Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรปผลการติดตามดำเนินงานแบบโครงการคลีนิคเกษตรเคลื่อนที่ จ.ชลบุรี

สรปผลการติดตามดำเนินงานแบบโครงการคลีนิคเกษตรเคลื่อนที่ จ.ชลบุรี

Description: Sum

Search

Read the Text Version

สรปุ ผลการติดตามผลการดาํ เนินงานแบบโครงการคลินิกเกษตรเคล่ือนท่ี จงั หวดั ชลบุรี เนอ�ื หาสําคัญประกอบดว้ ย 1. ขอ มลู ทว่ั ไปของผเู ขารับบริการคลินกิ เกษตรเคลอื่ นที่ฯ 2. การรบั บรกิ ารคลนิ ิกเกษตร การไปใชประโยชนแ ละผลจากการนําไปใช ประโยชน 3. ความพึงพอใจ ปญ หาและขอ เสนอแนะ ไดร้ บั ความรว่ มมอื จาก ผูเขารับบรกิ ารคลนิ กิ เกษตรเคล่อื นที่ฯ หนวยงานในสงั กัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ สอบถามขอ มลู เพม่ิ เติม สว นวจิ ยั และประเมนิ ผล สาํ นกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 6 โทร 0-3835-1398 อเี มล [email protected]

สรุปผลการติดตามผลการดำเนินงานแบบโครงการคลนิ กิ เกษตรเคล่อื นท่ี จังหวัดชลบรุ ี สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 6 ได้ติดตามผลการดำเนินงานคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ในพื้นท่ีท่ีมีการจัดงาน คลินิกเกษตรเคลื่อนท่ี จังหวัดชลบุรี ในวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ปีงบประมาณ 2563 ณ หอประชุมที่ว่า การอำเภอบ่อทอง ตำบลบ่อทอง อำเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี ซ่ึงทำการติดตามผลในเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2563 โดยสุ่มสัมภาษณ์เกษตรกรท่ีผ่านการรับบริการคลินิกจำนวน 60 ราย เป็นเกษตรกรท่ีได้รับบริการแบบเบ็ดเสร็จ ทง้ั หมด สรุปผลการติดตามเกษตรกรทเ่ี ขา้ รับบรกิ ารคลินิกเกษตรเคล่ือนท่ีฯ ได้ดงั นี้ 1. การรับบรกิ ารคลนิ ิกเกษตรเคลื่อนที่ แบบเบด็ เสรจ็ 1. ข้อมูลพื้นฐานของเกษตรกร ผู้เข้ารับบริการคลินิกเกษตรปีงบประมาณ 2563 พบว่าเป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 55.00 และหญิง คิดเป็นร้อยละ 45.00 อายุของผู้เข้ารับบริการคลินิกส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ มากกวา่ 60 ปี คิดเป็นรอ้ ยละ 33.33 รองลงมาคือ ชว่ งอายุ 41-50 ปี คดิ เป็นร้อยละ 30.00 ชว่ งอายุ 51 – 60 ปี คิดเป็นร้อยละ 26.67 ช่วงอายุ 31-40 คิดเปน็ ร้อยละ 8.33 และช่วงอายุน้อยกว่า 20 ปี คิดเป็นร้อยละ 1.67 โดยส่วนใหญ่จบการการศึกษาระดับประถมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 68.33 รองลงมาคือ ระดับมัธยมศึกษา คิดเป็น รอ้ ยละ 15.00 ไม่ได้เรียน/ไม่จบประถมศึกษาเท่ากับระดับอาชีวศึกษา/อนุปริญญาเท่ากับระดับปริญญาตรี คิดเป็น ร้อยละ 5.00 และสูงกว่าปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 1.67 การประกอบอาชีพด้านการเกษตร ผูเ้ ข้ารับบรกิ ารคลินิก เกษตรส่วนใหญ่ค้าขาย/รบั จ้าง/บริการ คิดเป็นร้อยละ 36.67รองลงมาคือทำนา/ทำไร่ คิดเป็นร้อยละ 35.00ไม่ได้ ประกอบอาชีพ คิดเป็นร้อยละ 15.00 และปลูกผัก/ไม้ผล/ไม้ยืนต้น คิดเป็นร้อยละ 13.33 การถือครองที่ดินของ เกษตรกรผู้เข้ารับบริการคลินิกเกษตรส่วนใหญ่ไม่มีพื้นที่ถือครอง คิดเป็นร้อยละ 48.34 รองลงมาคือ มีพื้นท่ีถือ ครองมากกว่า 15 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 23.33 ลำดับต่อมาคือมีพื้นท่ีถือครอง 6-10 ไร่ สัดส่วนเท่ากัน น้อยกว่า5 ไร่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 13.33 และมพี น้ื ทถ่ี ือครอง11-15 ไร่ คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.67 ดงั แสดงในตารางที่ 1 ตารางท่ี 1 ข้อมูลพื้นฐานของเกษตรกร รายการ รอ้ ยละ 1. เพศ 55.00 - ชาย 45.00 - หญิง 1.67 2. อายุ - - นอ้ ยกวา่ 20 ปี - 21 – 30 ปี 8.33 - 31 – 40 ปี 30.00 - 41 – 50 ปี 26.67 - 51 – 60 ปี 33.33 - มากกว่า 60 ปี 5.00 3. การศกึ ษา 68.33 - ไม่ไดเ้ รยี น/ไม่จบประถมศึกษา 15.00 - ประถมศกึ ษา 5.00 - มัธยมศกึ ษา 5.00 - อาชวี ศึกษา/อนปุ ริญญา 1.67 - ปริญญาตรี - สูงกว่าปริญญาตรี

