Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore sum.ปกคำนิยาม

sum.ปกคำนิยาม

Description: sum.ปกคำนิยาม

Search

Read the Text Version

สารบญั หนา้ 1 บทที่ 1 บทนำ 1 - หลกั การและเหตุผล 1 - วัตถปุ ระสงค์ 2 - ขอบเขต 2 - ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ บั 3 3 บทท่ี 2 คำนิยามสำหรบั การสำรวจสินคา้ เกษตร 5 -คำนยิ ามทว่ั ไป 7 -คำนยิ ามด้านพืช 9 -คำนยิ ามด้านปศุสัตว์ 10 -คำนยิ ามด้านการเลย้ี งสตั วน์ ้ำ 10 29 บทท่ี 3 นิยามการผลติ และอัตราแปลงรายสนิ ค้า 38 -การผลิตขา้ วและพชื ไร่ -การผลติ ปศุสตั ว์ -การผลิตประมง

บทที่ 1 บทนำ 1.1 หลกั การและเหตผุ ล สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรมีหน้าที่โดยตรงในการจัดทำและเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศด้าน เศรษฐกิจการเกษตร เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจในเรื่องของนโยบายมาตรการต่างๆ ของกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ รวมทั้งเป็นข้อมูลสำหรับเกษตรกร นักวิชาการ และผู้สนใจ อย่างไรก็ดีในการจัดทำและ เผยแพร่ข้อมูลน้ัน สิ่งสำคัญที่จะทำให้ผู้จัดเก็บข้อมูลในพ้ืนท่ี ผู้วิเคราะห์ข้อมูล ผู้ใช้ข้อมูล ทุกระดับ มีความ เข้าใจท่ีตรงกัน ก็คือนิยาม ไม่ว่าจะเป็นนิยามในเรื่องทั่วไปด้านการเกษตร นิยามของแต่และสินค้า สำนักงาน เศรษฐกิจการเกษตรได้เคยจัดทำหนังสือคำนิยามสินค้าเกษตร เพื่อเผยแพร่ให้กับผู้ใช้ข้อมูลได้มีความเข้าใจใน ความหมายของคำนิยามเม่ือปี พ.ศ.2529 เป็นครัง้ แรก และมีการปรับเปล่ียนอีกหลายครั้งปัจจุบันเทคโนโลยีการ ผลติ ของสินค้าหลายชนิดมีการเปลี่ยนแปลง คำนิยามและอัตราแปลงที่มีอยู่อาจไม่ครอบคลุมทุกรายสินค้าและ ไม่เป็นปัจจุบัน จึงดำเนินการปรับปรุงเอกสารคำนยิ ามขึน้ ใหม่ นอกจากน้ี ผลผลิตทางการเกษตรที่แตกต่างกัน หรือมีการใช้หน่วยนับที่แตกต่างกัน สำหรับรูปแบบ ผลผลิตท่ีเหมือนกัน การนำปริมาณการผลิตมาใช้จึงประสบปัญหาในการนับผลผลิต อัตราการแปลงหน่วย ผลผลิตจึงเป็นเรื่องสำคัญ และจำเป็นในการจัดทำข้อมลู สารสนเทศการเกษตร นอกจากอัตราการเปล่ียนแปลง หน่วยนับดังกล่าวแล้ว การแปรรูปสินค้าเกษตรข้ันต้นให้เป็นผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ท้ังการแปรรูปอย่างง่าย หรือขน้ั ต้น การแปรรูปในอุตสาหกรรมการเกษตร ก็เป็นเรื่องสำคัญและจำเป็นในการนำข้อมลู สารสนเทศไปใช้ ประโยชน์ อตั ราการแปลงที่สะท้อนเทคโนโลยกี ารผลิตทเ่ี ปลี่ยนแปลงตามความจำเปน็ 1.2 วตั ถุประสงค์ 1.2.1 เพ่ือใช้เป็นแหล่งอ้างอิงเกี่ยวกับคำนิยาม และอัตราแปลง ความหมายท่ีใช้ในการสำรวจจัดเก็บ รายงานและเผยแพร่และสถิติการเกษตร ของสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร รวมท้ังหน่วยงานอ่ืนๆ ภายใน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 1.2.2 เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ที่เก่ียวข้องท้ังผู้ปฏิบัติงานภาคสนาม ผู้ วเิ คราะห์ รวมทัง้ สร้างความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกนั ของผผู้ ลติ ข้อมูล ผใู้ ช้ข้อมลู และผเู้ กี่ยวข้อง 1.2.3 แสดงอตั ราแปลงทใี่ ชใ้ นรูปแบบผลผลิต 1.2.4 ผู้ผลิต และผใู้ ช้ขอ้ มูล มีคำนิยามที่เข้าใจตรงกัน เป็นที่ยอมรับและสามารถใช้อ้างอิงได้อย่างเป็น เอกภาพ

2 1.3 ขอบเขต เป็นการกำหนดมาตรฐานคำนิยาม หรือความหมายของคำ หรือข้อความ ของสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ที่ใช้ สำหรับการสำรวจ รายงาน และเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศการเกษตร ในทุกด้านที่เก่ียวข้องกับ พืช ปศุสัตว์ ประมง และภาวะเศรษฐกจิ สงั คมและแรงงานของครัวเรอื นเกษตร 1.4 ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะได้รบั 1.4.1 ผู้ใช้ข้อมูลเข้าใจความหมายคำนิยามและอัตราแปลง ข้อจำกัด และวิธีการจัดเก็บข้อมูลสถิติ การเกษตร ไดอ้ ย่างถูกต้อง 1.4.2 ผู้ผลิตข้อมูล ดำเนินการจัดเก็บข้อมูลภาคสนามและสัมภาษณ์เกษตรกร ไม่เกิดความสับสนคำ นิยามและอัตราแปลง ทำให้ได้ข้อมูลท่ีมีประสิทธิภาพ สามารถลดความคลาดเคลื่อนของการจัดเก็บข้อมูลที่ ไม่ไดเ้ กดิ จากระเบยี บวธิ กี ารสมุ่ ตวั อย่างทางสถิติ (Non-Sampling Error) 1.4.3 ผู้ผลิตและผู้ใช้ข้อมูลเข้าใจวิธีการได้มาของข้อมูลสถิติการเกษตร ทำให้เกิดการพัฒนาข้อมูลสถิติ การเกษตรที่สามารถนำไปใช้ในการกำหนดนโยบายและวางแผนพัฒนาการเกษตร ได้อย่างเหมาะสม และเป็น ประโยชน์ตอ่ สว่ นรวม และประเทศชาติ 1.4.4 ข้อมูลสถติ ิการเกษตร มีความเป็นเอกภาพน่าเชอ่ื ถือ และสามารถนำไปใชไ้ ด้อย่างมปี ระสิทธิภาพ

3 บทที่ 2 คำนยิ ามสำหรบั การสำรวจสินค้าเกษตร 2.1คำนยิ ามท่ัวไป 2.1.1ประชากร หมายถึง จำนวนทั้งหมดของสิ่งที่ต้องการศึกษาและประมาณค่าสถิติภายใน คุม้ รวมทกี่ ำหนด 2.1.2 คุ้มรวมหมายถึงการกำหนดขอบข่ายของการสำรวจว่าครอบคลุมประชากรหน่วยใดที่ ต้องการศกึ ษา จดั เกบ็ และรวบรวมข้อมูล 2.1.3 การนับจด หมายถงึ การนบั และจดบันทึกเฉพาะสิ่งท่ตี ้องการศกึ ษาตามค้มุ รวมทก่ี ำหนด 2.1.4 การแจงนับ หมายถึง การสอบถามหรือสัมภาษณ์รายละเอียดเก่ียวกับข้อมูลที่ต้องการศึกษา โดยผ้สู ำรวจหรอื พนกั งานแจงนบั จากผู้ให้ข้อมูลหรือหนว่ ยแจงนบั ตามทีก่ ำหนด 2.1.5ครัวเรือน หมายถึง บุคคลคนเดียวหรือกลุ่มบุคคลที่อาศัยอยู่ในบริเวณผืนที่ดินเดียวกัน กนิ และใชจ้ ่ายรว่ มกัน โดยไม่คำนึงถึงว่าจะมรี ายชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเดียวกันหรือไม่ก็ตาม 2.1.6 ครัวเรือนเกษตรหมายถึง ครัวเรือนที่มีสมาชิกคนใดคนหนึ่งหรือหลายคนประกอบการ เกษตรในปอี า้ งองิ ที่ใชจ้ ัดเกบ็ ขอ้ มลู 2.1.7 หัวหน้าครัวเรือนเกษตร หมายถึง บุคคลในครัวเรือนเกษตรซึ่งเป็นผู้จัดการหรือรับผิดชอบและคงใน สิทธิของผลประโยชน์ท่ีได้โดยไม่คำนึงถงึ กรรมสิทธิ์ทแี่ ท้จรงิ จากการประกอบกจิ การเกษตร ซ่ึงอาจจะดำเนนิ กิจการเอง หรือมอบหมายใหผ้ ู้อน่ื ดำเนนิ การหรอื ดูแลแทนกไ็ ด้แต่ยงั คงได้รบั ผลประโยชนใ์ นการประกอบการเกษตรน้ันๆ อยู่ 2.1.8 การประกอบการเกษตร หมายถึง การปลูกพืช การเล้ียงปศุสัตวส์ ัตว์ การเพาะเล้ียงสัตว์น้ำการ ทำนาเกลือสมุทรการปลูกหม่อน การเลี้ยงไหม การเพาะเลี้ยงแมลงเศรษฐกิจและเกษตรอื่นๆ โดยมีวัตถุประวงศ์ เพื่อการบริโภคหรือจำหนา่ ยหรือใชง้ านในฟาร์ม อย่างใดอยา่ งหน่ึงหรือหลายอยา่ งรวมกัน 2.1.9 เกษตรกร หมายถงึ บุคคลธรรมดาท่ีประกอบการเกษตร หรือนิติบุคคลท่ีมีวัตถุประสงค์ในการ ประกอบการเกษตร และได้ข้นึ ทะเบยี นเกษตรกรไวก้ บั หน่วยงานทรี่ ับขนึ้ ทะเบยี น 2.1.10ผืนท่ีดินหมายถึง ขนาดเนื้อท่ีดินที่เกษตรกรถือครองอยู่ โดยแบ่งผืนที่ดินตามลักษณะการถือ ครองหรอื ตามเส้นแบง่ ธรรมชาติ รวมทัง้ คลองชลประทานสายใหญ่ แต่ไม่รวมคลองส่งนำ้ ไส้ไก่

4 2.1.11 การชลประทาน หมายถึง กิจการที่กรมชลประทานจัดทำข้ึนเพ่ือให้ได้มาซ่ึงน้ำเพ่ือกัก เก็บ รักษา ควบคุม ส่ง ระบายหรือแบ่งน้ำเพื่อเกษตรกรรม การพลังงาน การสาธารณูปโภค หรือการอุตสาหกรรม และหมายความรวมถึงการป้องกันความเสียหายอันเกิดจากน้ำ กับรวมถึงการคมนาคมทางน้ำซึ่งอยู่ในเขต ชลประทานด้วย (พระราชบัญญัติการชลประทานหลวง (ฉบับท4ี่ ) พทุ ธศักราช 2518) 1.1) เขตชลประทาน หมายถึง พื้นท่ีที่ใช้ในการเพาะปลูกพืชท่ีอยู่ในเขตท่ีมีการชลประทาน คือ 1.1.1)เขตชลประทานหลักหมายถึง พื้นที่ที่ใช้ในการเพาะปลูกพืชที่อยู่ในเขต บริการภาคการเกษตรของกรมชลประทาน ซึ่งดำเนินการในลักษณะของโครงการชลประทานขนาดใหญ่ ขนาด กลาง และขนาดเล็กเป็นหลัก เขตชลประทานหลักแบง่ เป็น 3 รปู แบบ ไดแ้ ก่ 1.1.2) โครงการชลประทานขนาดใหญ่ หมายถึง งานชลประทานเอนกประสงค์ที่ สามารถก่อให้เกิดประโยชน์ทางด้านการเกษตร การอุปโภคบริโภค การบรรเทาอทุ กภัย การอุตสาหกรรม การ ผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังน้ำ การคมนาคม แหล่งเพาะพันธ์ประมงน้ำจืด แหล่งท่งเท่ียวพักผ่อนหย่อนใจ และ อนื่ ๆ ในแต่ละโครงการมงี านกอ่ สร้างหลายประเภท เช่นเขอื่ นกักเก็บน้ำ เข่ือนทดน้ำ หรือฝายทดนำ้ การสบู น้ำ ระบบส่งน้ำ ระบบระบายน้ำ ระบบชลประทานในแปลงนา ถ้าเป็นการก่อสร้างประเภทเขื่อนเก็บกักน้ำ สามารถเก็บกักน้ำได้มากกว่า 100 ล้านลูกบาศก์เมตร หรือมีพื้นท่ีอ่างเก็บน้ำต้ังแต่ 15 ตารางกิโลเมตร หรือมี พน้ื ท่ชี ลประทานมากกว่า 80,000 ข้ึนไป 1.1.3) โครงการชลประทานขนาดกลาง หมายถึง โครงการชลประทานท่ีมีขนาดเล็ก กวา่ โครงการชลประทานขนาดใหญ่ที่มีปรมิ าตรเก็บกักนำ้ นอ้ ยกว่า 100 ลา้ นลูกบาศก์เมตร หรือพ้นื ทีเ่ ก็บกักน้ำ น้อยกว่า 15 ตารางกิโลเมตร หรือพื้นที่ชลประทานน้อยกว่า 80,000 ไร่ โครงการดังกล่าวมีการจัดการที่ดิน และมีระยะเวลาดำเนนิ โครงการเกนิ 1 ปี ซงึ่ จะเป็นงานก่อสร้างอาคารชลประทานประเภทต่างๆ อาทิ เขื่อนกัก เก็บน้ำ เข่ือนทดน้ำ ฝาย โครงการสูบน้ำ ระบบส่งน้ำและระบายน้ำ รวมท้ังงานก่อสร้างทางลำเลียงผลผลิต และงานแปรสภาพลำน้ำ เป็นตน้ 1.1.4) โครงการชลประทานขนาดเล็ก หมายถึง งานพัฒนาแหล่งน้ำขนาดเล็กท่ีกรม ชลประทานได้เริ่มก่อสร้างมาต้ังแต่ พ.ศ. 2520 เพ่ือแก้ปัญหา หรือบรรเทาความเดือดร้อนเก่ียวกับเรื่องน้ำ สำหรับการอุปโภคบริโภค และการเกษตร ซ่ึงเป็นความจำเป็นพ้ืนฐานของราษฎรในชนบท หรือพ้ืนที่ห่างไกล รวมท้ังการแก้ไขบรรเทาความเดือดร้อนจากอุทกภัย และน้ำเค็มท่ีข้ึนถึงพื้นที่การเพาะปลูก โดยการก่อสร้าง อาคารชลประทานขนาดเล็กประเภทต่างๆ ให้สอดคล้องกับสภาพภูมิประเทศ และปัญหาท่ีเกิดขึ้นตามความ

