Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การประเมินผลก่อนการดำเนินงานโครงการเมืองเกษตรสีเขียว จ.จันทบุรี

การประเมินผลก่อนการดำเนินงานโครงการเมืองเกษตรสีเขียว จ.จันทบุรี

Description: 2

Search

Read the Text Version

การประเมนิ ผลกอ นการดําเนินงาน โครงการเมอื งเกษตร เ สีเขยี ว จงั หวดั จันทบรุ ี สาํ นกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 6 สํานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ

การประเมินผลกอ นการดาํ เนินงาน โครงการเมือง เกษตรสีเขยี ว จังหวดั จนั ทบุรี เน้ือหาประกอบดวย ขอมลู พืน้ ฐานกอ นการดําเนนิ โครงการเมืองเกษตรสเี ขียว จงั หวัดจนั ทบรุ ี 4 ดาน ไดแก ดานสภาพแวดลอมและบรบิ ทของโครงการ ดา นการผลผลิต สินคาเกษตร ดานเศรฐกจิ และสังคม ดา นสขุ ภาพอนามัย ไดรับความรว มมือจาก - เกษตรกรท่ีเขารว มโครงการเมอื งเกษตรสเี ขียว ดานไมผ ล และดานประมง

การประเมินผลก่อนการดําเนินงาน โครงการเมอื งเกษตรสีเขียว จังหวดั จันทบรุ ี สํานกั งานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 6 สาํ นักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

การประเมนิ ผลก่อนการดําเนินงาน โครงการเมอื งเกษตรสีเขียว จังหวัดจนั ทบุรี โดย สาํ นักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 6 สาํ นักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

บทคดั ย่อ การประเมินผลก่อนโครงการเมืองเกษตรสีเขียวจังหวัดจันทบุรีท่ีมีความโดดเด่นด้านไม้ผลและ ประมงไดป้ ระเมินผลขอ้ มูลพ้ืนฐาน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านสภาพแวดลอ้ มและบริบทของโครงการ ด้านการผลิต สินค้าเกษตร ด้านเศรษฐกิจและสังคม และด้านสุขภาพอนามัย ข้อมูลสํารวจปีเพาะปลูก 2556/57 (1 เมษายน 2556 – 31 มีนาคม 2557) โดยสุ่มสมั ภาษณ์เกษตรกรท่ีเขา้ รว่ มโครงการเมืองเกษตรสีเขียวในปี 2557 จํานวน 85 ครัวเรือน แบ่งเป็นด้านไม้ผล จํานวน 55 ครัวเรือน และด้านประมง (กุ้ง) จํานวน 30 ครวั เรือน สรุปไดด้ งั น้ี ด้านสภาพแวดล้อมและบริบทของโครงการ อายุของหัวหน้าครัวเรือน เฉลี่ย 54 ปี ส่วนใหญ่มี ระดับการศึกษาตงั้ แตภ่ าคบังคบั (ป.4-ป.6) ขึ้นไป รอ้ ยละ 97.65 สว่ นใหญ่อยู่ในวัยแรงงานทัง้ หมด (อาย1ุ 5- 65 ปี) ร้อยละ 82 เป็นแรงงานนอกภาคเกษตรและแรงงานในภาคเกษตรมสี ัดสว่ นเท่ากัน หวั หน้าครัวเรือน เป็นสมาชิกกลุ่ม/สถาบันเกษตรกรหลายประเภทมากถึงร้อยละ 89.41 ส่วนใหญ่เป็นสมาชิกกองทุนหมู่บ้าน ธกส. สหกรณ์ อาชีพหลกั ของครวั เรอื น สว่ นใหญเ่ ปน็ เกษตรกรรม รอ้ ยละ 71.16 ด้านการผลิตสินค้าเกษตร เกษตรกรได้รับได้รับการถ่ายทอดความรู้เฉลี่ย 2 คร้ังต่อปีในเรื่องการ ปรบั ปรุงบํารุงดินและการพัฒนาท่ีดิน การทําเกษตรดีท่ีเหมาะสม (GAP) การทําเกษตรอินทรีย์ และการทํา ประมง ร้อยละ 80.00 46.48 28.57 และ 38.71 ตามลําดับ จึงมีเกษตรกรท่ีร่วมโครงการยังไม่ได้รับการ ถ่ายทอดความรู้ สว่ นใหญ่ไดร้ บั การถ่ายทอดความรแู้ ล้วนาํ ไปใช้ประโยชน์และไดร้ บั สนบั สนนุ ปจั จยั การผลติ การใช้สารเคมี/สารชีวภาพในการผลติ สนิ ค้าเกษตร ได้แก่ ทุเรยี น เงาะ และมังคดุ ท้งั 3 ชนดิ มเี น้ือ ท่ีปลูกรวม 555.25 ไร่ โดยมีการใช้ปุ๋ยคอก 247,447 กิโลกรัม หรือเฉลี่ยไร่ละ 445.65 กิโลกรัม ใช้ปุ๋ย อินทรยี ์ 74,747 กโิ ลกรัมหรือเฉลี่ยไร่ละ 134.62 กิโลกรมั ปุ๋ยเคมี 63,633 กิโลกรมั หรือเฉลีย่ ไร่ละ 114.60 กิโลกรัม สารฆ่าแมลงยาปราบศัตรูพืช 894 ลิตรหรือเฉล่ียไร่ละ 1.61 ลิตร ยาปราบวัชพืช 720 ลิตรหรือ เฉลี่ยไร่ละ 1.30 ลิตร ฮอร์โมน 1,432 ลิตรหรือเฉล่ียไร่ละ 2.58 ลิตร สารปรับปรุงบํารุงดิน 2,580 กิโลกรัมหรือเฉล่ียไร่ละ 4.65 กิโลกรัม ส่วนการผลิตกุ้งมีเน้ือที่ฟาร์ม 364.75 ไร่ มีต้นทุนค่าวัสดุอุปกรณ์ การเกษตรรวม 24,689,786 บาทหรือเฉลี่ยไร่ละ 67,690 บาท และต้นทุนค่าจ้างแรงงานรวม 1,404,985 บาทหรือเฉล่ียไร่ละ 3,852 บาท รวมเป็นต้นทุนท้ังหมด 26,094,771 บาทหรือเฉล่ียไร่ละ 71,542 บาท ส่วนผลผลิตต่อไร่ได้แก่ เงาะ 2,380.92 กิโลกรัม รองลงมามังคุด 1,613.83 กิโลกรัม ทุเรียน 1,192.91 กิโลกรัม และกุ้ง 454.70 กิโลกรมั การผลิตเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ก่อนเข้าร่วมโครงการมีเกษตรกรท่ีทําการผลิตที่เป็นมิตร ส่งิ แวดล้อม จาํ นวน 74 ราย คดิ เป็นรอ้ ยละ 87.06 และไม่ทาํ 11 ราย คิดเปน็ รอ้ ยละ 12.94 โดยเกษตรกรที่ ดาํ เนนิ การผลิตทีเ่ ปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ มสว่ นใหญ่ แยกขยะท่ีไม่ใชแ้ ลว้ จากครัวเรือน รอ้ ยละ25.37 รองลงมา การใช้สารอินทรีย์เพ่ือลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร ร้อยละ22.93 และนําส่ิงที่เหลือใช้มาผลิตปุ๋ยหมัก ชีวภาพ รอ้ ยละ 19.02 พื้นท่ีและเกษตรกรท่ีได้รับรองมาตรมาตรฐาน GAP และเกษตรอินทรีย์ เกษตรกรที่ได้รับรอง มาตรฐาน GAP ร้อยละ 96.47 โดยแบ่งเป็น ไม้ผลร้อยละ 83.64 ประมง (กุ้ง) ร้อยละ 96.67 พื้นที่ท่ีผ่าน ข   

การรับรองมาตรฐานเป็นไม้ผล 494.75 ไร่ ประมง(กุ้ง) 389.25 ไร่ และมีเกษตรที่ได้รบั รองมาตรฐานเกษตร อนิ ทรยี ์ จาํ นวน 3 ราย มพี ้ืนท่ี 36.13 ไร่ การตลาด เกษตรกรส่วนใหญ่รอ้ ยละ 84.34 ไม่ทราบว่าในจังหวัดไม่มีแหล่งจําหน่ายสินค้าเกษตรท่ี ผา่ นการรบั รอง GAP หรอื เกษตรอนิ ทรยี ์ และเกษตรกรร้อยละ 13.25 คิดว่าในจงั หวัดมีแหล่งจําหน่ายสนิ ค้า เกษตรท่ีผ่านการรับรอง GAP หรือเกษตรอนิ ทรีย์ และไม่ทราบร้อยละ 2.41 ส่วนใหญ่ไม่ได้นําผลผลิตท่ีผ่าน การรับรอง GAP หรือเกษตรอินทรีย์ไปจําหน่ายในตลาดเกษตรกรร้อยละ 82 ควรเพ่ิมช่องทางการส่ือสาร ประชาสมั พันธใ์ ห้มากขน้ึ ดา้ นเศรษฐกิจและสังคม การถอื ครองท่ดี ินส่วนใหญ่เป็นของตนเองรอ้ ยละ 88.93 สมาชิกมีรายได้ เฉล่ยี ต่อครวั เรอื นตอ่ ปี 619,954 บาท ส่วนใหญม่ าจากรายไดห้ ลกั ทางการเกษตร 513,023 บาท และรายได้ นอกการเกษตร 106,931 บาท ซึ่งส่วนใหญ่มาจากเงินเดือนของสมาชิกในครัวเรือน ด้านรายจ่ายเฉลี่ยต่อ ครัวเรือนต่อปี 484,367 บาท เป็นรายจ่ายของทางการเกษตร 113.753 บาทและรายจ่ายนอกการเกษตร 327,409 บาท มีมูลค่าของทรัพย์สิน 8,607,809 บาทต่อครัวเรือนต่อปี ส่วนมูลค่าหน้ีสิน 280,316 บาท ตอ่ ครวั เรอื นต่อปี แบง่ เปน็ หน้ีสนิ ในระบบ 277,846 บาท และหน้ีนอกระบบ 2,470 บาท ด้านสุขภาพอนามัย สมาชิกในครัวเรือนได้รับการตรวจสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในเลือด ร้อยละ 69.77 และไม่ได้รับการตรวจสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในเลือด ร้อยละ 30.23 เหตุผลเพราะ สว่ นใหญไ่ ม่มเี วลาไปและจ้างคนอน่ื พ่นยา ทัง้ น้ี สมาชกิ ในครัวเรอื นทีไ่ ด้รับการตรวจไม่พบสารเคมตี กค้างใน เลือดร้อยละ 80 และพบสารเคมีตกค้างในเลือด ร้อยละ 20 และมีการเจ็บป่วยของคนในครัวเรือนจาก สารเคมีทางการเกษตรที่ตกค้างในร่างกายร้อยละ 25 ของสมาชิกท่ีพบสารเคมีในเลือด โดยได้รับการตรวจ เฉลยี่ ครวั เรือนละ 2 คน ข้อเสนอแนะ จากผลการประเมินก่อนโครงการของเมืองเกษตรสีเขียวจังหวัดจันทบุรีส่วนใหญ่ สมาชิกเกษตรกรมีความสนใจใฝ่เรียนรู้และพัฒนาตนเองพัฒนาสินค้าอย่างต่อเนื่องและมีความมั่นคงด้าน เศรษฐกิจและสังคมนับเป็นจุดแข็งท่ีสําคัญของการพัฒนาจันทบุรีเมืองเกษตรสีเขียวในข้ันต่อไป ดังนั้น หน่วยงานทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาชนควรร่วมมือบูรณาการงานตามภารกิจให้เกิดโครงการ พัฒนาจันทบุรีเมืองเกษตรสีเขียว ประกอบด้วย การพัฒนาคนในเมืองเกษตรควรอบรมต่อยอดเสริมสร้าง เครือข่ายเน้นการทํางานเป็นกลุ่มให้ฝึกปฏิบัติอย่างสม่ําเสมอและใช้เทคโนโลยี(Social Network)มาช่วย สื่อสารกระจายข่าวสาร องค์ความรู้ให้กับสมาชิกเพ่ือเสริมแรงขับเคล่ือนเชิงบวกรวมท้ังเป็นช่องทางการรับ ฟังความคิดเห็นข้อเสนอแนะจากสมาชิกโดยการยึดเกษตรกรเป็นศูนย์กลาง การพัฒนาสินค้าควรถ่ายทอด เทคนิคการผลิตเพิ่มมูลค่าผลผลิตหรือจับคู่เครือข่ายธุรกิจ ผู้ประกอบการทําการแปรรูปท่ีเป็นมิตรต่อ สุขภาพ เป็นมิตรต่อผู้บริโภค การพัฒนาเมืองเกษตร ด้านแหล่งน้ํา เช่น ขุดลอกคลองธรรมชาติและลําน้ํา สาขา การสร้างระบบท่อส่งนํ้าหรือแหล่งกักเก็บน้ําต้นทุนสํารองในพื้นที่เพ่ือรองรับผลกระทบจาก การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ ค   

คํานํา โครงการเมอื งเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) เปน็ โครงการสาํ คญั (Flagship Project) ของ กระทรวงเกษตรฯ ที่สอดคล้องกับการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ประเทศในแนวทางที่ 9.2 การพัฒนาพื้นท่ีและเมือง เพ่ือเชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน (เมืองเกษตร) ซึ่งกระทรวงเกษตรฯได้ดําเนินการคัดเลือกพื้นท่ีเป้าหมายจังหวัดใน แต่ละภูมิภาคของประเทศที่มีความเช่ือมโยงกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อพัฒนา จังหวัดท่ีมีศักยภาพและความโดดเด่นในการผลิตสินค้าเกษตรให้เป็นเมืองเกษตรสีเขียว ที่มีรูปแบบการผลิต สินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมสอดคล้องกับวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถ่ิน สามารถส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรได้โดยคัดเลือกจังหวัดที่มีศักยภาพความโดดเด่นในการผลิตสินค้า เกษตรเป็นท่ียอมรับในวงกว้างรวม 6 จังหวัด คือ เชียงใหม่ ศรีสะเกษ หนองคาย ราชบุรี จันทบุรี และพัทลุง เพอ่ื ให้เปน็ ตัวแทนของจังหวดั ต้นแบบผลกั ดันให้เป็นเมืองเกษตรสเี ขยี ว จังหวัดจันทบุรีเมืองเกษตรสีเขียวมีความโดดเด่นด้านไม้ผลและประมง มีพ้ืนท่ีเชื่อมโยงติดต่อกับ ประเทศในประชาคมอาเซียนซึ่งสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 6 ในฐานะคณะทํางานขับเคลื่อนโครงการ เมืองเกษตรสีเขียวระดับจังหวัดจันทบุรี และมีภารกิจที่กําหนดไว้ในโครงการให้ทําหน้าท่ีติดตามและ ประเมินผล เห็นว่าโครงการเมืองเกษตรสีเขียวเป็นโครงการสําคัญของกระทรวงเกษตรฯ และมีการทํางาน ร่วมกันแบบบูรณาการเชิงพื้นท่ีของหน่วยงานในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กับภาคส่วนอ่ืนๆ จึงเห็นว่าควร จัดทําข้อมูลพ้ืนฐานของเกษตรกรก่อนการดําเนินงานโครงการ เพื่อไว้เปรียบเทียบกับการประเมินระหว่างมี โครงการและหลังสนิ้ สดุ โครงการตอ่ ไป กลุ่มวิจัยและประเมนิ ผล สํานกั งานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 6 ชลบรุ ี สงิ หาคม 2558 ง   

สารบญั หนา้ ข บทคดั ยอ่ ง คํานํา จ สารบญั ฉ สารบัญตาราง ช สารบญั ภาพ 1 บทท่ี 1 บทนาํ 1 1 1.1 หลักการและเหตุผล 1 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1 1.3 เป้าหมาย 2 1.4 ระยะเวลาดาํ เนินงาน และงบประมาณ 3 1.5 วธิ แี ละขั้นตอนการดําเนนิ งาน 4 1.6 หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ 5 1.7 ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะไดร้ ับ 5 บทท่ี 2 ระเบยี บวิธกี ารศกึ ษา 5 2.1 ความสาํ คญั ของการศึกษา 6 2.2 วตั ถุประสงค์ของการศกึ ษา 6 2.3 ขอบเขตการศึกษา 11 2.4 การตรวจสอบเอกสาร 16 2.5 วิธกี ารประเมนิ ผล 17 2.6 ผลทค่ี าดวา่ จะได้ 17 บทที่ 3 ผลการศกึ ษา 20 3.1 ดา้ นสภาพแวดสอ้ มและบรบิ ทของโครงการ 28 3.2 ด้านการผลิตสินคา้ เกษตร 30 3.3 ด้านเศรษฐกิจ และสงั คม 32 3.4 ดา้ นสุขภาพอนามยั 32 บทที่ 4 สรุป และขอ้ เสนอแนะ 36 4.1 สรปุ 37 4.2 ขอ้ เสนอแนะ 38 บรรณนานกุ รม คณะผจู้ ดั ทํา จ   

สารบญั ตาราง หนา้ 6 ตารางที่ 12 1 ประชากรของโครงการ 15 2 ประเดน็ และตวั ช้ีวดั 18 3 จํานวนตัวอยา่ ง 22 4 ขอ้ มลู ทวั่ ไปของครวั เรือน 25 5 การได้รบั การถา่ ยทอดความรู้ 25 6 การใชส้ ารเคมใี นการผลติ ทางการเกษตร 26 7 ต้นทนุ วสั ดอุ ปุ กรณแ์ ละค่าจ้างแรงงานการผลติ ประมง(กุง้ ) 26 8 การผลติ เป็นมติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม 27 9 ปริมาณผลผลติ ตอ่ ไร่ 28 10 จาํ นวนพ้นื ที่ จาํ นวนเกษตรกรที่ไดร้ บั รองมาตรมาตรฐาน GAP และเกษตรอนิ ทรีย์ 28 11 การตลาด 29 12 การใช้ประโยชน์ทาํ การเกษตร 30 13 รายได้ รายจา่ ย และรายไดส้ ทุ ธเิ ฉล่ยี ตอ่ ครัวเรือน 31 14 ทรัพยส์ ิน และหนส้ี ินของครวั เรือน 15 การตรวจสารเคมที างการเกษตรตกค้างในเลอื ด ฉ   

สารบญั ภาพ หนา้ ภาพที่ 11 1 ความสมั พันธข์ องการตดั สนิ ใจ และประเภทของการประเมินผล CIPP Model ช   

บทท่ี 1 บทนํา 1.1 หลักการและเหตุผล ภาคเกษตรของประเทศไทย มีความได้เปรียบทั้งในเชิงท่ีตั้งที่เหมาะสมสําหรับเป็นแหล่งผลิต ทางการเกษตรและอาหารที่สําคัญของโลกหรือการเป็นครัวโลก รวมทั้งความได้เปรียบของท่ีตั้งทาง ภูมิศาสตร์ท่ีสามารถติดต่อเช่ือมโยงกับกลุ่มประเทศในอนุภูมิภาคต่างๆ โดยเฉพาะประชาคมอาเซียน (AEC) ซ่ึงส่งผลให้ภาคการเกษตรของไทยมีศักยภาพในการพัฒนาไปสู่ความเป็นศูนย์กลางทางการค้า การลงทุน และการคมนาคมขนส่งภาคการเกษตรเช่ือมโยงระหว่างกลุ่มประเทศเพื่อนบ้านและนานาชาติ ได้มีประสทิ ธภิ าพ ทั้งนี้ เพื่อให้ภาคเกษตรของประเทศไทยได้มีการใช้ศักยภาพและข้อได้เปรียบ รวมทั้งโอกาสใน การผลิตทางการเกษตรและอาหารซ่ึงนําไปสู่ความเป็นอยู่ของเกษตรกรในพ้ืนที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความ มั่นคงด้านอาหาร และมีรายได้เพ่ิมข้ึนจากการผลิต ประกอบกับเพ่ือให้เกษตรกรในพ้ืนท่ีสามารถสร้าง รายได้จากการท่องเท่ียวในจังหวัด จึงมีการจัดทําโครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) ซง่ึ คัดเลือกจังหวัดเป้าหมายจากจงั หวัดที่มคี วามเชื่อมโยงกับ AEC ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ และมีความโดด เด่นในการผลิตสินค้าเกษตรเป็นที่ยอมรับในวงกว้าง ประกอบกับพิจารณาจากข้อมูลโครงสร้างเศรษฐกิจ และแนวทางการพัฒนากลุ่มจังหวัด/จังหวัด ของ สศช. และข้อมูลศักยภาพและตําแหน่งจุดยืนทาง ยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด/จังหวัด ของ กพร. โดยดําเนินการให้มีกระบวนการผลิตสินค้าเกษตรท่ีดีและ เหมาะสม (GAP) ทั้งพ้ืนที่ และการผลิตและแปรรูปอุตสาหกรรมเกษตรในพ้ืนที่มีการใช้เทคโนโลยีสะอาด ในการผลิตสู่เศรษฐกิจการเกษตรสีเขียว (Green and Cool Agricultural Economy) อาทิ การนําของ เหลือจากกระบวนการผลิตมาผลิตเป็นพลังงานชีวมวล หรือไบโอแมส (Biomass) และการลดของเสียใน กระบวนการผลติ ให้เป็นศูนย์ (Zero Waste) ท้ังนี้ มงุ่ เน้นในการสรา้ งรว่ มมือกบั จังหวดั และภาคส่วนตา่ งๆ ในจังหวัด และคํานึงถึงความเช่ือมโยงกับความต้องการของตลาดท้ังในและต่างประเทศ โดยใช้ศักยภาพ จากการเปน็ สนิ คา้ เกษตรเพื่อสง่ิ แวดลอ้ ม (Agriculture Ecoproducts) 1.2 วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาจังหวัดท่ีมีศักยภาพและความโดดเด่นในการผลิตสินค้าเกษตรให้เป็นเมืองเกษตรสี เขียว ที่รูปแบบการผลิตสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมสอดคล้องกับ วฒั นธรรมและภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่น สามารถสง่ เสรมิ การท่องเทยี่ วเชิงเกษตรได้ 1.3 เปา้ หมาย จํานวนจังหวัดได้รับการพัฒนาเป็นเมืองเกษตรสีเขียว จํานวน 6 เมือง ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ ศรีสะเกษ จนั ทบรุ ี ราชบรุ ี พทั ลุง และหนองคาย 1.4. ระยะเวลาดําเนนิ งานโครงการ และงบประมาณ 1) ระยะเวลา 5 ปี (ปี 2557 -2560) 2) งบประมาณดาํ เนินการ ปงี บประมาณ 2557 จาํ นวน 432.151 ลา้ นบาท 1

1.5 วธิ แี ละขั้นตอนการดําเนนิ งาน 1) จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) ใน 6 จังหวัด เป้าหมาย เพื่อนําเสนอแนวทางในการพัฒนาเมืองเกษตรสีเขียว ซ่ึงมีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นเพ่ือ ปรับปรงุ แนวทางพฒั นากอ่ นดําเนินการจรงิ 2) การพัฒนาเมอื งเกษตรสเี ขยี ว มแี นวทางดําเนนิ งาน ดงั นี้ (1) การพัฒนากิจกรรมกลุ่มต้นน้ํา ด้วยการมุ่งเน้นการพัฒนาการผลิตสินค้าเกษตร เศรษฐกิจท่ีสําคัญให้มีประสิทธิภาพ โดยการนําแนวคิดทางด้านโซ่คุณค่า (Value Chain) โดยมุ่งเน้นให้ เกษตรกรและผู้ประกอบการท่ีเก่ียวข้องในสินค้าเกษตรท่ีโดดเด่นในจังหวัดนั้นมีกระบวนการผลิตสินค้า เกษตรท่ีดีและเหมาะสม (GAP) ทั้งพ้ืนที่ ทั้งน้ี ให้มีการจัดหาแหล่งเงินทุนในการพัฒนาการผลิตสินค้า เกษตร และกําหนดมาตรการในการช่วยเหลือเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบแก่เกษตรกรในพ้ืนที่ อาทิ ธ.ก.ส. กองทุน FTA และ กองทุน กชก. เปน็ ตน้ ซึง่ มีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังตอ่ ไปน้ี - บรหิ ารจัดการนํา้ เพอ่ื เกษตรในสนิ คา้ เกษตรเศรษฐกิจท่สี ําคญั - พัฒนาและปรบั ปรุงดินเพื่อการเกษตร - สง่ เสริมการใชส้ ารเคมีในการเกษตรและปยุ๋ รวมเครอ่ื งจกั รกลการเกษตรที่ถูกตอ้ ง - จัดทําทะเบียนเกษตรกร / ข้อมูลเกษตรกรรายแปลง / บัตรเครดติ เกษตรกร - ฝึกอบรมเกษตรกรให้มีความรู้ด้านการผลิตสินค้าเกษตรที่ดีและเหมาะสม (GAP) พรอ้ มจัดหาเกษตรกรผปู้ ระสบความสาํ เรจ็ ในการเกษตร เพอื่ เปน็ แหลง่ สอนงานโดยผมู้ ีประสบการณ์ - ส่งเสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยสี ะอาดในการผลติ (Biomass/Zero Waste) ในฟาร์ม - การตรวจสอบรับรองฟาร์ม โดยการสนับสนุนเอกชนเข้ามาเป็นหน่วยรับรอง (Certification Body: CB) เสรมิ หน่วยงานรบั รองภาครัฐในพืน้ ที่เพ่อื ความถกู ต้องและรวดเรว็ - ตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) และการสุ่มตัวอยา่ งในระดบั ไร่นาแบบเขม้ ขน้ - แหล่งเงินหรือกองทุนในการสนับสนุนปรบั เปล่ียนและปรับปรุงการผลิตสินค้าเกษตรให้ เป็นไปตามมาตรฐานตา่ งๆ - การตรวจสขุ ภาพเกษตรกรในพน้ื ที่เพ่ือตรวจหาสารเคมีตกคา้ งในร่างกาย (2) การพัฒนากิจกรรมกลุ่มกลางน้ํา ด้วยการส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมเกษตรในพื้นที่ให้มีความสามารถในการแข่งขันและมีการปรับปรุงการผลิต ด้วยการใช้ เทคโนโลยีสะอาดในการผลิตมุ่งเน้นการดําเนินงานด้านเศรษฐกิจการเกษตรสีเขียว (Green and Cool- Agricultural Economyท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม เพื่อลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาค การเกษตร ซ่ึงจะทําให้เกิดภาวะโลกร้อน อาทิ การนําวัสดุดิบทางการเกษตรที่เหลือจากกระบวนการผลิต มาเป็นพลังงานชีวมวล (Biomass) การลดของเสียในกระบวนการผลิตให้เป็นศูนย์ (Zero Waste) และ การจัดทําฟุตพร้ิน (Footprint) ในสินค้าเกษตร ทั้งน้ี ให้มีการช่วยเหลือด้านเทคโนโลยีและแหล่งเงินทุน ในการปรับปรุงการผลิตของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเกษตรด้วย อาทิ สถาบันการเงิน BOI และ SME ซ่งึ มีแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ดงั ต่อไปนี้ - ขนึ้ ทะเบยี นโรงงานและสถานประกอบการแปรรปู สินค้าเกษตร - ฝึกอบรมแก่เกษตรกรและผู้ประกอบการให้มีความรู้ด้านการแปรรูปสินค้าเกษตรที่ดี และเหมาะสม และแนวคดิ การผลิตสนิ คา้ เกษตรที่เป็นมติ รตอ่ ส่งิ แวดล้อม 2  

- การตรวจสอบรับรองฟาร์ม/โรงงาน โดยการสนับสนุนเอกชนเข้ามาเป็นหน่วยรับรอง (Certification Body: CB) เสรมิ หน่วยงานรบั รองภาครฐั ในพืน้ ทีเ่ พือ่ ความถกู ตอ้ งและรวดเร็ว - สง่ เสริมการใชเ้ ทคโนโลยสี ะอาดในการผลิต (Biomass/Zero Waste) ในโรงงาน - จัดทําฟุตพริ้น (Footprint) ในสินค้าเกษตร อาทิ คาร์บอนฟุตพร้ินท์ (Carbon Footprint) และฟตุ พรน้ิ ทน์ าํ้ (Water Footprint) - ตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) และการสุ่มตวั อย่างในระดับโรงงานแบบเขม้ ขน้ - การกําหนดมาตรการช่วยเหลือด้านเทคโนโลยีและแหล่งเงินทุนในการปรับปรุงการ ผลติ ของผ้ปู ระกอบการให้เปน็ ท่เี ป็นมิตรต่อส่งิ แวดลอ้ ม (3) การพัฒนากิจกรรมกลุ่มปลายนํ้า ด้วยการส่งเสริมการเป็นเมืองแห่งการสร้าง เศรษฐกิจสร้างสรรค์ในภาคเกษตรเช่ือมโยงตลาดทั้งในและต่างประเทศ รวมท้ังตลาดประชาคมอาเซียน (AEC) โดยการใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญา เอกลักษณ์ วัฒนธรรมด้านการเกษตรในท้องถิ่น เพ่ือสร้าง โอกาสให้เกษตรกร และผู้ประกอบการแปรรูปด้านการเกษตร เกิดแนวคิด ทักษะ และองค์ความรู้ใน การสร้างสรรค์สินค้าและบริการรูปแบบใหม่ให้มีจุดเด่น และสามารถต่อยอดเพ่ือตอบสนองความต้องการ ของตลาดและก้าวทันต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก รวมท้ังส่งเสริมการเป็นเมืองท่องเที่ยวเชิง เกษตร (Agrotourism) เพื่อเป็นพื้นท่ีแห่งการเรียนรู้ด้านการเกษตรและวิถีการดํารงชีวิต วัฒนธรรม ประเพณี และเป็นการนําเอาทรัพยากรท่ีมีอยู่ให้เกิดการเรียนรู้มาทําให้เกิดประโยชน์ก่อให้เกิดรายได้ต่อ เกษตรกรและชมุ ชน ซึ่งมแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ดงั ต่อไปนี้ - จัดตั้งร้าน Q shop และร้านจําหน่ายสินค้าชุมชนเพื่อจําหน่ายสินค้าเกษตรเพื่อ สิง่ แวด (Agriculture Ecoproducts) ระดับอาํ เภอ และจงั หวัด (Q shop) - ส่งเสริมทอ่ งเที่ยวเชงิ เกษตร (Agrotourism) เพ่อื การเรยี นรู้ด้านการเกษตรและวิถชี ีวิต วฒั นธรรม ประเพณที อ้ งถ่นิ และการผลิตสนิ คา้ เกษตรทเ่ี ปน็ มิตรตอ่ สง่ิ แวดล้อม - สร้างตลาดสินค้าเกษตรสิ่งแวดล้อมของจังหวัดสู่ตลาดต่างประเทศและตลาดอาเซียน (AEC) - ส่งเสริมการจัดการของเสียจากสถานประกอบการ (Food Waste) เป็นพลังทดแทนสู่ การสร้างโรงไฟฟา้ 1 ตาํ บล - ส่งเสริมงานวิจัยท้องถิ่นในการนําภูมิปัญญา เอกลักษณ์ วัฒนธรรมด้านการเกษตรใน ทอ้ งถิ่นมาตอ่ ยอดสร้างโอกาสทางเศรษฐกจิ - ตรวจสอบยอ้ นกลับ (Traceability) และการส่มุ ตวั อยา่ งในระดับผบู้ รโิ ภคแบบเข้มขน้ - การตรวจสขุ ภาพประชาชนในพื้นที่เพอ่ื ตรวจหาสารเคมีตกคา้ งในรา่ งกาย - จัดทําข้อมลู ผลิตภณั ฑม์ วลรวมจังหวดั (GPP) ภาคเกษตรและอตุ สาหกรรมเกษตร 3) ติดตามและประเมินผลยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) ทงั้ น้ี ให้มีการศึกษาและรวบรวมข้อมลู ที่เกย่ี วขอ้ ง 1.6 หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ กรมสง่ เสรมิ การเกษตร กรมปศุสตั ว์ กรมพฒั นาทดี่ นิ กรมประมง กรมวชิ าการเกษตร กรมการ ข้าว กรมสง่ เสริมสหกรณ์ กรมหม่อนไหม สํานักมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแหง่ ชาติ สาํ นกั งาน เศรษฐกิจการเกษตร และองคก์ ารตลาดเพ่ือเกษตรกร 3  

1.7 ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ 1) ผลผลิตของโครงการ (output) จังหวัดทไ่ี ดร้ บั การพัฒนาเปน็ เมอื งเกษตรสีเขยี ว (Green Agriculture City) จาํ นวน 6 เมือง 2) ผลลัพธ์ของโครงการ (outcome) (1) เกษตรกรและประชาชนในพ้ืนท่ีมีความปลอดภัยจากสารตกค้างในสินค้าเกษตร (Agricultural residues) (2) มลพษิ ที่เกดิ จากกระบวนการผลติ สินค้าเกษตรและอตุ สาหกรรมเกษตรลดลง (3) ผลิตภณั ฑม์ วลรวมจังหวดั (GPP) ภาคเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรเพิม่ ข้นึ 4  

บทที่ 2 ระเบยี บวธิ กี ารศึกษา 2.1 ความสําคญั ของการศึกษา กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กําหนดให้โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) เป็นโครงการสําคัญ (Flagship Project) ของกระทรวงเกษตรฯ ที่สอดคล้องกับการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ ประเทศในแนวทางที่ 9.2 การพัฒนาพ้ืนที่และเมืองเพ่ือเช่ือมโยงโอกาสจากอาเซียน (เมืองเกษตร) ซึ่งกระทรวง เกษตรฯได้ดาํ เนินการคัดเลือกพ้ืนที่เปา้ หมายจังหวัดในแต่ละภูมิภาคของประเทศที่มีความเชื่อมโยงกับ AEC ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นจังหวัดที่มีศักยภาพความโดดเด่นในการผลิตสินค้าเกษตรเป็นท่ียอมรับใน วงกว้างรวม 6 จังหวัด คือ เชียงใหม่ ศรีสะเกษ หนองคาย ราชบุรี จันทบุรี และพัทลุง เพื่อให้เป็นตัวแทนของ จังหวัดต้นแบบผลักดันให้เป็นเมืองเกษตรสีเขียว และพัฒนาให้เป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงเกษตร โดย กําหนดการขับเคลื่อนโครงการเมืองเกษตรสีเขียว ให้มีการบูรณาการร่วมของหน่วยงานภายในกระทรวง เกษตรฯ และหน่วยงานภายนอกกระทรวงเกษตรฯ โดยการจัดสัมมนารับฟังความคิดเห็นแนวทาง การดําเนินงานใน 6 จังหวัดเป้าหมายจากเจา้ หนา้ ท่ี นักวชิ าการ ทงั้ สว่ นกลาง และจังหวดั รวมท้ังเกษตรกร และผ้ปู ระกอบการในพ้ืนท่ี โครงการเมืองเกษตรสีเขียวมวี ตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือพัฒนาจงั หวัดท่ีมศี กั ยภาพและความโดดเดน่ ในการผลิต สินค้าเกษตรให้เป็นเมืองเกษตรสีเขียว ท่ีมีรูปแบบการผลิตสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรท่ีเป็นมิตร ตอ่ สิ่งแวดล้อมสอดคล้องกับวัฒนธรรมและภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นสามารถส่งเสริมการทอ่ งเทีย่ วเชงิ เกษตรได้ ซ่ึง แนวทางการดําเนินการให้หน่วยงานในพื้นท่ีร่วมกันคัดเลือกพื้นที่เป้าหมายที่มีศักยภาพท่ีสามารถจะขับเคลื่อน ให้เป็นพื้นท่ีสีเขียว และประสานความร่วมมือจากทุกภาคส่วนให้มีกระบวนการผลิตสินค้าเกษตรท่ีดีและ เหมาะสม (GAP) ท้ังพื้นที่ และการผลิตแปรรูปอุตสาหกรรมเกษตรที่มีการใช้เทคโนโลยีสะอาดในการผลิตสู่ เศรษฐกิจการเกษตรสีเขียว (Green and Cool Agricultural Economy)เช่น การนําของเหลือจากกระบวนการ ผลิตมาผลิตเป็นพลังงานชีวมวล หรือไบโอแมส (Biomass) และการลดของเสียในกระบวนการผลิตให้เป็นศูนย์ (Zero Waste) ทั้งนี้ มุ่งเน้นในการสร้างความร่วมมือกับจังหวัดและภาคส่วนต่างๆ ในจังหวัดและคํานึงถึง ความเช่ือมโยงกับความต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ โดยใช้ศักยภาพจากการเป็นสินค้าเกษตร เพ่ือสิง่ แวดลอ้ ม (Agriculture Ecoproducts) สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยศูนย์ประเมินผล มีภารกิจที่กําหนดไว้ในโครงการให้ทําหน้าที่ ติดตามและประเมินผล เห็นว่าโครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City)เป็นโครงการสําคัญ (Flagship Project) ของกระทรวงเกษตรฯ และมีการทํางานร่วมกันแบบบูรณาการเชิงพ้ืนที่ของหน่วยงาน ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กับภาคส่วนอื่นๆ จึงเห็นว่าควรจัดทําข้อมูลพ้ืนฐานของเกษตรกรก่อน การดําเนินงานโครงการ เพอื่ ไวเ้ ปรียบเทยี บกบั การประเมนิ ระหวา่ งมโี ครงการและหลงั สน้ิ สดุ โครงการตอ่ ไป 2.2 วตั ถุประสงค์ของการศกึ ษา 2.2.1 เพอื่ ใชเ้ ปน็ ข้อมลู ในการเปรยี บเทียบกับการประเมินผลในระยะตอ่ ไป 2.2.2 เพื่อทราบถึงปัญหาและอุปสรรค ใช้ประกอบเป็นแนวทางการแก้ไข ปรับปรุง การดําเนินงาน โครงการให้ประสบผลสําเร็จตอ่ ไป 5