๒ ตารางที่ 1 ข้อมูลพืน้ ฐานของเกษตรกร (ต่อ) รอ้ ยละ รายการ 35.00 - 4. อาชพี หลกั - ทำนา/ทำไร่ 13.33 - เลีย้ งสตั ว์/ประมง - - ปลูกผกั /ผลไม/้ ไม้ยนื ตน้ - รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ 36.67 - คา้ ขาย/รับจ้าง/บริการ 15.00 - ไมไ่ ด้ประกอบอาชีพ 48.34 5. พ้นื ทถี่ ือครองทำการเกษตร 13.33 - ไมม่ พี น้ื ทถี่ ือครอง 13.33 - น้อยกว่า 5 ไร่ 1.67 - 6 - 10 ไร่ 23.33 - 11 - 15 ไร่ - มากกวา่ 15 ไร่ข้นึ ไป ที่มา : จากการสำรวจ 2. การรับบริการคลินกิ เกษตรและการนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ผู้ทเี่ ขา้ รับบริการคลินิกเกษตรแตล่ ะรายมจี ุดประสงค์ในการเข้ารับบริการ หรอื ได้รับบริการท่แี ตกตา่ งกัน โดย พิจารณาเฉพาะในคลินิกหลักๆ ได้แก่ คลินิกพืช ดิน ปศุสัตว์ ประมง ข้าว บัญชี สหกรณ์ และกฎหมาย และคลินิก เสริม ได้แก่ คลินิกเศรษฐกจิ การเกษตร คลินิกเกษตรจังหวัดชลบุรี คลินิกสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดชลบุรี คลินกิ ศูนย์ขยายพันธ์ุพืชที่ 1 จังหวดั ชลบุรี รายละเอียดดงั ตารางที่ 2 2.1) คลินิกพืช ผู้เข้ารับบริการมีวัตถุประสงค์เพ่ือชมงาน/นิทรรศการภายในคลินิกมีสัดส่วนเท่ากันขอรับ ปัจจัยการผลิต คิดเป็นร้อยละ 39.47 รองลงมาคือขอรับเอกสาร/ความรู้ คิดเป็นร้อยละ 21.06 ส่วนการได้รับ ประโยชน์จากการบริการของคลนิ ิกพืชคือ ได้รบั ความรู้ คิดเปน็ รอ้ ยละ 40.00 รองลงมาคอื ได้รับแจกวสั ด/ุ ปัจจัยการ ผลิต เชน่ พันธ์ุผักสวนครัว คิดเป็นรอ้ ยละ 38.67 และไดร้ ับคำแนะนำการแกไ้ ขปัญหา คิดเป็นรอ้ ยละ 21.33 ผู้เข้ารับบริการคลินิกพืชได้นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ คิดเป็นร้อยละ 86.67 ผลจากการนำ ความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ทำให้มีผลผลิตเพื่อบริโภค/จำห น่าย คิดเป็นร้อยละ 100 ส่วน ผู้เข้ารับบริการคลินิกพืชไม่ได้นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ คดิ เป็นร้อยละ 13.33 เน่ืองจากต้องการเที่ยว ชมงาน คิดเปน็ ร้อยละ 100 2.2) คลินิกดิน ผู้เข้ารับบริการมีวัตถุประสงค์เพ่ือชมงาน/นิทรรศการภายในคลินิกมีสัดส่วนเท่ากันกับ ขอรับปัจจัยการผลิต คิดเป็นร้อยละ 33.78 รองลงมาคือขอรับเอกสาร/ความรู้ คิดเป็นร้อยละ 32.44 ส่วนการ ได้รับประโยชน์จากการบริการของคลินิกดินคือ ได้รับความรู้มีสัดส่วนเท่ากันกับได้รับแจกวัสดุ/ปัจจัยการผลิต เช่น เอกสารเผยแพร่ทางวิชาการด้านพัฒนาที่ดิน เอกสารแนะนำการเก็บตัวอย่างดินเพ่ือการวิเคราะห์สำหรับปลูกพืช เอกสารแนะนำการเก็บตวั อย่างปุย๋ หมกั และน้ำหมักชวี ภาพ แจกสารเร่งซุปเปอร์ พด.1,2,3,6,7 แจกน้ำหมักชีวภาพ คดิ เป็นร้อยละ 33.78 และการได้รบั คำแนะนำการแก้ไขปัญหา คิดเป็นรอ้ ยละ 32.44