5 ต้องการของราษฎร โดยราษฎรยินยอมสละที่ดินในการก่อสร้างโครงการโดยไม่มีเงื่อนไข และมีระยะเวลา ดำเนนิ โครงการประมาณ 1 ปี 1.2)นอกเขตชลประทาน หมายถึง พ้ืนท่ีที่ใช้ในการเพาะปลูกอยู่นอกเขตชลประทาน รวมท้ังโครงการชลประทานขนาดเล็กบางโครงการ เช่น ชลประทานเสริม ชลประทานราษฎร์ โครงการ ชลประทานอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ (เฉพาะในส่วนของ คปร.) เป็นต้น 1.2.1)ชลประทานเสริม หมายถึง อาณาบริเวณพื้นที่ ท่ีใช้ในการเพาะปลูกพืชที่มีการ ชลประทานแต่อยู่นอกเขตการบริการภาคการเกษตรของกรมชลประทาน ซ่ึงส่วนมากจะเป็นพ้ืนท่ีในเขต โครงการชลประทานขนาดเล็กและดำเนินการโดยหน่วยงานของทางราชการอื่นๆ ที่มิใช่กรมชลประทาน เช่น โครงการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า โครงการจัดหาน้ำสนับสนุนศูนย์พัฒนาโครงการหลวง โครงการขุดลอกหนองน้ำและ คลองธรรมชาติ เป็นต้น 1.2.2)ชลประทานราษฎร์ หมายถึง อาณาเขตพ้ืนท่ีท่เี กษตรกรหรือกล่มุ เกษตรกรร่วม จัดให้มี การชลประทานในพื้นที่การเกษตรสำหรับท้องถิ่นที่พอจะสามารถพัฒนาได้โดย ไม่มีการใช้ งบประมาณจากสว่ นราชการ 2.2 คำนิยามด้านพืช 2.2.1 ปีเพาะปลูก หมายถึง ระยะเวลาในการดำเนินกิจกรรมการผลิตพืช ซ่ึงจะทำการเพาะปลูก ต้ังแตว่ นั ท่ี 1 พฤษภาคม ถึง 30 เมษายน ของปีถัดไป 2.2.2 ปีการผลิต หมายถึง ระยะเวลาในการดำเนินกิจกรรมการผลิตพืชซึ่งจะทำการเก็บเก่ียว ตง้ั แต่วันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม ของปีเดียวกันยกเว้นมันสำปะหลังโรงงาน กาแฟ และอ้อยโรงงาน ซ่ึง จะทำการเก็บเก่ียว ตั้งแต่วันท่ี 1ตุลาคม ถึง 30 กันยายน ของปีถัดไป 2.2.3เนื้อที่เพาะปลูก หมายถึงเน้ือท่ีท่ีทำการเพาะปลูกพืชท่ีกำหนดในปีเพาะปลูกนั้นๆทั้งน้ีไม่รวม เน้ือที่ท่ีไม่สามารถเพาะปลูกได้ในบริเวณเดียวกันขนาดต้ังแต่ 25 ตารางวาขึ้นไป หรือหลายบริเวณรวมกันต้ังแต่ 50 ตารางวาขึน้ ไป 2.2.4 เนื้อที่ยืนต้น หมายถึง ขนาดเนื้อที่ดินท่ีไม้ผลไม้ยืนต้นอยู่ท้ังหมด ณ วันที่ 1 มกราคมของปีการ ผลติ นัน้ ยกเวน้ กาแฟ ขนาดเน้ือท่ีดินท่ีกาแฟยนื ตน้ อยู่ทง้ั หมด ณ วนั ท่ี 1 ตุลาคม ของปีกอ่ นหนา้ 2.2.5เน้ือที่ยังไม่ให้ผลผลิต หมายถึงขนาดเน้ือที่ไม้ผลไม้ยืนต้นที่ปลูกจนถึงก่อนเก็บผลผลิตได้เป็นครั้ง แรกแมจ้ ะครบอายุตามหลักวิชาการทางการเกษตรแล้วก็ตาม

6 2.2.6 เนื้อท่ีเก็บเก่ียว หมายถงึ เนื้อท่ีพชื ไร่ พืชผกั ไม้ดอกไม้ประดับท่เี ก็บเกีย่ วได้ ทั้งน้ีไม่รวมเน้ือท่ีที่ ปล่อยทงิ้ ผลผลิตไว้ ไม่วา่ ดว้ ยสาเหตุใดก็ตาม 2.2.7เน้ือที่ให้ผลผลิต หมายถึง ขนาดเนื้อท่ีไม้ผลไม้ยืนต้นท่ีเก็บผลผลิตในรอบปีการผลิต รวมทั้งท่ี เคยใหผ้ ลผลิตมาแลว้ แตใ่ นรอบปกี ารผลติ จะมีการเกบ็ ผลผลติ หรอื ไม่กต็ าม 2.2.8 เนอื้ ทีใ่ หผ้ ลผลติ จรงิ หมายถึง ขนาดเนอ้ื ท่ไี ม้ผลไม้ยนื ต้นทเี่ กบ็ ผลผลติ ไดจ้ รงิ ในรอบปี 2.2.9เนื้อที่เสียหายส้นิ เชิงหมายถึง เนื้อท่เี พาะปลูกทีไ่ ม่สามารถเก็บเกย่ี วผลผลิตได้ หรอื ไดผ้ ลผลิตไมเ่ กิน ร้อยละ10ของผลผลิตท่ีเคยได้รับในปีปกติ โดยเสียหายในบริเวณเดียวกันขนาดต้ังแต่ 25 ตารางวาข้ึนไป หรือหลาย บรเิ วณรวมกนั ต้งั แต่ 50 ตารางวาข้นึ ไป 2.2.10 เน้อื ทีโ่ คน่ ทิ้ง หมายถึง ขนาดเน้อื ท่ไี ม้ผลไม้ยืนต้น ท่ีเกษตรกรตัดโคน่ ทิ้งรวมทั้งเน้ือท่ีเสยี หาย จากภยั ธรรมชาติ เช่น ไฟปา่ ลมพายุ ภยั แล้ง นำ้ ท่วม โดยมพี ้นื ทท่ี ี่โคน่ ลม้ รวมกนั มากกวา่ 50 ตารางวาข้ึนไป 2.2.11จำนวนต้นทั้งหมดหมายถึง จำนวนต้นของไม้ผลไม้ยืนต้นชนิดใดชนิดหนึ่งที่ยืนต้นอยู่ ท้ังหมดในรอบปี แบ่งออกเป็น 2 กลมุ่ คือ 1) จำนวนต้นที่ยังไม่ให้ผลผลิต หมายถึง จำนวนต้นที่ปลูกจนถึงก่อนเก็บผลผลิต ได้เป็นครั้งแรก 2) จำนวนต้นที่ให้ผลผลิต หมายถึงจำนวนต้นไม้ผลไม้ยืนต้นท่ีเก็บผลผลิตในรอบปีการผลิต รวมทงั้ ที่เคยให้ผลผลติ มาแลว้ แต่ในรอบปกี ารผลิตจะมีการเกบ็ ผลผลิตหรือไม่ก็ตาม 2.2.12ประเภทสวน หมายถึงสวนท่ีมีลักษณะการปลูกไม้ผลไม้ยืนต้น แบง่ เปน็ 3ประเภท 1) สวนเฉพาะหมายถึง ลักษณะสวนท่ีมีการปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น ชนิดเดียว หรือมากกว่า 1 ชนิด ท่ีมีอาณาเขตของสวนเด่นชัด หรือการปลูกไม้ผลไม้ยืนต้น แต่ละชนิดมีระยะการปลูกท่ีแน่นอน สามารถ แยกจำนวนต้น และเน้อื ท่ีของไมผ้ ลไม้ยนื ต้นแต่ละชนดิ 2) สวนผสมหมายถึง ลกั ษณะสวนที่มีการปลูกไม้ผลไม้ยืนต้นหลายชนิดปะปนกนั มีอาณาเขต ของสวนท่ีแน่นอนแต่ระยะปลูกของไม้ผลไม้ยืนต้น แต่ละชนิดไม่แน่นอนสามารถแยกจำนวนต้นได้ แต่ไม่ สามารถแยกเป็นเน้ือท่ีของไม้ผลไมย้ ืนต้น แตล่ ะชนิดได้

7 3)ไม่เป็นสวนหมายถึง ลักษณะการปลูกไม้ผลไม้ยืนต้น อย่างกระจัดกระจายไม่เป็นระเบียบ ไม่มี อาณาเขตท่ีแน่นอน และไม่สามารถแยกเน้ือที่ของไม้ผลไม้ยืนต้นแต่ละชนิดได้ เช่นการปลูกอยู่ข้างบ้าน หลังบ้าน รว้ั บา้ น หรือหัวไร่ปลายนา 2.2.13 อายุไม้ผลไม้ยืนต้น หมายถึง อายุเป็นปีของไม้ผลไม้ยืนต้นนับจากวันปลูก จนถึงวันท่ี 1 มกราคมของปีการผลิต การนับอายุนับเป็นเลขจำนวนเต็ม ยกเว้นกาแฟ นับจากวันปลูก จนถึงวันท่ี 1 ตุลาคม ของปีกอ่ นหน้า 2.2.14วิธีการปลูก หมายถึง การนำเมล็ดพันธุ์ ต้นพันธุ์ หรือส่วนขยายพันธุ์ของพืช ปลูกใน พื้นท่ีที่เตรียมไว้ 2.2.15ผลผลิตของพืช หมายถึง ผลผลิตทง้ั หมดทเี่ กษตรกรเก็บเก่ยี วในรอบปี 2.2.16การจำแนกแจกจ่ายผลผลิต หมายถึง การนำผลผลิตไปใช้ประโยชน์ เช่น บริโภค ขายเล้ียงสัตว์ทำพันธุ์ แปรรูป 2.3 คำนยิ ามดา้ นปศสุ ตั ว์ 2.3.1ปีการผลิต หมายถึง ระยะเวลาในการดำเนินกิจกรรมการเลี้ยงปศุสัตว์ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธนั วาคมของปเี ดียวกนั 2.3.2 จำนวนปศุสัตว์ ณ วันที่ 1 มกราคม หมายถึง จำนวนปศุสัตว์ท่ีเกษตรกรเลี้ยงอยู่ทั้งหมด ณ วนั ท่ี 1 มกราคม โดยไม่คำนงึ ถึงกรรมสทิ ธิ์ที่แท้จริง 2.3.3ปริมาณการผลิตหมายถึง ผลผลิตปศุสัตว์ท่ีได้ทั้งหมดในรอบปีการผลิต 2.3.4 จำนวนลูกท่ีเกิด หมายถึง จำนวนลูกท่ีเกิดและอยู่รอดเกิน 24 ช่ัวโมง ในรอบปีการผลิต 2.3.5 ฟาร์ม หมายถึง พื้นท่ีในการจัดการเล้ียงปศุสัตว์ที่รวมถึงสิ่งปลูกสร้าง 2.3.5ครัวเรือนผู้เล้ยี งปศุสัตว์ หมายถึง ครัวเรือนเกษตรกรที่เลี้ยงปศุสัตว์ชนิดน้ันๆ โดยครวั เรือน หน่ึงอาจขึ้นทะเบยี นผเู้ ลยี้ งปศสุ ัตวไ์ ด้หลายฟาร์ม 2.3.6ลักษณะโรงเรือน

8 แบ่งออกเปน็ 2 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ 1) โรงเรือนระบบปิดแบบอีแวป(Evaporation Cooling System) หมายถึงโรงเรือนที่มีระบบ ระบายอากาศประเภทหนึ่ง ซ่ึงใช้ประโยชน์จากความเร็วลมร่วมกับการระเหยของน้ำเพ่ือทำให้อุณหภูมิของอากาศ ลดลง และสัตว์มีความเย็นสบายขึ้น ลักษณะโรงเรือนระบบอีแวปต้องเป็นโรงเรือนท่ีมิดชิด ปลายด้านหน่ึงของ โรงเรือนตดิ ตงั้ พดั ลมดดู อากาศ และปลายอกี ดา้ นหนึ่งติดตงั้ แผน่ ระเหยนำ้ 2) โรงเรือนระบบเปิด (Open System)หมายถึง โรงเรือนที่สร้างในลักษณะเปิด โดยให้อากาศ สามารถเขา้ สู่โรงเรือนไดต้ ามธรรมชาติ 2.3.7ลักษณะการเลย้ี ง แบ่งออกเปน็ 2 ลักษณะ ได้แก่ 1) เลย้ี งแบบพันธะสัญญา (Contract Farming) 1.1)เลี้ยงแบบประกันราคา หมายถึง การเล้ียงปศุสัตว์ในลักษณะท่ีเกษตรกรจะทำข้อตกลง หรือสญั ญาผูกพันไวล้ ว่ งหน้าเป็นลายลักษณ์อักษร ในการขายผลผลิตใหก้ บั บริษทั หรือตัวแทนผลผลิตโดยกำหนด ราคาซื้อขายไว้ล่วงหน้า(ราคาประกัน) ท้ังนี้เกษตรกรไม่ต้องหาตลาดเอง บริษัทหรอื ตัวแทนจะเป็นผ้รู ับซื้อปศุสัตว์ จากผู้เลี้ยงท้ังหมด ซ่ึงเกษตรกรต้องเป็นผู้ลงทุนเองตั้งแต่การสร้างโรงเรือนพร้อมอุปกรณ์ ค่าน้ำ ค่าไฟฟ้า ค่าแรงงาน รวมถึงจะต้องซื้อพันธุ์และปัจจัยการผลิตอ่ืนที่ระบุไว้ตามสัญญา และต้องเล้ียงปศุสัตว์ภายใต้การ แนะนำและการดแู ลของบริษัทหรือตวั แทน 1.2)เล้ียงแบบรับจ้างเลี้ยง หมายถึง การเล้ียงปศุสัตว์ในลักษณะที่เกษตรกรเป็นผู้รับจ้าง เลี้ยงโดยไมต่ ้องเสียค่าใช้จ่ายเก่ียวกับพันธุ์ และปัจจยั การผลิต แต่ต้องปฏบิ ัติตามคำแนะนำท่ีระบไุ วต้ ามสัญญา ทั้งนี้เกษตรกรต้องลงทุนสร้างโรงเรือนพร้อมอุปกรณ์ ค่าน้ำ ค่าไฟฟ้า และค่าแรงงานเอง ซึ่งเกษตรกรจะได้รับ ค่าตอบแทนตามสัญญาผกู พันท่ที ำไว้ 2) เล้ียงแบบอิสระ หมายถึงการเล้ียงปศุสัตว์ท่ีเกษตรกรไม่มีข้อสัญญาผูกพันใดๆ กับบริษัท หรือตัวแทน เกษตรกรเป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายในการเล้ียงทั้งหมดมีอิสระในการตัดสินใจหรือบริหารจดั การฟาร์มท่ี เกย่ี วกับการเลีย้ ง และขายผลผลติ ทั้งหมด