2.3 ขอบเขตของการศกึ ษา 2.3.1 ด้านพ้ืนท่ีเป้าหมายได้แก่พ้ืนที่โครงการเมืองเกษตรสีเขียว จังหวัดเชียงใหม่ ราชบุรี ศรสี ะเกษ หนองคาย จันทบุรี และพทั ลงุ 2.3.2 ประชากรเป้าหมาย เกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการในปี 2557 โดยจัดทําข้อมูลพื้นฐานของ เกษตรกรในกิจกรรมต้นน้ําของโครงการฯ คือการพัฒนาด้านการผลิตสินค้าเกษตรที่สําคัญให้มี ประสิทธิภาพ (ตารางท่ี 1) ตารางท่ี 1 ประชากรของโครงการ หน่วย : ราย. กิจกรรม เชียงใหม่ ศรสี ะเกษ จันทบรุ ี พทั ลงุ หนองคาย ราชบรุ ี รวม ดา้ นพชื 480 420 380 360 280 320 2,240 ด้านประมง 260 250 1,500 260 257 260 2,787 ดา้ นปศุสัตว์ - - - - 8 14 22 ดา้ นหมอ่ นไหม 60 80 - - 19 - 159 รวม 800 750 1,880 620 564 594 5,208 2.3.3 ระยะเวลาข้อมูลได้แก่ ข้อมูลพ้นื ฐานของเกษตรกรปีเพาะปลูก 2556/57 (1 เมษายน 2556 – 31 มีนาคม 2557) 2.4 การตรวจสอบเอกสาร 2.4.1 การตรวจสอบเอกสาร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2557) ทําการศึกษาภาวะเศรษฐกิจสังคมครัวเรือน เกษตรภายใต้พ้ืนที่โครงการพัฒนาการเกษตรครบวงจรในพื้นที่ท่ีมีศักยภาพจังหวัดเชียงใหม่ตัวอย่าง 114 ครัวเรือนพบว่า หัวหน้าครัวเรือนเกษตรส่วนใหญ่มีอายุในช่วง 51-60 ปี คิดเป็นร้อยละ 48.39 วุฒิ การศึกษาส่วนใหญ่จบการศึกษาในระดับประถมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 74.19 อาชีพหลัก คือ อาชีพ เกษตรกรรม โดยมีจํานวนสมาชิกและแรงงานในครัวเรือนเกษตรเฉลี่ย 3.90 คน/ครัวเรือน ในส่วนน้ีเป็น แรงงานในภาคเกษตร 1.84 คน/ครัวเรือนการใช้ท่ีดินในกิจกรรมการเกษตรมีพื้นที่ทําการเกษตรคิดเป็น ร้อยละ 191.94 ประสิทธิภาพการใช้ท่ีดินในฤดูฝนและฤดูแล้งคิดเป็นร้อยละ 92.54 และ 54.27 พืชท่ี สําคัญคือ พืชผัก พืชไร่ ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง การใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ําที่ใช้ทางการเกษตรในพ้ืนท่ี โครงการ พบว่าทุกกิจกรรมใช้ประโยชน์จากนํ้าชลประทานเป็นหลัก ด้านรายได้เงินสดเกษตร ครัวเรือน เกษตรมีรับรายได้เงินสดจากการเลี้ยงปศุสัตว์เฉลี่ย 427,537.42 บาท/ครัวเรือนรองลงมาจากพืช 38,544.99 บาท/ครัวเรือน และมีรายจ่ายเงินสดจากการเล้ียงสัตว์จํานวน 219,875 บาท/ครัวเรือน รองลงมารายจ่ายเงินสดจากการปลูกพืชจํานวน 17,212.45 บาท/ครัวเรือน โดยมีรายได้สุทธิเกษตรจาก การเล้ียงปศุสัตว์เป็นจํานวน 195,530.03 บาท/ครัวเรือน และรายได้สุทธิเกษตรจากการปลูกพืชเป็น จํานวน 46,962.59 บาท/ครัวเรือนสําหรับความคาดหวังของครัวเรือนหลังจากมีโครงการฯ เห็นว่าเกิด ประโยชน์มากร้อยละ 70.97 ส่วนปัญหาเก่ียวกับการใช้น้ําเพื่อการเกษตร ครัวเรือนมีปัญหาคิดเป็นร้อยละ 67.74 การเป็นสมาชิกกลุ่มผู้ใช้นํ้าครัวเรือนเกษตรเป็นสมาชิกกลุ่มผู้ใช้น้ําร้อยละ 100 ครัวเรือนเกษตรมี 6  

ค่าใช้จ่ายในการจัดหานํ้าคิดเป็นร้อยละ 35.48 การได้สนับสนุนปัจจัยการผลิตครัวเรือนเกษตรได้รับ การสนับสนุนฯ ร้อยละ 19.35 การได้รับการบริการครัวเรือนเกษตรท่ีได้รับบริการมีร้อยละ 16.13 การได้รับการถ่ายทอดความรู้ด้านการเกษตรและสหกรณ์ ครัวเรือนเกษตรท่ีได้รับการถ่ายทอดความรู้คิด เป็นร้อยละ 29.03 การประสบปัญหาด้านการเกษตรคิดเป็นร้อยละ 22.58 ปัญหาท่ีพบเช่น ปัญหาด้าน การผลิต (เพล้ีย) ปัญหาจํานําข้าวไม่ได้เงิน ไม่ได้เข้าร่วมโครงการรับจํานํา ไม่มีตลาดรองรับผลไม้ และภัย แล้ง เป็นต้นด้านความสนใจในการประกอบอาชีพภายหลังมีโครงการฯ ครัวเรือนเกษตรต้องการทํา กิจกรรมเพิ่มร้อยละ 45.16 ส่วนความต้องการรายได้เสริมครัวเรือนเกษตรต้องการรายได้เสริมร้อยละ 19.35 สําหรับความเข้มแข็งของชุมชนในพื้นท่ีโครงการฯ ครัวเรือนเกษตรร้อยละ 67.75 เห็นว่าชุมชนมี ความเข้มแข็ง เพราะชุมชนมีความสามัคคีและสามารถพ่ึงพาตนเองได้ สํานักงานสถิติแห่งชาติ (2557) ทําการสํารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมครัวเรือน ในปี 2557 เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างของสมาชิกในครัวเรือน ค่าใช้จ่าย ลักษณะที่อยู่อาศัย ตลอดจนการได้รับสวัสดิการ/ความช่วยเหลือจากรัฐ และการใช้บริการของภาครัฐ โดยทําการเก็บรวบรวม ขอ้ มลู ทกุ เดือน (มกราคม – ธันวาคม 2557) จากครวั เรือนตวั อย่างในทุกจงั หวดั ทั่วประเทศ ท้ังในเขตเทศบาล และนอกเขตเทศบาลจํานวน 52,000 ครัวเรือน พบว่า 1) ค่าใช้จ่ายของครัวเรือน มีค่าใช้จ่ายเฉล่ียเดือนละ 20,892 บาท ค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ ร้อยละ 33.90 เป็นค่าอาหารเครื่องด่ืม และยาสูบ รองลงมาเป็นค่าที่อยู่อาศัย และ เครื่องใช้ภายในบ้านร้อยละ 20.00 2) การเปรียบเทียบประเภทค่าใช้จ่ายของครัวเรือน (ปี 2555 – 2557) มี ค่าใชจ้ ่ายเกี่ยวกับการอปุ โภคบริโภคในครัวเรือนลดลง ได้แก่ คา่ อาหารเคร่อื งดืม่ และยาสบู ค่ายานพาหนะ และการเดินทาง ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ ค่าที่อยู่อาศัยและเครื่องใช้ภายในบ้าน 3) การเปรียบเทียบค่าใช้จ่าย ของครัวเรือน รายภาค (ปี 2555 – 2557) ในปี 2557 กรุงเทพฯ และ 3 จังหวัด คือ นนทบุรี ปทุมธานี และ สมทุ รปราการ มีคา่ ใชจ้ ่ายเฉล่ยี ต่อเดอื นของครัวเรอื นสูงสดุ คอื 31,606บาท รองลงมาเป็นครัวเรือนภาคกลาง ภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือซ่ึงมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยเดือนละ21,144 บาท 21,016 บาท และ 16,284 บาท ตามลําดับ 4) พฤติกรรมการบริโภคอาหารของครัวเรือน (ปี 2557) เป็นค่าใช้จ่ายเก่ียวกับอาหารและเครื่องด่ืม ท่ีไม่มีแอลกอฮอล์ท่ีบริโภคท่ีบ้านร้อยละ 72.10 ซึ่งสูงกว่าการบริโภคอาหารดังกล่าวนอกบ้านถึง 3.2 เท่า และมีค่าใช้จ่ายเก่ียวกับเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ และยาสูบอีกร้อยละ 3.3 และ 1.9 ตามลําดับ 5) การเปรียบเทียบการใช้จ่ายของครัวเรือนกลุ่มต่างๆในปี 2556 และ ปี 2557 แบ่งครัวเรือนท่ัวประเทศออกเป็น 5 กล่มุ เท่าๆกนั โดยเรียงลาํ ดับครัวเรอื นตามค่าใชจ้ ่ายอุปโภคบรโิ ภคตอ่ คนตอ่ เดอื นจากน้อยไปมาก (กลมุ่ ที่ 1 ค่าใช้จ่ายต่ําสุด และกลุ่มท่ี 5 ค่าใช้จ่ายสูงสุด) ความเหลื่อมลํ้าในด้านค่าใช้จ่ายเพ่ือการอุปโภคของกลุ่มคน ที่มีค่าใช้จ่ายสูงสุด (กลุ่ม 5 )มีส่วนแบ่งของการใช้จ่ายลดลงจากปี 2556 ร้อยละ 0.5 เช่นเดียวกับกลุ่มคนจน (กลุม่ 1) มีส่วนแบ่งของการใชจ้ ่ายลดลงจากปี 2556 คอื รอ้ ยละ 0.2 กลุ่มทีม่ กี ารใช้จา่ ยปานกลาง (กลุ่ม 2,3) มสี ว่ น แบ่งของการใช้จา่ ยเพ่ิมข้ึน สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2556) ทําการศึกษาเศรษฐกิจสีเขียวในบริบทของ ภาคการเกษตร พบว่า ภาคการเกษตรเป็นสาขาหนึ่งท่ีเป็นองค์ประกอบของเศรษฐกิจสีเขียว การดําเนิน เศรษฐกิจสีเขียวในบริบทของภาคเกษตร ควรคํานึงถึงการบูรณาการสามเสาหลักเช่นกัน เพ่ือให้เกิด การพัฒนาที่ยั่งยืน โดยต้องให้ความสําคัญกับ (1) พัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกร (2) การใช้/อนุรักษ์/ฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน และ (3) การสร้างความมั่นคงด้านอาหารและโภชนาการ สําหรับการดําเนินงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ท่ีผ่านมา พบว่า มีการดําเนินการ/แผนงานต่างๆที่ 7  

สอดคล้องกับแนวทางการดําเนินเศรษฐกิจสีเขียวท่ีมุ่งเน้นการพัฒนาที่ยั่งยืนอาทิ การประยุกต์แนวคิด ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้อยู่ในระบบของการทําเกษตรกรรมย่ังยืนในรูปแบบต่างๆ เช่น เกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรอินทรีย์ รวมถึงการพัฒนาพืชพลังงานทดแทน ปัจจุบัน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ยกร่างแผนพัฒนา การเกษตร ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) โดยได้บรรจุประเด็น เศรษฐกิจการเกษตรสีเขียว ประกอบด้วย 3 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกร ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 พฒั นาขดี ความสามารถในการผลติ การจดั การสนิ ค้าเกษตร และความมนั่ คงอาหาร และยทุ ธศาสตร์ ท่ี 3 พัฒนาทรัพยากรการเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพสมดุล และย่งั ยืน ซ่ึงมีวัตถปุ ระสงค์สอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย ของเศรษฐกิจสีเขียว อย่างไรก็ตาม เพ่ือเตรียมความพร้อมและการเปลี่ยนแปลงนโยบายให้สอดคล้องกับ การดําเนินงาน นโยบายเศรษฐกิจสีเขียวในบริบทของโลก กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ต้องเร่งสนับสนุน/ สง่ เสริมใหเ้ กิดการดําเนนิ การตา่ งๆ เพอ่ื เขา้ สู่เศรษฐกจิ สเี ขยี ว อาทิ สร้างการรบั รู้/การตระหนักถึง/และการมีส่วน ร่วมของทุกภาคส่วนท่ีเก่ียวข้องในการพัฒนาเศรษฐกิจสีเขียว ส่งเสริมและขยายผลการดําเนินงานของกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ทส่ี อดคลอ้ ง และ/หรือผลกั ดนั ให้เกิดเศรษฐกิจสีเขียว โดยผสมผสานกบั ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ อย่างเหมาะสม สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี-นวัตกรรมสีเขียวใหม่ๆ ที่เน้นการประหยัดทรัพยากรและเพิ่มผลผลิต ต่อไร่ เปน็ ต้น มุกดารัตน์ เพชรหนู (2550) ทําการศึกษาวิเคราะห์การกระจายรายได้ของครัวเรือน เกษตรในประเทศไทย พ.ศ. 2549 พบว่าจํานวนสมาชิกของครัวเรือนเกษตรในประเทศไทยมีขนาดของ ครัวเรือนเกษตรในประเทศไทย เฉล่ีย 3.57 คนต่อครัวเรือน หัวหน้าครัวเรือนเป็นชาย ร้อยละ 78.5 มีอายุ ระหว่าง 41 - 50 ปีมากท่ีสุดร้อยละ 29.0 และจบการศึกษาระดบั ประถมศึกษา ร้อยละ 64.0 ขนาดการ ถือครองท่ีดินน้อยกว่า 10 ไร่ มากที่สุด ร้อยละ 45.3 เป็นที่ดินของตนเอง/ท่ีดินของพ่อ แม่ ญาติพ่ีน้อง ร้อยละ 74.8 มีจํานวนแรงงานเฉลี่ย 2 คนต่อครัวเรือน และสัดส่วนการพึ่งพิงอยู่ระหว่าง 0.26 - 0.50 เม่ือพิจารณาระดับภาคมีลักษณะเช่นเดียวกันกิจกรรมการผลิตของครัวเรือนเกษตรในทุกภาคปลูกข้าวเป็น หลักยกเว้นครัวเรือนเกษตรในภาคใต้ที่ปลูกไม้ผล/ไม้ยืนต้นเป็นหลักรายได้ของครัวเรือนเกษตรมาจากแหล่ง รายได้ภาคการเกษตรมากถึงร้อยละ 67.8 รองลงมาเป็นรายได้ท่ีเป็นสิ่งของ ร้อยละ 15.6 และรายได้จาก นอกการเกษตร รอ้ ยละ 8.1 โดยครัวเรอื นเกษตรในภาคกลางมีรายไดเ้ ฉลีย่ สูงสุดเทา่ กับ 25,098 บาทต่อ ครัวเรือนต่อปี รองลงมาคือ ภาคใต้ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีรายได้ของครัวเรือนเกษตร ตาํ่ สุดรายไดเ้ ฉลย่ี เท่ากับ 24,508, 9,336 และ 8,060 บาทตอ่ ครวั เรอื นตอ่ ปี ตามลาํ ดบั สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2549) ทําการศึกษาข้อมูลพื้นฐานของเกษตรกรโครงการ พัฒนาพื้นท่ีลุ่มนํ้าปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชดําริ มีวัตถุประสงค์เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการเปรียบเทียบกับผล การประเมินระหวา่ งการดาํ เนินงานโครงการและหลังสิ้นสดุ โครงการ จากการศึกษาพบวา่ ครวั เรือนเกษตรกรมี พ้ืนท่ีถือครองทางการเกษตรเฉล่ีย 23.39 ไร่/ครัวเรือน ในจํานวนน้ีใช้เป็นพื้นท่ีทําการเกษตรเฉลี่ย 12.98 ไร่/ ครัวเรือน หรือร้อยละ 55 ของพื้นที่ทําการเกษตร พื้นท่ีว่างเปล่า 10.41 ไร่/ครัวเรือน หรือร้อยละ 45 สาเหตุที่ไม่ทําการเกษตรในพื้นที่ เพราะว่าได้รับผลกระทบจากนํ้าเค็มรุกล้ําเข้ามาในพ้ืนที่ ปัญหาดินเปร้ียว และดินเป็นกรดสงู ส่วนในพื้นที่ทําการเกษตรดังกล่าวใช้เป็นพ้ืนที่ทํานาเฉลี่ย 7.34 ไร่/ครวั เรือน นอกนั้นเป็น พื้นท่ีปลูกไม้ผล/ไม้ยืนต้นพืชไร่ พืชผัก บ่อปลา/บ่อกุ้ง และเลี้ยงปศุสัตว์ สําหรับข้าวได้ผลผลิตเฉล่ีย 448.41 กก./ไร่ เกษตรกรมีรายได้เงินสดรวมเฉลี่ยครัวเรอื นละ 209,733.73 บาท และรายจ่ายเงินสดรวมเฉล่ยี ครัวเรือน ละ 189,729.93 บาทหรือคิดเป็นรายได้เงินสดสุทธิในครัวเรือนเฉลี่ย 20,006.80 บาท/ครัวเรือน อย่างไรก็ตาม 8  

ครัวเรือนยังมีหน้ีสินค้างชําระเฉล่ียครัวเรือนละ 122,918.64 บาท โดยแหล่งเงินกู้ส่วนใหญ่มาจาก ธ.ก.ส. เกษตรกรมที รัพยส์ ินคดิ เปน็ มูลคา่ รวมเฉลีย่ ครัวเรอื นละ 1,176,218.49 บาท แบ่งเปน็ ทรพั ย์สนิ ทางการเกษตรเฉล่ีย ครัวเรือนละ 775,267.66 บาทและเป็นทรัพยส์ ินนอกการเกษตรเฉลยี่ ครัวเรอื นละ 400,950.83 บาท 2.4.2 แนวคิดและทฤษฎี 1) แนวคิดเกีย่ วกบั ประเภทของการประเมนิ ผลโครงการ บรรเทงิ มาแสง (2546) การประเมนิ ผลโครงการแบง่ ออกเป็น 3 ประเภท ตาม ระยะเวลาของโครงการ ดังนี้ (1) การประเมินผลก่อนการดําเนินงานโครงการ (Pre - Evaluation) เป็นการประเมินผล ก่อนท่ีจะเริ่มโครงการ วัตถุประสงค์ในการประเมินผลน้ี เพ่ือศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ โดย การวิเคราะห์ว่าผลท่ีได้ตามโครงการน้ัน คุ้มค่ากับการลงทุนหรือไม่ เป็นการวิเคราะห์เสนอต่อผู้มีหน้าที่ใน การอนุมตั โิ ครงการ (2) การประเมินผลระหว่างการดําเนินงานโครงการ (On-going Evaluation) เป็นการประเมินผลระหว่างการดําเนินงานตามโครงการ ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างผลผลิต ท่ีได้ (Output) กับผลกระทบในระยะสั้นของโครงการ (Effect) การประเมินผลในระยะนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ ปรับปรุงการดําเนินงานให้ดีขึ้น ซ่ึงจะเป็นการป้องกันไม่ให้โครงการล้มเหลว นอกจากน้ีบทเรียนท่ีได้จาก การประเมินผลยงั สามารถนําไปใชป้ ระโยชน์ในการจดั ทําโครงการอนื่ ๆ ท่มี ีลักษณะคล้ายกันได้ (3) การประเมินหลังโครงการสิ้นสุดแล้ว (Post Evaluation) การประเมินผลใน ลักษณะน้ีเป็นการประเมินผลกระทบ (Impact) อันเกิดจากการดําเนินงานตามโครงการ โดยเปรียบเทียบ ผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ระหว่างก่อนและหลังการดําเนินงาน เป็นการวิเคราะห์ว่าผลการดําเนินงาน นั้นเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ต้ังไว้หรือไม่ อย่างไร นอกจากน้ีบทเรียนซ่ึงไม่ว่าจะเป็นความสําเร็จหรือ ลม้ เหลวของโครงการ จะไดน้ ําไปประกอบพิจารณาแนวทางในการวางโครงการอื่นๆ ต่อไป 2) แบบจาํ ลองการประเมนิ ผล CIPP Model สตัฟเฟิลบีม ได้กําหนดประเด็นการประเมินผลออกเป็น 4 ประเภท ตามอักษร ภาษาอังกฤษตัวแรกของ CIPP Model ซงึ่ มีรายละเอยี ดดงั น้ี (1) การประเมินด้านบริบทหรือสภาวะแวดล้อม (Context Evaluation : C) เป็นการประเมินให้ไดข้ อ้ มลู สาํ คัญ เพ่ือชว่ ยในการกําหนดวัตถุประสงค์ของโครงการความเป็นไปได้ของโครงการ เป็นการตรวจสอบว่าโครงการท่ีจะทําสนองปัญหาหรือความต้องการจําเป็นที่แท้จริงหรือไม่ วัตถุประสงค์ของ โครงการชัดเจนเหมาะสม สอดคล้องกับนโยบายขององค์การ หรือ นโยบายหน่วยเหนือหรือไม่ เป็นโครงการที่มี ความเป็นไปได้ในแงข่ องโอกาสทีจ่ ะไดร้ ับการสนบั สนุนจากองคก์ รตา่ ง ๆ หรือไม่ เปน็ ต้น การประเมินสภาวะแวดล้อมจะช่วยในการตัดสินเกี่ยวกับเรื่องโครงการควรจะ ทําในสภาพแวดล้อมใด ตอ้ งการจะบรรลุเปา้ หมายอะไร หรอื ต้องการบรรลวุ ัตถุประสงคเ์ ฉพาะอะไร เป็นตน้ (2) การประเมินปัจจัยเบ้ืองต้นหรือปัจจัยป้อน (Input Evaluation : I ) เป็นการประเมินเพ่ือพิจารณาถึงความเป็นไปได้ของโครงการ ความเหมาะสม และความพอเพียงของ ทรัพยากรทจ่ี ะใช้ในการดาํ เนนิ โครงการ เช่นงบประมาณ บคุ ลากร วสั ดอุ ุปกรณ์ เวลา รวมท้ังเทคโนโลยีและ แผนการดําเนนิ งานเปน็ ต้น การประเมินผลแบบนี้จะทําโดยใช้ เอกสารหรืองานวิจัยท่ีมีผู้ทําไว้แล้ว หรือใช้ วิธีการวิจัยนําร่องเชิงทดลอง (Pilot Experimental Project) ตลอดจนอาจให้ผู้เช่ียวชาญ มาทํางานให้ 9  