๓ ผู้เข้ารับบริการคลินิกดิน ได้นำความรู้หรือคำแนะไปใช้ประโยชน์ คิดเป็นร้อยละ 96.00 ผลจากการนำ ความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ทำให้คุณภาพผลผลิตดีขึ้น คดิ เปน็ ร้อยละ 95.83 และลดการใช้สารเคมี คิดเป็น ร้อยละ 4.17 ส่วนผู้เข้ารับบริการคลินิกดินท่ีไม่ได้นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ คิดเป็นร้อยละ 4.00 เนื่องจากมีความประสงคท์ จ่ี ะเทยี่ วชมงานคดิ เป็นท้ังหมด คิดเป็นรอ้ ยละ 100 2.3) คลินกิ ปศุสัตว์ ผ้เู ข้ารับบริการมีวัตถุประสงค์เพ่ือชมงาน/นิทรรศการภายในคลินิกมสี ัดสว่ นเท่ากันกับ ขอรบั เอกสาร/ความรู้ คิดเปน็ ร้อยละ 50 สว่ นการได้รับประโยชน์จากการบริการของคลินิกปศุสัตว์ คือ ได้รับความรู้ ในการเล้ียงปศุสัตว์มีสัดส่วนเท่ากันกับได้รับคำแนะนำการแก้ไขปัญหาคิดเป็น ร้อยละ 44.44 และได้รับแจกวัสดุ/ ปัจจัยการผลิต เช่น แจกเอกสารแนะนำการเลี้ยงสัตว์และป้องกันโรคสัตว์การให้วัคซีน ทำหมันสัตว์ ยากำจัดเห็บ และ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 11.12 ผ้เู ข้ารับบริการคลินิกปศุสัตว์ ได้นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ คิดเป็นร้อยละ 75.00 ผลจากการ นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ทำให้สุขภาพสัตว์ดีขึ้น/ลดการตดิ เชื้อ คิดเป็นร้อยละ 100.00 ส่วนผู้เขา้ รับ บรกิ ารคลินิกปศุสัตว์ทไี่ มไ่ ดน้ ำความรู้หรอื คำแนะนำไปใช้ประโยชน์ คิดเปน็ ร้อยละ 25.00 เน่ืองจากตอ้ งการเทยี่ วชม งานเพยี งอย่างเดยี ว คิดเป็นร้อยละ 100 2.4) คลินิกประมง ผู้เข้ารับบริการมีวัตถุประสงค์เพ่ือชมงาน/นิทรรศการภายในคลินิกมีสัดส่วนเท่ากันกับ ขอรับเอกสาร/ความรู้ คิดเป็นร้อยละ 33.96 รองลงมาคือ ขอรับปัจจัยการผลิต คิดเป็นร้อยละ 32.08 ส่วนการ ได้รบั ประโยชนจ์ ากการบรกิ ารของคลินิกประมงคือ ได้รับความรู้การเลยี้ งสตั ว์น้ำ คดิ เป็นร้อยละ 36.73 รองลงมาคือ ได้รับแจกวัสดุ/ปัจจัยการผลิต ได้แก่ เอกสารวิชาการด้านการประมง พันธุ์ปลานิล พันธุ์ปลาสวยงาม คิดเป็นร้อยละ 34.69 และได้รับคำแนะนำการแก้ปญั หา คิดเปน็ รอ้ ยละ 28.58 ผู้เข้ารับบริการคลินิกประมง ได้นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ คิดเป็นร้อยละ 22.22 ผลจากการ นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ทำมีผลผลิตไว้บริโภคและจำหน่าย คิดเป็นร้อยละ 75.00 และอื่น ๆ เช่น เล้ียงปลาสวยงามมากินลูกน้ำ คิดเป็นร้อยละ 25.00 ส่วนผู้เข้ารับบริการคลินิกประมงที่ไม่ได้นำความรู้หรือ คำแนะนำไปใชป้ ระโยชน์ท้ังหมด คิดเป็นรอ้ ยละ 77.78 เนอ่ื งจากเขา้ ชมงานอย่างเดยี ว คิดเป็นร้อยละ 100 2.5) คลินิกข้าว ผู้เข้ารับบริการมีวัตถุประสงค์เพ่ือชมงาน/นิทรรศการภายในคลินิกมีสัดส่วนเท่ากันกับ ขอรบั เอกสาร/ความรู้ คิดเป็นร้อยละ 48.39 รองลงมาคอื ขอรบั ปจั จัยการผลติ คิดเป็นรอ้ ยละ 3.22 ส่วนการได้รับ ประโยชน์จากการบริการของคลินิกข้าวคือ ได้รับความรู้มีสัดส่วนเท่ากันกับได้รับคำแนะนำการแก้ไขปัญหา คิดเป็น รอ้ ยละ 48.39 และได้รบั แจกวสั ดุ/ปจั จัยการผลิต เอกสารวิชาการดา้ นข้าว คิดเปน็ รอ้ ยละ 3.22 ผู้เข้าร่วมรับบริการคลินิกข้าวไม่ได้นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ คิดเป็นร้อยละ 100 เน่ืองจาก ต้องเขา้ ชมงานอย่างเดยี ว คิดเปน็ ร้อยละ 100 2.6) คลินิกบัญชี ผู้เข้ารับบริการมีวัตถุประสงค์เพื่อชมงาน/นิทรรศการภายในคลินิกมีสัดส่วนเท่ากันกับ ขอรับเอกสาร/ความรู้ คิดเป็นร้อยละ 50.00 ส่วนการได้รับประโยชน์จากการบริการของคลินิกบัญชี คือการได้รับ ความรู้เรื่องการจัดทำบัญชีมสี ัดส่วนเท่ากันกับได้รับคำแนะนำการแกไ้ ขปญั หาเช่นไดร้ ับเอกสารและสมุดบัญชีรับ-จา่ ย ในครบั เรอื น กระปุกออมสนิ เพื่อส่งเสริมการออม คิดเป็นร้อยละ 50.00 ไม่ได้นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ คิดเป็นร้อยละ 100 เนื่องจากต้องการเข้าชมงานอย่างเดียว ทง้ั หมด คดิ เป็นร้อยละ 100.00 2.7) คลินิกสหกรณ์ ผู้เข้ารับบริการมีวัตถุประสงค์เพ่ือชมงาน/นิทรรศการภายในคลินิกมีสัดส่วนเท่ากันกับ ขอรบั เอกสาร/ความรู้ คดิ เปน็ ร้อยละ 50.00 ส่วนการได้รับประโยชนจ์ ากการบริการของคลินิกสหกรณ์ คือการได้รับ