9 2.4 คำนยิ ามดา้ นการเลย้ี งสัตวน์ ้ำ 2.4.1 ปีการผลิต หมายถึง ระยะเวลาในการดำเนินกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์น้ำ ต้ังแต่วันที่ 1 มกราคม ถงึ 31 ธันวาคม ของปเี ดยี วกนั 2.4.2 เนื้อที่เลี้ยง หมายถึง ขนาดพ้นื ที่ผิวน้ำท่ีใช้เล้ียงสัตวน์ ้ำท้ังหมดในรอบปีการผลิต ในบ่อ นา ร่อง สวน กระชัง และวสั ดอุ น่ื ๆ โดยไมร่ วมขอบบ่อ 2.4.3 ปริมาณการผลิต หมายถึง ผลผลิตสัตว์น้ำท่ีได้จากกิจกรรมเล้ียงสัตว์น้ำทั้งหมดในรอบปีการ ผลิต 2.4.4 ฟารม์ หมายถงึ พนื้ ทใ่ี นการจัดการเลี้ยงสตั วน์ ำ้ ท่รี วมถงึ สงิ่ ปลกู สร้าง 2.4.5 ครัวเรือนเกษตรกรผู้เล้ียงสัตว์น้ำ หมายถึง ครัวเรือนเกษตรกรที่เลี้ยงสัตว์น้ำชนิดนั้นๆ โดย ครัวเรอื นหนง่ึ อาจข้ึนทะเบยี นผลู้ ี้ยงสตั วน์ ำ้ ได้หลายฟาร์ม

10 บทท่ี 3 นยิ ามการผลิตและอัตราแปลงรายสนิ คา้ 3.1 การผลิตของขา้ วและพชื ไร่ 3.1.1 ขา้ ว 1) ข้าว หมายถึง ข้าวทุกสายพันธ์ุท่ีเพาะปลูก ยกเว้นขา้ วทีป่ ลกู เพ่ือผลติ เปน็ เมล็ดพนั ธ์ุ สามารถ แบ่งได้ดังนี้ 1.1 ตามฤดเู พาะปลกู ได้แก่ 1) ข้าวนาปี หมายถึง ข้าวท่ีเพาะปลูกระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม ถึง 31 ตุลาคม ของปีเดียวกัน ยกเว้นภาคใต้ฝั่งตะวันออก 6 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปัตตานี ยะลา และ นราธิวาส ที่เพาะปลูกระหว่างวันที่ 16 มถิ ุนายน ถึง 28 กมุ ภาพนั ธ์ ของปีถดั ไป 2) ข้าวนาปรัง หมายถึง ข้าวที่เพาะปลูกระหว่างวันท่ี 1 พฤศจิกายน ถึง 30เมษายนของปีถัดไป ยกเว้นภาคใต้ฝั่งตะวันออก 6 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครศรีธรรมราช สงขลา พัทลุง ปัตตานี ยะลา และ นราธวิ าส ที่เพาะปลูกระหว่างวนั ที่ 1 มีนาคม ถึง 15 มิถุนายน ของปีเดียวกนั 1.2 ตามการตอบสนองตอ่ ชว่ งแสง ได้แก่ 1) พันธ์ุข้าวที่ไวต่อช่วงแสง หมายถึง พันธ์ุข้าวท่ีสร้างช่อรวงในเวลาที่ช่วงแสงหรือช่วงระยะเวลา กลางวันสัน้ กว่า ๑๒ ชวั่ โมง พันธ์ุขา้ วทีไ่ วต่อช่วงแสงจะมีวนั ออกรวงทค่ี อ่ นขา้ งแนน่ อน 2) พันธุ์ข้าวที่ไม่ไวต่อช่วงแสง หมายถึง พันธ์ุข้าวที่สร้างช่อรวงได้โดยไม่ต้องการระยะเวลา กลางวนั ทีส่ ้นั กว่า ๑๒ ชั่วโมง พนั ธ์ุขา้ วที่ไม่ไวตอ่ ชว่ งแสงจะมวี ันออกรวงทไี่ ม่แนน่ อน ข้ึนอยู่กบั วันทีป่ ลูกขา้ ว 1.3 ตามนิเวศนก์ ารปลกู ได้แก่ 1) ข้าวนาสวน หมายถึง ข้าวที่ปลูกในนาที่มีน้ำขังหรือกักเก็บน้ำได้ระดับน้ำลึกไม่เกิน 50 เซนติเมตร ข้าวนาสวนมีปลูกทุกภาคของประเทศไทย แบ่งออกได้ 2 ชนิด คือ ข้าวนาสวนนาน้ำฝน และข้าวนา สวนนาชลประทาน 1.1) ข้าวนาสวนนาน้ำฝน หมายถึง ข้าวที่ปลูกในฤดูนาปีและอาศัยน้ำฝนตามธรรมชาติ ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำได้ ทั้งน้ีขึ้นอยู่กับ การกระจายตัวของฝน ประเทศไทยมีพ้ืนที่ปลูกข้าวนาน้ำฝน ประมาณ 70% ของพ้ืนทีป่ ลกู ข้าวท้งั หมด 1.2) ข้าวนาสวนนาชลประทาน หมายถึง ข้าวที่ปลูกได้ตลอดทั้งปีในนาท่ีสามารถ ควบคุมระดับน้ำได้ โดยอาศัยน้ำจากการชลประทาน ประเทศไทยมีพื้นท่ีปลูกข้าวนาชลประทาน 24% ของพื้นที่ ปลกู ข้าวท้งั หมด และพนื้ ทีส่ ่วนใหญ่จะอยู่ในภาคกลาง

11 2) ข้าวน้ำลึก หมายถึง ข้าวที่ปลูกในพ้ืนท่ีน้ำลึก ระดับน้ำในนามากกว่า 50 เซนติเมตร แต่ ไม่เกิน 100 เซนติเมตร 3) ข้าวขึ้นน้ำ หมายถึง ข้าวที่ปลูกในนาที่มีน้ำท่วมขังในระหว่างการเจริญเติบโตของข้าว มีระดับน้ำลึกตั้งแต่ 1-5 เมตร เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 เดือน ลักษณะพิเศษของข้าวขึ้นน้ำคือ มี ความสามารถในการยืดการแตกแขนงและรากที่ข้อเหนือผิวดิน และการชูรวง 4) ข้าวไร่ หมายถึง ข้าวที่ปลูกในที่ดอนหรือในสภาพไร่ บริเวณไหล่เขาหรือพื้นท่ีซึ่งไม่มีน้ำขัง ไม่มีการทำ คนั นาเพอื่ กักเกบ็ น้ำ 5)ข้าวนาท่ีสูง หมายถึง ข้าวที่ปลูกในนาที่มีน้ำขังบนที่สูงตั้งแต่ 700เมตรเหนือระดับน้ำทะเลข้ึนไป พันธ์ุ ขา้ วนาที่สงู ตอ้ งมีความสามารถทนทานอากาศหนาวเยน็ ไดด้ ี 1.4 ตามวธิ ปี ลูกข้าว 1) ปักดำ หมายถึง การปลูกข้าวด้วยวิธีนำต้นกล้าจากแปลงเพาะเมล็ดพันธุ์ (ตกกลา้ ) มาปัก ดำลงในแปลงนาท่เี ตรียมดินไวแ้ ล้ว อย่างเปน็ แถวเป็นแนวโดยแรงงานคนหรอื โดยเครอื่ งปกั ดำ 2) หว่านสำรวยหรอื หว่านข้าวแห้ง หมายถึง การเพาะปลูกขา้ วด้วยวิธีหว่านเมล็ดพนั ธ์ุ ข้าวแห้งท่ียังไม่งอกลงไปในแปลงนาที่ทำการเตรียมดินไว้แล้ว ให้กระจายไปทั่วทง้ั แปลง เสร็จแล้วจึงคราดกลบ หรอื ไถกลบอกี ครงั้ หนง่ึ 3) หว่านน้ำตม หมายถึง การเพาะปลูกข้าวด้วยวิธีหว่านเมล็ดพันธุ์ข้าวที่งอกแล้วลงไปในแปลง นาท่ีมีการเตรียมดิน และปรับระดับให้ราบเรียบ จนสามารถควบคุมปริมาณน้ำในแปลงนาท่ีเพาะปลูกได้เป็นอย่าง ดี 4) หยอด หมายถึง การเพาะปลูกข้าวด้วยวิธีหยอดเมล็ดเรียงเป็นแถว หรือหยอดเป็นหลุม ซึ่งจะใช้ กับการเพาะปลูกข้าวไร่เป็นส่วนใหญ่ แต่จะมีการเพาะปลูกในพื้นที่ราบบ้างในบางท้องที่ที่แห้งแล้ง ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พันธ์ุข้าวที่ใช้จะเป็นพันธุ์ข้าวไร่หรือพันธ์ุพื้นเมืองเป็นส่วนใหญ่เน่ืองจากทนความ แห้งแล้งได้ดี 5) โยนกล้า หมายถงึ การปลูกข้าวด้วยวธิ ีการเชน่ เดียวกบั การปกั ดำแต่จะต้องเตรียมกลา้ ไว้ใน ถาดหลุมแล้วนำไปปักดำด้วยวิธโี ยน

12 1.5 ตามวิธปี ลูกขา้ ว ได้แก่ 1.) การทำนาดำ เป็นวิธีการทำนาท่ีมีการนำเมล็ดข้าวไปเพาะในแปลงท่ีเตรียมไว้ (แปลงกล้า) ให้งอกเป็นต้นกล้า แล้วถอนต้นกล้าไปปักดำในกระทงนาท่ีเตรียมไว้ และมีการดูแลรักษาจนให้ผลผลิต การทำ นาดำนยิ มในพน้ื ทท่ี ี่มีแรงงานเพียงพอ 2.) การทำนาหวา่ น เป็นการปลูกข้าวโดยการหว่านเมล็ดลงไปในนาทเี่ ตรียมพื้นท่ีไวแ้ ลว้ โดยตรงเปน็ วิธกี ารท่ีนิยมมากข้นึ ในปัจจุบัน เนือ่ งจากประหยัดแรงงงานและเวลา การทำนาหวา่ นแบ่งออกเปน็ 2 วิธี คือ 2.1นาหว่านข้าวแห้ง เป็นการหว่านเมล็ดข้าวเพื่อคอยฝน และมีชื่อเรียกปลีกย่อยไปตาม วธิ ีปฎิบัติคือการหว่านสำรวย เป็นการหว่านเมล็ดข้าวแห้งในสภาพดินแห้ง เนื่องจากฝนยังไม่ตก โดยหลังจากการไถ แปรครง้ั สุดท้ายแล้วหว่านเมล็ดข้าวลงไปโดยไมต่ ้องคราดกลบ เมล็ดจะตกลงไปอยู่ในระหว่างก้อนดิน เม่อื ฝนตกลงมา เมล็ดขา้ วจะงอกขน้ึ มา ในบางพ้ินท่ีหลงั จากการหว่านขา้ วแห้งแล้วมีการคราดกลบหรอื ไถกลบการหว่านหลงั ขี้ไถ เป็น การหว่านในสภาพท่ีมีฝนตกลงมา และน้ำเร่ิมจะขังในกระทงนา เมื่อไถแปรแล้วก็หว่านเมล็ดพันธุ์ข้าวตามหลัง แล้ว คราดกลบทนั ที 2.2 นาหว่านข้าวงอก หว่านน้ำตม โดยการนำเมล็ดพันธ์ุข้าวท่ีถูกเพาะให้งอก มีขนาดตุ่มตา (มีรากงอกประมาณ 1-2 มิลลิเมตร) ไปหว่านลงในกระทงนา ซ่ึงมีการเตรียมดินจนเป็นเทือก แยกเป็น การหว่านหนีน้ำ ทำในนาน้ำฝน เน่ืองจากการหว่านข้าวแห้งหรือทำการตกกล้าไม่ทัน เม่ือฝนมามาก หลังจากเตรียม ดินเป็นเทือกดีแล้วก็หว่านข้าวท่ีเพาะจนงอก ลงไปในกระทงนาท่ีมีน้ำขังอยู่มากจึงเรียกว่า นาหว่านน้ำตมนา ชลประทาน หรือนาในเขตท่ีมีแหล่งน้ำอุดมสมบูรณ์ การทำนาในสภาพนี้มักจะให้ผลผลิตสูง หลังจากเตรียมดินเป็น เทือกดีแล้วระบายน้ำออกหรือให้เหลือน้ำขังบนผืนนาน้อยท่ีสุด นำเมล็ดพันธุ์ข้าวที่งอกขนาด “ตุ่มตา” หว่านลงไป แล้วคอยดแู ลควบคุมการใหน้ ำ้ มักจะเรยี กการทำนาแบบนว้ี า่ “การทำนานำ้ ตมแผนใหม”่ 3.) การทำนาหยอด เป็นวิธีการปลูกข้าวที่อาศัยน้ำฝน โดยหยอดเมล็ดข้าวแห้ง ลงไปในดินเป็น หลุมๆ หรือโรยเป็นแถวแล้วกลบเมล็ดข้าว เม่ือฝนตกลงมาดินมีความชื้นพอเหมาะ เมล็ดก็จะงอกเป็นต้น การทำนา หยอดนิยมทำในพ้ืนท่ีสภาพไร่ หรือนาในเขตที่การกระจายของฝนไม่แน่นอน แบ่งเป็น 2 สภาพ ได้แก่ 3.1นาหยอดในสภาพไร่(ข้าวไร่) พื้นท่ีส่วนใหญ่มักเป็นท่ีลาดชัน เช่น ที่เชิงเขาเป็นต้น ปรมิ าณนำ้ ฝนไมแ่ น่นอน สภาพพ้นื ท่สี ่วนใหญ่ไมส่ ามารถเตรยี มดินโดยการไถได้ จึงจำเปน็ ต้องหยอดข้าวเป็นหลุม 3.2 นาหยอดในสภาพท่ีราบสูง เช่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ ส่วนใหญ่ เป็นทร่ี าบเชงิ เขาหรอื หุบเขา การหยอดอาจหยอดเป็นหลุมหรือใช้เครื่องมือหยอด หรอื โรยเปน็ แถวแล้วคราดกลบ นา หยอดในสภาพน้ีใหผ้ ลผลิตสงู กวา่ นาหยอดในสภาพไร่มาก 4.) การโยนกล้า การปลูกข้าวในปัจจุบันมีได้หลายๆวิธีการ ท้ังการปักดำ การหว่านข้าวงอก และ การหว่านข้าวแหง้ แต่วิธีการตา่ งๆ มีข้อดีข้อเสียแตกตา่ งกนั เช่น การปักดำประหยัดเมล็ดพันธ์ุ แต่สน้ิ เปลืองแรงงาน ส่วนการหว่านข้าวงอก หรือการหว่านข้าวแห้ง ประหยัดแรงงาน แต่ใช้เมล็ดพันธ์ุมาก 15 – 25 กิโลกรัมต่อไร่ ซ่ึงใน