อย่างไรก็ตาม การประเมินผลนี้จะต้องสํารวจส่ิงท่ีมีอยู่เดิมก่อนว่ามีอะไรบ้าง และตัดสินใจว่าจะใช้วิธีการ ใด ใช้แผนการดาํ เนินงานแบบไหน และต้องใชท้ รพั ยากรจากภายนอก หรอื ไม่ (3) การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation : P ) เป็นการประเมิน ระหว่างการดําเนินงานโครงการ เพ่ือหาข้อบกพร่องของการดําเนินโครงการ ที่จะใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุงให้การดําเนินการช่วงต่อไปมีประสิทธิภาพมากขึ้น และเป็นการตรวจสอบกิจกรรม เวลา ทรัพยากรท่ีใช้ในโครงการ ภาวะผู้นํา การมีส่วนร่วมของประชาชนในโครงการ โดยมีการบันทึกไว้เป็น หลักฐานทุกขั้นตอน การประเมินกระบวนการนี้ จะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการค้นหาจุดเด่น หรือจุด แข็ง (Strengths) และจุดด้อย (Weakness) ของนโยบาย/แผนงาน/โครงการ มักจะไม่สามารถศึกษาได้ ภายหลงั จากสน้ิ สุดโครงการแล้ว การประเมินกระบวนการจะมีบทบาทสําคัญในเร่ืองการให้ข้อมูลย้อนกลับเป็น ระยะ ๆ เพื่อการตรวจสอบการดําเนินของโครงการโดยทวั่ ไป การประเมนิ กระบวนการมีจดุ มุ่งหมายคือ (3.1) เพือ่ การหาข้อบกพร่องของโครงการ ในระหว่างท่ีมกี ารปฏิบัติการหรือการ ดาํ เนินงานตามแผนนน้ั (3.2) เพื่อหาข้อมูลต่าง ๆ ท่ีจะนํามาใช้ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการดําเนินงาน ของโครงการ (3.3) เพอ่ื การเกบ็ ขอ้ มูลตา่ ง ๆ ท่ีไดจ้ ากการดาํ เนนิ งานของโครงการ (4) การประเมินผลผลิต (Product Evaluation : P ) เป็นการประเมินเพ่ือ เปรียบเทียบผลผลิตที่เกิดขึ้นกับวัตถุประสงค์ของโครงการ หรือความต้องการ/เป้าหมายที่กําหนดไว้ รวมทั้งการพิจารณาในประเด็นของการยุบ เลิก ขยาย หรือปรับเปลี่ยนโครงการและการประเมินผล เรื่อง ผลกระทบ (Impact) และผลลัพธ์( Outcomes ) ของนโยบาย / แผนงาน / โครงการ โดยอาศัยข้อมูลจาก การประเมินสภาวะแวดล้อม ปัจจัยเบื้องต้นและกระบวนการร่วมด้วย จะเห็นได้ว่า การประเมินแบบ CIPP เป็นการประเมินที่ครอบคลุมองค์ประกอบของระบบท้ังหมด ซ่ึงผู้ประเมินจะต้องกําหนดวัตถุประสงค์ ของการประเมินที่ครอบคลุมท้ัง 4 ด้าน กําหนดประเด็นของตัวแปรหรือตัวช้ีวัด กําหนดแหล่งข้อมูลผู้ให้ ข้อมูล กําหนดเครื่องมือการประเมิน วิธีการที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล กําหนดแนวทางการวิเคราะห์ ขอ้ มูล และเกณฑ์การประเมนิ ทชี่ ัดเจน 10  

ประเภทของการประเมนิ ประเภทของการตดั สนิ ใจ การประเมินสภาพแวดลอ้ ม การตัดสนิ ใจเพอ่ื การวางแผน (Context Evaluation) (Planning Decisions) การประเมนิ ปัจจัยเบือ้ งตน้ /ตวั ป้อนเขา้ การตัดสินใจเพื่อกาํ หนดโครงสร้าง (Structuring Decisions) (Input Evaluation) การตดั สนิ ใจเพื่อนาํ โครงการปฏบิ ตั ิ การประเมินกระบวนการ (Implementating Decisions) (ProcessEvaluation) การตดั สนิ ใจเพื่อทบทวนโครงการ การประเมนิ ผลผลิต (Recycling Decisions) (Product Evaluation) ภาพท่ี 1 : ความสมั พนั ธข์ องการตัดสนิ ใจ และประเภทของการประเมนิ ผล CIPP Model 2.5 วธิ กี ารประเมินผล 2.5.1 รปู แบบและประเภทการประเมนิ ผล 1) รูปแบบการประเมินผล ได้ประยุกต์การประเมนิ ตามแบบจําลองการประเมินผลแบบ CIPP Modelโดยมีประเด็นการประเมิน ประกอบด้วย ด้านบริบทและสภาพทั่วไปของโครงการ ด้านปัจจัยเบื้องต้นหรือ ปจั จยั ปอ้ นเข้า และด้านเศรษฐกิจและสังคมของโครงการ 2) ประเภทการประเมินผล เป็นการประเมินก่อนการดําเนินงานโครงการ (Pre- Evaluation) โดยมีวัตถปุ ระสงค์ในการประเมินผล เพื่อศกึ ษาสภาพทว่ั ไปก่อนโครงการจะเริม่ ขึ้น 2.5.2 ประเด็น และตัวชว้ี ัด จากกรอบแนวคิดของการประเมินผลท่ีนํามาประยุกต์ใช้ ได้สร้างเป็นประเด็นที่ต้องการ ประเมินผล และตัวชีว้ ดั ดงั น้ี (ตารางที่ 2) 11  

ตารางที่ 2 ประเดน็ และตัวชวี้ ัด ตัวชว้ี ัด ประเดน็ 1)จํานวนสมาชกิ ของครวั เรอื น 2)จาํ นวนแรงงานท่ีทาํ การเกษตรของครัวเรือน 1. ด้านบริบทและสภาพทวั่ ไปของโครงการ 3)การเป็นสมาชกิ กลมุ่ /สถาบันของครัวเรอื น 1.1 ข้อมลู ทวั่ ไปของครวั เรือน 4) แหลง่ เงนิ ทใี่ ชใ้ นการทาํ การเกษตร 5)แหล่งนํ้าทใ่ี ชท้ ําการเกษตร 6)ความเพียงพอของนํ้าท่ีใช้ทําการเกษตร 1.2 การถอื ครองทดี่ ิน และการใช้ทด่ี นิ 1) จาํ นวนพน้ื ทีถ่ อื ครองของครวั เรอื น 2) การถือครองทดี่ ิน 2. ดา้ นปจั จัยเบ้อื งต้นหรือปจั จัยปอ้ นเขา้ 3) การใชป้ ระโยชน์ท่ีดนิ ในพ้นื ทถ่ี อื ครอง 2.1 การผลติ สินคา้ เกษตร 1) การไดร้ บั การถา่ ยทอดความรู้ 1) จํานวนเกษตรกรท่ีได้รับการถ่ายทอดความรู้เร่ือง (1) การปรับปรุงบํารุงดิน การพัฒนา การปรบั ปรงุ บาํ รุงดนิ พฒั นาดนิ ทีด่ ิน 2) ร้อยละของเกษตรกรท่ีทําการปรับปรุงบํารุงดิน พฒั นา (2) มาตรฐานสินค้าเกษตร คุณภาพดินเปรียบเทียบกับที่ได้รับการถ่ายทอด ความรู้ 3) จํานวนพ้ืนที่ที่ได้รับการปรับปรุงบํารุงดินพัฒนา ท่ดี ิน 1) ร้อยละของเกษตรกรท่ีไดร้ ับการถ่ายทอดความรู้ ด้านมาตรฐานสินค้าเกษตร (GAP/อินทรีย์/ ฯลฯ) 2) ร้อยละของเกษตรกรท่ีนําความรูไ้ ปปฏิบัติ เปรียบเทียบกบั ทไี่ ด้รบั การถา่ ยทอดความรู้ 12  

(3) ผลผลติ สนิ คา้ เกษตร 1) ปรมิ าณผลผลิตตอ่ ไรข่ องเกษตรกร 2) ร้อยละเกษตรกรท่ีได้รับการรับรองด้าน มาตรฐาน สนิ ค้าเกษตร (GAP/อินทรีย์ ฯลฯ) 3) จํานวนพ้ืนทท่ี ีไ่ ดร้ บั การรับรองมาตรฐาน (GAP/อนิ ทรยี ์/ฯลฯ) (4) การตลาดสินคา้ ท่ีได้รบั รอง 1) จาํ นวนตลาดทรี่ องรบั สนิ ค้าเกษตรปลอดภยั มาตรฐาน 2) ร้อยละของเกษตรกรท่ีนําสินค้ามาจําหน่ายในตลาดสี เขียว สินคา้ เกษตร 3) ร้อยละของเกษตรกรท่ีมีการรวมกลุ่มการผลิตตาม ระบบ (5) การใช้สารเคม/ี สารชีวภาพในการ ผลติ มาตรฐานสินค้าเกษตร (6) การผลิตสนิ คา้ เกษตรที่เปน็ มติ รต่อ 1) ปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมี/ยาปราบวัชพืชศัตรูพืช/ยา สิ่งแวดล้อม ฆ่า 3. ด้านเศรษฐกจิ และสงั คมของโครงการ แมลง ฯลฯ (ตอ่ ไร)่ 2) ปริมาณการใช้ปุ๋ยอินทรีย์/น้ําหมักชีวภาพ ฯลฯ ตอ่ ไร่ 1) ร้ อ ย ล ะ เก ษ ต รก รที่ มี ก ารล ด ข อ งเสี ย ใน กระบวนการ ผลติ ใหเ้ ปน็ ศูนย์ 2) รอ้ ยละเกษตรกรท่กี ารใชเ้ ทคโนโลยสี ะอาด ในการผลติ (พลงั งานชีวมวล,ไบโอแมส, ฯลฯ) 3) เกษตรกรที่มีการจัดการของเสียจากการเกษตรใน แตล่ ะ กิจกรรม 4) รอ้ ยละเกษตรกรทม่ี กี ารจัดการของเหลือ โดยรักษาส่ิงแวดลอ้ ม 3.1 รายได้ รายจ่ายของครัวเรอื น 1) รายได้เงินสดทางการเกษตรของครัวเรือน 2) รายได้เงินสดนอกการเกษตรของครัวเรอื น 3) รายจา่ ยเงนิ สดทางการเกษตรของครวั เรอื น 4) รายจา่ ยเงนิ สดนอกการเกษตรของครวั เรอื น 13  

3.2 ทรัพยส์ ิน และหน้สี ินของครัวเรอื น 1) มูลค่าทรัพย์ของครัวเรอื น 2) จาํ นวนหน้สี นิ ของครัวเรอื น 3) สัดสว่ นทรัพย์สินตอ่ หนี้สนิ ของครัวเรอื น 3.3 ดา้ นสขุ ภาพอนามยั 4) ร้อยละเกษตรกรที่มีการตรวจสารเคมีตกค้างใน รา่ งกาย 5) รอ้ ยละเกษตรกรท่มี ีสารเคมีตกคา้ งในร่างกาย 2.5.3 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 1) วิธีการรวบรวมข้อมูล การประเมินผลในครั้งน้เี ก็บข้อมลู โดยการสาํ รวจด้วยตัวอย่าง โดยใช้แบบ สัมภาษณ์เป็นเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยข้อมูลที่รวบรวมประกอบด้วย ข้อมูลทั่วไปของ โครงการ การผลิตสนิ คา้ เกษตร เศรษฐกิจและสังคมของโครงการ 2) แหลง่ ขอ้ มูล ข้อมลู ทใ่ี ช้ในการประเมนิ ผลมีท้ังประเภทข้อมลู ปฐมภมู ิ และขอ้ มูลทุตยิ ภูมซิ ่ึง แตล่ ะประเภทมแี หลง่ ทีม่ า ดังนี้ (1) ข้อมูลปฐมภูมิ เก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐานของเกษตรกรก่อนมีโครงการในปีเพาะปลูก 2556/57 ทไี่ ดจ้ ากการสุม่ ตวั อยา่ ง ดงั นี้ (1.1) เกษตรกรท่ีเข้ารว่ มโครงการและกลมุ่ ตวั อยา่ ง - เกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการใน 6 จังหวัด คือ เชียงใหม่ ราชบุรี ศรีสะเกษ หนองคาย จนั ทบุรี และพัทลุง (1.2) กลุ่มตัวอย่าง โดยการสุ่มตัวอยา่ งจากประชากรของโครงการมีขัน้ ตอนดงั นี้ - ใช้แผนแบบการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) โดยแบ่งตามชนิดของกิจกรรม คือ ด้านพืช ด้านประมง ด้านปศุสัตว์ และด้านหม่อนไหม กําหนดขนาด ตัวอยา่ งโดยใชเ้ กณฑ์รอ้ ยละ 10 ของประชากรเป้าหมาย โดยจํานวนตวั อย่างแต่ละกิจกรรมต้องไม่น้อยกว่า 8 ตวั อยา่ งและไมเ่ กิน 30 ตัวอย่าง - วิธีการสุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายโดยการสุ่มแบบไม่ใส่คืน (Sampling Without Replacement) ได้ตัวอยา่ งจาํ นวน 523 ตวั อยา่ ง (ตารางท่ี 3) 14  

ตารางที่ 3 จาํ นวนตวั อย่าง จาํ นวน : ราย กจิ กรรม เชียงใหม่ ศรีสะเกษ จังหวดั หนองคาย ราชบรุ ี รวม 59 52 จันทบรุ ี พทั ลงุ 34 62 311 1. ดา้ นพืช 49 42 24 38 237 1.1 การพัฒนาเขา้ สู่ GAP 41 34 56 48 16 30 181 (1) รายเดีย่ ว 12 26 46 38 12 1) ข้าว 8 30 30 16 30 86 2) พืชผัก 29 8 83 3) ไม้ผล 14 88 22 3.1) มังคดุ 13 8 30 16 8 16 3.2) ทุเรียน 8 14 8 3.3) เงาะ 8 8 8 8 3.4) ลาํ ไย 8 8 13 3.3) ลองกอง 8 8 8 3.6) กลว้ ยหอม 8 8 10 24 8 3.7) มะมว่ ง 10 8 8 (2) รายกลมุ่ 16 8 56 1) พชื ผัก 8 8 32 2) ไม้ผล 8 24 2.1) มังคุด 16 2.2) ทเุ รียน 8 8 8 2.3) สบั ปะรด 8 26 30 8 1.2 การพัฒนาเกษตรอินทรีย์ 26 8 8 1) ข้าว 10 10 10 10 74 2) พชื ผกั 10 10 22 38 3) ไม้ผล 18 3.1) ทุเรียน 10 88 18 3.2) มะพร้าว 10 8 10 10 76 100 8 2. ดา้ นประมง 26 30 30 30 172 1) ปลา 26 8 22 90 2) กุ้ง 30 8 60 3) กบ 22 22 3. ด้านปศสุ ัตว์ 88 16 4. ดา้ นหม่อนไหม 93 90 86 78 24 จํานวนตัวอย่างทีส่ ํารวจ 523 2) ข้อมูลทุติยภูมิ เป็นข้อมูลที่ได้จากการทบทวน รวบรวมเอกสารต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับ โครงการ ได้แก่ เอกสารโครงการ นโยบาย เอกสารรายงานของโครงการ ระเบียบ คําสั่ง งานวิจัยท่ี เก่ยี วขอ้ ง และเอกสารรายงานของหน่วยงาน ขอ้ มูลเวบ็ ไซด์ เปน็ ต้น 15  

2.5.4 การวเิ คราะหข์ ้อมูล เป็นการวิเคราะห์เชิงปริมาณ (Quantitative Analysis) โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) อธิบายลักษณะของขอ้ มลู ทีไ่ ด้จากการรวบรวม ได้แก่ ผลรวม สัดส่วน ร้อยละ การแจกแจงความถ่ี จัดกลุ่มประเภทของข้อมูล แล้วนําเสนอในรูปตารางและแผนภูมิ เพ่ือเปรียบเทียบกับเกณฑ์ท่ีเป็นตัวเลขหรือ อธิบายให้เห็นการเปล่ียนแปลงในแตล่ ะตวั ชีว้ ัด 2.5.6 นยิ ามศัพท์ เมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) หมายถึง พ้ืนที่ท่ีมีการผลิตสินค้าเกษตรโดยใช้ กระบวนการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ทุกกิจกรรม ตลอดกระบวนการผลิตตั้งแต่ต้นนํ้า กลางน้ํา และ ปลายนํ้า สอดคล้องกับวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถ่ิน โดยเกษตรกรมีคุณภาพชีวิตท่ีดี ประชาชนมี ความปลอดภยั ดา้ นอาหาร และเปน็ ฐานสร้างรายไดท้ ่ีสําคญั ตลาดสีเขียว (Green Marketing) หมายถึง แหล่งรวบรวมและจําหน่ายสินค้าท่ีมีการผลิตท่ีเป็น มติ รกับส่งิ แวดล้อม โดยเปน็ ชอ่ งทางจาํ หนา่ ยสนิ คา้ เกษตรท่ปี ลอดภัยของเกษตรกรไปสูผ่ บู้ รโิ ภค การปฏิบัติทางการเกษตรท่ีดีและเหมาะสม 1(G0ood Agriculture Practices /GAP) หมายถึง แนวทางในการทําการเกษตร เพื่อให้ได้ผลผลิตท่ีมีคุณภาพดีตรงตามมาตรฐานที่กําหนด ได้ผลผลิตสูง คุ้มค่าการลงทุนและกระบวนการผลิตจะต้องปลอดภัยต่อเกษตรกรและผู้บริโภค มีการใช้ทรัพยากรที่เกิด ประโยชน์สูงสุด เกิดความยั่งยืนทางการเกษตรและไม่ทําให้เกิดมลพิษต่อส่ิงแวดล้อม โดยหลักการน้ีได้รับ การกําหนดโดยองคก์ ารอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) เกษตรอินทรีย์ (organic agriculture) หมายถึง ระบบจัดการการผลิตด้านการเกษตรแบบ องค์รวม ที่เก้ือหนุนตอ่ ระบบนิเวศ รวมถึงความหลากหลายทางชีวภาพ วงจรชีวภาพ โดยเน้นการใชว้ ัสดุ ธรรมชาติหลีกเลี่ยงการใช้วัตถุดิบจากการสังเคราะห์และไมใ่ ชพ้ ืช สัตว์หรือจุลินทรียท์ ี่ไดม้ าจากเทคนิค การดัดแปรพันธุกรรม (genetic modification) มีการจัดการกับผลิตภัณฑโ์ ดยเนน้ การแปรรูปด้วย ความระมัดระวงั เพื่อรักษาสภาพการเป็นเกษตรอนิ ทรียแ์ ละคุณภาพทส่ี ําคญั ของผลิตภัณฑใ์ นทกุ ขนั้ ตอน พลังงานชีวมวล หมายถึง สารอินทรีย์ที่เป็นแหล่งกักเก็บพลังงานจากธรรมชาติและสามารถ นาํ มาใช้ผลติ พลังงานได้ Zero Waste หมายถึง การลดของเสียในกระบวนการผลิตให้เป็นศูนย์โดยการหมุนเวียนทรัพยากร กลับมาใช้ใหม่เพื่อเป็นการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด และเป็นการลดปริมาณของเสียท่ีเกิดข้ึน ให้นอ้ ยทสี่ ุดในกระบวนการผลติ 2.6 ผลท่คี าดว่าจะได้รับ นําการประเมินผลก่อนโครงการในคร้ังน้ีไปใช้เป็นข้อมูลเปรียบเทียบกับการประเมินผลในระยะต่อไป รวมท้งั ใช้เป็นแนวทางการแก้ไข ปรบั ปรงุ การดําเนินงานโครงการใหป้ ระสบผลสําเร็จตามวัตถปุ ระสงค์ของ โครงการต่อไป 16  