๔ ความรู้มีสัดส่วนเท่ากันกับได้รับคำแนะนำการแก้ไขปัญหาและได้รับแจกน้ำยาอเนกประสงค์ เมล็ดพันธุ์พืช นม อดั เมด็ คดิ เป็นร้อยละ 50.00 ไม่ได้นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ร้อยละ 100 เน่ืองจากต้องการเข้าชมงานอย่างเดียวท้ังหมด คดิ เปน็ ร้อยละ 100.00 ผเู้ ข้ารบั บริการคลนิ กิ สหกรณ์ 2.8) คลินิกกฎหมาย ส.ป.ก. ผู้เข้ารับบริการมีวัตถุประสงค์เพื่อชมงาน/นิทรรศการภายในคลินิกมีสัดส่วน เท่ากันกับขอรับเอกสาร/ความรู้ คิดเป็นร้อยละ 50.00 ส่วนการได้รับประโยชน์จากการบริการของคลินิกกฎหมาย ส.ป.ก. คือการได้รับความรู้มีสัดส่วนเท่ากันกับได้รับคำแนะนำการแก้ไขปัญหาและได้รับเอกสารขั้นตอนการ ดำเนนิ การพิจารณาคำขอโอนสิทธเิ ขา้ ทำประโยชน์ ส.ป.ก.4-01 คดิ เป็นร้อยละ 50.00 ผู้ที่เข้ารับบริการคลินิกกฎหมาย ไม่ได้นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 100.00 เนื่องจากตอ้ งการเขา้ ชมงานเพยี งอย่างเดียว คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 2.9) คลินิกสำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตรที่6 ผู้เข้ารับบรกิ ารมีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือชมงาน/นทิ รรศการภายใน คลินิกมีสัดส่วนเท่ากันกับขอรับปัจจัยการผลิต คิดเป็นร้อยละ 35.71 รองลงมาคือ ขอรับเอกสาร/ความรู้ คิด เป็นร้อยละ 28.58 ส่วนการได้รับประโยชน์จากการบริการของคลินิกเศรษฐกิจการเกษตร คือ ได้รับความรู้มีสัดส่วน เท่ากันกับได้รับแจกวัสดุ/ปัจจัยการผลิต เช่น เอกสารวารสารเศรษฐกิจการเกษตร แจกต้นกล้าพืชผักสวนครัว คิดเป็น ร้อยละ 35.71 และไดร้ บั คำแนะนำการแก้ไขปัญหา คดิ เป็นรอ้ ยละ 28.58 ผ้ทู ี่เข้ารบั บริการคลินิกเศรษฐกิจการเกษตร พบว่าได้นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ คิดเป็นรอ้ ยละ 100 คือ มผี ลผลติ บรโิ ภค/จำหน่าย เช่น นำต้นกล้าผักสวนครัวไปปลูก คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 2.10) คลินิกเกษตรจังหวัดชลบุรี ผู้เข้ารับบริการมีวัตถุประสงค์เพ่ือชมงาน/นิทรรศการภายในคลินิกมี สัดส่วนเท่ากันกับขอรับเอกสาร/ความรู้ คิดเป็นร้อยละ 50.00 ส่วนการได้รับประโยชน์จากการบริการของคลินิก เกษตรจงั หวดั ชลบรุ ี คอื การไดร้ บั ความรมู้ สี ัดสว่ นเทา่ กันกับได้รบั คำแนะนำการแก้ไขปัญหา คดิ เป็นรอ้ ยละ 50.00 ผู้เข้ารับบริการคลินิกเกษตรจังหวัดชลบุรีไม่ได้นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ คิดเป็นร้อยละ 100 เน่อื งจากต้องการเข้าชมงานอยา่ งเดียวท้งั หมด คดิ เปน็ ร้อยละ 100.00 2.11) คลินิกสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดชลบุรี ผู้เข้ารับบริการมีวัตถุประสงค์เพ่ือชมงาน/ นิทรรศการภายในคลินิกมีสัดส่วนเท่ากันกับขอรับเอกสาร/ความรู้ คิดเป็นร้อยละ 50.00 ส่วนการได้รับประโยชน์ จากการบริการของคลินิกสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดชลบุรี คือการได้รับความรู้มีสัดส่วนเท่ากันได้รับ คำแนะนำการแก้ไขปัญหา เช่น แจกเอกสารเผยแพร่โครงการร้านอาหาร เอกสารกองทุน เอกสารพืชอินทรีย์ แผน่ รองแกว้ ถุงผ้าตราสัญลักษณ์Q คดิ เปน็ ร้อยละ 50.00 ผ้เู ข้ารบั บรกิ ารคลินิกสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด ชลบรุ ี ไม่ได้นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ คิดเป็นร้อยละ 100 เน่ืองจากต้องการเข้าชมงานอย่างเดียว ท้งั หมด คิดเปน็ ร้อยละ 100.00 2.12) คลินิกศูนย์ขยายพันธ์ุพืชที่ 1 จังหวัดชลบุรี ผู้เข้ารับบริการมีวัตถุประสงค์เพ่ือชมงาน/นิทรรศการ ภายในคลินิกมีสัดส่วนเท่ากันกับขอรับเอกสาร/ความรู้ คิดเป็นร้อยละ 35.71 รองลงมาคือ ขอรับปัจจัยการผลิต คดิ เป็นรอ้ ยละ 28.58 สว่ นการไดร้ บั ประโยชน์จากการบรกิ ารของคลนิ กิ ศูนยข์ ยายพันธ์พุ ืชที่ 1 จังหวดั ชลบุรี คือการ

๕ ได้รับความรู้มีสัดส่วนเท่ากันกับได้รับคำแนะนำการแก้ไขปัญหา คิดเป็นร้อยละ 35.71 และได้รับแจก วัสดุ/ปัจจัยการผลติ เช่น ต้นกล้าพืชผกั สวนครวั คิดเปน็ ร้อยละ 28.58 ผู้เข้ารับบรกิ ารคลินิกศูนย์ขยายพันธุพ์ ืชท่ี 1 จังหวดั ชลบุรีนำความรู้หรอื คำแนะนำไปใช้ประโยชน์ คิดเป็นรอ้ ยละ 100 เนื่องจากมผี ลผลิตบริโภค/จำหนา่ ย คิดเป็นรอ้ ยละ 100.00

ตารางที่ 2 การรบั บริการและการนำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ รายการ พชื ดนิ ปศุสตั ว์ ประมง ขา้ ว บ 1. วตั ถปุ ระสงค์ทเ่ี ขา้ รบั 39.47 33.78 50.00 33.96 48.39 5 -บรชกิ มางราน 21.06 5 -บรขิกอารรับเอกสาร/ความรู้ 39.47 32.44 50.00 33.96 48.39 - ขอรบั ปัจจัยการผลติ 33.78 - 32.08 3.22 - ขอปรกึ ษาปญั หา - - 2. การได้รบั ประโยชน์ - - - จากการบรกิ าร 40.00 - ได้ความรู้ 21.33 33.78 44.44 36.73 48.39 5 - ไดร้ บั คำแนะนำการ 32.44 44.44 28.58 48.39 5 -แกแ้ปสัญดงหวาธิ กี ารสาธิต - 33.78 -แกไดไ้ ข้รบั แจกวัสดุ ปจั จัย 38.67 - - - - อ่ืนๆ - 11.12 34.69 3.22 3. การนำความรู้หรือ - - คำแนะนำไปใช้ - - - -ปรนะำโไยปชในช์้ 86.67 - ไม่นำไปใช้ 13.33 96.00 75.00 22.22 - ทม่ี า : จากการสำรวจ 4.00 25.00 77.78 100.00 10