13 ภาวะท่ีเมล็ดพันธ์ุข้าวมรี าคาสงู 22 – 24 บาทตอ่ กิโลกรัม (พฤษภาคม 2551) การปลูกข้าวโดยการโยนกล้าจงึ เป็นอีก ทางเลือกหนึ่ง เนื่องจากใช้เมล็ดพันธ์ุข้าวเพียง 4 – 5 กิโลกรัมต่อไร สามารถประหยัดเวลาและแรงงานในการดำนา โดยมคี า่ ใชจ้ ่ายดา้ นวสั ดุปลูก เมลด็ พนั ธ์ุ และแรงงานโดยรวม ประมาณ 550 บาทตอ่ ไร่ 1.6 แบ่งตามปริมาณแอมิโลสเป็น 4 กลุ่ม (อ้างอิงข้อมูลจาก สำนักงานมาตรฐานสินค้า เกษตรและอาหารแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) 1. ข้าวเจ้านุ่ม แป้งของข้าวขาวมีปริมาณแอมิโลสต่ำ (ต้ังแต่ 13% ถึง 20% โดยน้ำหนักท่ี ระดบั ความชนื้ 14% โดยนำ้ หนัก) 2.ข้าวเจ้าร่วน แป้งของข้าวขาวมีปริมาณแอมิโลสปานกลาง (มากกว่า 20% ถึง 25% โดย นำ้ หนัก ทร่ี ะดบั ความชน้ื 14% โดยนำ้ หนัก) เมือ่ หุงสุกเปน็ ขา้ วสวยแล้วเมล็ดข้าว จะรว่ นคอ่ นข้างนุ่ม 3.ข้าวเจ้าแข็ง แป้งของข้าวขาวมีปริมาณแอมิโลสสูง(มากกว่า 25% ขนึ้ ไปโดยน้ำหนักที่ระดับ ความชน้ื 14% โดยน้ำหนกั ) เม่ือหงุ สกุ เป็นขา้ วสวยแลว้ เมล็ดข้าว จะร่วนคอ่ นข้างร่วนและแข็ง 4.ข้าวเหนียว แป้งของข้าวเหนียวขาวมีปริมาณแอมิโลสต่ำมากหรือไม่มีเลย ข้าวมีค่าการ สลายเมล็ดในตา่ งระดับ 6 ถงึ ระดับ 7 เม่อื นิ่งสกุ เมลด็ ข้าวจะเหนยี วและจับตดิ กนั 2) ลักษณะผลผลิตข้าว หมายถึง ลักษณะของผลผลิตข้าวท่ีเก็บเกี่ยวในรูปของเมล็ดข้าวเปลือก ท่ี ความชื้น 15 % 3) การคำนวณนำ้ หนกั ผลผลติ ที่ความชน้ื 15% ดังนี้ น้ำหนักผลผลติ ทค่ี วามชื้น 15% = 4) อัตราแปลงผลผลิตข้าว หมายถึง การเปรียบเทียบน้ำหนักผลผลิตข้าว จากรูปลักษณะหนึ่ง ไปอีกรูปลักษณะหนึ่ง เช่น จากข้าวเปลือกเจ้า และข้าวเปลือกเหนียวน้ำหนัก 1,000 กิโลกรัม หรือ 1 เกวียน เมอ่ื สีแล้วเป็นน้ำหนักขา้ วสาร 660 กโิ ลกรัม

14 ตารางท่ี 1 อัตราแปลงผลผลิตข้าวเจ้าและข้าวเหนยี ว หนว่ ย : กก. นำ้ หนักข้าวเปลือก 1,000 กิโลกรมั หรอื 1 เกวียน รูปผลผลิต ขา้ วเจ้า ข้าวเหนยี วขาว 10% 100% 5% 10% 15% 25% เมล็ดยาว เมล็ดสัน้ ต้นข้าว 450 460 450 450 460 450 400 ขา้ วหัก ปลายขา้ ว 155 145 150 147 132 150 200 รวมเนอ้ื ขา้ ว 55 55 60 63 68 42 44 รำขา้ วขาว รำขา้ วกล้อง 660 660 660 660 660 642 644 80 80 72 70 65 75 75 30 30 30 30 30 30 30 แกลบ 230 230 238 240 245 253 251 รวมรำและแกลบ 340 340 340 340 340 358 356 รวมขา้ วเปลอื ก 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 กโิ ลกรัม ทมี่ า: กรมสง่ เสริมสหกรณ์

15 ตารางท่ี 2 อัตราแปลงผลผลติ รำข้าว หน่วย:กก. กอ่ นแปลงรปู ผลผลติ หลงั แปลงรปู ผลผลติ ขา้ วเปลอื ก 100 รำขา้ ว 11.10 รำขา้ ว กากรำข้าว 8.71 น้ำมันรำข้าว 1.50 78.50 100 กากรำข้าว นำ้ มนั รำขา้ ว 13.50 สูญเสีย 8.00 ที่มา : กรมสง่ เสริมสหกรณ์ 5) อัตราแปลงน้ำหนักบรรจุภัณฑ์ข้าว หมายถึง ขนาดของน้ำหนักผลผลิตในแต่ละบรรจุภัณฑ์ เปรียบเทียบกับน้ำหนักที่บรรจุ เช่น ข้าวเปลือกเจ้า 1 กระสอบป่าน คิดเป็นน้ำหนักข้าวที่ความช้ืน 15 % เท่ากับ 71.81 กิโลกรัม ตารางท่ี 3 นำ้ หนัก ขา้ วเปลอื กเจ้า และขา้ วเปลือกเหนียวแยกตามชนิดบรรจภุ ณั ฑ์ หนว่ ยนับ น้ำหนกั ท่ีความชืน้ 15 % ( กก. ) ข้าวเปลอื กเจ้า ขา้ วเปลือกเหนยี ว กระสอบปา่ น 71.81 64.02 ทมี่ า: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ตารางท่ี 4 น้ำหนกั ข้าวสารเจา้ และขา้ วสารเหนียวแยกตามชนิดบรรจภุ ัณฑ์ หนว่ ยนบั นำ้ หนักทคี่ วามช้นื 15 % (กก.) ข้าวสารเจา้ ข้าวสารเหนียว กระสอบป่าน 100.00 100.00 ถุงแปง้ 22.00 22.00 ถงั กลม/ปีบใหญ่ 15.00 15.00 ทม่ี า : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร

16 3.1.2 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 1) ขา้ วโพดเลยี้ งสัตว์ หมายถึง ข้าวโพดเลย้ี งสัตวท์ ่ีเพาะปลูกเพอ่ื นำเมลด็ มาใชผ้ สมเปน็ อาหาร สัตว์ และอ่นื ๆ ยกเว้นข้าวโพดเล้ยี งสัตว์ท่ที ำการเพาะปลกู เพ่ือผลิตเป็นเมลด็ พันธ์ุ 2) ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ รุ่น 1 (ฤดูฝน) แบ่งออกเป็น ข้าวโพดเล้ียงสัตว์รุ่น 1 ต้นฤดูฝน หมายถึง ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ท่ีทำการเพาะปลูกระหว่าง วันที่ 1 มีนาคม ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม ของปีเดียวกัน ข้าวโพดเล้ียงสัตว์รุ่น 1 ปลายฤดูฝน หมายถึง ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ท่ีทำการเพาะปลูก ระหว่างวันท่ี 1 สิงหาคม ถึงวันท่ี 31 ตุลาคม ของปีเดียวกัน 3) ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ รุ่น 2 (ฤดูแล้ง) หมายถึง ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ท่ีทำการเพาะปลูก ระหว่างวันท่ี 1 พฤศจิกายน ถึงวันท่ี 28 หรือ 29กุมภาพันธ์ ของปีถัดไป 4) พันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ หมายถึง พันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่เกษตรกรใช้เพาะปลูก แบ่ ง ออกเป็น 2 กลมุ่ พนั ธุ์ คือ 4.1) พนั ธ์ลุ กู ผสมปดิ หมายถึง พันธทุ์ ่ีเกษตรกรไม่สามารถเกบ็ เมล็ดพนั ธ์ุไว้ใช้เพาะปลกู ใน ครง้ั ตอ่ ไปได้ พันธุ์ลูกผสมของทางราชการ หมายถึง พันธ์ุลูกผสมที่พัฒนาโดยหน่วยงานราชการ เช่น นครสวรรค์ 72 ของกรมวิชาการเกษตร และ สุวรรณ 3851 ของศูนย์วิจัยข้าวโพดข้าวฟ่างแห่งชาติ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ อ.ปากช่อง จ. นครราชสีมา พนั ธุล์ ูกผสมของบริษัทเอกชน หมายถึง พนั ธ์ุลูกผสมท่ีบริษทั เอกชน ผลติ ออกมาจำหนา่ ย และแนะนำให้เกษตรกรปลูก มีช่ือการค้าต่างๆ เช่น 888 999 222 111 ของ CP หรือ 328 983ของ Pacific หรอื Pioneer 3013 หรือ เทพวีนัส 49 4.2) พันธุ์ลูกผสมเปิด หมายถึง พันธุ์ที่เกษตรกรสามารถเก็บเมล็ดไว้ใช้ทำพันธ์ุเพาะปลูก ในคร้ังต่อไปได้ เช่น พันธุ์สุวรรณ 1 พันธ์ุสุวรรณ 2 พันธ์ุสุวรรณ 3พันธุ์สุวรรณ 4 พันธุ์สุวรรณ 5 และ พันธ์ุ นครสวรรค์ 1 พันธุน์ ครสวรรค์ 2 5) อัตราแปลงผลผลิตข้าวโพดเล้ียงสัตว์ หมายถึงการเปรียบเทียบน้ำหนักผลผลิตข้าวโพดเล้ียง สตั ว์จากรปู ลกั ษณะหน่ึง ไปอกี รูปลกั ษณะหน่ึง เช่น ข้าวโพดฝักสดน้ำหนัก 100 กโิ ลกรัม แปลงเปน็ ข้าวโพดฝัก แหง้ ได้ 50 กิโลกรัม (ตารางที่ 5) 6) อัตราแปลงน้ำหนักบรรจุภัณฑ์ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ หมายถึง น้ำหนักผลผลิตโดยเปรียบเทียบ กับมาตรา ช่ัง ตวง วัด เชน่ เมล็ดข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 1 เกวียน คดิ เป็นน้ำหนกั 1,500 กิโลกรมั (ตารางท่ี 5)

17 ตารางที่ 5 อัตราแปลงผลผลิตข้าวโพดเล้ียงสตั ว์ หนว่ ย : กก. ก่อนแปลงรูปผลผลติ หลังแปลงรูปผลผลติ ขา้ วโพดฝักสด 100 ข้าวโพดฝกั แห้ง 50.00 ข้าวโพดฝกั แห้ง 100 เมลด็ ข้าวโพดแห้ง 78.83 ขา้ วโพดฝักแห้ง 100 (ฝัก) เมลด็ ขา้ วโพดแหง้ 8.88 ทม่ี า : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร ตารางที่ 6 น้ำหนกั บรรจุภัณฑ์ เมล็ดข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ หนว่ ย : กก. หน่วยนับ น้ำหนักท่คี วามชน้ื 14.5 % (กก.) เกวียน 1,500.00 กระสอบป่าน 97.42 ถุงแป้ง 22.14 ถังกลม / ปบี ใหญ่ 14.76 ลิตร 0.74 ท่ีมา : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร 3.1.3 ขา้ วฟา่ ง 1) ข้าวฟ่าง หมายถึง ข้าวฟ่างท่ีเพาะปลูกเพื่อนำเมลด็ มาใช้ผสมเป็นอาหารสัตว์หรอื นำมาบรโิ ภค เป็นอาหาร 2) ข้าวฟ่าง รนุ่ 1 หมายถึง ขา้ วฟ่างท่ีทำการเพาะปลูกระหว่างวนั ที่ 1 พฤษภาคมถงึ วันท่ี 31 ตลุ าคมของปเี ดยี วกนั 3) ข้าวฟ่างรุ่น 2 หมายถึง ข้าวฟ่างที่ทำการเพาะปลูกระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายนถึงวันท่ี 30 เมษายนของปีถัดไป