บทท่ี 3 ผลการศึกษา สําหรับข้อมูลพ้ืนฐานการประเมินผลกอ่ นโครงการเมืองเกษตรสีเขียวจังหวัดจันทบุรีท่ีมีความโดดเด่น ด้านไม้ผลและประมงได้ประเมินผล 4 ด้าน ได้แก่ ด้านสภาพแวดล้อมและบริบทของโครงการ ด้านการผลิต สินค้าเกษตร ด้านเศรษฐกิจและสังคม และด้านสุขภาพอนามัย เพ่ือจัดทําข้อมูลพ้ืนฐานของเกษตรกรใน กิจกรรมต้นนํ้าของโครงการฯ คือการพัฒนาด้านการผลิตสินค้าเกษตรท่ีสําคัญให้มีประสิทธิภาพ ระยะเวลา ขอ้ มูลไดแ้ ก่ ข้อมูลพ้นื ฐานของเกษตรกรปีเพาะปลกู 2556/57 (1 เมษายน 2556 – 31 มนี าคม 2557) สํารวจ จากประชากรเป้าหมายคือเกษตรกรท่เี ข้ารว่ มโครงการในปี 2557 โดยสุ่มสมั ภาษณ์มาจากเกษตรกรท่ีเขา้ ร่วม โครงการ จํานวน 85 ครัวเรือน แบ่งเป็นด้านไม้ผล จํานวน 55 ครัวเรือน และด้านประมง (กุ้ง) จํานวน 30 ครัวเรือน ผลการศกึ ษาดังนี้ 3.1 ดา้ นสภาพแวดลอ้ มและบรบิ ทของโครงการ 3.1.1 ขอ้ มูลท่วั ไปของครัวเรือน 1) อายแุ ละระดบั การศึกษาของหัวหน้าครวั เรือน อายุของหัวหน้าครัวเรือน เฉล่ีย 54 ปี มีระดับการศึกษา ส่วนใหญ่อยู่ระดับการศึกษาภาค บังคับ (ป.4-ป.6) ร้อยละ 50.59 มัธยมศึกษาตอนปลาย(ม.4-ม.6)/ ปวช.ปวส. ร้อยละ 20 และ มัธยมศึกษา ตอนต้น (ม.1-ม.3) ร้อยละ 16.47 ระดบั ปรญิ ญาตรี ร้อยละ 10.59 และ ตํา่ กว่า ป.4 ร้อยละ 2.35 2) จํานวนสมาชิกในครัวเรือน วยั แรงงาน และแรงงานภาคเกษตร จํานวนสมาชิกในครัวเรือนเฉล่ีย 4 คน เป็นเพศชายและเพศหญิงสัดส่วนเท่ากัน ส่วนใหญ่ อยู่ในวัยแรงงานทั้งหมด (อายุ15-65 ปี) ร้อยละ 82 วัยสูงอายุ (อายุเกิน 65 ปี) ร้อยละ 11 และวัยเด็ก (อายุ1-15 ปี) ร้อยละ7 ในส่วนสมาชิกในครัวเรือนวัยแรงงานมีสัดส่วนใช้แรงงานนอกภาคเกษตรและใช้ แรงงานในภาคเกษตรเทา่ กัน โดยใช้แรงงานในภาคเกษตรแบ่งเปน็ แรงงานประจํา ร้อยละ 65.84 และแรงงาน ชั่วคราว รอ้ ยละ 39.58 3) การเปน็ สมาชกิ กลุม่ /สถาบนั เกษตรกร หัวหน้าครัวเรือนที่เป็นสมาชิกกลุ่ม/สถาบันเกษตรกรมากถึงรอ้ ยละ 89.41 โดยแบ่งเป็นส่วน ใหญ่เป็นสมาชิกกองทุนหมู่บ้าน ร้อยละ 26.57 ธกส. ร้อยละ 17.87 สหกรณ์ ร้อยละ 14.98 กลุ่มออมทรัพย์ ร้อยละ 11.59 กลุ่มเกษตรกรและกลุ่มผู้ใช้นํ้า สัดส่วนเท่ากันร้อยละ 11.11 กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ร้อยละ 3.86 และสุดทา้ ยกลมุ่ แม่บ้าน ร้อยละ 2.91 และมีเพียงสว่ นนอ้ ยทห่ี ัวหนา้ ครัวเรอื นไม่เปน็ สมาชกิ กลุม่ /สถาบัน เกษตรกร ร้อยละ 10.59 4) แหลง่ นาํ้ ท่ใี ช้ทาํ การเกษตร แหล่งน้ําที่ใช้ทาํ การเกษตรส่วนใหญ่มาจากคลองธรรมชาติ รอ้ ยละ 55.14 อ่างเกบ็ นํ้าร้อยละ 18.69 และขุดสระนํ้า ร้อยละ 14.02 บ่อบาดาล ร้อยละ 7.48 และอาศัยนํ้าฝนอย่างเดียวร้อยละ 4.67 ซึ่ง ความพอเพยี งของนํ้าทใ่ี ชท้ ําการเกษตรอยู่ในระดบั ทเี่ พียงพอรอ้ ยละ 92.94 และไม่เพียงพอรอ้ ยละ 7.06 17   

5) อาชีพหลักและรายไดด้ ้านการเกษตรของครวั เรอื น อาชีพหลักของครัวเรือน ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรม ร้อยละ 71.16 เงินเดือนประจํา ร้อยละ 8.94 และรับจ้างท่ัวไป ร้อยละ 7.04 และรายได้ด้านการเกษตรของครัวเรือนส่วนใหญ่มีรายได้จากไม้ผล รอ้ ยละ 59.27 ประมง รอ้ ยละ 30.14 และอน่ื ๆ (ปลกู ตน้ กก ทอเสอ่ื ยางพารา) รอ้ ยละ 4.28 ตารางที่ 4 ขอ้ มลู ทว่ั ไปของครวั เรือน รายการ จงั หวดั จนั ทบรุ ี ร้อยละ 1. ระดบั การศกึ ษาของหัวหน้าครวั เรอื น 1.1 ต่าํ กวา่ ป.4 2.35 1.2 ภาคบงั คับ (ป.4/ป.6) 50.59 1.3 มัธยมต้น 16.47 1.4 มัธยมปลาย/ปวช./ปวส. 20.00 1.5 ปริญญาตรี 10.59 2. จาํ นวนคนและแรงงานในครวั เรือน 4 2.1 จาํ นวนสมาขิกในครวั เรอื น(คน) 82.00 2.2 อยใู่ นวยั แรงงาน (อายุ 15-65 ป)ี 50.00 1) ใชแ้ รงงานนอกภาคเกษตร 50.00 2) ใช้แรงงานในภาคเกษตร 65.84 - แรงงานเกษตรประจํา 39.58 - แรงงานเกษตรชว่ั คราว 10.59 3. การเปน็ สมาชิกองค์กรเกษตรกร 89.41 3.1 ไมเ่ ปน็ สมาชิก 17.87 3.2 เป็นสมาชกิ 11.11 1) ธ.ก.ส. 14.98 2) กลุ่มเกษตรกร 11.59 3) สหกรณ์ 3.86 4) กลมุ่ ออมทรพั ย์ 2.91 5) กลุ่มวสิ าหกจิ ชุมชน 26.57 6) กลุ่มแม่บา้ น 11.11 7) กองทนุ หมู่บ้าน 8) กลุ่มผูใ้ ช้นา้ํ ทม่ี า จากการสาํ รวจ 18 

ตารางท่ี 4(ต่อ) จังหวัดจนั ทบรุ ี รอ้ ยละ รายการ 4.67 4. แหล่งน้าํ ท่ีใชท้ างเกษตรและความเพยี งพอ 18.69 4.1 แหลง่ น้ําท่ีใชใ้ นการเกษตร 55.14 1) ใชน้ ํ้าฝนอยา่ งเดยี ว 7.48 2) อา่ งเกบ็ นํ้า 3) คลองธรรมชาติ - 4) บ่อบาดาล 14.02 5) น้าํ ประปา 6) อน่ื ๆ ....ขุดสระนาํ้ .............. 92.94 4.2 ความเพยี งพอ 7.06 1) ไม่เพียงพอ 2) เพยี งพอ 71.16 4.22 5. แหล่งทีม่ าของรายได้หลกั ของครวั เรอื น 2.70 1) เกษตรกรรม 8.94 2) ค้าขาย 6.75 3) ธรุ กิจส่วนตวั 4.22 4) เงนิ เดอื นประจํา(ข้าราชการ/ลูกจา้ ง/ อืน่ ๆ) 2.02 5) รบั จา้ งทวั่ ไป 6) รับจ้างการเกษตร 7) อืน่ ๆ ทม่ี า จากการสาํ รวจ 19 

3.2 ดา้ นการผลติ สนิ ค้าเกษตร 3.2.1 การไดร้ บั การถา่ ยทอดความรู้ 1) การปรบั ปรงุ บํารงุ ดนิ และการพัฒนาทดี่ นิ กรมพัฒนาท่ีดิน โดยสถานีพัฒนาท่ีดินจังหวัดจันทบุรีได้ดําเนินการอบรมความรู้และ ถ่ายทอดความรู้การทํานํ้าหมักชีวภาพ การใช้ปุ๋ยพืชสด การทําปุ๋ยหมัก/ปุ๋ยอินทรีย์ การใช้ปูนเพ่ือการเกษตร การไถกลบตอชัง มีการสนับสนุนปัจจัยการผลิตเกี่ยวกบั การปรับปรุงบํารุงดินและอบรมการนําความรู้ท่ีได้รับ ไปใช้ประโยชน์ (1) จาํ นวนเกษตรกรท่ีได้รับการถา่ ยทอดความรู้ จํานวนเกษตรกรที่ได้รับการถ่ายทอดความรู้ มี 44 ราย คิดเป็นร้อยละ 80 ของ จํานวนตวั อย่างเกษตรกรดา้ นพืช (2) เรือ่ งท่ีถา่ ยทอดความรู้ เร่ืองที่ถ่ายทอดความรู้เกษตรกรได้รับการถ่ายทอดความรู้ส่วนใหญ่เป็น การทําปุ๋ย หมัก/ปุ๋ยอินทรีย์ ร้อยละ 32.98 การทํานํ้าหมักชีวภาพ ร้อยละ 31.91 การใช้ปูนเพื่อการเกษตร ร้อยละ 25.53 การใช้ปยุ๋ พืชสด ร้อยละ 5.32 อ่นื ๆ ร้อยละ 3.19 และการไถกลบตอซัง ร้อยละ 1.06 (3) จาํ นวนครง้ั ตอ่ ปที ีไ่ ดร้ บั การอบรม จํานวนคร้งั ต่อปีท่ไี ดร้ บั การอบรมเฉลยี่ 2 ครง้ั ตอ่ ปี (4) การได้รับสนับสนุนปัจจัยการผลติ เกี่ยวกับการปรบั ปรุงบํารุงดิน การได้รับสนับสนุนปัจจัยการผลิตเก่ียวกับการปรับปรุงบํารุงดิน ส่วนใหญ่ได้รับ รอ้ ยละ 74.51 และไม่ได้รบั ร้อยละ 25.49 (5) การนําความรู้ที่ได้รบั จากการอบรมไปใชป้ ระโยชน์ การนําความรู้ท่ีได้รับจากการอบรมไปใช้ประโยชน์ ส่วนใหญ่ได้นําความรู้ไปใช้ ร้อยละ 85.71 โดยนําไปใช้ระดับปานกลาง ร้อยละ 44.74 ระดับมาก ร้อยละ 28.95 และระดับค่อนข้างมาก ร้อยละ 21.05 ระดับค่อนข้างน้อย และระดับน้อยในสัดส่วนที่เท่ากันร้อยละ 2.63 และไม่ได้นําไปใช้ ประโยชน์ ร้อยละ 14.29 (6) การได้รบั การตรวจวเิ คราะหด์ ิน จํานวนเกษตรกรส่วนใหญไ่ ด้รับการตรวจวิเคราะห์ดิน 44 ราย และพน้ื ที่ท่ีได้รบั การ ตรวจวิเคราะห์ดนิ 16 ไร่ 2) การทําเกษตรดที เี่ หมาะสม (GAP) กรมส่งเสริมการเกษตร และกรมวิชาการเกษตร โดยสํานักงานเกษตรจังหวัดจันทบุรีและ สาํ นักวิจัยและพฒั นาการเกษตรที่ 6 ได้ดําเนนิ การอบรมความรแู้ ละถ่ายทอดความรกู้ ารทาํ เกษตรดีท่ีเหมาะสม (GAP) และมีการนาํ ความรทู้ ไ่ี ด้รบั ไปใช้ประโยชนใ์ ห้กับเกษตรกรชาวสวนผลไม้ ดังนี้ (1) เกษตรกรท่ไี ดร้ ับการถา่ ยทอดความรู้ เกษตรกรที่ได้รับการถ่ายทอดความรู้ การทําเกษตรดีท่ีเหมาะสม (GAP) ร้อยละ 46.48 และยังมเี กษตรกรทไ่ี ม่ได้รับการถ่ายทอดความรู้ การทาํ เกษตรดีทเี่ หมาะสม ร้อยละ 53.52 20 

(2) เร่อื งท่ีถ่ายทอดความรู้ เรื่องที่ถ่ายทอดความรู้เกษตรกรได้รับการถ่ายทอดความรู้ส่วนใหญ่เป็น การทํา เกษตรดที เ่ี หมาะสม (GAP) มงั คดุ ทุเรยี น และเงาะ (3) จํานวนคร้งั ตอ่ ปที ไ่ี ด้รบั การอบรม จํานวนครั้งตอ่ ปที ่ไี ด้รับการอบรมเฉลยี่ 2 ครงั้ ต่อปี (4) การนาํ ความรู้ทไ่ี ดร้ บั จากการอบรมไปใชป้ ระโยชน์ การนําความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปใช้ประโยชน์ ส่วนใหญ่ได้นําความรู้ไปใช้ ร้อยละ 97.06 โดยนําไปใช้ระดับปานกลาง ร้อยละ 47.06 ระดับมาก ร้อยละ 29.41 และระดับค่อนข้างมาก รอ้ ยละ 20.59 ระดบั คอ่ นข้างนอ้ ย รอ้ ยละ 2.94 และไมไ่ ดน้ ําไปใชป้ ระโยชน์ รอ้ ยละ 2.94 3) การทาํ เกษตรอนิ ทรยี ์ กรมส่งเสริมการเกษตรโดยสํานักงานเกษตรจังหวัดจันทบุรีได้ดําเนินการอบรมความรู้และ ถ่ายทอดความรู้การทาํ เกษตรอนิ ทรียใ์ หก้ ับเกษตรกรชาวสวนผลไม้ และนาํ ความรทู้ ี่ได้รับไปใชป้ ระโยชน์ ดังน้ี (1) เกษตรกรทีไ่ ดร้ บั การถา่ ยทอดความรู้ เกษตรกรที่ได้รับการถ่ายทอดความรู้ การทําเกษตรอินทรีย์ร้อยละ 28.57 และยังมี เกษตรกรทไี่ มไ่ ดร้ ับการถา่ ยทอดความรู้ การทําเกษตรอนิ ทรยี ม์ ากถงึ ร้อยละ 71.43 (2) เร่ืองทถ่ี ่ายทอดความรู้ เร่ืองท่ีถ่ายทอดความรู้เกษตรกรได้รับการถ่ายทอดความรู้ส่วนใหญ่เป็น การทํา เกษตรอนิ ทรยี ใ์ นสวนผลไม้ (3) จาํ นวนครง้ั ต่อปีทไ่ี ดร้ บั การอบรม จาํ นวนครงั้ ตอ่ ปีทีไ่ ด้รบั การอบรมเฉล่ยี 2 ครง้ั ตอ่ ปี (4) การนําความรู้ทไี่ ด้รบั จากการอบรมไปใชป้ ระโยชน์ การนําความรู้ท่ีได้รับจากการอบรมไปใช้ประโยชน์ ส่วนใหญ่ได้นําความรู้ไปใช้ ร้อยละ 87.50 โดยนําไปใช้ระดับปานกลาง ร้อยละ 50.00 ระดับค่อนข้างมากและระดับมาก สัดส่วนเท่ากัน รอ้ ยละ 21.43 ระดบั ค่อนขา้ งนอ้ ย ร้อยละ 7.14 และไมไ่ ด้นาํ ไปใช้ประโยชน์ ร้อยละ 12.50 4) การทําประมง กรมประมง โดยศูนย์วิจัยประมงชายฝั่งจังหวัดจันทบุรี ได้ดําเนินการอบรมความรู้และ ถา่ ยทอดความรกู้ ารเลยี้ งก้งุ และมีการนําความรูท้ ี่ไดร้ บั ไปใช้ประโยชน์ให้กับเกษตรกรผเู้ ลยี้ งกุ้ง ดงั นี้ (1) เกษตรกรท่ีได้รับการถ่ายทอดความรู้ เกษตรกรท่ีได้รับการถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการรับรองมาตรฐานด้านประมง รอ้ ยละ 38.71 และยงั มเี กษตรกรที่ไม่ได้รับการถ่ายทอดความรู้มากถึงรอ้ ยละ 61.29 (2) เรอ่ื งที่ถ่ายทอดความรู้ เร่ืองที่ถ่ายทอดความรู้เกษตรกรได้รับการถ่ายทอดความรู้ส่วนใหญ่เป็นการเตรียม บ่อเล้ยี งกุง้ ให้ปลอดเชือ้ โรค 21 