หนว่ ย: ร้อยละ คลินกิ บญั ชี สหกรณ์ กฎหมาย สศท.6 เกษตรจังหวดั กษ. ศูนยข์ ยายพนั ธ์พุ ืช 50.00 50.00 50.00 35.71 50.00 50.00 35.71 50.00 50.00 50.00 28.58 50.00 50.00 35.71 - - - 35.71 - - 28.58 ---- - - - 50.00 50.00 50.00 35.71 50.00 50.00 35.71 35.71 50.00 50.00 50.00 28.58 50.00 50.00 - -- - - - - 28.58 -- - 35.71 - - - -- - - - - -- - 100.00 - - 100.00 0- 00.00 100.00 100.00 - 100.00 100.00

2.2 การนำความรทู้ ่ไี ดร้ บั ไปเผยแพร/่ ถา่ ยทอด ผู้ที่เข้ารับบริการคลินิกเกษตรนำความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอด คิดเป็นร้อยละ 36.67 โดยเกษตรกร นำ ความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอดต่อผู้อ่ืน 207 ราย ส่วนเกษตรกรท่ีไม่ได้นำความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอด คิดเป็น รอ้ ยละ 63.33 โดยไม่ได้ถ่ายทอด เนื่องจากจำคำแนะนำไม่ได้ คิดเป็นร้อยละ 36.83 รองลงมายังไม่มีเวลาว่างที่จะ ดำเนนิ การถ่ายทอดเทยี บเท่ากันกับ คิดวา่ คนอื่นมีความรู้อยู่แล้ว คดิ เป็นร้อยละ 26.32 และอ่ืนๆ เช่น ไปกันอยู่แล้ว คิดเปน็ รอ้ ยละ 10.53 ดงั แสดงในตารางท่ี 3 ตารางที่ 3 การนำความรู้ท่ไี ดร้ ับไปเผยแพร/่ ถา่ ยทอด รายการ รอ้ ยละ 1. เผยแพรถ่ า่ ยทอด 36.67 - จำนวน 207 ราย 2. ไม่ได้ถ่ายทอด 63.33 - จำคำแนะนำไมไ่ ด้ 36.83 - ยังไมม่ เี วลาว่างทจี่ ะดำเนนิ การถา่ ยทอด 26.32 - คิดว่าคนอื่นมคี วามรู้อยแู่ ล้ว 26.32 - อนื่ ๆ 10.53 ทม่ี า : จากการสำรวจ 2.3 ระดบั ความพึงพอใจทีม่ ีตอ่ การใหบ้ รกิ ารคลนิ กิ เกษตรเคลอ่ื นที่ฯ ผ้เู ข้ารบั บริการคลินิกเกษตรเคลือ่ นท่ีมีความพึงพอใจประโยชน์ท่ไี ดร้ ับจากการเขา้ บริการคลินกิ โดยรวมอยู่ใน ระดับมากที่สดุ เมอ่ื แบ่งความพึงพอใจตามเร่ืองพบวา่ ผเู้ ข้ารบั บริการคลินิกเกษตรเคลื่อนท่ีมคี วามพงึ พอใจมากที่สดุ ใน ทกุ เร่ือง ได้แก่ การประชาสัมพันธ์การจดั งาน ( x = 4.00) ความรวดเรว็ ในการให้บริการ ( x = 4.13) ความเอาใจใส่ ของเจ้าหน้าที่ในการให้บริการ ( x = 4.13) การท่ีความรู/้ คำแนะนำ ท่ีได้รับสามารถนำไปแก้ไขปัญหาได้ ( x = 3.90) ความเหมาะสมของสถานที่จัดงาน ( x = 4.52) ความเหมาะสมของระยะเวลาการจัดงาน ( x = 4.38) และการได้รับ ประโยชน์จากการเข้ารบั บรกิ ารคลนิ ิก ( x = 4.13) ดังแสดงในตารางที่ 4 ตารางที่ 4 ระดับความพงึ พอใจต่อการบริการของเจา้ หน้าท่ี รายการ ระดบั ความพึงพอใจ คะแนน ความหมาย เฉลย่ี มากทสี่ ดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด (x) 1.) การประชาสัมพนั ธ์ 30.00 41.67 26.67 1.66 - 4.00 มาก การจดั งาน 2.) ความรวดเรว็ ในการ 41.67 31.67 25.00 1.67 - 4.13 มาก ให้บรกิ าร 3.) ความเอาใจใส่ของ 43.33 26.67 30.00 - - 4.13 มาก เจา้ หนา้ ทใ่ี นการให้บรกิ าร

