน และกัน โดยเปิดโอกาสให้ซกั – ถามข้อสงสัยได้ 4. ผสู้ อนสรปุ เพ่มิ เตมิ และให้ผเู้ รยี นบันทกึ ลงสมุด 5. ใหผ้ ู้เรียนชว่ ยกนั บอกปจั จยั ที่จะนามาพิจารณาเลือกช่องทางการจาหน่าย ซงึ่ ผูส้ อนจะ เขียนบนกระดานดาเปน็ ขอ้ ๆ ตามทผี่ ้เู รียนช่วยกันบอกเป็นขอ้ ๆ 6. ผูส้ อนสรุปเพ่ิมเตมิ ปจั จยั ทีจ่ ะนามาพิจารณาเลอื กช่องทางการจาหน่ายจากท่ผี เู้ รยี น ช่วยกันบอกไว้แลว้ และให้ผู้เรียนบันทกึ ลงสมุด ส่ือ / นวัตกรรม / แหล่งเรยี นรู้ 1. หอ้ งสมดุ ของโรงเรียน 2. เว็บไซด์เพือ่ การศึกษา 3. แบบทดสอบก่อน – หลงั เรียน 4. เอกสารประกอบการเรยี นรู้ 5. ผงั มโนทัศน์
24 การวดั ผลและประเมินผล วิธวี ัดผล 1 สังเกตความมวี นิ ัย ได้แก่ การตรงเวลาในการเข้าเรยี น และการแตง่ กาย 2 สงั เกตความรบั ผิดชอบ ได้แก่ การเตรียมอปุ กรณ์การเรียน 3 สังเกตการณ์เป็นผูม้ ีความสนใจใฝ่รู้ ได้แก่ ความสนใจในการเรยี น และการซกั ถามขอ้ สงสัย ตลอดจนการแสดงความคดิ เหน็ 4 สังเกตการณเ์ ป็นผมู้ ีความซอ่ื สตั ย์สจุ รติ จากการทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น ช่ือเครื่องมอื 1. แบบประเมินการกลมุ่ 2. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล 3. แบบประเมินพฤตกิ รรมด้านคณุ ภาพ จริยธรรม
25 แบบทดสอบก่อนเรยี น – หลังเรียน ประเภทและลักษณะของงานขาย ใหน้ ักเรยี นเลอื กคาตอบทถี่ ูกตอ้ งเพยี งขอ้ เดียว 1. สนิ ค้าอุปโภคบริโภค ส่วนใหญ่จะใช้ชอ่ งทางการจาหน่ายข้อใด ก. ผู้ผลติ – ผบู้ รโิ ภค ข. ผู้ผลติ – พ่อค้าปลกี – ผู้บรโิ ภค ค. ผู้ผลิต – พอ่ ค้าส่ง – พ่อค้าปลกี – ผบู้ รโิ ภค ง. ผผู้ ลิต – ตวั แทนขาย – พ่อค้าสง่ – พ่อค้าปลกี – ผบู้ ริโภค 2. สนิ คา้ อุตสาหกรรม ส่วนใหญ่จะใชช้ ่องทางการจาหนา่ ยข้อใด ก. ผู้ผลิต – ผู้บรโิ ภค ข. ผู้ผลติ – พอ่ คา้ ปลกี – ผู้บริโภค ค. ผู้ผลิต – พอ่ คา้ ส่ง – พอ่ ค้าปลีก – ผบู้ ริโภค ง. ผผู้ ลิต – ตัวแทนขาย – พ่อค้าส่ง – พอ่ คา้ ปลีก – ผู้บรโิ ภค 3. “เสน้ ทางท่ีสนิ คา้ เคล่ือนย้ายจากแหลง่ ผลิต ไปยังแหลง่ ผู้บริโภค” มีความสัมพันธก์ ับข้อใด ก. กจิ กรรมการขาย ข. ช่องทางการขาย ค. กิจกรรมการตลาด ง. แนวความคดิ ทางการตลาด 4. การจาหน่ายโดยตรง คอื ข้อใด ก. ผผู้ ลติ – ผบู้ ริโภค ข. ผู้ผลิต – พอ่ คา้ ปลกี – ผบู้ ริโภค ค. ผู้ผลิต – พ่อค้าส่ง – พ่อค้าปลกี – ผู้บริโภค ง. ผผู้ ลิต – ตัวแทนขาย – พอ่ ค้าสง่ – พ่อค้าปลีก – ผู้บรโิ ภค 5. การจาหนา่ ยโดยตรงข้อใด ท่ีไดร้ บั ความนยิ มมากทีส่ ดุ ก. การขายทางไปรษณีย์ ข. การขายทางโทรศพั ท์ ค. การขายโดยใชพ้ นักงานขาย ง. การขายโดยผา่ นส่ือมวลชน 6. การจาหน่ายผา่ นตวั แทน จะให้ผลดีที่สุดในกรณีตามขอ้ ใด ก. สินคา้ มรี าคาถูก ข. สนิ ค้ามีราคาแพง ค. ลูกค้าอย่รู วมกันเปน็ กลุ่ม ง. ลกู ค้าอยู่กระจัดกระจายเปน็ วงกวา้ ง 7. สินค้าอุปโภคบรโิ ภค นยิ มท่ีจะจาหน่ายผ่านตวั แทนเหตผุ ลท่ีสนบั สนุน คือขอ้ ใด ก. สนิ ค้ามีราคาถกู ข. ลูกค้ามจี านวนมาก กระจายตวั อยู่ท่วั ประเทศ ค. การจาหนา่ ยโดยตรง ตอ้ งเสียคา่ ใช้จา่ ยในการขายมากกว่า ง. เปน็ การขายเงนิ สด และลกู ค้าไม่ต้องการรายละเอียดของสินคา้ มากนัก 8. หากจานวนลูกค้ามมี าก อยู่รวมกันหนาแน่น ควรใชช้ ่องทางการขายข้อใด ก. การขายทางไปรษณีย์ ข. การขายผา่ นสือ่ มวลชน ค. การสง่ พนักงานขายไปตดิ ตอ่ โดยตรง ง. การขายผา่ นรา้ นค้าขนาดใหญ่
26 9. สินค้าอุตสาหกรรมทีม่ รี าคาแพง นิยมการติดต่อโดยตรง เพราะสาเหตขุ อ้ ใด ก. ราคาสินคา้ แพง กาไรต่อหนว่ ยสงู ข. มีการแขง่ ขนั กนั มากในตลาดสินค้าอุตสาหกรรม ค. สนิ ค้ามีราคาสงู รายละเอียดทางเทคนคิ ของสินค้ามมี าก ง. สินค้าอตุ สาหกรรมเปน็ สนิ ค้าเฉพาะ ไม่มใี ครขายผา่ นตัวแทน 10. การที่เครอื่ งสาอาง เอวอน มิสทีน ผลิตภัณฑ์แอมเวร์ ใช้ช่องทางการจาหน่ายโดยตรงเพราะ สาเหตุในข้อใด ก. นโยบายของกิจการ ข. การขายตรงได้กาไรมากกวา่ ค. การขายตรงเสียค่าใช้จา่ ยต่ากวา่ ง. การขายผ่านตวั แทนไมเ่ หมาะสมกบั สนิ คา้
แผนการจดั การเรยี นรู้ 27 ชื่อวชิ า การขายเบอื้ งตน้ ( 20200 – 1003 ) หน่วยท่ี 3 ช่ือหน่วย จรรยาบรรณและคุณสมบตั ิของพนักงานขาย สอนครง้ั ท่ี 5 จานวน 3 ช.ม. 1. จรรยาบรรณหรอื จรยิ ธรรมของพนักงานขาย รายการสอน 2. การวเิ คราะห์ตนเอง 3. บุคลกิ ภาพและบุคลิกภาพขาย 4. การพัฒนาบคุ ลิกภาพ สาระสาคญั 1. งานแต่ละงานต้องการบุคคลที่มีคุณสมบัติแตกต่างกันไป ดังนั้นผู้ที่จะประสบผลสาเร็จ ในงานทีท่ าจะตอ้ งเปน็ ผู้ที่มคี วามสามารถเฉพาะเหมาะสมกับงานทีจ่ ะทานน้ั 2. บคุ ลิกภาพ หมายถงึ ลักษณะเฉพาะขอองแต่ละบุคคลซง่ึ ไมเ่ หมอื นกนั อันประกอบดว้ ย รูปสมบัติหรือพฤติกรรมภายนอกกับคุณสมบัติหรือพฤติกรรมภายใน ส่วนบุคลิกภาพ ขาย หมายถงึ ลกั ษณะเฉพาะของบคุ คลที่ถูกปรบั ปรงุ ให้เหมาะสมกบั งาน 3. ความสาเรจ็ ในงานขายจะข้ึนอยกู่ บั ความพยายามในการทีจ่ ะพัฒนาบุคลิกภาพทมี่ ีอยเู่ ดิม ให้ดขี ้ึน 4. จรรยาบรรณหรือจริยธรรม คือ สิ่งท่ีถูกที่ควรที่ยึดถือปฏิบัติสืบต่อกันมาจนเป็น ประเพณีหรือวัฒนธรรม ซ่ึงจะถือปฏบิ ตั หิ รือไม่ก็ได้ สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์ (ความรู้ ทกั ษะ – คุณธรรมจรยิ ธรรม) 1. นกั เรยี นรวู้ ธิ ีวเิ คราะหต์ นเอง 2. นกั เรยี นรู้กระบวนการพฒั นาบุคลกิ ภาพ 3. นกั เรียนรคู้ วามหมายของจรรยาบรรณหรือจริยธรรม 4. นักเรยี นรจู้ รรยาบรรณหรือจรยิ ธรรมด้านต่าง ๆ ของพนกั งานขาย จุดประสงค์ปลายทาง ผู้เรยี นมคี วามรแู้ ละเข้าใจคุณสมบัติของพนกั งานขาย การพัฒนาบุคลิกภาพให้เหมาะกับงาน มจี รรยาบรรณหรือจรยิ ธรรมในอาชีพขาย จดุ ประสงค์นาทาง 1. อธบิ ายวธิ กี ารวิเคราะห์ตนเองได้ 2. บอกกระบวนการพฒั นาบคุ ลิกภาพได้ 3. อธบิ ายความหมายของจรรยาบรรณหรอื จริยธรรมได้ 4. บอกจรรยาบรรณหรอื จริยธรรมของพนกั งานขายดา้ นต่างๆได้ การบรู ณาการ โดยการนาหลักธรรมในวิถีธรรมวิถีไทยมาสอดแทรกในกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับ จรรยาบรรณหรือจริยธรรมของพนักงานขาย เพ่ือให้นักเรียนมีจิตสานึกในด้านต่าง ๆ เช่น ความ ซ่ือสัตย์สุจริต ความมีน้าใจ เอื้ออาทร ความมีวนิ ัย ความรับผิดชอบ เป็นการปูพ้ืนฐานคุณธรรมและ จริยธรรมให้กบั นักเรยี นที่จะประกอบอาชีพธุรกจิ ในอนาคต