18 4) พันธุ์ข้าวฟ่าง หมายถึง พันธ์ุของข้าวฟ่างที่เกษตรกรใช้เพาะปลูกสามารถแบ่งพันธุ์ที่นิยม เพาะปลูกออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ 4.1 พันธ์ุราชการ หมายถึง พันธ์ุข้าวฟ่างท่ีผ่านการรับรองจากทางราชการ โดย กรมวิชาการเกษตรและศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซ่ึงมีลักษณะสีของ เมล็ดต่างกัน 3 สี คือ - สีแดง ไดแ้ ก่ พันธสุ์ ุพรรณบุรี 1 และสุพรรณบุรี 60 - สเี หลอื ง ไดแ้ ก่ พนั ธอ์ุ ู่ทอง 1 - สีขาว ได้แก่ พันธ์ุเฮการหี่ นัก และเฮการเ่ี บาK.U 257 D.A. 80 4.2พันธล์ุ กู ผสมหมายถึง พันธุข์ า้ วฟา่ ง ท่บี รษิ ทั เอกชนผลติ จำหน่ายและแนะนำส่งเสริมให้ เกษตรกรเพาะปลูก 5) ลกั ษณะผลผลติ ขา้ วฟ่าง หมายถงึ ลักษณะของผลผลติ ขา้ วฟา่ งที่เกษตรกรเกบ็ เกยี่ วในรูปของ เมลด็ แหง้ ที่ความชนื้ 14 % 6) อัตราแปลงนำ้ หนกั บรรจุภณั ฑข์ ้าวฟ่าง หมายถงึ นำ้ หนักผลผลติ โดยเปรียบเทียบกับมาตรา ชัง่ ตวง วัด เชน่ ขา้ วฟ่าง 1 กระสอบป่าน คดิ เป็น 94.64 กิโลกรัม เป็นต้น (ตารางที่ 7) ตารางท่ี 7 น้ำหนักบรรจภุ ณั ฑ์ ข้าวฟา่ ง หนว่ ย : กก. หนว่ ยนบั น้ำหนกั 94.64 กระสอบปา่ น ถงุ แปง้ 21.51 ถงั กลม/ปีบใหญ่ 14.34 ปบี เล็ก 5.74 ลิตร 0.72 ที่มา : สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร

19 3.1.4 อ้อยโรงงานอ 1)อ้อยโรงงาน หมายถึง ออ้ ยโรงงานที่ปลูกสำหรบั ส่งโรงงานน้ำตาลท่ีเก็บเก่ียวหรือคาดว่าจะเก็บ เก่ยี ว (ตัด) ตั้งแตว่ ันที่ 1 ตลุ าคม ถงึ วันที่ 31 พฤษภาคม ของปีถัดไป โดยไมค่ ำนึงวา่ จะปลูกมาตั้งแต่เมื่อใดก็ตาม” อ้อยโรงงานปีแรก (ปี 1) หมายถึง อ้อยโรงงานท่ีปลูกแล้วแต่ยังไม่เคยตัดผลผลิตส่งเข้า โรงงานเลยนับตั้งแต่เร่ิมปลูกมา แต่ตัดผลผลิตหรือคาดว่าจะตัดผลผลิตส่งเข้าโรงงานในฤดูหีบอ้อย นี้เป็นครั้งแรก เกษตรกรเรยี กวา่ อ้อยยอด หรอื อ้อยใหม่ อ้อยโรงงานปีท่ี 2 หมายถึง อ้อยโรงงานท่ีตัดและให้ผลผลิตมาแล้ว 1 ครั้งนับต้ังแต่ เริม่ ปลกู มา และตัดผลผลิตหรอื คาดว่าจะตัดผลผลิตสง่ เข้าโรงงานอีกเปน็ ครั้งท่ี 2 เกษตรกรเรยี กวา่ อ้อยตอหนงึ่ อ้อยโรงงานปีที่ 3 ขึ้นไป หมายถึง อ้อยโรงงานที่ตัดและให้ผลผลิตมาแล้ว 2 ครั้งข้ึน ไป นับตั้งแต่เร่ิมปลูกมา และตัดผลผลิตหรือคาดว่าจะตัดผลผลิตส่งเข้าโรงงานอีกเป็นคร้ังท่ี 3 หรือคร้ังท่ี 4 หรือ ครั้งที่ 5 เกษตรกรเรียกว่า อ้อยตอสอง อ้อยตอสาม อ้อยตอส่ี เปน็ ต้น 2) พันธุ์อ้อย หมายถึง พันธุ์อ้อยโรงงานที่นิยมปลูก ซึ่งส่วนใหญ่เกษตรกรนิยมปลูกพันธุ์ ขอนแก่น 3 และพันธุ์อื่น ๆ เช่น LK92-11พันธุ์อู่ทอง 12อู่ทอง15อู่ทอง 5 CSB 03-109 CSB 06-2-21KPK98- 51 K 95-84 K 88-92 และ KLK 92-11 3)อัตราเปลี่ยนแปลงอ้อยตามค่า Commercial Cane Sugar (C.C.S.) คือ อ้อย 1 ตัน 10 C.C.S.ได้น้ำตาล 110.75 กิโลกรัม ถ้าอ้อย 1 ตัน 1 C.C.S.ได้น้ำตาล 11.075 กิโลกรัม 4) อัตราแปลงผลผลิตอ้อยโรงงาน หมายถึง การเปรียบเทียบน้ำหนักผลผลิตอ้อยโรงงานจาก รูปลักษณะหน่ึง ไปอีกรูปลักษณะหน่ึง น้ำหนักอ้อยก่อน และหลัง แปลงรูปผลผลิต เช่น อ้อยสด 1,000 กโิ ลกรัม แปลงเป็นน้ำตาลได้ 110.75 กโิ ลกรัม เป็นตน้ (ตารางท่ี 8) ตารางท่ี 8 อตั ราแปลงผลผลิตออ้ ยโรงงานหน่วย : กก. ก่อนแปลงรปู ผลผลิต หลังแปลงรูปผลผลิต ออ้ ยสด1 1,000 นำ้ ตาล 110.75 อ้อยสด1,2,3 1,000 กากนำ้ ตาล 43.50 ออ้ ยสด1,2,3 1,000 นำ้ อ้อย 600.00 น้ำออ้ ย1,2,3 1,000 เอทานอล 75.00 (ลิตร) กากน้ำตาล1,2,3 1,000 เอทานอล 239.80 (ลติ ร) ท่มี า : 1ศนู ยส์ ่งเสริมอตุ สาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายเขต 3 สำนกั งานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย

20 รายงานการผลติ น้ำตาลทรายของโรงงานนำ้ ตาลทัว่ ประเทศประจำปีการผลติ 2562/2563 2สมาคมการค้าผผู้ ลติ เอทานอลไทยและขอ้ มูล 3กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพ์ ลังงานข้อมูล 3.1.5 มันสำปะหลงั โรงงาน 1) มนั สำปะหลงั โรงงาน หมายถงึ มันสำปะหลงั ท่เี ก็บเก่ียวผลผลิต ในระหวา่ งวนั ที่ 1 ตลุ าคม ถงึ วันท่ี 30 กันยายน ของปีถัดไป โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือขายหรือนำส่งผลผลิตเข้าสู่โรงงานอุตสาหกรรม เช่น ลานมัน เสน้ โรงงานมันอัดเม็ด โรงงานแป้งมนั โรงงานเอทานอล และโรงงานแปรรูปอื่น ๆ ยกเวน้ พนั ธุบ์ ริโภคสด 2) พันธ์ุมันสำปะหลังโรงงาน เช่น เกษตรศาสตร์ 50 ระยอง 72 ระยอง 5 ห้วยบง 80 ห้วยบง จดั รปู แบบแลว้ : สฟี อนต:์ อัตโนมตั ,ิ ไม่ เนน้ 60 ทงั้ นี้ไมร่ วมมันสำปะหลังพันธุ์บริโภคสด เช่น พริ ุณ 2 ระยอง 2 จดั รปู แบบแลว้ : ไม่ เนน้ 3) ลักษณะผลผลิตมันสำปะหลังโรงงาน หมายถึง ลักษณะของผลผลิตท่ีเก็บเกี่ยวในรูปของ หัวมนั สด 4) อัตราแปลงผลผลิตมันสำปะหลังโรงงาน หมายถึง การเปรียบเทียบน้ำหนักผลผลิต มันสำปะหลังโรงงานจากรูปลักษณะหนงึ่ ไปอกี รปู ลักษณะหน่ึง เช่น หัวมนั สด 100 กิโลกรมั แปลงเป็นมันเส้น/ มันอดั เม็ดได้41.32 กิโลกรัม เป็นตน้ (ตารางที่ 9) 3.1.5 มันสำปะหลงั โรงงาน 1) มันสำปะหลังโรงงาน หมายถึง มันสำปะหลังที่เก็บเก่ียวผลผลิต ในระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม ถึง วันท่ี 30 กันยายน ของปีถัดไป โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อขายหรือนำส่งผลผลิตเข้าสู่โรงงานอุตสาหกรรม เช่น ลานมัน เสน้ โรงงานมนั อดั เม็ด โรงงานแปง้ มัน โรงงานเอทานอล และโรงงานแปรรูปอื่น ๆ ยกเว้นพันธ์บุ รโิ ภคสด 2) พันธุ์มันสำปะหลังโรงงาน เช่นเกษตรศาสตร์ 50 ระยอง 72 ระยอง 5 ระยอง 11 ห้วยบง 80 หว้ ยบง 60 ทั้งนไี้ ม่รวมมนั สำปะหลังพันธุบ์ รโิ ภคสด เชน่ พิรณุ 2 ระยอง 2 3) ลักษณะผลผลิตมันสำปะหลังโรงงาน หมายถึง ลักษณะของผลผลิตที่เก็บเก่ียวในรูป ของหวั มนั สด 4) อัตราแปลงผลผลิตมันสำปะหลังโรงงาน หมายถึง การเปรียบเทียบน้ำหนักผลผลิต มนั สำปะหลังโรงงานจากรูปลักษณะหนงึ่ ไปอีกรปู ลกั ษณะหน่ึง เช่น หัวมนั สด 100 กโิ ลกรัม แปลงเปน็ มันเสน้ / มนั อดั เม็ดได4้ 1.66กิโลกรมั เปน็ ต้น (ตารางที่ 9)

21 ตารางที่ 9 อตั ราแปลงผลผลิตมันสำปะหลงั โรงงาน หนว่ ย : กก. กอ่ นแปลงรูปผลผลติ หลงั แปลงรปู ผลผลติ คละ หลังแปลงรูปผลผลิต25% หัวมนั สด1 100 มนั เส้น /มันอดั เม็ด 41.32 มนั เส้น /มนั อัดเม็ด หัวมันสด1 100 แปง้ มนั 23.81 แปง้ มัน หัวมันสด1 100 ผงชรู ส 11.21 ผงชรู ส หวั มันสด1 100 สาคู 21.51 สาคู หัวมนั สด2 100 เอทานอล 16 (ลติ ร) เอทานอล ทม่ี า: 1สมาคมการค้ามนั สำปะหลังไทย 2กรมพัฒนาพลงั งานทดแทนและอนรุ ักษ์พลังงาน 3.1.6 สับปะรดโรงงาน 1) สับปะรดโรงงาน หมายถงึ สบั ปะรดพันธป์ุ ัตตาเวยี ทมี่ ีการเก็บเกยี่ วตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม ถึงวันท่ี 31 ธันวาคม ของปีเดียวกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือขายผลผลิตส่งเข้าสู่โรงงาน อุตสาหกรรมและ/หรือขายเป็นผลสดท้ังน้ีไม่รวมพันธ์ุพื้นเมืองท่ีปลูกในท้องถิ่นเพ่ือบริโภคเช่น สับปะรดนางแล สบั ปะรดภูเกต็ สบั ปะรดตราดสีทอง และสบั ปะรดสวี เป็นต้นโดยมกี ารเก็บเก่ียว 1-3 ครัง้ ตอ่ ช่วงอายกุ ารปลูก ดังนี้ - สับปะรดโรงงาน ปี 1 (มีดหนึ่ง) หมายถึง สับปะรดโรงงานท่ีเก็บเก่ียวหรือตัดผลผลิต ได้เป็นปีแรก ของชว่ งอายกุ ารปลูก - สับปะรดโรงงาน ปี 2 (มีดสอง) หมายถึง สับปะรดโรงงานที่เก็บเก่ียวหรือตัดผลผลิต ไดเ้ ป็นปีท่ีสอง ของช่วงอายุการปลูก - สับปะรดโรงงาน ปี 3 (มีดสาม) หมายถึง สับปะรดโรงงานท่ีเก็บเกี่ยวหรือตัดผลผลิตได้เป็นปีท่ี สามข้นึ ไป ของช่วงอายกุ ารปลูก 2) อัตราแปลงผลผลติ สบั ปะรดโรงงาน หมายถงึ การเปรียบเทียบนำ้ หนักผลผลิตสับปะรด โรงงานจากรูปลักษณะหนึ่ง ไปอกี รปู ลักษณะหนึ่ง เช่น สับปะรดสด 100 กโิ ลกรัม แปลงเป็นสบั ปะรดกระป๋อง ได้ 33.33 กโิ ลกรมั เป็นตน้ (ตารางท่ี 10) ตารางท่ี 10 อัตราแปลงผลผลติ สับปะรดโรงงาน หนว่ ย : กก.

22 กอ่ นแปลงรปู ผลผลติ หลังแปลงรปู ผลผลติ สับปะรดสด 100 สับปะรดกระป๋อง 33.33 สบั ปะรดสด 100 สบั ปะรดแชแ่ ขง็ 40.00 สบั ปะรดสด 100 น้ำสบั ปะรดเข้มขน้ 25.00 สับปะรดสด 100 สับปะรดกวน 20.00 ท่มี า : สำนกั งานเศรษฐกจิ อตุ สาหกรรมกระทรวงอุตสาหกรรม 3.2 การผลิตพืชสวน 3.2.1 ปาล์มนำ้ มนั 1) ปาล์มน้ำมัน หมายถึง ปาล์มน้ำมันที่ยืนต้นอยู่หรือปลูกใหม่ในระหว่างวันท่ี 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม ของปีเดยี วกนั 2) ผลผลิตปาล์มนำ้ มนั หมายถงึ ผลปาล์มน้ำมนั สดที่เก็บได้ในรอบปี 3) ลกั ษณะผลผลติ ของปาล์มน้ำมันได้แก่ ผลปาล์มนำ้ มนั ท้งั ทะลาย และผลปาล์มร่วง 4) พันธุ์ปาล์มน้ำมันหมายถึง ต้นพันธุ์ปาล์มน้ำมันที่เกษตรกรนำไปเพาะปลูกซึ่งพันธุ์ที่นิยม ปลูก ได้แก่ พันธุ์สุราษฎร์ธานี 1 พันธุ์สุราษฎร์ธานี 2 พันธุ์สุราษฎร์ธานี 3 พันธุ์สุราษฎร์ธานี 4 พันธุ์สุ ราษฎร์ธานี 5 พันธุ์สุราษฎร์ธานี 6 พันธ์ุสุราษฎร์ธานี 7 พันธุ์เทเนอร่า พันธุ์ดูร่า พันธุ์พิสิเฟอร่า พันธุ์ ยันกัมบิพนั ธุ์ดีลิ-ยนั กมั บิคอมแพค 5) อัตราแปลงผลผลิตปาล์มน้ำมัน หมายถึงการเปรียบเทียบน้ำหนักผลผลิตปาล์ม จากรปู ลักษณะหน่ึงไปอีกรูปลักษณะหนง่ึ เช่น ผลปาล์มน้ำมันท้ังทะลาย 100 กิโลกรัม แปลงเป็นผลปาล์มร่วง ได้ 68 กิโลกรัม หรือผลปาล์มน้ำมันท้ังทะลาย 100 กิโลกรัม แปลงเป็นน้ำมันปาล์มดิบได้ 17 กิโลกรัม เป็นต้น (ตารางท่ี 11) ตารางท่ี 11 อัตราแปลงผลผลิตปาล์มน้ำมนั หน่วย : กก.