๘ 4.) ความร้/ู คำแนะนำ ท่ี 33.33 25.00 40.00 1.67 - 3.90 มาก ไดร้ บั สามารถนำไปแกไ้ ข ปัญหาได้ 5.) ความเหมาะสมของ 60.00 31.67 8.33 - - 4.52 มากท่ีสุด สถานท่จี ัดงาน 6.) ระยะเวลาการจัดงาน 60.00 21.67 16.67 - 1.67 4.38 มากท่ีสดุ 7.) ประโยชน์ทีไ่ ด้รบั จาก 43.33 26.67 30.00 - - 4.13 มาก การเขา้ รบั บริการคลินกิ หมายเหตุ : คะแนนเฉลยี่ ( x ) 5.00 - 4.21 หมายถงึ มากทส่ี ุด 4.20 - 3.41 หมายถึง มาก 3.40 - 2.61 หมายถึง ปานกลาง 2.60 - 1.81 หมายถงึ นอ้ ย 1.80 - 1.00 หมายถึง นอ้ ยทส่ี ดุ 2.4 การเขา้ ชมนทิ รรศการเฉลมิ พระเกยี รติฯ และระดบั ความพึงพอใจที่มตี ่อการจัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรตฯิ ผู้เข้ารับบริการคลินิกเคลื่อนที่ เข้าชมนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯ คิดเป็นร้อยละ 55.00 ท่ีเหลือไม่ได้เข้า ชมนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯ คิดเป็นร้อยละ 45.00 เน่ืองจากไม่ทราบว่ามีการจัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯ และไม่มเี วลา 2.5 ระดบั ความพึงพอใจที่มตี อ่ การจัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯ ในส่วนของผู้ท่ีเข้าชมนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯ น้ัน มีความพึงพอใจท่ีมีต่อการจัดนิทรรศการเฉลิมพระ เกียรติฯ ในระดับมากที่สุดในทุกเร่ือง ได้แก่ รูปแบบการจัดนิทรรศการ ( x = 4.48) เน้ือหาสาระของการจัด นิทรรศการ ( x = 4.48) ความน่าสนใจของนิทรรศการ ( x = 4.24) และการให้บริการของเจ้าหน้าที่ประจำจุด นทิ รรศการ ( x = 4.24) ดังตารางที่ 5 ตารางที่ 5 ระดับความพึงพอใจทีม่ ตี ่อการจัดนิทรรศการเฉลมิ พระเกียรติฯ รายการ ระดบั ความพึงพอใจ คะแนน เฉลีย่ 1.) รูปแบบการจัด มากทสี่ ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยทสี่ ุด ความหมาย นิทรรศการ (x) มากทสี่ ดุ 51.52 45.45 3.03 - - 4.48 2.) เนือ้ หาสาระ 51.52 45.45 3.03 - - 4.48 มากท่สี ุด 3.) ความน่าสนใจของ 42.42 39.39 18.18 - - 4.24 มากทสี่ ดุ นิทรรศการ