28 เนื้อหา / สาระ 2. การวิเคราะห์ตนเอง หมายถึง กระบวนการค้นหาข้อบกพร่องหรือกระบวนการค้นหา ตนเองว่าตนเองมีคุณสมบัติที่เหมาะสม หรือมีคุณสมบัติที่ยังต้องมีการแก้ไขเพื่อนาไป พฒั นาให้ได้คณุ สมบัติท่ตี ้องการ ประกอบดว้ ย - การสารวจตนเอง - การปรับปรงุ แกไ้ ข - การแสดงออก - การประเมินผล 3. บุคลกิ ภาพ หมายถึง ลกั ษณะเฉพาะของแตล่ ะบุคคลซ่ึงไม่เหมอื นกัน ซง่ึ ประกอบด้วย รปู สมบตั หิ รือ พฤติกรรมภายนอกและคุณสมบตั ิหรือพฤตกิ รรมภายใน 4. การพัฒนาบคุ ลกิ ภาพ 3.1 การพฒั นาพฤตกิ รรมภายนอกหรือรูปสมบัติ - รปู รา่ งหน้าตา - การแต่งกาย - กริ ิยาทา่ ทาง - นา้ เสียงและการสนทนา 3.2 การพัฒนาพฤตกิ รรมภายในหรือคณุ สมบัติ - ความซ่ือสัตย์ - ความแนบเนียน - จินตนาการ - ความรว่ มมอื - ความกระตอื รอื รน้ - ความวางใจได้ - ความจา - ความยับยั้งชงั่ ใจ 5. จรรยาบรรณหรอื จรยิ ธรรม - จรรยาบรรณหรอื จรยิ ธรรมของพนกั งานขายแสดงตอ่ กิจการ - จรรยาบรรณหรือจรยิ ธรรมของพนักงานขายที่แสดงต่อลกู ค้า - จรรยาบรรณหรอื จริยธรรมของพนักงานขายท่ีแสดงต่อคู่แข่งขัน - จรรยาบรรณหรือจริยธรรมของพนักงานขายที่แสดงต่อสังคม กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขน้ั นา 1. ครูช้ีนาใหผ้ ู้เรียนเห็นถึงความสาคัญของการมีบุคลิกภาพท่ีดีเหมาะกับอาชีพแต่ละอาชีพ โดยเฉพาะพนักงานขายควรมบี ุคลกิ ภาพเปน็ อย่างไร 2. ครูช้ีแจงเรื่องการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรียนจัดเป็นกลุม่ ๆ ละ 6 – 7 คน โดยแต่ละกลุ่มจะมีประธานกลุ่ม 1 คน และเลขากลุ่ม 1 คน เพ่ือบันทึกผลการประชุม กลุม่
29 ขัน้ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ใหผ้ ู้เรียนจับคเู่ พื่อนสนิทและต่างวิเคราะห์หาบคุ ลิกภาพท่บี กพร่องของคู่ตนเองเป็นขอ้ ๆ จากนน้ั แตล่ ะคจู่ ะร่วมกันพฒั นาบคุ ลิกภาพซึ่งกนั และกนั 2. ครูสุ่มเรียกผู้เรียนแต่ละคู่ออกมาหน้าช้ันเรยี นและให้อธิบายถึงวธิ ีการพัฒนาบุคลิกภาพ ในคู่ของตน 3. ให้ผู้เรียนช่วยกันบอกความหมายของคาว่า “จรรยาบรรณ” ออกมาเป็นข้อ ๆ จากน้ัน ผสู้ อนจะเปน็ ผ้สู รปุ ความหมายของจรรยาบรรณพร้อมทง้ั ยกตัวอย่าง 4. ใหผ้ ู้เรยี นท่ีจัดกลุ่มไว้แล้วแต่ละกลุ่มช่วยกันระดมความคิดว่าสมมุติเมื่อจบการศกึ ษาแล้ว ต้องการประกอบอาชีพใด และอาชีพที่ต้องการน้ันควรจะมีจรรยาบรรณอย่างไรบ้าง เพ่ือเป็นที่ยกย่องของผู้บังคับบัญชาและเป็นท่ีต้องการของสังคม และให้ประธานกลุ่ม ออกมานาเสนอหน้าชั้นเรยี น พร้อมท้ังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนในช้ันเรยี นได้ร่วมกันแสดง ความคดิ เห็น 5. ผสู้ อนสรุปบทเรียนต่างๆ และเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนแลกเปลี่ยนความร้ซู ง่ึ กนั และกัน สื่อ / นวัตกรรม / แหลง่ เรยี นรู้ 1. เอกสารประกอบการสอน 2. ห้องสมุดโรงเรียน 3. แบบฝกึ หดั ท้ายบทเรยี น 4. เว็บไซต์ธรุ กจิ การวดั ผลและประเมนิ ผล วิธวี ัดผล - สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล ชอื่ เครือ่ งมอื - แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล เกณฑก์ ารประเมนิ - แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล กาหนดเกณฑ์ดังนี้ มากท่ีสุด = 5 หมายถงึ ปฏิบตั ิสมา่ เสมอ มาก = 4 หมายถงึ ปฏิบัตบิ ่อยๆ ปานกลาง = 3 หมายถงึ ปฏิบัติบางครงั้ นอ้ ย = 2 หมายถึง ปฏบิ ัตนิ านๆคร้ัง นอ้ ยทสี่ ุด = 1 หมายถงึ ไมม่ กี ารปฏบิ ตั ิ
30 ใบงานหน่วยที่ 3 เรื่อง จรรยาบรรณและคุณสมบัติของพนกั งานขาย วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 1. อธบิ ายความหมายของจรรยาบรรณหรือจริยธรรมได้ 2. บอกจรรยาบรรณหรือจริยธรรมของพนักงานขายดา้ นต่างๆ ได้ เนื้อหา 1. จงบอกความหมายของจรรยาบรรณมาพอเข้าใจ 2. สมมตวิ า่ นกั เรียนเปน็ พนกั งานขายของบริษทั แห่งหน่งึ จะต้องปฏบิ ตั ิตนอย่างไรเพื่อใหม้ ี จรรยาบรรณที่ดีในฐานะลูกจา้ ง 3. ถา้ นักเรียนเปน็ พนกั งานขาย นักเรยี นจะต้องมจี รรยาบรรณต่อลกู ค้าอย่างไร จงอธิบาย
แผนการจดั การเรียนรู้ 31 หน่วยท่ี 4 ช่อื วิชา การขายเบอ้ื งต้น ( 20200 – 1003 ) สอนครั้งที่ 6 จานวน 3 ช.ม. ชอ่ื หนว่ ย โอกาสความก้าวหน้าของพนักงานขาย รายการสอน 1. คณุ สมบัตขิ องพนักงานขายทธ่ี ุรกจิ ต้องการ 2. โอกาสก้าวหน้าในตาแหนง่ หน้าที่ 3. รายไดแ้ ละผลประโยชนเ์ ก้อื กลู กัน 4. ผลประโยชนต์ ามลกั ษณะงานขาย สาระสาคัญ อาชีพขายเป็นอาชพี ทต่ี อ้ งมีความอดทน และต้องตดิ ต่อสัมพันธ์กบั บคุ คลอื่นเปน็ จานวนมาก พนักงานขายจึงต้องมคี ุณสมบัตมิ ากกวา่ อาชีพอื่น และมีโอกาสเจริญก้าวหน้าเป็นลาดับ ตามผลงาน และความสามารถ นอกจากรายได้ประจาแล้วยังมีผลประโยชน์เกื้อกูลท่ีออกมาในรูปสวัสดิการท่ี อาชพี อ่นื ๆ อาจจะไมม่ ี สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ความรู้ ทักษะ – คณุ ธรรม) 1. นักเรยี นรคู้ ุณสมบตั ิของพนักงานขายทีธ่ รุ กจิ ตอ้ งการ 2. นกั เรียนร้โู อกาสกา้ วหนา้ ของพนักงานขาย 3. นกั เรียนรู้รายได้และผลประโยชนเ์ กอ้ื กลู กนั 4. นักเรียนรู้ผลประโยชน์ตามลกั ษณะงานขาย จุดประสงคป์ ลายทาง ผเู้ รยี นมคี วามรูแ้ ละความเขา้ ใจเกีย่ วกับคุณสมบตั ิและโอกาสความกา้ วหนา้ ของพนักงานขาย จุดประสงค์นาทาง 1. บอกคุณสมบัตขิ องพนักงานขายท่ีธุรกจิ ตอ้ งการได้ 2. บอกโอกาสก้าวหน้าในตาแหน่งหนา้ ท่กี ารขายได้ 3. อธิบายผลประโยชน์ท่ีพนักงานขายจะไดร้ บั ตามลักษณะงานท่ไี ด้ การบรู ณาการ 1. โดยการนาแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสอดแทรกในกิจกรรมการเรียนรู้เก่ียวกับ ความพอเพียง เป็นการปพู ื้นฐานคุณธรรมและจริยธรรมใหก้ ับนักเรียนทีจ่ ะประกอบอาชพี นักธรุ กจิ ใน อนาคตโดยใช้หลัก 3 หว่ ง 2 เง่อื นไข เน้ือหา / สาระ 1. คณุ สมบตั ิของพนกั งานขายท่ีธรุ กิจตอ้ งการ 2. โอกาสก้าวหนา้ ในตาแหนง่ หนา้ ท่ี - พนักงานขายฝึกหัด - พนักงานขายชั้นผูน้ ้อย - พนกั งานขายอาวุโส - ผ้คู วบคมุ ฝ่ายขาย - ผจู้ ัดการฝา่ ยขาย - ผู้อานวยการฝา่ ยการตลาด