(3) จํานวนครั้งต่อปที ่ีไดร้ บั การอบรม จาํ นวนคร้งั ตอ่ ปที ไ่ี ด้รบั การอบรมเฉลีย่ 2 คร้งั ต่อปี (4) การนําความรทู้ ่ไี ดร้ บั จากการอบรมไปใช้ประโยชน์ การนําความรู้ท่ีได้รับจากการอบรมไปใช้ประโยชน์ ส่วนใหญ่ได้นําความรู้ไปใช้ ร้อยละ 92.00 โดยนําไปใช้ระดับค่อนข้างมาก ร้อยละ 47.83 ระดับปานกลาง ร้อยละ 26.09 ระดับมาก รอ้ ยละ 21.74และระดบั คอ่ นข้างนอ้ ย รอ้ ยละ 4.35 และไมไ่ ด้นาํ ไปใช้ประโยชน์ รอ้ ยละ 8.00 ตางรางท่ี 5 การได้รบั การถ่ายทอดความรู้ รายการ จังหวดั จนั ทบรุ ี (รอ้ ยละ) 1. การปรบั ปรุงบํารุงดิน 1) จํานวนเกษตรกรทไี่ ดร้ ับการถา่ ยทอดความรู้ (ราย) 44 2) จํานวนเกษตรกรที่ทาํ การปรบั ปรงุ บํารงุ ดิน (ราย) 44 3) จาํ นวนพ้ืนท่ขี องเกษตรกรท่ที ําการปรับปรงุ บํารุงดนิ (ไร่) 16 4) เรอื่ งทไ่ี ด้รบั การถ่ายทอดความรู้ (1) การทําน้าํ หมักชวี ภาพ 31.91 (2) การใชป้ ๋ยุ พชื สด 5.32 (3) การทาํ ป๋ยุ หมกั /ปุ๋ยอินทรีย์ 32.98 (4) การใช้ปนู เพอื่ การเกษตร 25.53 (5) การไถกลบตอซงั 1.06 (6) อื่นๆ 3.19 5) จาํ นวนคร้ังตอ่ ปีที่ได้รับการอบรม (ครงั้ ) 2 6) การได้รบั สนบั สนุนปัจจัยการผลิตในการปรบั ปรุงบํารุงดิน (1) ไมไ่ ดร้ ับ 25.49 (2) ไดร้ บั 74.51 7) การนาํ ความรทู้ ีไ่ ด้รับจากการอบรมไปใชป้ ระโยชน์ (1) ไมไ่ ด้นําไปใช้ 14.29 (2) การนาํ ความรู้ไปใช้ 85.71 - นอ้ ย 2.63 - ค่อนขา้ งนอ้ ย 2.63 - ปานกลาง 44.74 - คอ่ นข้างมาก 21.05 - มาก 28.95 ทม่ี า จากการสาํ รวจ 22 

ตางรางท่ี 5 (ตอ่ ) จงั หวัดจนั ทบรุ ี (ร้อยละ) รายการ 53.52 2. การเกษตรดีท่เี หมาะสม (GAP) 46.48 1) ไม่ไดร้ บั การอบรม 2) ไดร้ บั การอบรม 2 3) จาํ นวนครง้ั ท่ีไดร้ ับการอบรม(ครัง้ /ป)ี 4) การนําความรไู้ ปใช้ 2.94 (1) ไมไ่ ดน้ าํ ไปใช้ 97.06 (2) การนาํ ความรู้ไปใช้ - น้อย 0 - คอ่ นขา้ งนอ้ ย 2.94 - ปานกลาง 47.06 - ค่อนขา้ งมาก 20.59 - มาก 29.41 3. การเกษตรอินทรยี ์ 71.43 1) ไม่ได้รบั การอบรม 28.57 2) ได้รับการอบรม 3) จาํ นวนครั้งทไ่ี ดร้ บั การอบรม(คร้งั /ป)ี 2 4) การนาํ ความรู้ไปใช้ (1) ไม่ได้นําไปใช้ 12.50 (2) การนําความรูไ้ ปใช้ 87.50 - นอ้ ย - คอ่ นขา้ งนอ้ ย 0 - ปานกลาง 7.14 - คอ่ นข้างมาก 50.00 - มาก 21.43 21.43 ท่มี า จากการสาํ รวจ 23 

ตางรางท่ี 5 (ต่อ) รายการ จังหวดั จนั ทบรุ ี (ร้อยละ) 4. ด้านประมง 1) ไม่ได้รับการอบรม 61.29 2) ได้รบั การอบรม 38.71 3) จํานวนครั้งที่ไดร้ บั การอบรม(ครั้ง/ปี) 2 4) การนําความรู้ไปใช้ (1) ไมไ่ ด้นําไปใช้ 8.00 (2) การนาํ ความรู้ไปใช้ 92.00 - น้อย 0 - คอ่ นข้างนอ้ ย 4.35 - ปานกลาง 26.09 - ค่อนข้างมาก 47.83 - มาก 21.74 ทีม่ า จากการสาํ รวจ 3.2.2 การใชส้ ารเคม/ี สารชีวภาพในการผลิตสนิ ค้าเกษตร ไม้ผลรวมทั้ง 3 ชนิด ได้แก่ ทุเรียน เงาะ และมังคุดมีเน้ือท่ีปลูกรวม 555.25 ไร่ โดยมีปริมาณการใช้ ปุ๋ยคอก 247,447 กิโลกรัม หรือเฉล่ียไร่ละ 445.65 กิโลกรัม ปุ๋ยอินทรีย์ 74,747 กิโลกรัม หรือเฉล่ียไร่ละ 134.62 กิโลกรัม ปุ๋ยเคมี 63,633 กิโลกรัม หรือเฉลี่ยไร่ละ 114.60 กิโลกรัม สารฆ่าแมลงยาปราบศัตรูพืช 894 ลิตรหรือเฉล่ียไร่ละ 1.61 ลิตร ยาปราบวัชพืช 720 ลิตร หรือเฉล่ียไร่ละ 1.30 ลิตร ฮอร์โมน 1,432 ลิตรหรอื เฉลย่ี ไร่ละ 2.58 ลิตร สารปรับปรงุ บํารงุ ดิน 2,580 กโิ ลกรมั หรอื เฉล่ยี ไร่ละ 4.65 กโิ ลกรมั ทเุ รียน มีเนื้อทีป่ ลกู รวม 235.25 ไร่ ใชป้ ุ๋ยคอก 33,586 กิโลกรมั หรอื เฉล่ียไร่ละ 142.77 กิโลกรัม ปุ๋ย อินทรีย์ 40,058 กิโลกรัมหรือเฉลี่ยไร่ละ 170.28 กิโลกรัม ปุ๋ยเคมี 29,113 กิโลกรัมหรือเฉลี่ยไร่ละ 123.75 กโิ ลกรัม สารฆ่าแมลงยาปราบศตั รูพืช 293 ลิตรหรือเฉล่ียไร่ละ 1.25 ลิตร ยาปราบวชั พืช 249 ลิตรหรือเฉลี่ย ไร่ละ 1.06 ลิตร ฮอร์โมน 1,192 ลิตรหรือเฉลี่ยไร่ละ 5.07 ลิตร สารปรับปรุงบํารุงดิน 1,570 กิโลกรัมหรือ เฉลยี่ ไรล่ ะ 6.67 กิโลกรัม เงาะ มีเน้ือที่ปลูกรวม 33.75 ไร่ ใช้ปุ๋ยคอก 51,100 กิโลกรัมหรือเฉล่ียไร่ละ 1514.07 กิโลกรัม ปุ๋ย อนิ ทรีย์ 475 กิโลกรัมหรือเฉล่ียไรล่ ะ 14.07 กโิ ลกรัม ปุ๋ยเคมี 4,756 กโิ ลกรัมหรือเฉลี่ยไร่ละ 140.92 กิโลกรัม สารฆ่าแมลงยาปราบศัตรูพืช 16 ลิตรหรือเฉล่ียไร่ละ 0.47 ลิตร ยาปราบวัชพืช 39 ลิตรหรือเฉลี่ยไร่ละ 1.16 ลติ ร ฮอรโ์ มน 11 ลติ รหรือเฉลี่ยไรล่ ะ 0.33 ลติ ร และไมม่ กี ารใช้สารปรับปรงุ บาํ รุงดนิ มังคุด มีเน้ือท่ีปลูกรวม 286.25 ไร่ ใช้ปุ๋ยคอก 162,760 กิโลกรัมหรือเฉล่ียไร่ละ 568.59 กิโลกรัม ปยุ๋ อินทรีย์ 34,214 กโิ ลกรมั หรอื เฉลย่ี ไร่ละ 119.52 กิโลกรัม ปุ๋ยเคมี 29,764 กิโลกรมั หรอื เฉลย่ี ไรล่ ะ 103.98 24 

กิโลกรมั สารฆ่าแมลงยาปราบศัตรูพืช 584 ลิตรหรือเฉล่ยี ไร่ละ 2.04 ลิตร ยาปราบวัชพืช 432 ลิตรหรือเฉลี่ย ไร่ละ 1.51 ลิตร ฮอร์โมน 229 ลติ รหรือเฉล่ียไรล่ ะ 0.80 ลิตร สารปรับปรุงบํารุงดิน 1,010 กิโลกรัมหรือเฉล่ีย ไร่ละ 3.53 กิโลกรมั ตารางที่ 6 การใช้สารเคมใี นการผลิตทางการเกษตร ชนิดพชื เนือ้ ที่ ปุ๋ยคอก ป๋ยุ การใชส้ ารเคม/ี สารชวี ภาพ สาร ปลกู อินทรีย์ ปรบั ปรงุ ปยุ๋ เคมี ยา ยา ฮอรโ์ มน บาํ รุงดิน ปราบ ปราบ ศัตรพู ชื วัชพชื (ไร่) (กก.) (กก.) (กก.) (ลิตร) (ลติ ร) (ลติ ร) (กก) ไม้ผล 555.25 ท้งั หมด 247,446 74,747 63,633 894 720 1,432 2,580 ตอ่ ไร่ 445.65 134.62 114.60 1.61 1.30 2.58 4.65 ทุเรียน 235.25 ท้งั หมด 33,586 40,058 29,113 293 249 1,192 1,570 ตอ่ ไร่ 142.77 170.28 123.75 1.25 1.06 5.07 6.67 เงาะ 33.75 ทง้ั หมด 51,100 475 4,756 16 39 11 0 ตอ่ ไร่ 1514.07 14.07 140.92 0.47 1.16 0.33 0 มังคุด 286.25 ท้ังหมด 162,760 34,214 29,764 584 432 229 1,010 ตอ่ ไร่ 568.59 119.52 103.98 2.04 1.51 0.80 3.53 ทมี่ า จากการสาํ รวจ 3.2.3 ตน้ ทนุ วสั ดอุ ุปกรณแ์ ละค่าจา้ งแรงงานการผลิตประมง(กงุ้ ) การผลิตกุ้ง มีเนื้อที่ฟาร์ม 364.75 ไร่ มีต้นทุนค่าวัสดุอุปกรณ์การเกษตรรวม 24,689,786 บาทหรือ เฉล่ียไร่ละ 67,690 บาท และต้นทุนค่าจ้างแรงงานรวม 1,404,985 บาทหรือเฉล่ียไร่ละ 3,852 บาท รวมเป็น ตน้ ทุนทง้ั หมด 26,094,771 บาทหรอื เฉลี่ยไรล่ ะ 71,542 บาท ตารางที่ 7 ตน้ ทนุ วัสดอุ ปุ กรณแ์ ละคา่ จา้ งแรงงานการผลติ ประมง(กุ้ง) ชนิดสตั ว์ เนื้อทฟ่ี ารม์ คา่ วัสดอุ ปุ กรณก์ ารเกษตร คา่ จ้างแรงงาน ต้นทนุ ทง้ั หมด (ไร)่ (บาท) (บาท) (บาท) กุ้ง 364.75 ท้งั หมด 24,689,786 1,404,985 26,094,771 ตอ่ ไร่ 67,690 3,852 71,542 ทมี่ า จากการสาํ รวจ 25 

3.2.4 การผลติ เป็นมติ รต่อสงิ่ แวดล้อม เกษตรกรท่ีทําการผลิตทเ่ี ปน็ มิตรสงิ่ แวดล้อม (ก่อนเข้าร่วมโครงการ) จํานวน 74 ราย คิดเป็นร้อยละ 87.06 และไม่ทํา 11 ราย คิดเป็นร้อยละ 12.94 โดยเกษตรที่ดําเนินการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมส่วน ใหญ่ แยกขยะที่ไม่ใช้แล้วจากครัวเรือน ร้อยละ 25.37 รองลงมา การใช้สารอนิ ทรีย์เพื่อลดการใช้สารเคมีทาง การเกษตร ร้อยละ 22.93 และนาํ ส่งิ ที่เหลือใชม้ าผลติ ป๋ยุ หมกั ชีวภาพ ร้อยละ 19.02 ตารางที่ 8 การผลติ เปน็ มิตรกบั สิ่งแวดล้อม รายการ จํานวนเกษตรกร ราย รอ้ ยละ 1) ลดปรมิ าณไนโตรเจนในบอ่ เลี้ยงปลา-กงุ้ โดยการปลกู หญา้ แฝก (พืชนาํ้ 5 2.44 ,ผักกะเฉด) 2) แยกอปุ กรณ์การเกษตรทไ่ี มใ่ ชแ้ ล้ว 37 18.05 3) ทําแผงโซลา่ เซลล์ 4 1.95 4) บอ่ บําบัดนาํ้ เสยี ก่อนทิ้งนา้ํ 10 4.88 5) การใชส้ ารอนิ ทรีย์เพือ่ ลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร 47 22.93 6) แยกขยะทไี่ ม่ใชแ้ ล้วจากครวั เรอื น 52 25.37 7) ลดการเผาเศษวัสดโุ ดยการไถกลบตอซงั 11 5.37 8) นําส่ิงทเี่ หลอื ใช้มาผลติ ปยุ๋ หมกั ชีวภาพ 39 19.02 ที่มา จากการสาํ รวจ 3.2.5 ผลผลติ ท่ีไดร้ บั ปริมาณผลผลติ ท่ีไดร้ ับตอ่ ไร่ อันดับหนง่ึ คือ เงาะ 2,380.92 กโิ ลกรมั มงั คดุ 1,613.83 กิโลกรมั ทุเรียน 1,192.91 กโิ ลกรมั และกุ้ง 454.70 กิโลกรมั ตารางที่ 9 ปรมิ าณผลผลิตตอ่ ไร่ รายการ จังหวดั จนั ทบรุ ี (กิโลกรมั ) 1) ไมผ้ ล (1) ทุเรยี น 1,192.91 (2) เงาะ 2,380.92 (3) มงั คดุ 1,613.83 2) ประมง 454.70 (1) กุง้ ที่มา จากการสาํ รวจ 26 

3.2.6 จํานวนพื้นที่ จํานวนเกษตรกรทไ่ี ด้รบั รองมาตรมาตรฐาน GAP และเกษตรอนิ ทรยี ์ จากจํานวนเกษตรกรตัวอย่างทั้งหมด 85 รายเป็นตัวอย่างไม้ผล 55 ราย และประมง 30 รายพบว่ามี เกษตรกรท่ีได้รับรองมาตรฐาน GAP ท้ังหมด 82 ราย คิดเป็นร้อยละ 96.47 โดยแบ่งเป็น ไม้ผล 46 ราย (ร้อยละ 83.64 ของเกษตรกรตัวอย่างไม้ผลท้ังหมด) ประมง(กุ้ง) 29 ราย (ร้อยละ 96.67 ของเกษตรกร ตวั อย่างประมงท้ังหมด) จํานวนพ้ืนท่ีที่ผา่ นการรบั รองมาตรฐานเปน็ ไม้ผล 494.75 ไร่ ประมง(กุ้ง) 389.25 ไร่ ปริมาณผลผลิตไม้ผล 434,110 กิโลกรัม ผลผลิตประมง(กุ้ง) 199,870 กิโลกรัม และมีเกษตรที่ได้รับรอง มาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ์ จํานวน 3 ราย มีพืน้ ท่ี 36.13 ไร่ ปรมิ าณผลผลิตทไี่ ด้ 38,700 กิโลกรมั ตารางที่ 10 จาํ นวนพื้นท่ี จาํ นวนเกษตรกรท่ีไดร้ ับรองมาตรมาตรฐาน GAP และเกษตรอินทรยี ์ รายการ จังหวัดจนั ทบรุ ี 1. การไดร้ ับรองมาตรฐาน GAP 1) จาํ นวนเกษตรกร (ราย) 82 (1) ไม้ผล 46 (2) ประมง 29 2) จํานวนพ้ืนที่ท่ีผา่ นการรบั รองมาตรฐาน (ไร)่ (1) ไมผ้ ล 494.75 (2) ประมง 389.25 3) ปรมิ าณผลผลิต (กก.) (1) ไมผ้ ล 434,110 (2) ประมง 199,870 2. การไดร้ บั รองมาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ์ 1) จํานวนเกษตรกร (ราย) 3 2) จาํ นวนพ้ืนที่ (ไร)่ 36.13 3) ปรมิ าณผลผลิต (กก.) 38,700 ทีม่ า จากการสาํ รวจ 3.2.7 การตลาด เกษตรกรส่วนใหญ่จํานวน 70 ราย คิดเป็นร้อยละ 84.34 คิดว่าในจังหวัดไม่มีแหล่งจําหน่ายสินค้า เกษตรที่ผ่านการรับรอง GAP หรือเกษตรอินทรีย์ และเกษตรกร จํานวน 11 ราย คิดเป็นร้อยละ 13.25 มี แหล่งจําหน่ายสินค้าเกษตรที่ผ่านการรับรอง GAPหรือเกษตรอินทรีย์ และไม่ทราบอีก 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.41 การได้นําผลผลิตท่ีผ่านการรับรอง GAP หรือเกษตรอินทรีย์ไปจําหน่ายในตลาดเกษตรกรส่วนใหญ่ไม่ได้ นํามาจําหนา่ ย ร้อยละ 82 และนํามาจําหนา่ ย ร้อยละ 18 การรวมกลุ่มจําหน่ายตามระบบการผลิตสินค้า GAP/เกษตรอินทรีย์ เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่มีการ รวมกล่มุ ร้อยละ 93.44 และมีการรวมกล่มุ ร้อยละ 6.56 27 

ตารางท่ี 11 การตลาด รายการ จังหวดั จนั ทบรุ ี (ร้อยละ) 1. การนาํ สนิ คา้ มาจําหน่ายในตลาด 1) ไมน่ าํ มาจาํ หนา่ ย 82 2) นํามาจาํ หน่าย 18 2. การรวมกลมุ่ จาํ หน่ายผลผลิต GAP 1) ไม่มกี ารรวมกลุม่ 93.44 2) มกี ารรวมกลุม่ 6.56 ท่มี า จากการสาํ รวจ 3.3 ดา้ นเศรษฐกจิ และสังคม 3.3.1 การถอื ครองทด่ี นิ และการใชป้ ระโยชนท์ าํ การเกษตร เกษตรกรตัวอย่างมีท่ีดินทํางานเกษตร ทั้งหมดประมาณ 2,198.31 ไร่ มีลักษณะการถือครองที่ดิน ส่วนใหญ่เป็นของตนเอง ร้อยละ 88.93 เช่าผู้อื่น ร้อยละ 5.74 ได้ทําฟรี ร้อยละ 3.69 ให้ผู้อ่ืนเช่าร้อยละ 1.23 และพ้ืนที่ติดจํานอง/ขายฝาก ร้อยละ 0.41 โดยเป็นพื้นท่ีมีการใช้ประโยชน์ทําการเกษตร 2,122.38 ไร่ หรือร้อยละ 96.55 แบ่งเป็นพื้นท่ีไม้ผล 1,382.88 ไร่ พ้ืนท่ีประมง 420.25 ไร่ และพ้ืนที่ไม้ยืนต้น 273.25 ไร่ และพื้นท่บี ่อนาํ้ ปลูกต้นกก 28 ไร่ และพื้นทอี่ ่นื ๆ 75.93 ไร่ หรือรอ้ ยละ 3.45 แบง่ เป็นพ้ืนท่ที อี่ ยู่อาศยั 35.70 ไร่ และพ้นื ทป่ี ลอ่ ยว่าง 40.23 ไร่ ตารางที่ 12 การใชป้ ระโยชน์ทาํ การเกษตร รายการ จังหวดั จนั ทบรุ ี (ไร่) 1. พน้ื ทก่ี ารเกษตร (1) ทาํ นา 2122.38 (2) ไม้ผล 18 (3) ไมย้ นื ตน้ (4) ประมง 1,382.88 (5) อ่ืนๆ บอ่ นาํ้ ,ปลูกต้นกก 273.25 420.25 2. พื้นท่ีอน่ื ๆ (1) พนื้ ทีอ่ ยอู่ าศยั 28 (2) พ้นื ท่ปี ล่อยวา่ ง 75.93 35.70 ท่ีมา จากการสาํ รวจ 40.23 28 

3.3.2 รายได้ รายจ่ายของครัวเรือนเกษตร สมาชิกมีรายได้เฉล่ียต่อครัวเรือนต่อปี 619,954 บาท ส่วนใหญ่มาจากรายได้หลักทางการเกษตร 513,023 บาท ซ่ึงรายได้มาจากไม้ผล 480,919 บาท หรือร้อยละ 96.19 รองลงมารายได้จากประมง 10,235 บาทหรือร้อยละ 2.05 ปศุสัตว์(ไก่เน้ือ) 4,800 บาทหรือร้อยละ 0.96 และรายได้จากพืชผัก พืชไร่ ข้าว 4,034 บาท หรือร้อยละ 0.80 และรายได้จากการเกษตรในฟาร์มอ่ืนๆ 13,035 บาท และรายได้นอกการเกษตร 106,931 บาท ซึ่งสว่ นใหญ่มาจากเงนิ เดอื นของสมาชกิ ในครัวเรอื น และค่าเชา่ ดา้ นรายจา่ ยเฉลีย่ ต่อครวั เรือน ต่อปี 484,367 บาท เป็นรายจ่ายของทางการเกษตร 113.753 บาท รายจ่ายทางการเกษตรอ่ืนๆ 43,205 บาท และรายจ่ายนอกการเกษตร 327,409 บาท ทําให้สมาชิกมีรายได้เฉลี่ยสุทธิของครัวเรือนประมาณ 135,587 บาท ตารางท่ี 13 รายได้ รายจา่ ย และรายไดส้ ทุ ธเิ ฉลย่ี ตอ่ ครวั เรอื น รายการ จงั หวัดจนั ทบรุ ี (บาทตอ่ ครัวเรอื นตอ่ ปี) 1.รายได้ 619,954 1.1 รายไดท้ างการเกษตร 513,023 1) รายไดจ้ ากกิจกรรมการเกษตรของครัวเรอื น 499,988 - ขา้ ว 535 - พชื ไร่ 868 - พืชผัก 2,631 - ไมผ้ ล 480,919 - ปศุสัตว์ 4,800 - ประมง 10,235 2) รายได้จากการเกษตรในฟารม์ อนื่ ๆ 13,035 1.2 รายไดน้ อกการเกษตร 106,931 2. รายจา่ ย 484,367 2.1 รายจ่ายทางการเกษตร 113,753 2.2 รายจ่ายทางการเกษตรอนื่ ๆ 43,205 2.3 รายจา่ ยนอกการเกษตร 327,409 3. รายได้สทุ ธิ 135,587 ท่ีมา จากการสาํ รวจ 29 

3.3.3 ทรพั ย์สนิ และหน้ีสนิ ของครวั เรอื น มูลค่าของทรัพย์สินต่อครัวเรือนต่อปี 8,607,809 บาท แบ่งออกเป็น มูลค่าท่ีอยู่อาศัย เฉลี่ย 1,011,647 บาท และมูลค่าท่ีดินทางการเกษตร เฉล่ีย 7,596,162 บาท ส่วนมูลค่าหน้ีสินต่อครัวเรือนต่อปี 280,316 บาท แบ่งเป็นหน้ีสินในระบบ 277,846 บาท และหนี้นอกระบบ 2,470 บาท โดยหนี้สินในระบบกู้ มาจาก ธกส. เฉลี่ย 150,682 บาท กองทนุ หมู่บ้านเฉล่ยี 15,176 บาท ธนาคารเฉลย่ี 80,235 บาท สหกรณ์ เฉลี่ย 31,518 บาท และกลุ่มแม่บ้านเฉลี่ย 235 บาท ส่วนหนี้สินนอกระบบกู้มาจาก เพ่ือนบ้าน เฉล่ีย 1,175 บาท และญาติพนี่ ้องเฉล่ีย 1,294 บาท ซงึ่ สมาชิกยงั มที รพั ย์สนิ มากกว่าหนี้สินประมาณ 8,327,493 บาท ตารางที่ 14 ทรพั ยส์ ิน และหนีส้ นิ ของครวั เรือน รายการ จงั หวดั จนั ทบรุ ี (บาทต่อครวั เรอื นตอ่ ปี) 1. ทรัพยส์ ิน 8,607,809 1) มูลคา่ ทอ่ี ยอู่ าศยั 1,011,647 2) มูลคา่ ทดี่ ินทางการเกษตร 7,596,162 2. หนสี้ นิ 280,316 2.1 หนี้สนิ ในระบบ 277,846 1) ธกส. 150,682 2) กองทนุ หมู่บา้ น 15,176 3) ธนาคาร 80,235 4) สหกรณ์ 31,518 5) กลุ่มแม่บ้าน 235 2.2 หนี้สนิ นอกระบบ 2,470 1) เพอื่ นบ้าน 1,176 2) ญาตพิ ี่น้อง 1,294 ทีม่ า จากการสาํ รวจ 3.4 ด้านสขุ ภาพอนามัย ในรอบปี 2557 สมาชิกในครัวเรือนได้รับการตรวจสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในเลือด ร้อยละ 69.77 และไม่ได้รบั การตรวจสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในเลอื ด รอ้ ยละ 30.23 เหตผุ ลเพราะส่วนใหญ่ไม่มี เวลาไปและจ้างพน่ ยา ทง้ั นี้ สมาชกิ ในครัวเรือนท่ีได้รับการตรวจไมพ่ บสารเคมีตกค้างในเลอื ดรอ้ ยละ 80 และ 30 

พบสารเคมีตกค้างในเลือด ร้อยละ 20 และมีการเจ็บป่วยของคนในครัวเรือนจากสารเคมีทางการเกษตรท่ี ตกค้างในรา่ งกายรอ้ ยละ 25 ของสมาชิกทพี่ บสารเคมใี นเลือด โดยไดร้ บั การตรวจเฉลี่ยครัวเรอื นละ 2 คน ตารางที่ 15 การตรวจสารเคมีทางการเกษตรตกคา้ งในเลือด รายการ จังหวัดจนั ทบรุ ี (ร้อยละ) 1. ไมเ่ ข้ารบั การตรวจสารเคมีทางการเกษตรในเลอื ด 30.23 2. เขา้ รบั การตรวจสารเคมที างการเกษตรในเลอื ด 69.77 80.00 2.1 ไมพ่ บสารเคมีทางการเกษตรในเลอื ด 20.00 2.2 พบสารเคมีทางการเกษตรในเลอื ด 25.00 75.00 1) เจบ็ ป่วยจากสารเคมที างการเกษตรท่ตี กคา้ งในรา่ งกาย 2) ไม่เจบ็ ปว่ ยจากสารเคมที างการเกษตรทตี่ กค้างในร่างกาย ทมี่ า จากการสาํ รวจ ท้ังน้ี การประเมินผลก่อนโครงการได้สํารวจความคิดเห็นในมุมมองจากสมาชิกท่ีร่วมโครงการเมือง เกษตรสีเขยี วจงั หวัดจันทบุรีเก่ียวกบั กจิ กรรมทเี่ กิดจากโครงการเมอื งเกษตรสีเขยี วทําให้ชุมชนของท่านมีความ เข้มแข็งหรือไม่ พบว่า กิจกรรมท่ีเกิดจากโครงการเมืองเกษตรสีเขียวทําให้ชุมชนของท่านมีความเข้มแข็ง ร้อยละ 81.18 เนื่องจากเกษตรกรตื่นตัวทําเกษตรสีเขียวมากขึ้น มีการประชุมมากขึ้นหันมาคุยกันได้ แลกเปล่ียนเรียนรู้กันและมีผู้นําชุมชนที่เข้มแข็ง ทําให้มีความรู้ได้ฝึกปฏิบัติในพ้ืนท่ีและปรับพฤติกรรมการใช้ ชีวิตให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ลดต้นทุนการผลิต คุณภาพดินดีขึ้น ทําให้ส่ิงแวดล้อมดีขึ้น ทําให้การเลี้ยงกุ้ง ยั่งยืนขึ้นและไมท่ ําใหช้ ุมชนของทา่ นมีความเข้มแข็ง ร้อยละ 18.82 เน่อื งจากยังมีเกษตรกรไม่ได้ปรบั เปลยี่ นวิถี การผลิตเพราะแบบเดิมก็ขายได้ปกติ การดําเนินการยังไม่จริงจังทําในบางตําบลต้องตั้งระบบกลุ่มตําบล/ หมู่บ้าน แล้วกระตุ้นชาวสวนให้อยากทําเมืองเกษตรสีเขียว ภาครัฐต้องมาส่งเสริมอย่างต่อเนื่องเพราะเพ่ิง เร่มิ ต้นโครงการเพอ่ื ให้เกษตรกรเขา้ ใจใหเ้ พยี งพอ 31 

บทที่ 4 สรุป และข้อเสนอแนะ 4.1 สรปุ ข้อมูลพื้นฐานการประเมินผลก่อนโครงการเมืองเกษตรสีเขียวจังหวัดจันทบุรีท่ีมีความโดดเด่นด้าน ไมผ้ ลและประมงไดป้ ระเมินผล 4 ด้าน ไดแ้ ก่ ดา้ นสภาพแวดล้อมและบริบทของโครงการ ด้านการผลิตสินค้า เกษตร ด้านเศรษฐกิจและสังคม และด้านสุขภาพอนามัย ข้อมูลพ้ืนฐานของเกษตรกรปีเพาะปลูก 2556/57 (1 เมษายน 2556 – 31 มีนาคม 2557) สํารวจจากประชากรเป้าหมายคือเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการในปี 2557 โดยสุ่มสัมภาษณ์มาจากเกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการ จํานวน 85 ครัวเรือน แบ่งเป็นด้านไม้ผล จํานวน 55 ครวั เรอื น และดา้ นประมง (กุ้ง) จํานวน 30 ครัวเรอื น ผลการศึกษาดังน้ี 4.1.1 ดา้ นสภาพแวดลอ้ มและบรบิ ทของโครงการ อายุของหัวหน้าครัวเรือน เฉลี่ย 54 ปี ส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาตั้งแต่ภาคบังคับ (ป.4-ป.6) ขึ้นไป ร้อยละ 97.65 และมีระดับการศึกษาต่ํากว่า ป.4 เพียงร้อยละ 2.35 จํานวนสมาชิกในครัวเรือน เฉลี่ย 4 คน เป็นเพศชายและเพศหญิงสัดส่วนเท่ากัน ส่วนใหญ่อยู่ในวัยแรงงานท้ังหมด (อายุ15-65 ปี) ร้อยละ 82 มี สัดส่วนใช้แรงงานนอกภาคเกษตรและใช้แรงงานในภาคเกษตรเท่ากัน โดยใช้แรงงานในภาคเกษตรแบ่งเป็น แรงงานประจํา ร้อยละ 65.84 และแรงงานชั่วคราว รอ้ ยละ 39.58 หวั หน้าครวั เรือนเป็นสมาชกิ กลมุ่ /สถาบัน เกษตรกรหลายประเภทมากถึงร้อยละ 89.41 ส่วนใหญ่เป็นสมาชิกกองทุนหมู่บ้าน ธกส. สหกรณ์ ตามลําดับ และมีเพียงส่วนน้อยที่หัวหน้าครัวเรือนไม่เป็นสมาชิกกลุ่ม/สถาบันเกษตรกร ร้อยละ 10.59 แหล่งน้ําที่ใช้ทํา การเกษตรมีหลายประเภทส่วนใหญ่มาจากคลองธรรมชาติร้อยละ 55.14 รองลงมาอ่างเก็บน้ํา ขุดสระนํ้า และบ่อบาดาล ทั้งน้ีอาศัยนํ้าฝนอย่างเดียวเพียงร้อยละ 4.67 สําหรับความพอเพียงของนํ้าท่ีใช้ทําการเกษตร อยู่ในระดับที่เพียงพอร้อยละ 92.94 และไม่เพียงพอร้อยละ 7.06 อาชีพหลักของครัวเรือน ส่วนใหญ่เป็น เกษตรกรรม ร้อยละ 71.16 เงินเดือนประจํา ร้อยละ 8.94 และรับจ้างทั่วไป ร้อยละ 7.04 และรายได้ด้าน การเกษตรของครัวเรือนส่วนใหญ่มีรายได้จากไม้ผล ร้อยละ 59.27 ประมง ร้อยละ 30.14 และอ่ืนๆ (ปลูกต้น กก ทอเส่ือ ยางพารา) รอ้ ยละ 4.28 4.1.2 ด้านการผลิตสนิ คา้ เกษตร 1) การไดร้ บั การถา่ ยทอดความรู้ 1.1) การปรับปรุงบํารุงดิน และการพัฒนาที่ดิน โดยสถานีพัฒนาที่ดินจังหวัดจันทบุรีได้ ดําเนินการอบรมความรู้และถ่ายทอดความรู้การทํานํ้าหมักชีวภาพ การใช้ปุ๋ยพืชสด การทําปุ๋ยหมัก/ปุ๋ย อินทรีย์ การใช้ปูนเพื่อการเกษตร การไถกลบตอชัง มีการสนับสนุนปัจจัยการผลิตเกี่ยวกับการปรับปรุงบํารุง ดินและอบรมการนําความรู้ท่ีได้รับไปใช้ประโยชน์ มีเกษตรกรที่ได้รับการถ่ายทอดความรู้แล้วนําไปทําการ ปรับปรุงบํารุงดินร้อยละ 80.00 เรื่องที่ได้รับการถ่ายทอดความรู้ส่วนใหญ่เป็น การทําปุ๋ยหมัก/ปุ๋ยอินทรีย์ รอ้ ยละ 32.98 การทํานาํ้ หมักชวี ภาพ ร้อยละ 31.91 การใช้ปูนเพื่อการเกษตร ร้อยละ 25.53 การใชป้ ุ๋ยพชื สด ร้อยละ 5.32 อื่นๆ ร้อยละ 3.19 และการไถกลบตอซัง ร้อยละ 1.06 ได้รับการอบรมเฉล่ีย 2 คร้ังต่อปี ส่วนใหญ่ได้รับสนับสนุนปัจจัยการผลิตเกี่ยวกับการปรับปรุงบํารุงดิน ร้อยละ 74.51 และได้นําความรู้ไปใช้ 32   

ประโยชน์ร้อยละ 85.71 โดยนําไปใช้ระดับปานกลาง ร้อยละ 44.74 ระดับมาก ร้อยละ 28.95 และระดับ ค่อนข้างมาก ร้อยละ 21.05 ระดับค่อนข้างน้อย และระดับน้อยในสัดส่วนที่เท่ากันร้อยละ 2.63 และไม่ได้ นําไปใช้ประโยชน์ ร้อยละ 14.29 สุดท้ายเกษตรกรสว่ นใหญไ่ ด้รบั การตรวจวเิ คราะหด์ นิ รอ้ ยละ 80 และพื้นทีท่ ่ี ไดร้ บั การตรวจวิเคราะหด์ นิ เฉลยี่ 16 ไร่ 1.2) การทําเกษตรดีท่ีเหมาะสม (GAP) โดยสํานักงานเกษตรจงั หวัดจันทบุรีและสาํ นักวิจัย และพัฒนาการเกษตรที่ 6 ได้ดําเนินการอบรมความรู้และถ่ายทอดความรู้การทําเกษตรดีท่ีเหมาะสม (GAP) และมีการนําความรู้ท่ีได้รับไปใช้ประโยชน์ให้กับเกษตรกรชาวสวนผลไม้ มีเกษตรกรท่ีได้รับการถ่ายทอด ความรู้ การทําเกษตรดที ่เี หมาะสม (GAP) ร้อยละ 46.48 และยังมีเกษตรกรที่ไมไ่ ดร้ ับการถ่ายทอดความรู้ การ ทําเกษตรดีที่เหมาะสม ร้อยละ 53.52 เรื่องที่ถ่ายทอดความรู้เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นการทําเกษตรดีที่ เหมาะสม มงั คุด ทุเรยี น และเงาะ ได้รับการอบรมเฉล่ยี 2 ครง้ั ต่อปี สว่ นใหญ่นาํ ความรู้ทไ่ี ด้รับจากการอบรม ไปใช้ประโยชน์ร้อยละ 97.06 โดยนําไปใช้ระดับปานกลาง ร้อยละ 47.06 ระดับมาก ร้อยละ 29.41 และ ระดบั คอ่ นขา้ งมาก รอ้ ยละ 20.59 ระดับคอ่ นขา้ งน้อย รอ้ ยละ 2.94 และไม่ไดน้ าํ ไปใช้ประโยชน์ รอ้ ยละ 2.94 1.3) การทําเกษตรอินทรยี ์ โดยสํานักงานเกษตรจังหวัดจนั ทบุรี ได้ดําเนนิ การอบรมความรู้ และถ่ายทอดความรู้การทําเกษตรอินทรีย์และมีการนําความรู้ท่ีได้รับไปใช้ประโยชน์ให้กับเกษตรกรชาวสวน ผลไม้ มีเกษตรกรที่ได้รับการถ่ายทอดความรู้ การทําเกษตรอินทรีย์ร้อยละ 28.57 และยังมีเกษตรกรท่ีไม่ได้ รบั การถ่ายทอดความรู้ การทําเกษตรอินทรีย์มากถึงร้อยละ 71.43 เรื่องท่ีถ่ายทอดความรู้เกษตรกรได้รบั การ ถ่ายทอดความรู้ส่วนใหญ่เป็นการทําเกษตรอินทรีย์ในสวนผลไม้ ได้รับการอบรมเฉล่ีย 2 ครั้งต่อปี ส่วนใหญ่ ได้นําความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ร้อยละ 87.50 โดยนาํ ไปใชร้ ะดบั ปานกลาง รอ้ ยละ 50.00 ระดับคอ่ นข้างมากและ ระดับมากในสัดส่วนเท่ากันร้อยละ 21.43 ระดับค่อนข้างน้อย ร้อยละ 7.14 และไม่ได้นําไปใช้ประโยชน์ ร้อยละ 12.50 1.4) การทําประมง โดยศูนย์วิจัยประมงชายฝั่งจังหวัดจันทบุรี ได้ดําเนินการอบรมความรู้ และถา่ ยทอดความรู้การเล้ยี งกุ้งและมีการนําความรู้ท่ไี ดร้ บั ไปใชป้ ระโยชนใ์ หก้ ับเกษตรกรผเู้ ล้ียงกงุ้ มีเกษตรกร ท่ีได้รับการถ่ายทอดความรู้เก่ียวกับการรับรองมาตรฐานด้านประมงร้อยละ 38.71 และยังมีเกษตรกรท่ีไม่ได้ รับการถ่ายทอดความรู้มากถึงร้อยละ 61.29 เรื่องที่ถ่ายทอดความรู้เกษตรกรได้รับการถ่ายทอดความรู้ส่วน ใหญ่เป็นการเตรียมบ่อเลี้ยงกุ้งให้ปลอดเชื้อโรค ได้รับการอบรมเฉล่ีย 2 ครั้งต่อปี ส่วนใหญ่ได้นําความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ร้อยละ 92.00 โดยนําไปใช้ระดับค่อนข้างมาก ร้อยละ 47.83 ระดับปานกลาง ร้อยละ 26.09 ระดับมาก ร้อยละ 21.74และระดับคอ่ นขา้ งน้อย ร้อยละ 4.35 และไมไ่ ด้นาํ ไปใช้ประโยชน์ ร้อยละ 8.00 2) การใชส้ ารเคมี/สารชวี ภาพในการผลิตสนิ คา้ เกษตร 2.1) ไม้ผล ได้แก่ ทุเรียน เงาะ และมังคุด ทั้ง 3 ชนิดมีเนื้อท่ีปลูกรวม 555.25 ไร่ โดยมี การใช้ป๋ยุ คอก 247,447 กิโลกรัม หรือเฉล่ียไรล่ ะ 445.65 กโิ ลกรัม ปยุ๋ อินทรีย์ 74,747 กิโลกรัม หรือเฉลี่ยไร่ ละ 134.62 กิโลกรัม ปุ๋ยเคมี 63,633 กิโลกรัม หรือเฉล่ียไร่ละ 114.60 กิโลกรัม สารฆ่าแมลงยาปราบ ศัตรูพืช 894 ลิตรหรือเฉลี่ยไร่ละ 1.61 ลิตร ยาปราบวัชพืช 720 ลิตร หรือเฉลี่ยไร่ละ 1.30 ลิตร ฮอร์โมน 1,432 ลติ รหรอื เฉลี่ยไร่ละ 2.58 ลติ ร สารปรับปรงุ บาํ รุงดิน 2,580 กโิ ลกรมั หรือเฉลย่ี ไร่ละ 4.65 กโิ ลกรมั 33   

ทุเรียน มีเนื้อที่ปลูกรวม 235.25 ไร่ ใช้ปุ๋ยคอก 33,586 กิโลกรัมหรือเฉล่ียไร่ละ 142.77 กิโลกรัม ปุ๋ยอินทรีย์ 40,058 กิโลกรัมหรือเฉล่ียไร่ละ 170.28 กิโลกรัม ปุ๋ยเคมี 29,113 กิโลกรัมหรือเฉลี่ยไร่ ละ 123.75 กิโลกรัม สารฆ่าแมลงยาปราบศัตรูพืช 293 ลิตรหรือเฉล่ียไร่ละ 1.25 ลิตร ยาปราบวัชพืช 249 ลิตรหรือเฉลี่ยไร่ละ 1.06 ลิตร ฮอร์โมน 1,192 ลิตรหรือเฉล่ียไร่ละ 5.07 ลิตร สารปรับปรุงบํารุงดิน 1,570 กิโลกรมั หรือเฉลย่ี ไร่ละ 6.67 กิโลกรมั เงาะ มีเน้ือที่ปลูกรวม 33.75 ไร่ ใช้ปุ๋ยคอก 51,100 กิโลกรัมหรือเฉล่ียไร่ละ 1514.07 กิโลกรัม ปุ๋ยอินทรีย์ 475 กิโลกรัมหรือเฉล่ียไร่ละ 14.07 กิโลกรัม ปุ๋ยเคมี 4,756 กิโลกรัมหรือเฉล่ียไร่ละ 140.92 กิโลกรัม สารฆ่าแมลงยาปราบศัตรูพืช 16 ลิตรหรือเฉลี่ยไร่ละ 0.47 ลิตร ยาปราบวัชพืช 39 ลิตร หรอื เฉลี่ยไรล่ ะ 1.16 ลติ ร ฮอรโ์ มน 11 ลิตรหรอื เฉลย่ี ไรล่ ะ 0.33 ลติ ร และไมม่ ีการใช้สารปรบั ปรงุ บํารงุ ดิน มังคุด มีเนื้อที่ปลูกรวม 286.25 ไร่ ใช้ปุ๋ยคอก 162,760 กิโลกรัมหรือเฉล่ียไร่ละ 568.59 กิโลกรัม ปุ๋ยอินทรีย์ 34,214 กิโลกรัมหรือเฉลี่ยไร่ละ 119.52 กิโลกรัม ปุ๋ยเคมี 29,764 กิโลกรัมหรือเฉลี่ยไร่ ละ 103.98 กิโลกรัม สารฆ่าแมลงยาปราบศัตรูพืช 584 ลิตรหรือเฉล่ียไร่ละ 2.04 ลิตร ยาปราบวัชพืช 432 ลิตรหรือเฉล่ียไร่ละ 1.51 ลิตร ฮอร์โมน 229 ลิตรหรือเฉล่ียไร่ละ 0.80 ลิตร สารปรับปรุงบํารุงดิน 1,010 กโิ ลกรมั หรอื เฉลย่ี ไร่ละ 3.53 กิโลกรัม 2.2) ประมง(กงุ้ ) การผลติ กุ้ง มีเนอ้ื ทีฟ่ ารม์ 364.75 ไร่ มตี ้นทนุ คา่ วัสดอุ ุปกรณ์การเกษตร รวม 24,689,786 บาทหรือเฉลีย่ ไรล่ ะ 67,690 บาท และตน้ ทนุ ค่าจ้างแรงงานรวม 1,404,985 บาทหรอื เฉล่ยี ไร่ละ 3,852 บาท รวมเปน็ ตน้ ทนุ ทั้งหมด 26,094,771 บาทหรือเฉล่ยี ไรล่ ะ 71,542 บาท 3) การผลิตเปน็ มติ รตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม เกษตรกรที่ทําการผลิตที่เป็นมิตรส่ิงแวดล้อม (ก่อนเข้าร่วมโครงการ) จํานวน 74 ราย คิด เป็นร้อยละ 87.06 และไม่ทํา 11 ราย คิดเป็นร้อยละ 12.94 โดยเกษตรที่ดําเนินการผลิตที่เป็นมิตรกับ สง่ิ แวดล้อมส่วนใหญ่ แยกขยะที่ไม่ใช้แลว้ จากครัวเรือน รอ้ ยละ25.37 รองลงมา การใช้สารอินทรียเ์ พอ่ื ลดการ ใช้สารเคมที างการเกษตร ร้อยละ22.93 และนาํ สิ่งท่เี หลือใช้มาผลิตป๋ยุ หมกั ชีวภาพ รอ้ ยละ19.02 4) ผลผลติ ที่ได้รับ ปริมาณผลผลิตท่ีได้รับต่อไร่ อันดับหน่ึงคือ เงาะ 2,380.92 กิโลกรัม รองลงมามังคุด 1,613.83 กโิ ลกรมั ทเุ รียน 1,192.91 กิโลกรัม และกุง้ 454.70 กิโลกรมั 5) พน้ื ทแี่ ละเกษตรกรทไี่ ด้รบั รองมาตรมาตรฐาน GAP และเกษตรอนิ ทรยี ์ เกษตรกรที่ได้รับรองมาตรฐาน GAP ร้อยละ 96.47 โดยแบ่งเป็น ไม้ผลร้อยละ 83.64 ของ เกษตรกรตวั อย่างไมผ้ ลท้ังหมด ประมง(กุ้ง) ร้อยละ 96.67 ของเกษตรกรตัวอยา่ งประมงท้ังหมด พื้นท่ีทผี่ ่าน การรับรองมาตรฐานเป็นไม้ผล 494.75 ไร่ ประมง(กุ้ง) 389.25 ไร่ มีปริมาณผลผลิตไม้ผล 434,110 กิโลกรัม ผลผลิตประมง(กงุ้ ) 199,870 กิโลกรมั และมเี กษตรท่ีได้รบั รองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ จาํ นวน 3 ราย มพี ้ืนที่ 36.13 ไร่ ปรมิ าณผลผลิตที่ได้ 38,700 กิโลกรัม 6) การตลาด เกษตรกรส่วนใหญ่ร้อยละ 84.34 คิดว่าในจังหวัดไม่มีแหล่งจําหน่ายสินค้าเกษตรท่ีผ่านการ รับรอง GAP หรือเกษตรอินทรีย์ และเกษตรกรร้อยละ 13.25 คิดว่าในจังหวัดมีแหล่งจําหน่ายสินค้าเกษตรท่ี 34   

ผ่านการรับรอง GAP หรอื เกษตรอินทรีย์ และไมท่ ราบรอ้ ยละ 2.41 สว่ นใหญ่ไม่ไดน้ าํ ผลผลติ ทผี่ า่ นการรบั รอง GAP หรือเกษตรอินทรีย์ไปจําหน่ายในตลาดเกษตรกรร้อยละ 82 และนํามาจําหน่ายร้อยละ 18 เกษตรกร ส่วนใหญ่ไม่มีการรวมกลุ่มจําหน่ายตามระบบการผลติ สินค้า GAP/เกษตรอินทรีย์มากถึงรอ้ ยละ 93.44 และมี การรวมกลุม่ เพียงร้อยละ 6.56 4.1.3 ด้านเศรษฐกจิ และสังคม 1) การถือครองท่ีดนิ และการใชป้ ระโยชนท์ าํ การเกษตร เกษตรกรตัวอย่างมีท่ีดินทํางานเกษตร ทั้งหมดประมาณ 2,198.31 ไร่ มีลักษณะการถือ ครองที่ดินส่วนใหญ่เป็นของตนเอง ร้อยละ 88.93 เช่าผู้อื่น ร้อยละ 5.74 ได้ทําฟรี ร้อยละ 3.69 ให้ผู้อื่นเช่า ร้อยละ 1.23 และพื้นท่ีติดจํานอง/ขายฝาก ร้อยละ 0.41 โดยเป็นพื้นท่ีมีการใช้ประโยชน์ทําการเกษตร 2,122.38 ไร่ หรือร้อยละ 96.55 แบ่งเป็นพื้นที่ไม้ผล 1,382.88 ไร่ พ้ืนที่ประมง 420.25 ไร่ และพื้นท่ีไม้ยืน ตน้ 273.25 ไร่ และพื้นทบ่ี อ่ น้าํ ปลกู ตน้ กก 28 ไร่ และพ้นื ท่ีอ่นื ๆ 75.93 ไร่ หรือรอ้ ยละ 3.45 แบ่งเปน็ พืน้ ที่ท่ี อยู่อาศยั 35.70 ไร่ และพ้นื ท่ีปลอ่ ยวา่ ง 40.23 ไร่ 2) รายได้ รายจ่ายของครวั เรือนเกษตร สมาชิกมีรายได้เฉล่ียต่อครัวเรือนต่อปี 619,954 บาท ส่วนใหญ่มาจากรายได้หลักทาง การเกษตร 513,023 บาท ซ่ึงรายได้มาจากไม้ผล 480,919 บาท หรือร้อยละ 96.19 รองลงมารายได้จาก ประมง 10,235 บาทหรือร้อยละ 2.05 ปศุสัตว์ (ไก่เน้ือ) 4,800 บาทหรือร้อยละ 0.96 และรายได้จากพืชผัก พืชไร่ ข้าว 4,034 บาท หรือร้อยละ 0.80 และรายได้จากการเกษตรในฟาร์มอื่นๆ 13,035 บาท และรายได้ นอกการเกษตร 106,931 บาท ซ่ึงส่วนใหญ่มาจากเงินเดือนของสมาชิกในครัวเรือน และค่าเช่า ด้านรายจ่าย เฉล่ียต่อครัวเรือนต่อปี 484,367 บาท เปน็ รายจ่ายของทางการเกษตร 113.753 บาท รายจ่ายทางการเกษตร อ่ืนๆ 43,205 บาท และรายจ่ายนอกการเกษตร 327,409 บาท ทําให้สมาชิกมีรายได้เฉลี่ยสุทธิของครัวเรือน ประมาณ 135,587 บาท 3) ทรพั ยส์ นิ และหนสี้ นิ ของครวั เรอื น มูลค่าของทรัพย์สินต่อครัวเรือนต่อปี 8,607,809 บาท แบ่งออกเป็น มูลค่าท่ีอยู่อาศัย เฉลี่ย 1,011,647 บาท และมูลค่าที่ดินทางการเกษตร เฉลี่ย 7,596,162 บาท ส่วนมูลค่าหน้ีสินต่อครัวเรือนต่อปี 280,316 บาท แบ่งเป็นหน้ีสินในระบบ 277,846 บาท และหน้ีนอกระบบ 2,470 บาท โดยหน้ีสินในระบบกู้ มาจาก ธกส. เฉลีย่ 150,682 บาท กองทุนหมู่บ้านเฉลยี่ 15,176 บาท ธนาคารเฉล่ยี 80,235 บาท สหกรณ์ เฉล่ีย 31,518 บาท และกลุ่มแม่บ้านเฉล่ีย 235 บาท ส่วนหน้ีสินนอกระบบกู้มาจาก เพื่อนบ้าน เฉลี่ย 1,175 บาท และญาตพิ นี่ อ้ งเฉล่ีย 1,294 บาท ซงึ่ สมาชิกยงั มีทรพั ยส์ นิ มากกว่าหนสี้ นิ ประมาณ 8,327,493 บาท 4.1.4 ดา้ นสขุ ภาพอนามัย ในรอบปี 2557 สมาชิกในครัวเรือนได้รับการตรวจสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในเลือด ร้อยละ 69.77 และไม่ไดร้ ับการตรวจสารเคมีทางการเกษตรตกคา้ งในเลือด ร้อยละ 30.23 เหตุผลเพราะส่วนใหญ่ไม่มี เวลาไปและจ้างพ่นยา ทงั้ น้ี สมาชิกในครัวเรือนที่ได้รับการตรวจไมพ่ บสารเคมีตกค้างในเลอื ดร้อยละ 80 และ 35   

พบสารเคมีตกค้างในเลือด ร้อยละ 20 และมีการเจ็บป่วยของคนในครัวเรือนจากสารเคมีทางการเกษตรท่ี ตกค้างในร่างกายร้อยละ 25 ของสมาชิกท่ีพบสารเคมีในเลือด โดยไดร้ ับการตรวจเฉลี่ยครวั เรือนละ 2 คน การประเมินผลก่อนโครงการได้สํารวจความคิดเห็นในมุมมองจากสมาชิกท่ีร่วมโครงการเมืองเกษตร สีเขียวจังหวัดจันทบุรีเก่ียวกับกิจกรรมท่ีเกิดจากโครงการเมืองเกษตรสีเขียวทําให้ชุมชนของท่านมีความ เข้มแข็งหรือไม่ พบว่า กิจกรรมที่เกิดจากโครงการเมืองเกษตรสีเขียวทําให้ชุมชนของท่านมีความเข้มแข็ง ร้อยละ 81.18 เนื่องจากเกษตรกรต่ืนตัวทําเกษตรสีเขียวมากข้ึน มีการประชุมมากขึ้นหันมาคุยกันได้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กันและมีผู้นําชุมชนท่ีเข้มแข็ง ทําให้มีความรู้ได้ฝึกปฏิบัติในพ้ืนท่ีและปรับพฤติกรรมการใช้ ชีวิตให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ลดต้นทุนการผลิต คุณภาพดินดีขึ้น ทําให้ส่ิงแวดล้อมดีขึ้น ทําให้การเลี้ยงกุ้ง ยง่ั ยนื ขึน้ และไมท่ ําใหช้ ุมชนของทา่ นมคี วามเขม้ แขง็ ร้อยละ 18.82 เนือ่ งจากยังมีเกษตรกรไมไ่ ด้ปรบั เปลี่ยนวิถี การผลิตเพราะแบบเดิมก็ขายได้ปกติ การดําเนินการยังไม่จริงจังทําในบางตําบลต้องตั้งระบบกลุ่มตําบล/ หมู่บ้าน แล้วกระตุ้นชาวสวนให้อยากทําเมืองเกษตรสีเขียว ภาครัฐต้องมาส่งเสริมอย่างต่อเน่ืองเพราะเพ่ิง เร่มิ ต้นโครงการเพ่ือใหเ้ กษตรกรเข้าใจใหเ้ พียงพอ 4.2 ข้อเสนอแนะ จากผลการประเมินก่อนโครงการของเมืองเกษตรสีเขียวจังหวัดจันทบุรีส่วนใหญ่สมาชิกเกษตรกรมี ความสนใจใฝเ่ รียนรู้และพฒั นาตนเองพฒั นาสินค้าอย่างต่อเนอื่ งนบั เป็นจุดแขง็ ท่สี าํ คญั ของการพฒั นาขน้ั ต่อไป แต่ท้ังนี้มีข้อเสนอแนะต่อกิจกรรมของโครงการเมืองเกษตรสีเขียวควรดําเนินการต่อเนื่องให้เห็นเป็นรูปแบบ ธรรมนําร่องให้สําเร็จเห็นผลแล้วขยายเพราะการสร้างเมืองต้องใช้เวลาหลายปี ดังน้ัน หน่วยงานทุกภาคส่วน ท้ังภาครัฐ เอกชน ประชาชนควรร่วมมือบูรณาการงานตามภารกิจให้เกิดโครงการพัฒนาจันทบุรีเมืองเกษตร สีเขยี ว ประกอบด้วย การพัฒนาคนในเมืองเกษตรควรอบรมต่อยอดเสริมสร้างเน้นการทํางานเป็นกลุ่มให้ฝึกปฏิบัติอย่าง สมํ่าเสมอ พาไปศึกษาดูงานเทคนิคการผลิตแบบต่าง ๆ จัดต้ังกลุ่มสมาชิกเมืองเกษตรสีเขียวอย่างเป็น รูปธรรมตามถนัดและตามความสามารถเพื่อนําการผลิต เช่น ทําปุ๋ยสั่งตัด/ปุ๋ยอินทรีย์ เกษตรอินทรีย์ เกษตร เพ่ือการท่องเท่ียวในหมู่บ้าน เป็นต้น รวมทั้งให้หน่วยงานที่มีผลวิจัยมาถ่ายทอดหรือมาต่อยอดกับภูมิปัญญา ท้องถ่ินเป็นงานวิจัยเชิงปฏิบัติในเมืองเกษตร หรือเชิญชวนให้หน่วยงานวิชาการหลายศาสตร์มาทดลองใน ตําบลเมืองเกษตร เช่น ด้านเครื่องจักรกล เทคโนโลยีการเก็บเก่ียว การเล้ียงก้งุ การประหยัดพลังงาน เป็นต้น และและใช้เทคโนโลยี (Social Network) มาช่วยส่ือสารกระจายข่าวสาร องค์ความรู้ให้กับสมาชิกเพ่ือ เสริมแรงขับเคล่ือนเชิงบวกรวมทั้งเป็นช่องทางการรับฟังความคิดเห็นข้อเสนอแนะจากสมาชิกโดยการยึด เกษตรกรเป็นศูนย์กลาง การพัฒนาสินค้าควรถ่ายทอดเทคนิคการผลิตเพ่ิมมูลค่าผลผลิตหรือจับคู่เครือข่าย ธุรกิจ ผู้ประกอบการทําการแปรรูปที่เป็นมิตรต่อสุขภาพ เป็นมิตรต่อผู้บริโภค สร้างผลิตภัณฑ์เด่นเป็นของ ฝากของทร่ี ะลึกทีม่ ีแบรนดข์ องเมอื งเกษตรสีเขยี วรบั รองต่อยอดสู่เครือขา่ ยตลาดเกษตรกรและตลาดชั้นนํา และการพัฒนาเมืองเกษตร ด้านแหล่งนํ้า เช่น ขุดลอกคลองธรรมชาติและลํานํ้าสาขา การสร้างระบบท่อส่ง นํ้าหรือแหล่งกักเก็บน้ําต้นทุนสํารองในพื้นที่เพ่ือรองรับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ เป็น ต้น ด้านการตลาดมีจุดรวมจําหน่ายและกระจายผลิตภัณฑ์ของเมืองเกษตรสีเขียวและพัฒนาเมืองเกษตรสี เขยี วให้มจี ดุ ท่องเทย่ี วเชงิ เกษตรปลอดภัยเปน็ มติ รตอ่ สงิ่ แวดล้อมเป็นสญั ลกั ษณข์ องเมอื งเกษตรสเี ขยี วตอ่ ไป 36   

บรรณานกุ รม สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2556. การศึกษาเศรษฐกิจสีเขียวในบริบทของภาคการเกษตร. กรุงเทพฯ : กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์ สํานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร. 2556. คู่มอื การประเมินผล. กรงุ เทพฯ :กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 37   

คณะผจู้ ดั ทาํ นางสาวนรศิ รา เอย่ี มคุ้ย ตาํ แหนง่ เศรษฐกรชํานาญการพิเศษ นางสาวเสาวลักษณ์ ฉิมพลี ตาํ แหนง่ ผู้ชว่ ยนักวิจัยและประเมินผล คณะสํารวจขอ้ มลู นางสาวนรศิ รา เอี่ยมคยุ้ ตาํ แหนง่ เศรษฐกรชํานาญการพิเศษ นายศิระเวช ธารเพชรวัฒนา ตาํ แหน่งนกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนชาํ นาญการ นางสาวโศจิรัตน์ แกน่ เพ็ชร ตาํ แหน่งพนักงานวเิ คราะหข์ ้อมลู 38