23 ก่อนแปลงรูปผลผลิต หลังแปลงรูปผลผลิต ผลปาลม์ นำ้ มนั ท้ังทะลาย 100 ผลปาลม์ น้ำมนั รว่ ง 68.00 ผลปาล์มนำ้ มันทั้งทะลาย 100 นำ้ มนั ปาล์มดบิ 17.00 ผลปาลม์ นำ้ มันร่วง 100 น้ำมนั ปาล์มดบิ 25.00 นำ้ มนั ปาลม์ ดบิ 100 น้ำมันโอเลอนี 75.00 น้ำมันสเตียรนี 20.00 กรดไขมนั อิสระ 5.00 ทม่ี า : สำนักงานเศรษฐกิจอตุ สาหกรรม 3.2.2 ยางพารา 1) ยางพารา หมายถึง ยางพาราที่ยืนต้นอยู่หรือปลูกใหม่ ในระหว่างวันที่ 1 มกราคม ถึง 31ธันวาคม ของปเี ดียวกนั 2) ผลผลิตยางพารา หมายถึง ผลผลิตของยางพาราที่กรีดได้ในรอบปี ซึ่งอยู่ในรูปแบบของยาง แผน่ ดิบ 3)ลักษณะของผลผลิตยางพารา ได้แก่ ยางแผ่นรมควัน ยางแผ่นดิบ น้ำยางสด ยางก้อนถ้วย และขี้ยาง เป็นต้น 4) พนั ธ์ุยางพารา หมายถงึ ต้นพันธุ์ยางพาราท่ีนยิ มปลกู แบ่งเป็น 2 ประเภทคอื -พันธร์ุ าชการได้แก่ ตน้ พันธ์ยุ างพาราทกี่ รมวชิ าการเกษตรใหค้ ำแนะนำให้ปลูกเชน่ พนั ธุ์ RRIM600, พนั ธ์สุ วย.251(RRIT251),พนั ธ์สุ วย.408(RRIT408)หรอื พนั ธุ์เฉลิมพระเกียรติ 984และพนั ธ์ุ BPM 24 - พนั ธ์อุ ื่นๆ ไดแ้ ก่ ต้นพันธ์ุยางพาราทเ่ี อกชนเปน็ ผผู้ ลิต เชน่ พันธุ์ JVP 80 และKT 311 5) อัตราแปลงผลผลิตยางพารา หมายถึงการเปรียบเทียบน้ำหนักผลผลิตยางพารา จาก รูปลักษณะหนึ่ง ไปอีกรูปลักษณะหน่ึง เช่น น้ำยางสด 100 กิโลกรัม แปลงเป็นยางแผ่นดิบได้ 33.33 กิโลกรัม หรอื นำ้ ยางสด 100 กิโลกรัม แปลงเป็นเนอ้ื ยางแหง้ ได้ 32.80 กโิ ลกรัม (ตารางท่ี 12)

24 ตารางท่ี 12 อตั ราแปลงผลผลติ ยางพารา หนว่ ย : กก. กอ่ นแปลงรปู ผลผลติ หลังแปลงรปู ผลผลติ น้ำยางสด 100 ยางแผน่ ดิบ 33.33 น้ำยางสด 100 เนอ้ื ยางแหง้ 32.80 ยางก้อนถ้วย 100 เนอื้ ยางแหง้ 49.20 ยางแผ่นดิบ 100 เนือ้ ยางแหง้ 98.40 ทม่ี า: สถาบันวิจยั ยาง กรมวิชาการเกษตร 3.2.3 กาแฟ 1)กาแฟ หมายถึง กาแฟที่ยืนต้นอยู่ หรือปลูกใหม่ระหว่างวันท่ี 1 ตุลาคม ถึง 30 กันยายน ของปถี ัดไป 2)ผลผลิตกาแฟ หมายถึงผลผลิตที่อยู่ในรูปสารกาแฟที่ผลิตได้ในรอบปีการผลิต (1 ตลุ าคม ถงึ 30 กนั ยายน ของปถี ัดไป) 3) ลกั ษณะของผลผลิตกาแฟ ไดแ้ ก่ เมลด็ กาแฟสด เมลด็ กาแฟแหง้ กาแฟกะลา และสารกาแฟ 3.1 เมล็ดกาแฟสด หมายถึงกาแฟผลสดสีแดง (ผลเชอร์รี่) 3.2 เมล็ดกาแฟกะลาหมายถึงเมล็ดกาแฟแห้ง ท่ีได้จากผลกาแฟสุก ที่เอาส่วนของผนังผลชั้นนอก หรือเปลือกนอกและผนังผลชั้นกลาง หรือเนื้อออกแล้ว แต่ยังมีผนังผล ช้ันใน หรือ เปลือกชั้นในหรือท่ีเรียกว่ากะลาติดอยู่ 3.3 สารกาแฟ หมายถึงเมล็ดกาแฟท่ีสีเอากะลาออกพร้อมที่จะคั่วแล้ว 4) พันธ์ุกาแฟ หมายถึง เมลด็ พันธ์ุกาแฟที่นิยมปลูก ไดแ้ ก่ พันธโ์ุ รบัสตา พนั ธ์ุอาราบิกา

25 5) อัตราแปลงผลผลิตกาแฟ หมายถึง การเปรียบเทียบน้ำหนักผลผลิตกาแฟจากรูปลักษณะ หน่ึง ไปอีกรูปลักษณะหน่ึง เช่น เมล็ดกาแฟสดอาราบิกา 100 กิโลกรัม แปลงเป็น เมล็ดกาแฟกะลาได้ 20 กโิ ลกรัม และเมล็ดกาแฟสดโรบสั ตา 3 -5 กโิ ลกรัม แปลงเป็น สารกาแฟได้ 1 กิโลกรัม เปน็ ตน้ (ตารางท่ี 22) 6) อัตราแปลงน้ำหนักบรรจุภัณฑ์กาแฟ หมายถึง น้ำหนักผลผลิตโดยเปรียบเทียบกับมาตรา ชงั่ ตวง วดั เช่น เมลด็ กาแฟสดอาราบกิ า 1 ปบี คิดเปน็ นำ้ หนกั 14 กโิ ลกรัม เปน็ ตน้ (ตารางท่ี 13) ตารางที่ 13 อัตราแปลงผลผลิตกาแฟ หน่วย : กก. กอ่ นแปลงรูปผลผลติ หลังแปลงรูปผลผลติ อาราบิกา เมลด็ กาแฟสด 100.00 เมล็ดกาแฟกะลา 20.00 เมล็ดกาแฟกะลา 100.00 สารกาแฟ 80.00 เมล็ดกาแฟสด 100.00 สารกาแฟ 16.00 โรบัสตา เมลด็ กาแฟสด 3.00-5.00 สารกาแฟ 1.00 เมลด็ กาแฟแหง้ 2.00-2.50 สารกาแฟ 1.00 ทมี่ า : กรมวชิ าการเกษตร

26 3.2.4 มะพร้าวผลแก่ 1)มะพร้าวผลแก่ หมายถึง มะพร้าวท่ียืนต้นอยู่ หรือปลูกใหม่ในระหว่างวันท่ี 1มกราคม ถึง 31ธันวาคม ของปีเดียวกันท้ังน้ไี มร่ วมมะพรา้ วนำ้ หอมและมะพร้าวทำนำ้ ตาล 2) ผลผลติ มะพรา้ ว หมายถงึ มะพร้าวผลแกท่ ่ีเก็บได้ในรอบปี 3) ลักษณะของผลผลิตมะพร้าว หมายถึง ผลมะพร้าวแก่ 4) พันธุ์มะพร้าว หมายถึง ต้นพันธุ์ มะพร้าวท่ีนิยมปลูก ได้แก่ พันธุ์สวีลูกผสม 1 พันธ์ุชุมพรลกู ผสม 60-1 พันธชุ์ ุมพรลูกผสม 2 5) อัตราแปลงผลผลิตมะพร้าว หมายถึง การเปรียบเทียบน้ำหนักผลผลิตมะพร้าว จาก รูปลักษณะหนึ่ง ไปอีกรูปลักษณะหนึ่ง เช่น มะพร้าวผลแห้งคละ 100 ผล แปลงเป็นเน้ือมะพร้าวแห้งได้ 25 กิโลกรัม หรือมะพร้าวผลแห้งคละ 100 กิโลกรัม แปลงเป็นน้ำมันมะพร้าวดิบได้ 12.83 กิโลกรัม เป็นต้น (ตารางที่ 14) ตารางท่ี 14 อตั ราแปลงผลผลติ มะพร้าว หน่วย : กก. กอ่ นแปลงรูปผลผลติ หลังแปลงรปู ผลผลติ มะพร้าวผลแห้งคละ 100 (ผล) เนือ้ มะพร้าวแห้ง 25.00 มะพรา้ วผลแห้งคละ 100 (ผล) น้ำมนั มะพรา้ วดบิ 12.83 เนอ้ื มะพรา้ วแหง้ 100 น้ำมันมะพร้าวดิบ 51.30 ทีม่ า :สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร 3.2.5มงั คดุ 1)มงั คุดหมายถึงมังคุดท่ยี นื ต้นอยู่หรอื ปลูกใหมใ่ นระหวา่ งวันท่ี 1มกราคมถึง31ธันวาคมของปเี ดียวกนั 2) ผลผลติ มังคุด หมายถึง ผลมงั คดุ สดทีเ่ ก็บไดใ้ นรอบปี 3) พันธุ์มังคดุ หมายถงึ ตน้ พันธ์มุ งั คดุ ท่ีปลูก คอื พันธ์ุกาซิเนีย

27 3.2.6ทุเรยี น 1)ทุเรยี นหมายถงึ ทเุ รยี นทยี่ นื ตน้ อยู่ หรือปลูกใหมใ่ นระหวา่ งวันที่ 1มกราคมถึง31ธนั วาคมของปี เดยี วกนั 2) ผลผลิตทเุ รียน หมายถึง ผลทเุ รยี นสดท่ีเก็บไดใ้ นรอบปี 3) พันธ์ุทุเรียน หมายถึง ต้นพันธ์ุทุเรียนท่ีนิยมปลูก เช่น พันธุ์หมอนทอง พันธุ์ชะนี พันธ์ุก้านยาว พนั ธุก์ ระดมุ พนั ธุห์ ลงลบั แล-หลินลับแล 4) อตั ราแปลงผลผลิตทเุ รยี น หมายถึง การเปรียบเทียบน้ำหนกั ผลผลติ ทุเรยี น จากรปู ลักษณะหนึ่ง ไปอีกรูปลกั ษณะหนงึ่ เชน่ ทุเรียนสด 100 กโิ ลกรัม แปลงเป็นทเุ รียนแชแ่ ข็งเฉพาะเนอ้ื ได้ 33.3 กโิ ลกรัม หรือ ทเุ รยี น สด 100 กโิ ลกรมั แปลงเปน็ ทุเรยี นกวนได้ 16.67 กิโลกรัม เปน็ ต้น (ตารางท่ี 15) ตารางที่ 15 อตั ราแปลงผลผลติ ทเุ รียน หน่วย : กก. ก่อนแปลงรปู ผลผลติ หลังแปลงรปู ผลผลิต ทเุ รยี นสด 100 ทุเรียนแชแ่ ข็งเฉพาะเน้ือ 33.33 ทเุ รียนสด 100 ทุเรียนกวน 16.67 ทุเรยี นสด 100 ทเุ รยี นทอดกรอบ 10.00 ทมี่ า :สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร 3.2.7เงาะ 1) เงาะ หมายถงึ เงาะทีย่ ืนต้นอยู่ หรอื ปลกู ใหม่ระหว่างวนั ที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธนั วาคมของปีเดียวกนั 2) ผลผลิตเงาะ หมายถึง ผลเงาะสดทเ่ี ก็บไดใ้ นรอบปี 3) พันธุ์เงาะ หมายถึง ต้นพันธุ์เงาะท่ีนิยมปลูก เช่น พันธุ์โรงเรียน พันธุ์สีชมพู พันธ์ุสีทอง พันธ์นุ ำ้ ตาลกรวด

28 4) อตั ราแปลงผลผลิตเงาะ หมายถงึ การเปรยี บเทยี บน้ำหนักผลผลติ เงาะ จากรูปลกั ษณะหนงึ่ ไปอกี รูปลกั ษณะหนึง่ เชน่ เงาะสด 100 กิโลกรัม แปลงเป็น เงาะกระป๋องได้ 74.63 กิโลกรัม เปน็ ต้น (ตารางที่ 16) ตารางที่ 16 อัตราแปลงผลผลติ เงาะ หนว่ ย : กก. ก่อนแปลงรูปผลผลติ หลงั แปลงรปู ผลผลิต เงาะสด 100 เงาะกระป๋อง 74.63 เงาะสด 100 เงาะสอดไสส้ ับปะรด 136.00 ทีม่ า :สำนกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร 3.2.8ลองกอง 1) ลองกอง หมายถึง ลองกองที่ยืนต้นอยู่ หรือปลูกใหม่ระหว่างวันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม ของปเี ดียวกัน 2) ผลผลติ ลองกอง หมายถึง ผลลองกองสดทเ่ี ก็บไดใ้ นรอบปี 3.2.9ลน้ิ จ่ี 1)ล้ินจ่ี หมายถึง ลิ้นจี่ทยี่ ืนตน้ อยู่หรือปลกู ใหม่ระหวา่ งวันท่ี 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม ของปเี ดียวกัน 2) ผลผลติ ล้ินจ่ี หมายถึง ผลลนิ้ จ่สี ดที่เก็บไดใ้ นรอบปี 3) พันธ์ุล้ินจ่ี หมายถึง ต้นพันธุ์ลิ้นจี่ท่ีนิยมปลูก เช่น พันธุ์ฮงฮวย พันธุ์โอวเฮียะ พันธ์ุกิมเจ็ง พันธ์จุ กั รพรรดิ พันธ์ุค่อม 4) อัตราแปลงผลผลิตล้ินจี่ หมายถึง การเปรียบเทียบน้ำหนักผลผลิตลิ้นจ่ี จากรูปลักษณะหนึ่งไป อีกรูปลักษณะหน่ึง เช่น ลิ้นจี่สด 100 กิโลกรัม แปลงเป็นลิ้นจ่ีกระป๋องได้ 48 กิโลกรัม หรือ ล้ินจ่ีสด 100กิโลกรัม แปลงเปน็ ล้นิ จแี่ ห้งได้ 10 กิโลกรัม (ตารางที่ 17) ตารางท่ี 17 อตั ราแปลงผลผลติ ลนิ้ จ่ี หนว่ ย : กก. ก่อนแปลงรูปผลผลติ หลงั แปลงรูปผลผลิต ลนิ้ จ่สี ด 100 ล้นิ จก่ี ระปอ๋ ง 48.00