๙ 4.) การใหบ้ รกิ ารของ 48.48 27.27 24.24 - - 4.24 มากท่ีสดุ เจา้ หนา้ ทปี่ ระจำจุด นทิ รรศการ หมายเหตุ : คะแนนเฉลี่ย ( x ) 5.00 - 4.21 หมายถงึ มากทีส่ ุด 4.20 - 3.41 หมายถงึ มาก 3.40 - 2.61 หมายถงึ ปานกลาง 2.60 - 1.81 หมายถึง น้อย 1.80 - 1.00 หมายถึง นอ้ ยทส่ี ดุ 2.6 ประโยชนท์ ไี่ ด้รับจากการชมนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯ ผู้ท่ีเขา้ ชมนทิ รรศการเฉลิมพระเกยี รติฯ ได้รบั ประโยชน์จากการเข้าชมนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ โดยได้นำ พระบรมราโชวาทไปปรับใช้ในชวี ิตประจำวัน คิดเป็นร้อยละ 57.89 รองลงมาคอื นำความรู้เรอื่ งเศรษฐกิจพอเพียงไป ประยกุ ต์ใช้ คดิ เปน็ ร้อยละ 42.11 ดังแสดงในตารางท่ี 6 ตารางที่ 6 ประโยชนท์ ่ีไดร้ ับจากการชมนทิ รรศการเฉลิมพระเกยี รติฯ รอ้ ยละ รายการ 57.89 - ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั จากการชมนทิ รรศการเฉลิมพระเกียรตฯิ - นำนำพระบรมราโชวาทไปปรบั ใช้ในชวี ติ ประจำวนั 42.11 - ทำเปน็ อาชีพเสริม - - นำความรเู้ ร่ืองเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยุกตใ์ ช้ - - ลดรายจ่ายในครัวเรือน - - เพมิ่ รายไดใ้ หก้ บั ครวั เรือน - อื่นๆ ทีม่ า : จากการสำรวจ 2.7 ความต้องการให้จัดงานคลินิกเกษตรเคล่ือนท่ีอกี ผู้เข้าร่วมงานคลินิกเกษตรเคล่ือนที่ ต้องการให้มีการจัดงานคลินิกเกษตรเคลื่อนท่ีอีกคิดเป็นท้ังหมด คิดเป็น ร้อยละ 100 โดย ต้องการให้มีการจัดงานในรูปแบบเดิมเหมือนคร้ังน้ี คิดเป็นร้อยละ 95.00 ท่ีเหลือต้องการให้มี การปรับปรงุ เพ่ิมเติมรปู แบบในการจดั งาน คิดเป็นร้อยละ 5.00 โดยปรบั ปรุงเพม่ิ เติมในส่วนของ เพิม่ ระยะเวลา ให้ มีการตรวจร่างกายสตั วก์ อ่ นทำการผา่ ตดั สนุ ัข-แมว 2.8 มีเจา้ หนา้ ที่สง่ เสริม ให้คำแนะนำหลงั จากรับบรกิ ารคลนิ กิ หรือไม่ จากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างผู้เข้าร่วมงานคลินิกเกษตรเคล่ือนท่ี พบว่า ไม่มีเจ้าหน้าที่มาส่งเสริม ให้ คำแนะนำหลังจากรับบริการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ คิดเป็นร้อยละ 100 เน่ืองจากเป็นการให้บริการเบ็ดเสร็จ ณ สถานทจี่ ดั งาน 2.9 การจำหน่ายสินค้าของกลุ่มแม่บา้ น และวสิ าหกิจชุมชนจากอำเภอต่างๆ ภายในจงั หวดั ผู้เข้าร่วมงานคลินิกเกษตรเคล่ือนที่ได้ซ้อื สินค้าของกลุ่มแม่บ้าน และวิสาหกิจชุมชนจากอำเภอต่างๆ คดิ เป็น ร้อยละ 33.33 โดยเป็นสินค้าบริโภค เช่น ไขไ่ ก่ ขนม เน้ือหมู กาแฟ เคร่ืองด่ืม ฯลฯ ส่วนผู้เขา้ ร่วมงานคลินิกเกษตร เคลื่อนที่ไม่ได้ซ้ือสินค้าจำหน่ายภายในงาน คิดเป็นร้อยละ 66.67 โดยสาเหตุเน่ืองจาก เป็นสินค้าเดิม ๆ และ ต้องการเข้าชมงานเท่านน้ั

๑๐ 2.10 ปัญหาที่จะนำมาปรกึ ษาในการเขา้ รับบริการคลินิกเกษตรในครั้งตอ่ ไป ผู้เข้าร่วมงานคลินิกเกษตรเคล่ือนท่ีมีปัญหาที่จะนำมาปรึกษาในการเข้ารับบริการคลินิกเกษตรในคร้ังต่อไป ท้ังหมด คิดเป็นรอ้ ยละ 6.67 เช่น การทำหมันสุนัข โรคมะละกอ ศัตรูพืช ส่วนผู้เข้าร่วมงานคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ไมม่ ีปญั หาท่ีจะนำมาปรกึ ษาในการเขา้ รับบริการคลินิกเกษตรในคร้งั ต่อไปทง้ั หมด คดิ เป็นร้อยละ 93.33 2.11 ปัญหาและข้อเสนอแนะ - การประชาสัมพนั ธ์ไมท่ ว่ั ถงึ และนอ้ ยเกินไป - ของแจกไม่เพยี งพอตอ่ เกษตรกรที่ไปรับบริกการคลนิ ิกเกษตร - มกี ารแจกของล่วงหนา้ 2.12 ขอ้ คิดเหน็ - ควรเพ่ิมการประชาสมั พนั ธ์ในงานคลนิ ิกเกษตรมาใหบ้ ริการอะไรบ้างในการจัดงานล่วงหน้า 7 วัน - ควรจดั สรรคของแจกใหเ้ พียงพอกบั เกษตรกรกรที่มาใชบ้ รกิ าร เชน่ เพม่ิ ปริมาณพนั ธ์ปุ ลานิล ต้นกลา้ ผัก - ควรทำบัตรควิ เพือ่ ให้เกษตรกรทลี่ งทะเบียนก่อนไดร้ ับปจั จัยการผลติ - ควรเพ่ิมความรู้ให้กับเกษตรกรก่อนการทำหมันสุนัข-แมว มีการตรวจสุภาพสัตว์ก่อนการทำหมัน เพอ่ื ป้องกนั สุนัข-แมว เสยี ชวี ิต …………………………………………………