- รองประธานฝ่ายการตลาด 32 3. รายไดแ้ ละผลประโยชน์เก้ือกูล - รูปแบบของการให้ค่าตอบแทน 1. เงนิ เดือนอยา่ งเดียว 2. เปอรเ์ ซ็นต์จากการขายอย่างเดียว 3. เงนิ เดอื น + เปอร์เซน็ ต์จากการขาย 4. เงินเดอื น + เปอร์เซน็ ต์ยอดขายที่เกินโควตา 5. โบนัส 6. การแบ่งผลกาไรจากกิจการ - การกาหนดรายได้หรอื คา่ ตอบแทนที่จะใหก้ บั พนกั งาน 1. การจา่ ยค่าตอบแทนตามวฒุ ิการศกึ ษา 2. การจา่ ยคา่ แรงโดยพิจารณาสภาพเศรษฐกิจในขณะนั้น 3. นโยบายของกิจการ 4. การจ่ายคา่ แรงตามความรู้ความสามารถของพนกั งาน 5. นโยบายการจา่ ยคา่ ตอบแทนของคู่แขง่ ขัน 4. ผลประโยชนต์ ามลักษณะงานขาย - รายไดส้ ูงกวา่ อาชีพอ่ืน - ความพึงพอใจที่ได้รบั จากการทางาน - มีความม่งั คงในการทางาน - มอี สิ รภาพในการทางาน - มโี อกาสเลอ่ื นขั้นเลื่อนตาแหน่ง - เปล่ยี นงานได้ง่ายกว่าอาชพี อ่ืน กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้นั นา 1. ผ้สู อนทบทวนคณุ สมบตั ิของพนักงานขายทีธ่ ุรกิจตอ้ งการโดยซกั ถามเป็นรายบคุ คล 2. ผู้สอนช้ีแจงเรื่องการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรียนแบ่งเป็นกลุ่มๆละ 6-7 คน และใหเ้ ลอื กประธานกลมุ่ 1 คน และเลขากลุ่ม 1 คน ขั้นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ใหผ้ ้เู รยี นทีจ่ ัดกล่มุ ไว้แลว้ แต่ละกลุ่มเลือกกจิ การค้าทจี่ ะศึกษาขน้ึ มา 1 กจิ การ แล้วศึกษา หาข้อมูลเก่ียวกับโอกาสก้าวหน้าในตาแหน่งหน้าท่ีพนักงานขาย และรูปแบบการจ่าย ค่าตอบแทนของกิจการค้านั้น แล้วร่วมกันอภิปรายหาข้อสรุป โดยเลขานุการกลุ่มจด บันทึกใหเ้ รยี บร้อย 2. ให้ประธานกลุ่มออกมานาเสนอหน้าช้ันเรียน และเปิดโอกาสให้แต่ละกลุ่มซักถาม แลกเปล่ยี นความรซู้ ่งึ กันและกัน 3. ผู้สอนสรุปโอกาสก้าวหน้าในตาแหน่งหน้าท่ีพนั กงานขายและรูปแบบการจ่าย คา่ ตอบแทนออกมาเป็นข้อๆ บนกระดานดา เพ่ือให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนาไปเปรียบเทียบ กบั กจิ การคา้ ที่แตล่ ะกลมุ่ นามาศกึ ษา 4. ให้ผู้เรียนร่วมกันค้นคว้าศึกษาผลประโยชน์ตามลักษณะงานขายและส่งตัวแทนนาเสนอ หนา้ ช้ันเรียน โดยผู้สอนร่วมสรปุ เพมิ่ เติม
33 สื่อ / นวัตกรรม / แหล่งเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการสอน 2. ห้องสมุดโรงเรียน 3. แบบฝึกหดั ท้ายบทเรียน 4. เว็บไซด์ธรุ กจิ การวัดและประเมนิ ผล วิธีวัดผล - สังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ชอ่ื เครื่องมอื - แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล เกณฑ์การประเมิน - แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล กาหนดเกณฑด์ ังนี้ มากท่สี ุด = 5 หมายถึง ปฏบิ ตั ิสมา่ เสมอ มาก = 4 หมายถึง ปฏิบตั บิ ่อยๆ ปานกลาง = 3 หมายถงึ ปฏบิ ัตบิ างคร้ัง น้อย = 2 หมายถึง ปฏบิ ัตินานๆคร้ัง นอ้ ยท่สี ดุ = 1 หมายถงึ ไม่มีการปฏบิ ตั ิ
แผนการจดั การเรียนรู้ 34 หน่วยที่ 5 ช่อื วิชา การขายเบอ้ื งตน้ ( 20200 – 1003 ) สอนคร้งั ที่ 7 จานวน 3 ช.ม. ชอ่ื หน่วย ความรู้เกยี่ วกบั ผลิตภัณฑ์ รายการสอน 1. ประเภทของสนิ ค้า 2. ประโยชนข์ องการมคี วามร้เู กย่ี วกับสินค้า 3. สิ่งท่ตี ้องรูเ้ ก่ยี วกบั สนิ ค้า 4. แหลง่ ความรู้เก่ียวกบั สินค้า สาระสาคัญ ความรู้เก่ียวกับผลิตภัณฑ์เป็นส่ิงจาเป็นและสาคัญที่พนักงานขายจะต้องมีความรู้ ยิ่งใน ปจั จุบันน้ลี ูกค้ามีระดับการศกึ ษาที่สงู มากขึ้น เพราะฉะน้ันพนักงานขายต้องมีการเตรียมตวั ให้พร้อม ในเรอ่ื งผลิตภัณฑ์อย่างละเอียดตั้งแต่วัตถุดิบกระบวนการผลิต คุณภาพของสินคา้ ประโยชน์ใชส้ อย ฯลฯ พนกั งานขายจะต้องรู้เขา้ ใจเพ่ือท่ีจะสามารถอธิบายให้ลูกค้าสามารถเข้าใจเรื่องสินค้าอย่างแจ่ม ชัด ทาให้ลูกคา้ เกดิ ความเชอื่ มน่ั ในผลติ ภัณฑ์ โอกาสที่จะประสบผลสาเร็จในอาชีพสูง สมรรถนะทีพ่ ึงประสงค์ (ความรู้ ทักษะ – คณุ ธรรม) 1. นักเรยี นมีความรเู้ ก่ียวกบั ประเภทของสนิ คา้ 2. นกั เรียนรเู้ กีย่ วกบั ประโยชนข์ องการมคี วามรู้เกี่ยวกับสนิ ค้า 3. นักเรยี นร้สู ่งิ ทต่ี อ้ งรู้เกีย่ วกับสนิ คา้ 4. นักเรยี นร้แู หลง่ ความรเู้ กีย่ วกับสนิ คา้ จดุ ประสงค์ปลายทาง ผเู้ รยี นมีความรู้และเข้าใจประเภทของสินค้า ประโยชน์ของการมีความรูเ้ กย่ี วกับสนิ ค้า และ แหลง่ ความรู้เก่ียวกับสินค้า จุดประสงคน์ าทาง 1. บอกประเภทของสนิ ค้าได้ 2. อธิบายประโยชน์ของการมคี วามรู้เก่ียวกับสินค้าได้ 3. บอกสงิ่ ที่ตอ้ งรเู้ กย่ี วกับสนิ คา้ ได้ 4. บอกถงึ แหล่งความรู้เก่ียวกับสนิ คา้ ได้ เนื้อหา / สาระ 1. ประเภทของสนิ ค้า - สินคา้ อุปโภคบรโิ ภค - สนิ ค้าสะดวกซื้อ - สนิ ค้าทถี่ กู กระตุ้นให้ซอ้ื - สนิ ค้าเฉพาะเจาะจง - สนิ ค้าเลอื กซอ้ื - สินคา้ ซอื้ ประจา - สินคา้ ซอ้ื ยามฉุกเฉนิ - สินคา้ ไมแ่ สวงซื้อ
- สนิ ค้าอุตสาหกรรม 35 - อปุ กรณห์ ลกั - วตั ถดุ ิบในการผลิต - วัสดสุ นิ้ เปลอื งเพื่อการผลติ - วัสดุสน้ิ เปลืองเพือ่ การจดั การ - บรกิ าร 2. ประโยชน์ของการมคี วามรเู้ กี่ยวกบั ผลติ ภัณฑ์ - ประโยชน์ในการนาเสนอตอ่ ลกู ค้า - ช่วยใหพ้ นกั งานขายเกดิ ความเชอื่ มนั่ - ใชต้ อบคาถามลกู ค้า - ช่วยใหพ้ นักงานขายสนกุ - ช่วยใหเ้ กิดความรกั ในอาชีพขาย - ชว่ ยให้ได้รับการสง่ เสริมในตาแหน่งสูงขึ้น - ช่วยให้ไดจ้ ัดสรรสนิ ค้าได้ตรงกบั ความต้องการลกู คา้ 3. แหลง่ ความร้เู กี่ยวกับสินคา้ - ตัวสินคา้ เอง - คมู่ ือขาย - หนว่ ยงานราชการ - การฝึกอบรม - นติ ยสารเฉพาะ - ค่มู ือสินค้า - ตวั แทนผผู้ ลิต - แหล่งอื่นๆ กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขัน้ นา 1. ผู้สอนชี้ให้ผู้เรียนเห็นถึงความจาเป็นในการมีความรู้เก่ียวกับสินค้าเพ่ือความสาเร็จของ อาชพี ขาย 2. ผสู้ อนช้ีแจงเร่อื งการจดั กจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยใหผ้ เู้ รียนจดั เปน็ กลุ่ม 4 กลุ่ม ขั้นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ให้ผู้เรียนที่ได้จัดกลุ่มไว้แล้วแต่ละกลุ่มจับฉลากเพื่อเลือกหัวข้อ ประเภทของสินค้า แหล่งความรู้เกี่ยวกับสินค้า ประโยชน์ของการมีความรู้เกี่ยวกับสินค้า สิ่งที่ต้องรู้ เกีย่ วกบั สนิ ค้า 2. ผู้เรียนพิจารณาและทาความเข้าใจในหัวข้อท่ีจับฉลากได้ และปฏิบัติตามที่ได้รับ มอบหมาย โดยแลกเปลี่ยนความรู้กนั ภายในกลมุ่ และช่วยกันสรปุ 3. ครูสังเกตพฤติกรรมการคิด วิธศี กึ ษา การทางานกลุ่มและคุณธรรมเกี่ยวกับความมีวนิ ัย ความรบั ผดิ ชอบ ความสนใจใฝ่รู้ ตลอดจนการมีมนุษยสมั พันธ์ และครูคอยให้กาลังใจ และใหค้ วามชว่ ยเหลอื กลมุ่ ทมี่ ีปญั หา 4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงานโดยให้สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีส่วนร่วมในการ นาเสนอผลงาน ให้เวลากลมุ่ ละ 5 นาที
36 5. ครูสังเกตบุคลิกภาพของนักเรียนในการนาเสนอ ความถูกต้องของเนื้อหาสาระ ความคิดสร้างสรรค์ของกลุ่ม การใช้วาจาท่ีสุภาพ และมารยาทท่ีเหมาะสมในการ แสดงออกหนา้ ชั้นเรยี น 6. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั สรปุ สาระสาคญั ในแตล่ ะหัวขอ้ และนกั เรียนบันทกึ สาระสาคญั สื่อ / นวตั กรรม / แหลง่ เรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการสอน 2. หอ้ งสมุดโรงเรยี น 3. แบบฝกึ หัดทา้ ยบทเรียน 4. เว็บไซดธ์ รุ กิจ 5. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมกลมุ่ การวดั และประเมินผล 1. สังเกตความมวี ินัย ได้แก่ การตรงตอ่ เวลาในการเขา้ เรียนและการแตง่ กาย 2. สังเกตความรับผิดชอบ ไดแ้ ก่ การเตรียมอปุ กรณก์ ารเรียน 3. สังเกตการณ์เป็นผู้มีความสนใจใฝ่รู้ ได้แก่ ความสนใจในการเรียนและการซักถามข้อ ขอ้ งใจ ตลอดจนการแสดงความคิดเหน็ 4. สังเกตการณ์เป็นผู้มีความรับผิดชอบและความมีมนุษยสัมพันธ์จากการปฏิบัติงานกลุ่ม และงานนาเสนอผลงาน 5. ประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะพึงประสงค์ ได้แก่การประเมิน โดยการสังเกตพฤตกิ รรมของกลมุ่ ผ้เู รยี น
37 แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยที่ 6 สอนคร้งั ท่ี 8 ชื่อวิชา การขายเบ้อื งต้น ( 20200 – 1003 ) จานวน 3 ช.ม. ชื่อหนว่ ย ความรูเ้ กี่ยวกบั ลกู คา้ รายการสอน 1. ลาดบั ข้ันความตอ้ งการของลูกคา้ 2. สาเหตกุ ารตัดสินใจซื้อ 3. ประเภทของลูกค้า 4. ลาดับขั้นการตดั สนิ ใจซ้อื ของลกู คา้ สาระสาคญั ความรู้ข้ันพ้ืนฐานของพนักงานขายที่สาคัญเป็นอันดับแรกคือความรู้เก่ียวกับลูกค้าในเรื่อง ลาดับข้นั ตอนในการตัดสินใจซ้อื ซ่ึงนอกจากนั้นคือลาดบั ขั้นความต้องการของลูกคา้ พนกั งานขายที่ จะประสบความสาเร็จในอาชีพต้องเป็นผู้สามารถกาหนดเหตุจงู ใจไดอ้ ย่างเหมาะสมกับลกู ค้าแต่ละคน ซึ่งแตกต่างกัน ดังน้ันพนักงานขายต้องเข้าใจลักษณะพฤติกรรมเหล่าน้ี เพ่ือกาหนดวิธีการขายให้ เหมาะสม สมรรถนะท่ีพึงประสงค์ (ความรู้ ทักษะ – คณุ ธรรมจรยิ ธรรม) 1. นักเรยี นรู้ลาดบั ขน้ั ความตอ้ งการของลกู ค้า 2. นกั เรยี นรสู้ าเหตุของการตดั สินใจซอื้ 3. นกั เรยี นรปู้ ระเภทของลูกคา้ 4. นักเรยี นรลู้ าดับขนั้ การตดั สินใจของลกู คา้ จดุ ประสงค์ปลายทาง นักเรียนมีความรูแ้ ละเข้าใจลูกค้าประเภทต่างๆ ตลอดจนสาเหตุและลาดบั ขนั้ ความต้องการ ซอ้ื ของลกู ค้า จดุ ประสงคน์ าทาง 1. บอกลาดับขนั้ ความต้องการของลูกคา้ ได้ 2. อธิบายสาเหตุการตดั สนิ ใจซือ้ ได้ 3. บอกประเภทของลูกคา้ 4. บอกลาดับข้นั การตัดสินใจซ้อื ของลกู คา้ ได้ การบรู ณาการ โดยการสอดแทรกทฤษฎีการรับรู้ และการเรียนรู้ของมนุษย์เพือ่ ใช้เป็นแนวทางในการศึกษา เรอื่ งความต้องการของลูกคา้ และสาเหตุของการตดั สนิ ใจซอ้ื ของลูกค้าต่อไป
38 เนื้อหา / สาระ 1. ลาดับขน้ั ความตอ้ งการของลกู คา้ - ความต้องการทางด้านรา่ งกาย - ความต้องการความปลอดภยั - ความต้องการความรักและความเป็นเจา้ ของ - ความตอ้ งการความนับถอื และยกย่อง - ความต้องการประสบความสาเร็จในชวี ิต 2. สาเหตุการตัดสนิ ใจซอ้ื - ซื้อดว้ ยอารมณ์ - ซ้อื ดว้ ยเหตุผล 3. ประเภทของลูกคา้ - ลูกค้าประเภทมีความเชอ่ื มนั่ ในตนเอง - ลูกค้าประเภทขาดความเชอ่ื มัน่ ในตนเอง - ลูกคา้ ประเภทชา่ งคุย - ลกู คา้ ประเภทเงียบ - ลูกค้าประเภทผดั วนั ประกันพรงุ่ - ลกู คา้ ประเภทช่างคิด - ลกู ค้าประเภทผู้ชม 4. ลาดบั ขั้นการตัดสนิ ใจซอื้ ของผซู้ อ้ื - ขั้นสะดุดใจ - ขน้ั สนใจ - ขน้ั ตอ้ งการ - ขน้ั ความเชอื่ มนั่ - ขน้ั ตดั สินใจซ้อื - ขน้ั ความพอใจ กระบวนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ข้นั นา 1. ผู้สอนชี้นาให้เห็นถึงความสาคัญของการมีความรู้เกี่ยวกับลูกค้า ความสัมพันธ์ของ ความรูเ้ กี่ยวกบั สนิ คา้ และความรเู้ กีย่ วกบั ลกู ค้า 2. ใหผ้ ู้เรียนช่วยกันใหค้ วามหมายของขอ้ ความต่อไปนี้ว่าหมายความว่าอยา่ งไรและช่วยกัน วเิ คราะห์ว่าสามารถนามาใชเ้ ปรยี บเทียบกับการขายอย่างไรบ้าง 3. ผู้สอนช้ีแจงเร่ืองการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มเป็น 7 กลุ่ม และเลอื กประธานกลมุ่ เพอื่ จดั ผดู้ าเนินการอภปิ รายกลุ่มย่อย 1 คน 4. ใหผ้ ู้เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน ขั้นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ผสู้ อนอธิบายขนั้ ลาดบั ความต้องการขน้ั พ้ืนฐานของมนุษย์ตามทฤษฎีมาสโลว์และลาดับ ขั้นการตดั สนิ ใจซ้อื ของลูกคา้ 2. ใหผ้ เู้ รียนแต่ละกลมุ่ จับฉลากเพื่อเลือกหวั ข้อเร่ืองประเภทลูกค้าเพื่อรว่ มกันวิเคราะหแ์ ละ นาเสนอหนา้ ชั้นเรียนดังน้ี
39 กลุ่มท่ี 1 วิเคราะห์ลาดับขั้นการตัดสินใจซ้ือของลูกค้าสาหรับลูกค้าประเภทมีความ เชอื่ มัน่ ในตนเอง กลุ่มท่ี 2 วิเคราะห์ลาดับข้ันการตัดสินใจของลูกค้าสาหรับลูกค้าประเภทขาดความ เชอ่ื มน่ั ในตนเอง กลุ่มท่ี 3 วิเคราะห์ลาดบั ข้ันการตัดสินใจซือ้ ของลูกค้าสาหรับลกู คา้ ประเภทช่างคยุ กลุ่มท่ี 4 วเิ คราะหล์ าดบั ขั้นการตัดสนิ ใจซื้อของลูกค้าสาหรบั ลูกค้าประเภทเงยี บ กลุ่มท่ี 5 วิเคราะห์ลาดับขั้นการตัดสินใจซื้อของลูกค้าสาหรับลูกค้าประเภท ผดั วนั ประกนั พรุ่ง กลุ่มท่ี 6 วเิ คราะห์ลาดับข้ันการตัดสินใจซื้อของลกู ค้าสาหรบั ลกู ค้าประเภทช่างคดิ กล่มุ ท่ี 7 วิเคราะห์ลาดับข้นั การตัดสนิ ใจซอ้ื ของลูกคา้ สาหรบั ลกู ค้าประเภทผู้ชม 3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงานโดยให้สมาชิกในกลุ่มทุกคนมีส่วนร่วมในการ นาเสนอผลงานให้เวลากล่มุ ละ 5 นาที สื่อ / นวตั กรรม / แหลง่ เรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น 2. ฉลากแบง่ กลมุ่ 3. เอกสารประกอบการสอน 4. แบบฝกึ หัดท้ายบทเรยี น 5. หอ้ งสมุดโรงเรียน 6. แบบประเมนิ พฤติกรรมกลุ่ม การวัดและประเมินผล 1. ครสู ังเกตพฤติกรรมการคิด วิธีศกึ ษา การทางานกลุ่ม และคุณธรรมเกย่ี วกบั การมีวนิ ัย ความรบั ผดิ ชอบ ความสนใจใฝ่รู้ 2. สังเกตบุคลิกภาพของนักเรียนในการนาเสนอความถูกต้องของเน้ือหาสาระ ความคิด สร้างสรรค์ของกลุ่ม การใช้วาจาที่สุภาพและมารยาทท่ีเหมาะสมในการแสดงออกหน้า ช้ันเรยี น 3. ประเมนิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรมค่านิยมและคณุ ลักษณะพึงประสงค์ไดแ้ กก่ ารประเมนิ โดยการ สงั เกตพฤตกิ รรมของกลมุ่ ผูเ้ รียน
40 แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยที่ 7 ช่ือวิชา การขายเบอื้ งต้น ( 20200 – 1003 ) สอนครงั้ ท่ี 9 ชอื่ หนว่ ย ความร้เู กยี่ วกับกิจการ จานวน 3 ช.ม. รายการสอน 1. สาเหตุทต่ี อ้ งมคี วามรู้เกย่ี วกับกิจการ 2. ส่งิ ทีต่ ้องทราบเก่ียวกบั กจิ การ 3. ประโยชน์ของการมคี วามร้เู กี่ยวกบั กิจการ สาระสาคญั ในฐานะท่ีพนักงานขายเป็นส่วนหนึ่งของกิจการจึงเป็นหน้าที่ของพนักงานขายต้องทราบ ความเป็นมาของกิจการ รวมทั้งเร่ืองอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับกิจการซ่ึงมีผลโดยตรงต่อการปฏิบัติงาน เพราะความรู้บางเร่ืองเป็นส่ิงที่เก่ียวกับกฎเกณฑ์การปฏิบัติงาน และความรู้บางเร่ืองเกี่ยวกับความ เชือ่ มั่นในการซอ้ื ของลูกค้าและช่วยบอกใหพ้ นักงานขายไดท้ ราบว่า พนักงานขายตอ้ งปฏิบตั ิอยา่ งไรใน การปฏบิ ตั ิงาน และบอกใหท้ ราบว่าพนักงานขายจะมคี วามก้าวหนา้ ได้อยา่ งไร สมรรถนะทพ่ี ึงประสงค์ (ความรู้ ทักษะ – คุณธรรมจรยิ ธรรม) 1. นักเรยี นรสู้ าเหตุทีต่ อ้ งมีความรูเ้ กีย่ วกบั กิจการ 2. นักเรียนบอกสิ่งท่ีต้องทราบเกี่ยวกบั กจิ การ 3. นกั เรยี นบอกประโยชนข์ องการมคี วามรู้เกีย่ วกับกจิ การ 4. นกั เรยี นรู้จรรยาบรรณทีพ่ นักงานขายพึงมีตอ่ กิจการ จุดประสงค์ปลายทาง ผู้เรียนมีความรู้และเข้าใจสาเหตุของการมีความรู้เกี่ยวกับกิจการ ตลอดจนสิ่งท่ีต้องทราบ เกี่ยวกบั กิจการ จดุ ประสงคน์ าทาง 1. บอกสาเหตุท่ตี อ้ งมคี วามรเู้ ก่ียวกบั กจิ การได้ 2. บอกสิ่งทต่ี อ้ งทราบเกีย่ วกับกิจการได้ 3. บอกแหล่งความร้เู กย่ี วกบั กิจการได้ 4. อธิบายประโยชน์ของการมีความร้เู กย่ี วกับกิจการได้ การบูรณาการ โดยการนาจรรยาบรรณท่ีพนกั งานขายมีต่อกิจการสอดแทรกในกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับ การมีความรู้เกี่ยวกับกิจการ เป็นการเน้นย้าในเรื่องคุณธรรม และจริยธรรมให้กับนักเรียนที่จะ ประกอบอาชพี นักขายในอนาคต เน้อื หา / สาระ 1. สาเหตทุ ่ตี อ้ งมีความรเู้ กีย่ วกบั กิจการ - กรณเี ป็นสินค้าใหม่ - กรณเี ป็นสนิ ค้าเก่า
41 2. ส่งิ ท่ตี ้องทราบเกี่ยวกบั กิจการ - ประวัติความเปน็ มาของกิจการ - นโยบายการขายของกิจการ - นโยบายเกย่ี วกบั สนิ ค้า - นโยบายเกย่ี วกบั ลกู คา้ - นโยบายเกีย่ วกับพนักงานขาย - กจิ กรรมของกิจการท่ีมีตอ่ สงั คม 3. ประโยชน์ของการมีความร้เู ก่ยี วกับกิจการ - เพมิ่ ขวญั และกาลังใจในการทางาน - เพม่ิ ความมั่นใจใหแ้ กพ่ นกั งาน - ชว่ ยสร้างความมัน่ ใจให้แกล่ กู ค้า - ช่วยให้การขายทาได้งา่ ยข้นึ 4. แหลง่ ความรู้เกย่ี วกับกิจการ - จากการปฐมนิเทศ - การฝกึ อบรมสมั มนา - รายงานประจาปีของกิจการ - จากเอกสารเผยแพร่ ขน้ั การจดั การเรยี นรู้ ขัน้ นา 1. ผ้สู อนชใ้ี ห้ผู้เรยี นเห็นถงึ ความสาคัญของการมีความรู้เกี่ยวกับกิจการในการเปน็ พนักงาน ขายที่ต้องการประสบความสาเรจ็ ในอาชีพขาย 2. ผู้สอนชีแ้ จงเรอื่ งการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ โดยให้ผู้เรียนแบง่ เป็นกลมุ่ ๆ ละ 6 – 7 คน และใหแ้ ตล่ ะกลุ่มเลอื กประธานกลุ่ม 1 คน เพื่อดาเนินการอภปิ รายกล่มุ ขั้นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. ให้ผเู้ รยี นช่วยกันบอกสาเหตุท่ีต้องมีความรู้เกี่ยวกับกิจการเป็นข้อ ๆ โดยผสู้ อนเขียนบน กระดานดาตามทนี่ กั เรียนบอก 2. ผู้สอนสรุปสาเหตุท่ีต้องมีความรู้เก่ียวกับกิจการเพิ่มเติมจากท่ีนักเรียนบอก พร้อมทั้ง อธิบายอยา่ งละเอียด 3. ให้ผู้เรียนท่ีจัดกลุ่มไว้แล้วแต่ละกลุ่มอภิปรายสิ่งที่ต้องทราบเก่ียวกับกิจการ และให้ ตัวแทนกลุม่ แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอหน้าช้ันเรยี น 4. ผู้สอนสรุปสิ่งที่ต้องทราบเก่ียวกับกิจการจากที่ตัวแทนกลุ่มแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอ และเพ่ิมเติมในส่วนที่ผู้เรียนยังไม่กล่าวถึง พร้อมทั้งให้ผู้เรียนบันทึกลงสมุดเพื่อส่งให้ ผสู้ อนตรวจ สือ่ / นวตั กรรม / แหลง่ เรยี นรู้ 1. แบบทดสอบ กอ่ น – หลงั เรยี น 2. หอ้ งสมุดโรงเรียน 3. แผนผงั มโนทศั น์ 4. เว็บไซด์ทางธรุ กจิ
42 การวดั ผลและประเมนิ ผล วธิ ีวดั ผล 1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล 2. สงั เกตการณป์ ฏิบตั ิงานกลมุ่ 3. สังเกตการณก์ ารเป็นผู้มคี วามซ่อื สตั ย์สจุ รติ ชือ่ เครือ่ งมอื 1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. แบบประเมนิ กระบวนการกล่มุ 3. แบบประเมินพฤตกิ รรมดา้ นคณุ ภาพ จรยิ ธรรม
43 แบบทดสอบก่อนเรียน – หลงั เรียนหน่วยที่ 7 เรอ่ื ง ความรู้เก่ียวกับกจิ การ ใหน้ ักเรียนเลอื กคาตอบที่ถกู ตอ้ งเพียงขอ้ เดยี ว 1. กรณที ่ีเปน็ สินคา้ ทเี่ พิง่ วางตลาด ถูกค้าไม่เคยใช้สนิ คา้ นั้นมาก่อน แตจ่ ะทดลองใช้สินค้านั้นเปน็ เพราะสาเหตขุ อ้ ใด ก. สนิ คา้ ราคาถูกกว่ายหี่ อ้ อน่ื ข. รา้ นค้าท่ีขายมีช่ือเสยี ง ใหญโ่ ต น่าเดนิ ค. สิตคา้ นั้นทาการสง่ เสรมิ การขายโดยการชงิ โชค ง. กจิ การผลติ มีชื่อเสียง ผลิตแต่สนิ ค้าดมี ีคณุ ภาพสูง 2. ความเก่าแก่ของกจิ การ มผี ลต่อการทางานของพนกั งานขายในข้อใด ก. ค่าตอบแทนสูง ข. กิจการค้ามีขนาดใหญ่ ภูมใิ จ ค. กิจการมีสนิ คา้ ให้จาหน่ายมากชนดิ ง. ความเชอ่ื ม่ันในอาชพี ความภาคภมู ิใจในการทางาน 3. ใครเป็นผู้ต้องรับผดิ ชอบต่อช่อื เสยี งของกจิ การ ก. เจ้าของกจิ การ ข. ผู้บริหารทกุ ระดบั ค. พนักงานขาย ง. ทกุ คนทีเ่ ปน็ สมาชิกของกจิ การ 4. ขอ้ ใดคือผลดขี องการมีความรู้เกยี่ วกบั กิจการ ก. ปฏบิ ัตหิ น้าทไ่ี ด้ตรงตามนโยบาย ข. ทาใหค้ ู่แขง่ ขนั ลดการแขง่ ขนั ด้านการตลาด ค. สามารถชนะเพือ่ นรว่ มงานในการขายสินค้า ง. สามารถนาเสนอรปู แบบผลิตภัณฑต์ ่อกิจการ 5. เรอ่ื งใดที่พนกั งานขายควรรู้เกยี่ วกับกจิ การ ก. ประวัติ ข. ประเภทกจิ การ ค. ลกั ษณะการบรหิ าร ง. ทุกอยา่ งท่เี กี่ยวกับกจิ การ 6. โดยทั่วไปพนักงานขายจะอยูใ่ นสายงานใด ก. ฝ่ายการตลาด ข. ฝ่ายการเงนิ ค. ฝ่ายผลิต ง. ฝา่ ยบคุ ลากร 7. บางกิจการขายสินค้าแต่เงินสด บา้ งกข็ ายแตเ่ งนิ ผอ่ น บา้ งก็ขายตรง บ้างก็ขายผา่ นตัวแทน ทงั้ หมดน้เี ป็นเรื่องที่เกีย่ วกบั ข้อใด ก. นโยบายเก่ยี วกบั สินค้า ข. นโยบายเก่ยี วกับลูกคา้ ค. นโยบายเก่ียวกบั การขาย ง. นโยบายเกย่ี วกบั พนกั งานขาย 8. การลด แลก แจก แถม ถือเปน็ การวางแผนนโยบายของบรษิ ทั ตามข้อใด ก. นโยบายเก่ียวกับตลาด ข. นโยบายหลกั ค. นโยบายสง่ เสริมการขาย ง. นโยบายเกย่ี วกบั คูแ่ ขง่ ขนั 9. การทน่ี ักเรียนต้องการจะทางานกับกิจการขนาดใหญ่ เพราะสาเหตขุ อ้ ใด ก. เงินเดือนสงู ข. ขวญั และกาลังใจ ค. มสี วัสดิการดีกว่า ง. มีหนา้ มีตาในสังคม 10. ความรู้เกย่ี วกบั กิจการ หาได้จากแหล่งใดตอ่ ไปนี้ ก. รายงานประจาปี ข. เอกสารเผยแพร่ ค. การอบรมสมั มนา ง. กล่าวถกู ทุกขอ้
44 แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 7 ชือ่ วิชา การขายเบ้อื งต้น ( 20200 – 1003 ) สอนครั้งที่ 10 จานวน 3 ช.ม. ช่อื หน่วย ความรู้เกยี่ วกบั กิจการ รายการสอน 1. ลักษณะของกิจการ 2. ลักษณะของการจัดองค์การ 3. ประโยชน์ของการมีความรเู้ ก่ยี วกบั กิจการ 4. แหลง่ ของความรเู้ ก่ยี วกบั กจิ การ สาระสาคัญ ในการปฏิบัติงานขาย พนักงานขายและผู้ประกอบออาชีพการขายจาเป็นจะต้องศึกษา รายละเอียดเกี่ยวกับองค์กรหรือหน่วยงานให้ดีก่อนเพราะพนักงานขายทาหน้าที่เป็นตัวแทนในการ นาเสนอสนิ คา้ การที่พนักงานขายมีความรู้เกี่ยวกับกิจการจะทาให้พนักงานขายเข้าใจเก่ียวกับ นโยบายตา่ ง ๆ ของกจิ การ สามารถนามาปฏบิ ตั ไิ ด้อยา่ งถูกตอ้ งและทาใหพ้ นกั งานขายเกดิ ความม่ันใจ ภาคภมู ิใจในกจิ การของตน ทาให้เกดิ ความมน่ั ใจในการทางาน สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ความรู้ ทกั ษะ - คุณธรรมจริยธรรม) 1. นักเรียนรู้ลักษณะของกจิ การ 2. นกั เรียนรู้ลกั ษณะของการจัดองค์การ 3. นกั เรยี นร้ปู ระโยชน์ของการมีความรู้เกยี่ วกับกจิ การ 4. นักเรยี นรูแ้ หลง่ ความรเู้ ก่ยี วกบั กิจการ จุดประสงค์ปลายทาง ผเู้ รียนมคี วามรแู้ ละเขา้ ใจลักษณะของกิจการ ลกั ษณะของการจดั องค์การ ประโยชนข์ องการ มีความรเู้ ก่ยี วกบั กิจการ และรู้แหล่งความรู้เกยี่ วกบั กิจการ จดุ ประสงค์นาทาง 1. ผเู้ รยี นบอกลักษณะของกิจการได้ 2. ผเู้ รยี นอธิบายลกั ษณะของการจัดองคก์ ารได้ 3. ผเู้ รียนบอกประโยชน์ของการมคี วามรเู้ กี่ยวกบั กิจการได้ 4. ผู้เรียนบอกแหล่งความรเู้ กี่ยวกับกิจการได้ 5. ผ้เู รยี นมีจิตสานกึ ในดา้ นความซือ่ สตั ยส์ จุ ริตได้ การบรู ณาการ การบูรณาการสาระการเรียนรู้วิชาธุรกิจท่ัวไปสู่วิชาการขาย ในลักษณะของกิจการและ ลกั ษณะของการจดั องค์การ ซ่งึ จะทาให้ผู้เรียนเข้าใจหลกั การจดั การภายในองคก์ ารได้ดียงิ่ ขน้ึ
45 เนือ้ หา / สาระ 1. ลักษณะของกิจการ - กิจการท่เี ปน็ เจา้ ของคนเดียว (Sole Propritorship) - หา้ งหุ้นสว่ น (Partnership) - บรษิ ทั จากดั (Company Limited) - สหกรณ์ (Cooperative) - รัฐวสิ าหกิจ (State Enterprise) - บรษิ ทั ขา้ มชาติ (Multinational Corporations) 2. ลกั ษณะของการจดั องค์การ - โครงสรา้ งองคก์ ารแบบหลกั (Line Organization) - โครงสร้างองคก์ ารแบบงานหลักและงานทปี่ รึกษา (Line and Staff Organization) 3. ประโยชนข์ องการมคี วามรูเ้ กีย่ วกับกิจการ - สร้างความจงรักภกั ดี - สร้างความเช่อื มน่ั - สร้างขวญั และกาลังใจ - เกิดความสาเร็จในงานขาย - สรา้ งความมนั่ ใจใหก้ บั ลูกค้า - ช่วยใหก้ ารขายทาได้ง่ายขึ้น 4. แหลง่ ความร้เู ก่ยี วกับกิจการ - จากการปฐมนิเทศ - การฝกึ อบรมสมั มนา - รายงานประจาปี - เอกสารเผยแพร่ กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขน้ั นา 1. ผสู้ อนทบทวนบทเรยี นเรอื่ งสาเหตทุ ตี่ อ้ งมคี วามรเู้ กยี่ วกับกิจการ และสงิ่ ทต่ี ้องทราบ เกย่ี วกับกจิ การ โดยการใชค้ าถามใหผ้ ้เู รียนชว่ ยกนั ตอบ 2. ผู้สอนช้ีแจงเร่ืองการจัดกิจกรรมการเรียนรโู้ ดยให้ผู้เรียนจัดกลุ่ม ๆ ละ 5 - 6 คน ให้แต่ ละกลมุ่ เลือกประธานเพ่อื เป็นผู้ดาเนินการอภิปรายกลุม่ ย่อยและตัวแทนเพื่อนาเสนอหน้าช้ันเรยี น ขนั้ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ให้ผู้เรียนแต่ละกลมุ่ ไปค้นควา้ หาขอ้ มลู เกี่ยวกบั ประโยชนแ์ ละแหลง่ ความรเู้ ก่ียวกบั กิจการ มาลว่ งหน้า 2. ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอประโยชน์และแหล่งความรู้เกี่ยวกับกิจการหน้าช้ัน เรยี น และเปิดโอกาสให้ผ้เู รียนได้แลกเปลยี่ นความรซู้ ่งึ กนั และกัน 3. ผู้สอนสรุปประโยชน์และแหล่งความรู้เกี่ยวกับกจิ การจากที่ผเู้ รียนไดอ้ อกมานาเสนอและ แลกเปลยี่ นเรียนรู้ ตลอดจนซักถามข้อสงสัย ซึ่งกันและกนั โดยใหผ้ เู้ รยี นบันทึกลงสมุดดว้ ย 4. ใหผ้ ู้เรยี นแต่ละกลุ่มอภิปรายกลุ่มย่อยเพือ่ วิเคราะหบ์ ทความจากใบงานท่ีผู้สอนแจกให้ใน หวั ขอ้ ต่อไปน้ี
46 - ประวตั ิความเปน็ มาของกจิ การ - ลกั ษณะของกิจการ - นโยบายดา้ นการตลาด - นโยบายดา้ นการผลิต - นโยบายด้านลูกคา้ 5. ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอหน้าชน้ั เรียน พร้อมท้ังให้โอกาสผู้เรียนซักถามและ เปล่ยี นเรยี นรู้ซึ่งกันและกนั โดยผูส้ อนเปน็ ผู้สงั เกตการณ์การทางานของผูเ้ รยี นแต่ละกลุ่ม 6. ผู้สอนสรปุ จากทีผ่ เู้ รยี นแตล่ ะกลุ่มออกมานาเสนอและเพิม่ เตมิ แสดงความคดิ เห็นรว่ มกนั ส่ือ / นวัตกรรม / แหล่งเรียนรู้ 1. ห้องสมดุ 2. เวบ็ ไซต์ทางธรุ กิจ 3. ใบงาน 4. สง่ิ พิมพป์ ระเภทต่าง ๆ นิตยสารด้านธรุ กิจ หนังสอื พิมพ์ทางธรุ กจิ 5. เอกสารประกอบการสอน การวัดผล ประเมนิ ผล วธิ วี ดั ผล 1. สังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 2. สงั เกตการณป์ ฏิบัตงิ านในกลุ่ม 3. สงั เกตความมวี ินัย ความรบั ผิดชอบ ชอื่ เครื่องมือ 1. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 2. แบบประเมินพฤตกิ รรมดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม 3. แบบประเมนิ กระบวนการกล่มุ
47 ใบงานหน่วยที่ 7 เรือ่ ง ความร้เู กย่ี วกับกจิ การ ให้ผเู้ รียนอภปิ รายกลุ่มย่อยวเิ คราะห์บทความขา้ งลา่ งในหวั ข้อตอ่ ไปนี้ 1. ประวตั ิของกิจการ 2. นโยบายด้านการตลาด 3. นโยบายด้านการผลติ 4. นโยบายด้านลกู คา้ นริ ตุ ติ จติ ชยั เฉลยไข “นกแกว้ ” สู่ “แพรอท โกลด์” คลาสสิคสบูไ่ ทยทอี่ ยู่ยงั ยืนยง หากเอาปี พ.ศ. 2490 ปีท่ีนายวอลเตอร์ เลโอ ไมเยอร์ ประธานกรรมการบริษัทเบอร์ล่ียุค เกอร์ในสมัยนั้น ได้คิดค้นสูตรสบู่หอมข้ึนมาและตั้งช่ือว่า “นกแก้ว” เป็นตัวตั้งลบด้วยปัจจุบัน นกแก้วมอี ายุอานามนับได้รวม 56 ปี เขา้ ไปแลว้ สบู่หอมห่อหุ้มด้วยกระดาษสีเขียวจัดจ้าน มีรูปนกแก้ว 3 ตัวเกาะอยู่บนคอนไม้ เนื้อสบู่แข็ง ไม่เปื่อยยุ่ย อาบแล้วสดช่ืน ล้างออกได้ง่าย ใช้ได้ดีกับทุกสภาพน้า ยังคงอยู่คู่กับคนไทยเหมือน แนวทางการตลาดทีว่ า่ “นกแก้วเคยี งคู่คนไทยเสมอมาและจะอยู่ตลอดไป” 56 ปี ของนกแก้วจึงถือไดว้ ่าเปน็ อกี ตานานคลาสสิคหนา้ หน่ึงของสบู่ไทยก็วา่ ได้ แต่เมื่อเวลาผ่านไปกลุ่มผู้จงรักภักดีกับนกแก้วสูงวัยข้ึน นกแก้วต้องมีการปรับตัวครั้งใหญ่ แตกแบรนด์เพิ่มมาอกี แบรนด์คือ “แพรอทโกลด์” เป็นนกแก้วสายพันธ์ุใหมท่ ี่ให้อะไรกับผู้ใช้มากกว่า ความสดช่นื และกลิ่นหอมของพฤกษานานาชนดิ ตามแบบฉบับนกแกว้ คลาสสิคดง้ั เดมิ แพรอทโกลด์กาเนิดขึ้นในช่วงหลังวิกฤติเศรษฐกจิ ปี 2540 เป็นช่วงท่ีคนไทยให้ความสาคัญ กับเรือ่ งกินของไทยใชข้ องไทยและทางเบอร์ลย่ี คุ เกอรจ์ งึ หยบิ ยกเรอื่ งกระแสนิยมไทยมาเปน็ จดุ ขายอีก ต่อหนงึ่ จึงกลา่ วได้ว่า การกาเนดิ สายพันธุใ์ หมข่ องนกแก้วเป็นการพลกิ วกิ ฤตให้เปน็ โอกาสคร้ังสาคัญ ของเบอรล์ ยี่ คุ เกอร์ก็ไม่ผิดนกั “สิง่ ท่ีเราค้นพบคือ พฤติกรรมขของการใช้สบู่ปรับเปลี่ยนไป ผู้บริโภคต้องการสบู่ทีม่ ีมากกว่า ความสดช่ืน ตอ้ งการมอยเจอไรเซอร์ ควิ เทนและสบู่ซ่ึงมีส่วนผสมของครีมบารุงผิว ซง่ึ นกแกว้ ดงั้ เดิม ไม่มี” นิรุตติ จิตชัย ผ้อู านวยการฝ่ายการตลาด บรษิ ทั เจซี มาร์เกต็ ตง้ิ เลา่ ถึงที่มาของแพรอทโกลด์ นิรุตติกล่าวว่า แพรอทโกลด์เน้นเรื่องของความงามทันสมัย วางตาแหน่งสินค้าสาหรับ กลมุ่ เปา้ หมายทเ่ี ปน็ ผู้หญงิ ทางานอายุ 20 – 30 ปี ขณะที่สบู่หอมนกแก้วก็ยังคงเอกลักษณ์เดิมไว้แต่ปรับเปล่ียนให้เป็นสินค้าสาหรับครอบครัว อายุ 30 ปี ขึน้ ไป “เราทาสองส่วนคือขยายฐานไปยังลูกค้ากลุ่มใหม่แต่ลูกค้ากลุ่มเดิมก็ยังคงรกั ษาไว้” นิรุตติ บอกว่า แม้จะมีการแบ่งแยกเซ็กเม้นต์กันอย่างชัดเจน แต่ปัญหาท่ีเกิดข้ึนคือคนใช้ยังแยกไม่ออก ส่วนใหญย่ งั คงยดึ ติดกบั แบรนดข์ องนกแก้ว “การรับรู้หรือแบรนด์อแวเนสในแพรอทโกลด์ต่ามาก” นิรุตติบอก งานหนักและท้าทายยิ่ง ของเบอร์ลฯ่ี คอื การสอ่ื สารทางการตลาดเพอ่ื เพิม่ การรบั รูใ้ นตราของแพรอทโกลดใ์ ห้เพิ่มขน้ึ เลือกวธิ ีส่อื สารโดยเน้นความห่วงใย ผิวพรรณเป็นความต่างจากสบูค่ ู่แข่งในทอ้ งตลาด
48 นอกจากปรับเปล่ียนเรื่องภาพลักษณ์ แพ็กเกจ รุกเร่ืองการส่ือสารการตลาดแล้ว เพ่ือให้ ทุกอยา่ งสอดรับกันไดด้ ว้ ยดนี ริ ุตติบอกว่า ทางเบอร์ลย่ี คุ เกอร์ยงั มีการปรับเปลยี่ นโครงสร้างการบริหาร ภายในดว้ ย “เดิมรูเบียอุตสาหกรรมเป็นคนทาการตลาดเอง แต่หลังคุณเจริญ สิริวัฒนภักดี เข้าซื้อ กจิ การของบรษิ ัทในปี 2544 ไดม้ ีการกอ่ ตั้งบริษทั บีเจซี มารเ์ ก็ตติ้ง ขึน้ เพอื่ ทาการตลาดสินค้าของ เบอร์ลีย่ คุ เกอร์และดงึ นกแกว้ -แพรอทโกลดม์ าทาเอง รูเบียอตุ สาหกรรมเปน็ เพยี งผผู้ ลติ ” นิรตุ ติบอกวา่ ทางเบอรล์ ี่ฯ ต้ังความหวงั ไวส้ งู ยิง่ “แพรอทโกลด์และนกแก้วเป็นเหมือนเรือธงหรือ FLAGSHIP เพราะเป็นสินค้าดั้งเดิมของ เบอร์ลย่ี คุ เกอร์” น่ันคอื ตานาน 56 ปี จากนกแก้วสู่แพรอทโกลด์ การปรบั เปล่ียนครั้งใหญ่ของนกแก้วเพ่ือก้าว สปู่ ีท่ี 57 ได้อยา่ งภาคภูมิ จากบทความ หนงั สือพมิ พ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับวนั ท่ี 26 เมษายน 2546
49 แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยท่ี 8 สอนคร้ังท่ี 11 ชือ่ วชิ า การขายเบอื้ งตน้ ( 20200 – 1003 ) จานวน 3 ช.ม. ชือ่ หนว่ ย ความร้เู กย่ี วกบั คู่แข่งขัน รายการสอน 1. สิ่งท่ีตอ้ งรูเ้ ก่ยี วกับคู่แข่งขนั 2. แหล่งความรู้เกยี่ วกบั ค่แู ข่งขัน 3. ประโยชน์ของการมีความรเู้ กย่ี วกบั ค่แู ขง่ ขัน 4. จรรยาบรรณหรือจรยิ ธรรมทพ่ี นักงานขายมตี อ่ คู่แข่งขัน สาระสาคญั ในระบบการค้าเสรีไม่มีธุรกิจใดที่ไม่มีการแข่งขัน ดังนั้นความสาเร็จในการประกอบธุรกิจ ขึน้ อยู่ทค่ี วามสามารถในการอ่านแผนงานของคู่แข่งขนั ได้อย่างทะลุปรโุ ปร่ง และกาหนดนโยบายใน การแข่งขันได้อย่างเหมาะสม การส่งเสริมการขาย เป็นยุทธวิธีทางการตลาดที่ถูกนามาใช้อย่าง แพรห่ ลายในการชงิ ความได้เปรยี บในการดาเนินงานขาย สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์ (ความรู้ ทกั ษะ – คุณธรรมจรยิ ธรรม) 1. ผู้เรียนร้สู ่ิงท่ีต้องรเู้ ก่ียวกับคแู่ ข่งขัน 2. ผู้เรียนรู้แหลง่ ความรู้เกย่ี วกบั คู่แข่งขัน 3. ผเู้ รยี นรู้ประโยชน์ของการมีความรูเ้ กย่ี วกบั คแู่ ข่งขัน 4. ผู้เรียนร้จู รรยาบรรณหรือจริยธรรมของพนกั งานขายท่ีมตี ่อคูแ่ ขง่ ขนั จดุ ประสงคป์ ลายทาง ผู้เรียนมีความรู้และเข้าใจเก่ียวกับคู่แข่งขัน แหล่งความรู้เก่ียวกับคู่แข่งขัน และประโยชน์ ของการมีความรเู้ กี่ยวกบั ค่แู ข่งขัน จดุ ประสงคน์ าทาง 1. บอกสงิ่ ท่ตี ้องรเู้ กี่ยวกบั คู่แข่งขนั ได้ 2. บอกแหลง่ ความร้เู กีย่ วกับคูแ่ ขง่ ขนั ได้ 3. บอกประโยชน์ของการมคี วามรเู้ กย่ี วกับคแู่ ข่งขันได้ 4. ผเู้ รยี นมีคณุ ธรรมทส่ี าคญั สาหรับการดาเนินชวี ิตได้อย่างมคี วามสขุ บูรณาการ ผู้เรียนสามารถนาความรู้ในเร่ืองจรรยาบรรณหรือจริยธรรมของพ นักงานขายท่ีแสดงต่อคู่ แข่งขันที่ได้เรียนไปแล้วในหน่วยท่ี 3 มาบูรณาการใช้กับความรู้เกี่ยวกับคู่แข่งขันมาใช้ได้ให้เกิด ประโยชนไ์ ด้ เนื้อหา / สาระ 1. สิง่ ท่ตี อ้ งร้เู กย่ี วกับคู่แข่งขัน - จุดอ่อนจุดแข็งของสนิ ค้าคูแ่ ขง่ ขัน - นโยบายราคาของคู่แขง่ ขนั - นโยบายเกย่ี วกบั พนักงานขาย
50 - นโยบายการขายของคแู่ ขง่ ขัน - ฐานะการเงินของคูแ่ ขง่ ขนั - นโยบายเกีย่ วกับการสง่ เสริมการขายของคแู่ ข่งขัน 2. แหล่งความรเู้ กยี่ วกับคู่แข่งขัน - การทดลองใช้สินคา้ ของคแู่ ขง่ ขัน - ติดตามจากสอ่ื มวลชน - แผ่นโฆษณาของคู่แข่งขัน - งานแสดงสนิ คา้ 3. ประโยชนข์ องการมคี วามรเู้ กีย่ วกบั คูแ่ ขง่ ขนั - การปรบั ปรงุ ผลิตภัณฑ์ใหท้ ดั เทียมหรอื ดกี ว่าของคู่แขง่ ขนั - ศกึ ษาความเปน็ ไปไดเ้ รอ่ื งราคาท่จี ะตอ้ งมกี ารปรับเปล่ียน - การปรับปรงุ รายไดแ้ ละสวสั ดิการของกจิ การเพอื่ สรา้ งขวัญและกาลังใจ - การปรบั นโยบายเรอื่ งช่องทางการขาย - การปรบั นโยบายในการส่งเสริมการขาย เพื่อรกั ษาสถานะของกจิ การ 4. จรรยาบรรณหรือจริยธรรมของพนกั งานขายทีแ่ สดงตอ่ คู่แข่งขนั - การไมก่ ล่าวรา้ ยทบั ถมคู่แข่งขนั - การซ้อื ตัว - ไม่เอาเปรยี บธุรกจิ ทเี่ ล็กกวา่ - ตอ้ งสรา้ งความสัมพันธท์ ่ีดกี บั คแู่ ข่งขนั - ควรใช้เหตผุ ลในการตอบโต้คู่แข่งขัน กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ขั้นนา 1. ผู้สอนตั้งคาถาม ถามผู้เรียนวา่ “ทาไมจงึ ตอ้ งรู้ถึงคแู่ ข่งขนั เหมือนกับรู้เขารเู้ รา ชนะ 100 ครง้ั ” ซ่งึ เปน็ เร่อื งท่ีควรศึกษาในเร่ือง แหล่งและประโยชน์ของการมคี วามรู้เกี่ยวกับคแู่ ข่งขนั 2. ผสู้ อนแบ่งผู้เรียนเป็น 3 กลุ่ม และให้แต่ละกลุ่มเลือกประธานกลุ่มเพ่ือเป็นผู้ดาเนินการ อภิปรายกลุ่มยอ่ ยและเป็นตัวแทนนาเสนอหน้าช้ันเรียน ให้แต่ละกลุ่มจับฉลากเลือกหัวข้ออภิปราย ดงั น้ี 1. สง่ิ ทีต่ ้องรู้เก่ยี วกบั ค่แู ขง่ ขนั 2. แหล่งความร้เู กย่ี วกบั คู่แข่งขัน และ 3. ประโยชนข์ องการมคี วามรู้เกีย่ วกับคู่แขง่ ขัน ขัน้ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มอภปิ รายกลุ่มย่อยในหัวขอ้ ที่แต่ละกลมุ่ จับฉลากได้ และส่งตัวแทน ที่ได้เลือกไว้แล้วออกมานาเสนอหน้าช้ันเรียน โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนร่วมซัก – ถามแลกเปล่ียน เรยี นร้ซู งึ่ กนั และกัน ผู้สอนสงั เกตการณ์ทางานของผู้เรยี นแต่ละกลมุ่ 2. ผู้สอนสรปุ ประเดน็ ต่าง ๆ ของแตล่ ะกลุ่มและเพ่ิมเตมิ ในส่วนที่ผู้เรยี นยงั ไมก่ ลา่ วถึง 3. ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มแลกเปล่ียนข้อมูลท่ีนาเสนอและบันทึกลงสมุด พร้อมทั้งเปิดโอกาส ให้ซัก – ถามขอ้ สงสยั ได้ 4. ผ้สู อนต้งั ประเด็นถามผู้เรียนวา่ “ พนักงานขายควรจะมีจรรยาบรรณตอ่ คู่แขง่ ขันอยา่ งไร บา้ ง” ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันแสดงความคิดเหน็ และสง่ ตัวแทนออกมานาเสนอหน้าชั้นเรยี นเป็น ข้อ ๆ 5. ผู้สอนร่วมแสดงความคิดเห็นกับผู้เรียน ซัก – ถาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้เรียนแต่ละ กลุ่ม และสรุปความคิดเหน็ เพ่อื ใหผ้ เู้ รยี นบนั ทกึ ลงสมดุ
Search