ลน้ิ จ่สี ด 29 10.00 100 ลิน้ จอ่ี บแห้ง ท่ีมา : บริษทั ลำปางฟดู๊ 3.2.10ลำไย 1) ลำไย หมายถงึ ลำไยทยี่ ืนตน้ อยู่ หรอื ปลกู ใหมร่ ะหว่างวนั ที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธนั วาคม ของปเี ดียวกัน 2) ผลผลิตลำไย หมายถงึ ผลลำไยสดที่เก็บได้ในรอบปี 3) พันธุ์ลำไย หมายถึง ต้นพันธ์ุลำไยที่นิยมปลูก เช่น พันธ์ุอีดอ พันธุ์สีชมพู พันธ์ุอีแห้ว และพันธ์ุเบ้ียว เขียว 4) อัตราแปลงผลผลิตลำไย หมายถึง การเปรียบเทยี บน้ำหนักผลผลิตลำไย จากรูปลักษณะหน่ึงไป อีกรูปลักษณะหน่ึง เช่น ลำไยสด 100 กิโลกรัม แปลงเป็นลำไยกระป๋องได้ 55 กิโลกรัม หรือ ลำไยสด 100 กิโลกรัม แปลงเป็น ลำไยอบแหง้ ทงั้ ผลได้ 33.33 กโิ ลกรัม เป็นต้น (ตารางที่ 18) ตารางท่ี 18 อตั ราแปลงผลผลิตลำไย หน่วย : กก. กอ่ นแปลงรปู ผลผลติ หลงั แปลงรปู ผลผลติ ลำไยสด 100 ลำไยกระปอ๋ ง 55.00 ลำไยสด 100 ลำไยอบแห้งทัง้ ผล 33.33 ลำไยสด 100 ลำไยอบแห้งเฉพาะเนื้อ 10.00 ที่มา : ลำไยกระป๋อง บรษิ ัทลำปางฟู๊ด 3.2.11 พรกิ ไทย 1) พริกไทย หมายถึง พริกไทยท่ียืนต้นอยู่หรือปลูกใหม่ระหว่างวันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธนั วาคม ของปเี ดียวกัน 2) ผลผลติ พรกิ ไทย หมายถงึ พริกไทยดำแห้ง ทเ่ี กษตรกรเก็บไดใ้ นรอบปี

30 3) ลกั ษณะของผลผลิตพริกไทย หมายถึง พริกไทยดำ พรกิ ไทยขาว 4) พันธ์ุพริกไทยหมายถึง เมล็ดและกิ่งพันธ์ุพริกไทยท่ีนิยมปลูก ได้แก่ พันธุ์มาเลย์ ท้ังนี้ ไม่ รวมพันธุซ์ ลี อน 5) อัตราแปลงน้ำหนกั พริกไทย หมายถงึ ผลผลติ พรกิ ไทยน้ำหนักสด 3,000กรัม แปรรูปเป็น พรกิ ไทยแห้งนำ้ หนัก 1,000 กรัม (ตารางที่ 19) ตารางที่ 19 อัตราแปลงผลผลิตพริกไทย หน่วย : กก. นำ้ หนกั พรกิ ไทยสด นำ้ หนกั แห้ง 31 * พนั ธ์มาเลย์ ท่ีมา: หนังสอื คำนิยามข้อมูลสถิตกิ ารเกษตร ศนู ยส์ ารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร 3.2.12 โกโก้ 1) โกโก้ หมายถึง โกโก้ที่ยืนตน้ อยู่หรือปลกู ใหม่ระหว่างวันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธนั วาคมของ ปีเดียวกนั 2) ผลผลติ โกโก้ หมายถงึ ผลโกโก้สดทเ่ี กบ็ ไดใ้ นรอบปี 3) พันธุ์โกโก้ หมายถึง เมล็ดและก่ิงพันธุ์โกโก้ท่ีนิยมปลูก เช่น พันธ์ุลูกผสมชุมพร 1 พันธุ์ยูไอที 1x เอ็นเอ 32 4) อัตราแปลงรูปผลผลิตโกโก้ หมายถึง ผลผลิตโกโก้สดแปลงรูปเป็นเมล็ดโกโก้ เช่น ผลโกโก้ สด 100 กโิ ลกรัม แปลงเปน็ เมลด็ โกโกเ้ ปียก 5 กโิ ลกรัม (ตารางที่ 20) ตารางที่ 20 อัตราแปลงผลผลิตโกโก้ หนว่ ย : กก. กอ่ นแปลงรูปผลผลติ หลังแปลงรปู ผลผลิต ผลโกโกส้ ด 100 เมลด็ โกโก้เปยี ก 5.00

31 ผลโกโกส้ ด 100 เมลด็ โกโก้แห้ง 4.00 เมลด็ โกโก้เปียก 100 เมล็ดโกโก้แห้ง 50.00 ทีม่ า : สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร 3.3 การผลติ ปศสุ ัตว์ 3.3.1 สกุ ร 1. สุกรพืน้ เมอื ง หมายถึง สกุ รที่มีลกั ษณะพืน้ เมือง เช่น กระโดน เหมยซาน ราด เปน็ ต้น 2. สกุ รพ่อพนั ธุ์ หมายถงึ สกุ รเพศผู้ท่ีคัดไว้เพือ่ จะใชท้ ำเป็นพอ่ พันธหุ์ รือใชเ้ ป็นพอ่ พันธ์ุอยู่แลว้ 3. สกุ รแม่พันธ์ุ หมายถึง สุกรเพศเมยี ทีค่ ัดไว้เพื่อจะใช้ทำเป็นแม่พันธหุ์ รอื ใช้เปน็ แม่พนั ธ์ุอย่แู ลว้ 4. ลกู สกุ รพนั ธ์ุ หมายถึง ลกู สุกรพนั ธ์ุแรกเกิดจนถึงหยา่ นมท่ีคดั ไวเ้ พ่ือจะใช้เป็นพอ่ พนั ธุ์แม่พนั ธุ์ 5. สกุ รขนุ หมายถงึ สุกรเลก็ หลงั หย่านม เล้ยี งขุนขายสู่ตลาดเพ่ือบริโภค ไม่รวมสกุ รพน้ื เมอื งขุน 6. ลูกสกุ รขนุ หมายถึง ลกู สุกรต้ังแต่แรกเกดิ ถึงหย่านม เลีย้ งขนุ ขายสตู่ ลาดเพ่ือบรโิ ภคไม่รวมสกุ ร พื้นเมืองขุน 7. จำนวนสกุ ร ณ วันท่ี 1 มกราคม หมายถึง จำนวนสกุ รท้ังหมดทกุ ประเภทท่ีเกษตรกรเล้ียงอยู่ ณ วันที่ ๑ มกราคม 8. ครวั เรอื นทีเ่ ลีย้ งสกุ ร หมายถึง เกษตรกรบรษิ ัทหรือหน่วยงานทีเ่ ล้ียงสกุ ร ตัง้ แต่ 1 ตวั ข้ึนไป 9. ปริมาณผลผลิตสกุ ร หมายถึง จำนวนสุกรทั้งหมดที่เขา้ โรงฆ่า และสุกรมีชวี ิตท่สี ่งออกในรอบปี 10. สกุ ร 1ตวั น้ำหนกั เฉล่ีย 100กก. คดิ เป็นเน้อื สุกรรอ้ ยละ 75ของนำ้ หนักสกุ รตอ่ ตวั หรอื 75กโิ ลกรัมต่อตวั ตารางท่ี 21 อตั ราแปลงสุกร ซากสุกรชำแหละ น้ำหนัก (กก.) รอ้ ยละ ซากกนิ ได้ 82.00 82.00 เน้ือแดง 38.00 38.00

ซากสกุ รชำแหละ 32 รอ้ ยละ สามชน้ั น้ำหนัก (กก.) 8.00 ซโ่ี ครงแผ่น 8.00 6.00 ขา 6.00 7.50 หนัง 7.50 2.50 หวั 2.50 5.00 มนั 5.00 8.00 เศษเน้อื 8.00 2.00 กระดูกแข็ง 2.00 5.00 เคร่ืองในกินได้ 5.00 8.00 ตบั 8.00 1.50 หัวใจ 1.50 0.30 กระเพาะ 0.30 0.50 ปอด 0.50 1.00 ไส้ 1.00 4.40 ไต 4.40 0.30 สูญเสีย 0.30 10.00 10.00 100.00 รวม 100.00 ทม่ี า : กรมปศสุ ัตว์

33 3.3.2 โคนม 1. โคนม หมายถงึ โคท่ีเล้ียงเพ่ือวตั ถปุ ระสงค์ท่ีตอ้ งการนำ้ นม 2. โคกำลงั รดี นม หมายถึง โคเพศเมยี ทก่ี ำลงั ให้นมในขณะทสี่ ำรวจ 3. โคแห้งนม หมายถึง โคเพศเมียท่ีหยุดพักการรีดนม เน่ืองจากสาเหตุต่าง ๆ เช่น ให้น้ำนมน้อย ไม่คุ้มท่ีจะรีด หรอื แมโ่ คใกลค้ ลอดลูก 4. จำนวนโคนม ณ วันที่ ๑ มกราคม หมายถึง จำนวนโคนมทั้งหมดทุกเพศ ทุกช่วงอายุ และ ทกุ สายพนั ธุ์ทีย่ นื คอกอยู่ ณ วนั ท่ี ๑ มกราคม ทัง้ น้ีไมร่ วมโคนมเพศผทู้ เ่ี ลีย้ งไวเ้ พ่ือบรโิ ภคเนื้อ 5. ครัวเรือนผู้เล้ียงโคนม หมายถึง เกษตรกร บริษัทหรือหน่วยงาน ท่ีทำการเลย้ี งโคนมตั้งแต่ 1 ตัวขึ้น ไป 6. ปริมาณผลผลิตน้ำนมโค หมายถงึ ปริมาณนำ้ นมดิบทั้งหมดที่รีดได้ในรอบปี 3.3.3 โคเนื้อ 1. โคเนื้อ หมายถึง โคที่เลี้ยงเพื่อการผลิตเน้ือสู่การบริโภค รวมทั้งโคที่เลี้ยงไว้เพื่อใช้งาน ด้านเกษตรกรรมหรือโคทเ่ี ลยี้ งไวเ้ พอื่ จุดประสงค์ในดา้ นอน่ื ๆ (ยกเว้นโคที่เลย้ี งเพอื่ วัตถปุ ระสงคใ์ นการใหน้ ำ้ นม) 2. โคพันธุ์พื้นเมือง หมายถึง โคที่มีถ่ินกำเนิดในประเทศ แต่จะมีลักษณะและชื่อเรียกท่ีแตกต่างกันออกไป ตามภูมิภาคต่างๆ เช่นโคพื้นเมืองภาคเหนือ (โคขาวลำพูน)โคพ้ืนเมืองภาคอีสาน(โคพ้ืนเมืองอีสาน) โคพ้ืนเมืองภาคใต้ (โคชน) โคพ้ืนเมืองภาคกลาง (โคลาน) เป็นต้น รวมถึงโคท่ีมีถ่ินกำเนิดจากต่างประเทศท่ี นำเข้าราชอาณาจักร ยกเว้น โคขนุ ประกอบดว้ ย 2.1) เพศผู้ 2.2) เพศเมีย 2.2.1) แรกเกิด-โคสาว ได้แก่เพศเมยี ที่ยังไม่เคยต้ังท้องเลย 2.2.2) ตั้งท้องแรกขึน้ ไป ไดแ้ กเ่ พศเมยี ทเ่ี คยตั้งทอ้ งมาแล้ว 3. โคพันธ์ุแท้ หมายถึง โคสายพันธ์ุแท้มีลักษณะภายนอกตรงตามสายพันธุ์ และมีหนังสือรับรองพันธ์ุ ประวัติ ยกเวน้ โคขนุ 3.1) เพศผู้

34 3.2) เพศเมีย 3.2.1) แรกเกดิ -โคสาว ไดแ้ กเ่ พศเมยี ที่ยงั ไมเ่ คยตงั้ ท้องเลย 3.2.2) ตง้ั ท้องแรก ข้ึนไป ได้แกเ่ พศเมยี ทเี่ คยต้งั ท้องมาแล้ว 4. โคลูกผสม หมายถึง โคที่เกดิ จากการผสมข้ามสายพนั ธุ์ เพื่อปรับปรงุ สายพนั ธุ์ ยกเว้นโคขุน 5. โคขุนหมายถึง โคท่ีเล้ียงแบบแยกคอกโดยใช้อาหารท่ีมีคุณภาพสูง ทั้งอาหารหยาบ และอาหารข้น ในช่วงเวลาหนึ่งโดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพอ่ื การผลติ เนื้อโคในเชงิ พาณิชย์ 6.จำนวนโคเนื้อ ณ วันที่ 1 มกราคม หมายถึง จำนวนโคเน้ือทุกเพศ ทุกสายพันธุ์ ที่เกษตรกรเล้ียงอยู่ ณ วนั ที่ ๑ มกราคม 7. ครวั เรอื นผ้เู ลยี้ งโคเนอื้ หมายถึง เกษตรกรบริษัท หรอื หน่วยงาน ที่เลีย้ งโคเน้ือ เพื่อบรโิ ภคเนอ้ื ใช้ งาน หรือวตั ถปุ ระสงค์อืน่ ไม่รวมโคนม ตง้ั แต่ 1 ตวั ขึน้ ไป 8. ปรมิ าณผลผลิตโคเน้ือ หมายถึง จำนวนโคเนอื้ ทั้งหมดท่เี ข้าโรงฆา่ และโคเนื้อมีชีวิตทส่ี ่งออกในรอบ ปี 9. วัว 1 ตวั นำ้ หนักเฉลย่ี 350 กก. คิดเป็นเน้ือโครอ้ ยละ 48 ของน้ำหนักโคเน้ือตอ่ ตวั หรือ 168 กิโลกรมั ตอ่ ตัว ตารางที่ 22 อัตราแปลงโคเนื้อ ทม่ี า : กรมปศสุ ตั ว์ ซากโคชำแหละ น้ำหนกั (กก.) ร้อยละ 4.10 1.17 เน้อื สนั ใน 14.60 4.17 เนื้อสันนอก 44.21 12.63 เนอ้ื สะโพก 40.29 11.51 เนอื้ ขาหนา้ 35.32 10.09 เนื้อสามชั้น 12.64 3.61 มัน 0.53 0.15 ไต

ไส้ 35 3.20 กระเพาะ 2.81 ตับ ปอด หัวใจ 11.20 2.92 เอน็ 9.84 0.44 หวั และลิ้น 10.22 4.57 ขอ้ ขา 1.54 1.70 หาง 16.00 0.47 นอ่ ง 5.95 1.89 กระดกู 1.65 8.28 หนงั 6.62 7.61 สญู เสีย 28.98 22.78 รวม 26.64 100.00 79.73 350.00 3.3.4 กระบือ 1) กระบือ หมายถึง กระบือที่เกษตรกรเล้ียงไว้เพ่ือบริโภคเนื้อ ใช้งานทางการเกษตร หรือ วตั ถุประสงคอ์ ่นื 2) ประเภทกระบือ แบ่งออกเปน็ 4 ประเภท 2.1) ลูกกระบือ หมายถึง กระบอื อายุ 1 วันจนถึงอายุ 1 ปี 2.2) กระบอื รุ่น หมายถึง กระบือที่มอี ายตุ งั้ แต่ 1 ปีขึ้นไปจนถึงกอ่ นผสมพันธ์ุ 2.3) กระบือแม่พนั ธุ์ หมายถงึ กระบอื เพศเมยี ทใ่ี ชเ้ ป็นแม่พันธุ์ 2.4) กระบอื พ่อพันธ์ุ หมายถึง กระบอื เพศผทู้ ่ีใช้เปน็ พ่อพันธ์ุ

36 3) ปริมาณการผลิตกระบือ หมายถึง จำนวนกระบอื ทัง้ หมดทเ่ี ขา้ ฆา่ ในรอบปี 4) จำนวนกระบือ ณ วันที่ 1 มกราคม หมายถึง จำนวนกระบือทุกเพศ ทุกสายพันธ์ุท่ีเกษตรกร เลย้ี งอยู่ ณ วนั ท่ี 1 มกราคม 5) ครวั เรอื นผูเ้ ลี้ยงกระบอื หมายถงึ ครวั เรือนทีเ่ ลย้ี งกระบือ ต้งั แต่ 1 ตวั ขึน้ ไป 6) อัตราแปลงน้ำหนักกระบือ หมายถึง กระบือมีชีวิต 1 ตัว คิดน้ำหนัก 500 กิโลกรัม มีอัตรา แปลงเปน็ ซากกระบอื ชำแหละ ดงั ตารางที่ 24 ตารางที่ 23 อตั ราแปลงกระบอื น้ำหนัก (กก.) รอ้ ยละ 4.70 0.94 ซากกระบือชำแหละ 15.85 3.17 เนอ้ื สันใน 50.30 10.06 เน้ือสนั นอก 54.20 10.84 เนื้อสะโพก 42.85 8.57 เนื้อขาหนา้ 12.70 2.54 เนื้อสามช้นั 0.85 0.17 มัน ไต

37 ไส้ 13.25 2.65 กระเพาะ 18.45 3.69 ตบั ปอด หัวใจ 14.35 2.87 เอ็น 2.20 0.44 หวั และลนิ้ 25.65 5.13 ขอ้ ขา 8.50 1.70 หาง 0.80 0.16 นอ่ ง 7.85 1.57 กระดูก 37.90 7.58 หนัง 57.90 11.58 สญู เสีย 131.70 26.34 รวม 500.00 100.00 ทม่ี า : ...กรมปศสุ ัตว.์ ....... 3.3.5 ไกเ่ น้ือ 1. ไกเ่ นอื้ หมายถงึ ไก่พนั ธุเ์ นอื้ ทางการค้าที่เลี้ยงเพ่ือสง่ ตลาดเป็นประจำ/เป็นร่นุ หรอื ชดุ 2. จำนวนไก่เน้ือ ณ วันท่ี ๑ มกราคม หมายถึง จำนวนไก่เน้ือทุกช่วงอายุที่เกษตรกรเล้ียงไว้ ในโรงเรือน ณ วันท่ี 1 มกราคม 3. ครวั เรือนผเู้ ลี้ยงไก่เน้ือ หมายถงึ เกษตรกร บรษิ ัทหรือหนว่ ยงาน ทที่ ำการเลยี้ งไก่เน้ือทุก สายพันธุ์ ยกเวน้ ไก่สามสายพันธ์ุ ตั้งแต่ ๑ ตัวขึ้นไป 4. ปริมาณผลผลติ ไก่เน้อื หมายถึง จำนวนไก่เนอื้ ท้ังหมดท่เี ขา้ โรงฆา่ ในรอบปี 5. น้ำหนักไก่เฉลี่ย 1 ตัว ซ่ึงคิดค่าเฉลี่ยแบบถ่วงน้ำหนัก โดยคิดจาก น้ำหนักไก่ตลาดใน ประเทศ

38 ร้อยละ 15 หรือ 2.2 กก.ต่อตัว และ น้ำหนักไก่ตลาดส่งออกร้อยละ 85 ซ่ึงมีการเคลื่อนไหวของน้ำหนักเข้า เชอื ดเปน็ รายเดือน คดิ เป็นเนือ้ ไก่ร้อยละ 66 ของนำ้ หนักไกเ่ น้อื มชี ีวติ ต่อตัว ตารางที่ 26 อัตราแปลงไก่เนื้อ ซากไกเ่ นอื้ ชำแหละ น้ำหนัก (กก.) รอ้ ยละ ซากกินได้ 1.26 62.88 0.40 20.17 ขาและน่อง 0.31 15.47 หน้าอก 0.28 14.12 หลงั และคอ 0.15 7.40 ปกี 0.10 4.98 หนัง 0.02 0.74 มันหน้าท้อง 0.18 9.07 เครอ่ื งในกินได้ 0.01 0.46 หวั ใจ 0.04 2.11 ตบั 0.06 3.00 ก๋ึน 0.07 3.50 คอ 0.56 28.05 สญู เสีย 2.00 100.00 รวม ท่มี า : กรมปศสุ ตั ว์

39 3.3.6 ไกไ่ ข่ 1. ไกไ่ ข่หมายถงึ ไก่ไขท่ เ่ี ล้ียงเพ่ือผลติ ไข่จำหนา่ ยหรอื บรโิ ภค 2. จำนวนไก่ไข่ ณ วันท่ี 1 มกราคม หมายถึง จำนวนไก่ไข่ทุกช่วงอายุ ประกอบด้วย ลูกไก่ไข่ ไกส่ าว แมไ่ ก่ใหไ้ ข่ ที่เกษตรกรเล้ียงไว้ในโรงเรอื นหรือยืนกรง ณ วันท่ี 1 มกราคม 3. ครวั เรือนผเู้ ลย้ี งไกไ่ ข่ หมายถึง เกษตรกรบริษทั หรอื หน่วยงาน ท่ีเล้ียงไกไ่ ข่ตั้งแต่ 1 ตัว ขึ้นไป 4. ปรมิ าณผลผลิตไขไ่ ก่ หมายถงึ จำนวนไข่ไก่ท้งั หมดท่ีผลิตไดใ้ นรอบปี 3.3.7 ไกพ่ ื้นเมือง 1) ไก่พ้ืนเมอื ง หมายถึง ไกพ่ ันธพุ์ นื้ บา้ นทเี่ กษตรกรเลี้ยงไว้เพือ่ ขายหรือบริโภคเนื้อและไข่ 2) จำนวนไกพ่ ื้นเมือง ณ วันที่ 1 มกราคม หมายถึง จำนวนไก่พน้ื เมืองทัง้ หมดทกุ สายพนั ธุ์ ทเี่ กษตรกรเลย้ี งอยู่ ณ วันที่ 1 มกราคม 3) ปริมาณการผลิตไก่พื้นเมือง หมายถึง จำนวนไก่พื้นเมืองทั้งหมดที่เกษตรกรขายหรือฆ่าเพื่อ การบริโภคในรอบปกี ารผลิต 4) ครัวเรือนผู้เลี้ยงไก่พ้ืนเมือง หมายถึง ครัวเรือนท่ีเลี้ยงไก่พื้นเมือง และมีจำนวนตัวท่ีเลี้ยงถ้า เป็นแมไ่ กอ่ ย่างเดยี ว ตั้งแต่ 5 แมข่ นึ้ ไป หรอื ถ้าเปน็ แมไ่ ก่ ลูกไก่ และไกก่ ระทง รวมกนั ต้ังแต่ 50 ตัวขนึ้ ไป 3.4 การผลติ ประมง 3.4.1 กงุ้ ทะเล หมายถึง กงุ้ ขาวแวนนาไม และกุ้งกุลาดำ 1) ประเภทของการเลี้ยง หมายถึง วิธีการเลี้ยงกุ้งทะเล ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1.1) แบบก่ึงพฒั นา หมายถึง การเลี้ยงกงุ้ ท่ีมีลักษณะคลา้ ยกบั การเล้ียงแบบธรรมชาติ แตม่ ี การซื้อพันธุ์กุ้งจากโรงเพาะฟักลงปล่อยเสริมในอัตราเบาบาง มีการให้อาหารสมทบ อาจมีเคร่ืองเติมอากาศ เพอ่ื เพ่มิ ออกซิเจนหรอื ไมก่ ็ได้

40 1.2) แบบพัฒนา หมายถึง การเลี้ยงกุ้งท่ีใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เข้าช่วย มีระบบถ่ายเทน้ำ ควบคุมโรค และมีระบบการจัดการท่ีดี ใช้พันธ์ุกุ้งจากโรงเพาะฟักเท่านั้น โดยปล่อยในอัตราที่หนาแน่น ใหอ้ าหารทกุ วันๆ ละ 3-5 ครงั้ มีการใช้เครือ่ งเตมิ อากาศเพื่อเพิ่มออกซิเจน และมกี ารดูแลเอาใจใสอ่ ย่างใกลช้ ดิ หมายเหตุ การเล้ียงกงุ้ แบบธรรมชาติ หมายถึง การเลยี้ งกุง้ ทีม่ ีการปลอ่ ยนำ้ จากแหล่งน้ำธรรมชาติเข้า นากงุ้ เพ่ือรับเอาลกู กุง้ และอาหารธรรมชาติเข้ามากักไว้ภายในบอ่ เลี้ยง โดยใชพ้ นั ธก์ุ ุ้งจากธรรมชาตเิ ทา่ นั้น และ ไม่มีการให้อาหารหรอื ใชเ้ คร่ืองเตมิ อากาศ ซ่ึงปัจจุบนั ไมม่ ีการเลี้ยงประเภทนแ้ี ล้ว 2) เนื้อที่ฟาร์มเลี้ยง หมายถึง เน้ือที่ทั้งหมดท่ีใช้เลี้ยงกุ้งทะเล ได้แก่เน้ือท่บี ่อเล้ียง บ่อพักน้ำ บ่อบำบัดน้ำเสีย บ่อเก็บเลน คันดินขอบบ่อ รวมถึงอาคารส่ิงปลูกสร้าง เช่น บ้านพักอาศัยในบริเวณฟารม์ เลี้ยงกุ้ง มี หน่วยเปน็ ไร่ 3) เน้ือที่เลี้ยง หมายถึงขนาดของพ้ืนที่ผิวน้ำโดยไม่รวมขอบบ่อ ของบ่อที่ใช้เล้ียงกุ้งทะเลทั้งหมด ในรอบปกี ารผลติ มีหนว่ ยเป็นไร่ 4) ปริมาณการผลิต หมายถึง ผลผลิตกุ้งทะเลท่ีจับได้ท้ังหมด ท่ีเกษตรกรเลี้ยงไว้เพื่อขายในรอบปี การผลติ 5) บ่อพักน้ำ หมายถึง บ่อท่ีใช้ในการถา่ ยเท หรือปรับสภาพน้ำ ทัง้ น้ี ไม่มจี ุดประสงค์จะใช้บอ่ น้นั เปน็ บอ่ เล้ยี ง 6) บ่อที่ทิ้งร้าง หมายถึง บ่อที่ไม่เคยใช้ประโยชน์ในการเลี้ยงมาก่อน หรือเคยใช้แต่ปัจจบุ ัน ไมไ่ ด้ใชม้ านานติดต่อกันเกินกว่า 5 ปี 7) อตั ราการปล่อย หมายถงึ จำนวนตัวของพนั ธ์ุกุง้ ทะเลที่ปลอ่ ยลงเลยี้ งในบอ่ ต่อเน้อื ทีเ่ ลยี้ งหนึง่ ไร่ 3.4.2 ปลาน้ำจืด 1) ปลานิล หมายถึง ปลานลิ ทุกสายพนั ธ์ุ เชน่ ปลานิลจิตรลดาหรอื ปลานิลดำ ปลานิลแดงหรือปลาทับทิม 2) ปลาดุก หมายถึง ปลาดุกทุกสายพันธุ์ เช่น ปลาดุกด้าน ปลาดุกอุย ปลาดุกบ๊ิกอุย และปลาดุกเทศ หรือปลาดุกรัสเซีย

41 3) เน้ือท่ีเลี้ยง หมายถึง ขนาดของพ้ืนที่ผิวน้ำ โดยไม่รวมขอบบ่อของบ่อที่ใช้เลี้ยงปลาน้ำจืด ทั้งหมดในรอบปีการผลติ มีหน่วยเป็นไร่ 4) ปริมาณการผลิต หมายถึง ผลผลิตปลาน้ำจืดท่ีจับได้ท้ังหมด ท่ีเกษตรกรเล้ียงไว้เพ่ือขายและ หรอื บรโิ ภคในรอบปีการผลิต 5) ฟาร์ม หมายถึง หน่วยจัดการในการเลี้ยงสัตว์น้ำซึ่งในครัวเรือนหน่ึงๆ หรือบุคคลหนึ่ง หรือ นิติบคุ คล อาจมกี ารเลยี้ งหลายฟาร์มก็ได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook