Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore sum.ปกราคาสินค้าเกษตร

sum.ปกราคาสินค้าเกษตร

Description: sum.ปกราคาสินค้าเกษตร

Search

Read the Text Version

สารบัญ หนา้ 1 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ราคาทเ่ี กษตรกรขายได้ทไ่ี ร่นา 1 ความสำคญั 1 วัตถุประสงค์ 1 คำนิยาม 2 เกรดสนิ ค้า 2 ข้อกำหนดในการรายงานราคาท่ีเกษตรกรขายไดท้ ี่ไร่นา 4 วิธีการและขัน้ ตอนการปฏิบตั ิ 4 ช่องทางวธิ กี ารรายงานและคำนวณ 4 แผนปฏบิ ตั งิ านการรายงานราคาทีเ่ กษตรกรขายไดท้ ไ่ี รน่ า 5 แบบฟอร์มการรายงานราคาท่ีเกษตรกรขายไดท้ ีไ่ รน่ า 5 การคำนวณ 9 9 การเกบ็ รวบรวมข้อมูลราคารายวนั ท่ตี ลาดกลางและ/หรือตลาดสำคญั 9 คำนยิ ามและความสำคัญ 9 วิธีการเก็บรวบรวมขอ้ มูลราคาสินคา้ เกษตร 11 การวเิ คราะห์ราคาสนิ คา้ เกษตร 11 การใช้ประโยชน์ข้อมลู ราคาสินค้าเกษตร การเผยแพร่ข้อมลู ราคาสินคา้ เกษตร 15 ภาคผนวก 20 รายการสินค้าเกษตร ปศุสตั ว์ และประมง ท่ีเกษตรกรขายได้ ณ ไร่นา รายการสนิ ค้าเกษตร ปศสุ ัตว์ และประมง ทีเ่ กษตรกรขายได้ ณ ตลาดกลาง หรอื ตลาดรับซ้ือทส่ี ำคญั

การเกบ็ รวบรวมข้อมูลราคาทเ่ี กษตรกรขายไดท้ ่ไี ร่นา 1. ความสำคญั ภาระกิจหลักตามพันธกิจที่สำคัญข้อหน่ึงของสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ที่ต้องจัดทำและเผยแพร่ ข้อมูลสารสนเทศการเกษตร คือ จัดทำข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตร รวมทั้งวิเคราะห์และรายงานเผยแพร่ข้อมูล สารสนเทศการเกษตร ข้อมูลราคาสินค้าเกษตรท้ังที่เป็นข้อมูลราคารายวัน และราคาท่ีเกษตรกรขายได้ท่ีไร่นา เป็นข้อมูลทางด้านการตลาดที่สำคัญข้อมูลหน่ึงท่ีสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรดำเนินการจัดเก็บรวบรวมและ วเิ คราะห์เผยแพร่เป็นประจำ เนื่องจากข้อมูลดังกล่าวมีประโยชน์และความสำคญั โดยเฉพาะ เกษตรกรสามารถนำไป วางแผนการผลิตของตนเองว่าจะผลิตอะไร ขายท่ีไหน ภาครัฐใช้ประกอบในการจัดทำนโยบายและมาตรการในด้าน การพัฒนาส่งเสริม และแกไ้ ขปัญหาทั้งดา้ นการผลติ และการตลาด รวมทั้งใช้ประกอบการพจิ ารณาชดเชยเยียวยาแก่ เกษตรกรในกรณีผลผลิตเสียหายอันเน่ืองจากประสบปัญหาภัยธรรมชาติและการระบาดของโรคแมลง ภาคเอกชน ใช้ประกอบการวางแผนทางธุรกิจและการค้า นอกจากน้ันยังใช้ประโยชน์ทางด้านการศึกษาและการวิจัยในเร่ืองที่ เกย่ี วขอ้ ง จากความสำคัญดังกล่าวสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยศูนย์สารสนเทศการเกษตร(ศสส.) และ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี(สศท.) 1-12 ได้ร่วมกันดำเนินการสำรวจจัดเก็บรวบรวม และรายงานข้อมูล ราคาสินค้าเกษตรท้ังสองชนิด โดยเฉพาะราคาท่ีเกษตรกรขายได้ที่ไร่นา สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร(สศก.) ได้มีเครือข่ายเศรษฐกิจการเกษตรอาสา หรือ ศกอ. ประจำอยู่ใน 882 อำเภอ เพ่ือช่วยรายงานข้อมูลราคาที่ เกษตรกรขายได้ท่ีไรน่ า รวมท้ังสถานการณ์การผลิตในพน้ื ท่ีให้แก่ สศท. ท้งั 12 เขต เพอ่ื รวบรวมวิเคราะห์ระดับ จังหวัดและรายงานแก่ ศสส. เพื่อประมวลผลและวิเคราะห์ระดับภาคประเทศ เพื่อใช้รายงานและจัดทำเป็น เอกสารนำเสนอผู้บริหารและเผยแพร่ทางสื่อต่างๆ ต่อไป ศสส. ได้จัดทำคู่มือการจัดเก็บรวบรวมและรายงาน ข้อมูลราคาท่ีเกษตรกรขายได้ที่ไร่นา ฉบับนี้เพื่อใช้ประกอบการศึกษาทำความเข้าใจของผู้เก่ียวข้องทั้งผู้จัดเก็บ รวบรวมข้อมูลในระดับพน้ื ท่ี และเจา้ หน้าทสี่ ่วนกลาง ใชเ้ ป็นคู่มอื ในการปฏิบัตงิ าน ตอ่ ไป 2. วตั ถุประสงค์ เพ่ือใช้เป็นคู่มือในการจัดเก็บรวบรวม และรายงานข้อมูลราคาที่เกษตรกรขายได้ที่ไร่นา เพื่อให้มี หลักเกณฑ์ข้ันตอนและแนววิธีการดำเนินงานอย่างถูกต้องชัดเจนเป็นเอกภาพ ส่งผลต่อการปฏิบัติงานจัดเก็บ และรายงานขอ้ มลู ราคาทเ่ี กษตรกรขายได้ท่ีไรน่ ามปี ระสทิ ธภิ าพยง่ิ ขึ้น 3. คำนิยาม 3.1 ราคาที่เกษตรกรขายได้ท่ีไร่นา หรือราคารายสัปดาห์ หมายถึง ราคาท่ีเกษตรกรรวบรวมและนำ ผลผลติ มาขายตามสถานที่หรือจุดขาย ดงั น้ี 1) พชื หมายถึง ราคาทเ่ี กษตรกรขายไดท้ ่บี า้ น ไร่ นา ยงุ้ ฉาง สวน ลานตาก ของเกษตรกร 2) ปศุสัตว์ หมายถึง ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ที่ฟาร์ม ยกเว้นโค และกระบือใช้ราคาท่ีซื้อขายกัน ณ ทตี่ ลาดกลาง 3) ประมงเพาะเลย้ี ง หมายถึง ราคาทเี่ กษตรกรขายได้ท่ีฟารม์ หรอื ปากบ่อ

2 4) ประมงทะเล หมายถึง ราคาท่ีชาวประมงขายได้ที่แพปลาหรือสะพานปลา ซ่ึงได้หักค่าบริหาร แพปลาแลว้ 3.2 สปั ดาห์อ้างองิ หมายถึง ระยะเวลา 1 สปั ดาห์ ต้ังแต่วันจันทรถ์ ึงวนั อาทิตย์ ทใ่ี ชใ้ นการอา้ งองิ ในการ รายงานราคาทเี่ กษตรกรขายไดท้ ไ่ี ร่นา 3.3 วันอ้างอิง หมายถึง ในการเก็บข้อมูลราคาท่ีเกษตรกรขายได้ท่ีไร่นา ในแต่ละสัปดาห์ให้ใช้ราคา ณ วันจนั ทร์ ของสปั ดาหน์ ัน้ เปน็ ราคาอ้างอิงเพื่อท่ีจะได้ใช้เปน็ การอา้ งอิงเวลาใกล้เคียงเดียวกัน 4. เกรดสินค้า เกรดสินค้า หมายถึง การจัดชั้นคุณภาพของสินค้า สินค้าเกษตรชนิดเดียวกันผลิตจากเกษตรกรหลาย ราย ซึ่งสถานท่ี สภาพดินฟ้าอากาศ การดูแลรักษา และพันธุ์ที่แตกต่างกัน ทำให้ผลผลิตที่ได้มีคุณภาพต่างกัน สิ่งท่ตี ้องคำนึงถึง ได้แก่ พนั ธุ์ ความช้นื ขนาด สี ผิว สิ่งเจอื ปน เป็นตน้ ดังนัน้ การกำหนดเกรดมาตรฐานกลางจึง มีความจำเป็นที่ผู้จัดเก็บรวบรวมข้อมูลจะต้องทำความเข้าใจ และยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติเดียวกัน เน่ืองจาก การรายงานข้อมูลโดยยดึ เกรดมาตรฐานกลางจะทำใหส้ ามารถเปรียบเทียบกบั แหล่งขอ้ มูลหรือตลาดอื่นๆ ได้ เช่น ทุเรียนหมอนทองขนาดใหญ่ หมายถึง ทุเรียนท่ีมีน้ำหนักผลละ 4.5-5 กก. แต่ถ้าในพ้ืนที่อาจเรียก ทุเรียนหมอนทอง น้ำหนักผลละ 5.5 กก.ข้ึนไป ว่าเป็นเกรดทุเรียนขนาดใหญ่ กรณีเช่นน้ีจะไม่ถือว่าเป็นทุเรียน ขนาดใหญ่ตามเกรดมาตรฐานกลางได้ แต่จะต้องรายงานเป็นเกรดอ่ืน ซ่ึงในกรณีนี้จะเกรดเป็นตกไซด์ หรือทเุ รยี นทีน่ ำไปทำทเุ รยี นทอด สับปะรดบริโภคพันธ์ุปัตตาเวียขนาดใหญ่ หมายถึง สับปะรดผลสดรวมจุกและก้านผลใหญ่ น้ำหนักผล ละ 2.00-3.20 กก. แต่ถ้าหากในพ้ืนท่ีอาจเรียกสับปะรดบริโภคพันธุ์ปัตตาเวีย ผลสดรวมจุกและก้านผลกลาง น้ำหนักผลละ 1.5-2 กก. ว่าเป็นสับปะรดบริโภคขนาดใหญ่ กรณีนี้ก็ไม่ถือเป็นสับปะรดบริโภคขนาดใหญ่ ตาม เกรดมาตรฐานกลางได้ แตจ่ ะตอ้ งรายงานในเกรดอน่ื ซงึ่ ในกรณนี จี้ ะเปน็ สบั ปะรดบรโิ ภคขนาดกลาง 5. ข้อกำหนดในการรายงานราคาที่เกษตรขายไดท้ ่ไี รน่ า 5.1 ราคาที่เกษตรกรขายได้ที่ไร่นา อนุโลมให้เท่ากับราคาเฉล่ีย ณ แหล่งรับซื้อหักด้วยค่าขนส่งเฉล่ีย เน่ืองจากในทางปฏิบัติไม่สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลราคาจากเกษตรกรแต่ละรายได้อย่างต่อเนื่องเพราะ เกษตรกรไทยส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรายย่อย ผลผลิตท่ีผลิตได้มีไม่มากขายเพียงไม่กี่คร้ังผลผลิตก็หมด ซึ่งการ เปล่ียนแปลงจุดจัดเก็บบ่อยๆ จะทำให้ไม่ทราบว่าราคาที่เปล่ียนแปลงขึ้นลงในแต่ละคร้ังน้ันเกิดจากการ เปลี่ยนแปลงของสถานการณ์การตลาดหรือเกิดจากค่าขนส่งที่แตกต่าง ดังนั้น เพื่อให้ได้ข้อมูลท่ีสามารถ เปรียบเทียบหรือนำมาเฉล่ียด้วยกันได้ จึงกำหนดให้จัดเก็บจากแหล่งรับซ้ือผลผลิตท่ีเชื่อถือได้และให้ความ ร่วมมอื และมกี ารซ้อื ขายทต่ี อ่ เนอ่ื ง 5.2 ค่าขนส่งเฉลี่ย หมายถึง ค่าเฉลี่ยของค่าขนส่งที่เกษตรกรแต่ละรายนำผลผลิตจากไร่ นา ยุ้ง ฉาง สวน หรือฟาร์มของเกษตรกรไปขายยังจุดรับซื้อ ซ่ึง สศท. จะต้องสำรวจจัดเก็บและคำนวณหาค่าเฉล่ียไว้ใช้ใน แต่ละชนดิ สนิ คา้ ในแตล่ ะพืน้ ท่ี 5.3 เป็นราคาท่ีเก็บรวบรวมเฉพาะราคาสินค้าเกษตรท่ีผลิตได้ในท้องถิ่น และเป็นสินค้าท่ีสำคัญของ จงั หวดั ตามเกรดมาตรฐานที่กำหนด ซึ่งราคาท่ีเกษตรกรขายได้ทไ่ี ร่นามีเกณฑ์การจัดเกบ็ โดยจะยดึ แหล่งผลิตไม่

3 วา่ เกษตรกรจะนำผลผลิตไปขายใน อำเภออ่ืนท่ีอยู่ในจังหวัดเดียวกัน หรืออำเภออื่นในเขตจังหวัดใกล้เคียงอื่นก็ ตาม กรณีเกษตรกรนำผลผลิตไปขายข้ามจังหวัด กรณีน้ีแม้วา่ จะเป็นราคานอกแหล่งผลิตของเกษตรกร แต่ถือว่า เป็นราคาของผลผลิตที่ผลิตได้ในจังหวัดท่ีเป็นเจ้าของผลผลิต โดยราคาท่ีรายงานจะเป็นราคาที่จุดขายที่ เกษตรกรนำผลผลติ ไปขายหกั ด้วยค่าขนสง่ เฉลี่ย 5.4 เป็นราคาท่ีเก็บจากแหล่งรับซื้อท่ีเช่ือถอื ได้และสามารถใหข้ ้อมูลตอ่ เน่ืองตลอดฤดกู าลซ้ือขาย ใช้วิธี เลือกตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) โดยให้ สศท. 1-12 ทำหน้าท่ีเป็นผู้พิจารณาคัดเลือกแหล่ง รับซื้อเพื่อจัดเก็บรวบรวมราคาตามชนิดสินค้าที่ผลิตได้ของแต่ละอำเภอในแต่ละจังหวัด ซึ่งแหล่งในการจัดเก็บ ข้อมูล ต้องมีปริมาณการซ้ือขายจำนวนมาก และมอบหมายให้ ศกอ. ในพ้ืนที่สำรวจจัดเก็บและรายงานให้แก่ สศท. ต้นสังกดั 5.5 จำนวนอำเภอตวั อย่างในแตล่ ะชนดิ สินค้า ดงั นี้ 1) พืชเศรษฐกิจ เช่น ข้าว มันสำปะหลัง ยางพารา ปาล์มน้ำมัน สุกร ไก่เน้ือ ไข่ไก่ และสินค้าตาม ฤดูกาล เช่น ผลไม้ หอมแดง กระเทียม หอมหัวใหญ่ มนั ฝรั่งบริโภคและมันฝร่ังโรงงาน เก็บข้อมูลราคาอย่างนอ้ ย จังหวัดละ 4 อำเภอที่เป็นแหล่งผลิตสำคัญของจังหวัด หากมีไม่ถึง 4 อำเภอ ก็พิจารณาจัดเก็บและรายงาน เทา่ ทีม่ ี 2) พืชผักและสินค้าอื่นๆ จำนวนอำเภอที่จัดเก็บและรายงานพิจารณาจัดเก็บเท่าที่มี ทั้งนี้อยู่ใน ดุลยพนิ ิจของ สศท. อย่างไรก็ตามจำนวนสินคา้ ที่รายงานขอให้ยึดตามชนิดสินค้าเดิมที่เคยรายงานซ่ึงครอบคลุม สนิ ค้าสำคัญของจังหวัดอยู่แล้ว และหากมีสินค้าอ่ืนที่มีการเปล่ียนแปลงหรือมีการเพาะปลูกเพ่ิมขึน้ หรือลดลงใน พ้ืนที่ก็ให้ สศท. พิจารณาในการจัดเก็บและรายงานราคาสินค้านั้นเพ่ิมเติมหรือลดเลิกการจัดเกบ็ รายงานกรณีที่ สินค้าท่ไี มม่ ีการผลิตในพน้ื ทีแ่ ล้ว 5.6 กรณีบางอำเภอไม่มีสินค้าหลักที่จะต้องรายงาน ก็ให้รายงานราคาพืชผักและสินค้าอ่ืนๆ ที่เป็น สินค้าสำคัญของอำเภอน้ันๆ แทน อย่างไรก็ตาม สศท. ควรพิจารณาในการมอบหมายงานให้ ศกอ. ได้มีการ จดั เกบ็ และรายงานข้อมูลตามความเหมาะสมทุกคน 5.7 แหล่งทจ่ี ดั เกบ็ ขอ้ มลู 1) พ่อค้าผู้รวบรวม 2) ร้านคา้ รบั ซอื้ ผลผลติ 3) โรงงานอุตสาหกรรมเกษตร เชน่ โรงสี ลานมัน โรงงานแป้งมัน โรงงานอาหารสัตว์ และโรงงาน สกัดนำ้ มนั เป็นตน้ 4) สถานบันเกษตรกร ได้แก่ สหกรณก์ ารเกษตร และกลมุ่ เกษตรกร 5) ตลาดกลางค้าข้าว และพืชไร่ 6) ตลาดกลางผัก และผลไม้ 7) ตลาดกลางยางพารา 8) ตลาดกลางโค – กระบอื 9) ฟารม์ สุกร สัตว์ปกี 10) แพปลา – ประมงทะเล 11) บอ่ กุ้ง – บ่อปลา

4 6. วธิ กี ารและข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิ 6.1 สศท. อบรมชี้แจงทำความเข้าใจและมอบหมายงานให้ ศกอ. ท้ังชนิด จำนวน และแหล่งจัดเก็บ รายงานราคาตามพืน้ ท่ีท่ี ศกอ. รับผิดชอบ 6.2 ศกอ. จดั เก็บและรายงานขอ้ มลู ท่ีเกษตรกรขายได้ทไี่ ร่นาตามที่ได้รับมอบหมายใหแ้ ก่เจ้าหน้าท่ีของ สศท. ตามช่องทางที่ สศท. กำหนดและได้ตกลงไว้กับ ศกอ. ก่อนเวลา 14.00 น. ของทุกวันจันทร์ ของแต่ละ สัปดาห์ 6.3 สศท. รวบรวมและตรวจสอบความถูกต้องและความแนบนัยของข้อมูลท้ังชนิด เกรด หน่วยราคา พร้อมท้ังประมวลผลเป็นข้อมูลราคาระดับจังหวัด โดยวิธีการคำนวณแบบต่างต่างตามความเหมาะสมและ ลักษณะของข้อมูลที่ได้ เช่น คำนวณแบบเฉล่ียอย่างง่าย แบบเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก หรือแบบฐานนิยม ท้ังนี้อยู่ใน ดุลยพินิจของ สศท. เพ่ือให้ได้ข้อมูลราคาท่ีสะท้อนถึงสถานการณ์ของสินค้านั้นในพ้ืนที่หรือจังหวัดนั้นอย่าง แท้จริง เช่น ถ้าราคาในแต่ละอำเภอมีความแตกต่างกันมาก การคำนวณราคาเฉล่ียระดับจังหวัดของสินค้าน้ัน ควรใช้การคำนวณค่าเฉล่ียแบบถ่วงน้ำหนกั พร้อมท้ังวิเคราะห์ข้อมูลราคา และระบุสาเหตุการเปล่ียนแปลงของ ราคา มาพรอ้ มดว้ ย 7. ช่องทางวธิ ีการรายงานและการคำนวณ 7.1 สศท. รายงานราคาท่ีเกษตรกรขายได้ที่ไร่นาระดับจังหวัดท่ีผ่านการคำนวณและวิเคราะห์ พร้อม ทงั้ สาเหตกุ ารเปลย่ี นแปลงของราคาผ่านทางโปรแกรม key on web จาก สศท. ดงั น้ี 1) สินค้าเศรษฐกจิ สำคญั ให้ สศท. รายงานราคาให้กบั ศสส. ภายในเวลา 16.00 น. ของวนั จนั ทร์ 2) พชื ผกั และสินค้าอ่ืนทีเ่ หลือ ให้ สศท. รายงานราคาให้กบั ศสส. ภายในเวลา 16.00 ของวนั องั คาร 7.2 ศสส. รวบรวมข้อมูลจากที่ สศท. บันทึกผ่าน key on web และดำเนินการประมวลผลเป็นข้อมูล ราคาทเี่ กษตรกรขายได้ท่ีไรน่ าระดบั ภาค และระดับประเทศ โดยวธิ ีการเฉลยี่ แบบถว่ งน้ำหนัก 8. แผนปฏิบัตงิ านการรายงานราคาท่เี กษตรกรขายไดท้ ่ีไรน่ า จ. อ. พ. พฤ. ศ. ส. อา. - สัปดาหอ์ ้างอิง ระหวา่ งวันจนั ทร์ ถงึ วนั อาทติ ย์ - วนั อา้ งอิง คอื วันจนั ทร์ - ศกอ. รายงานข้อมูลราคาให้ สศท. กอ่ น 14.00 น. วันจนั ทร์ - สศท. ตรวจสอบความถูกต้อง และประมวลผลข้อมูลระดับ จังหวัด ส่ง ศสส. โดยเฉพาะราคาสินค้าสำคัญให้รายงานทุก วันจันทร์ ภายในเวลา 16.00 น. - สศท. รายงานราคาสินค้าที่เหลือทั้งหมด ในวันอังคาร

5 ภายใน เวลา16.00 น. - ศสส. ประมวลผลสนิ ค้าสำคัญเสนอผู้บรหิ าร กษ. เช้าวันพุธ - ศสส. ประมวลผลราคาทุกชนิดสนิ คา้ และจดั ทำรายงาน 9. แบบฟอรม์ การรายงานราคาทเ่ี กษตรขายได้ทไี่ รน่ า สปั ดาห์ท/่ี จงั หวดั / สนิ คา้ และเกรดท่ี ราคา สาเหตุการเปลย่ี นแปลง วันจันทรท์ ี่ อำเภอ รายงาน ขน้ึ ลงของราคา สปั ดาหน์ ี้ สัปดาหท์ ีแ่ ลว้ องคป์ ระกอบของแบบฟอรม์ ประกอบดว้ ย 1) สัปดาห์ที่ หมายถึง สัปดาห์ท่ีจัดเก็บข้อมูล รวมถึงวันท่ี(วันจันทร์ท่ี....) และเดือนท่ีจัดเก็บข้อมูล ตัวอย่างเช่น สัปดาห์ท่ี 5 วันจันทร์ท่ี 30 ของเดือนพฤษภาคม 2559 (วันที่ 30 พฤษภาคม - 5 มิถุนายน 2559) และเร่ิมสปั ดาหท์ ่ี 1 ของเดือนมิถนุ ายน 2559 (วันที่ 6 – 12 มิถุนายน 2559) 2) จงั หวัด/อำเภอ หมายถึง อำเภอทีจ่ ัดเก็บข้อมลู ของจังหวัดนน้ั ๆ 3) สินค้าและเกรดที่รายงาน หมายถึง เกรดของสินค้าแต่ละชนิดท่ีต้องรายงาน เช่น ข้าวเปลือกเจ้า ความชืน้ 15% หวั มันสำปะหลังสดคละ และข้าวโพดเล้ยี งสตั ว์ความชืน้ 14.5% 4) ราคา หมายถึง ราคาของชนดิ สนิ ค้าท่ีเก็บ ณ วนั จนั ทร์ ซ่งึ เป็นวันท่ีใชอ้ า้ งอิง 5) สาเหตุการเปลี่ยนแปลงข้ึนลงของราคา หมายถึง ราคาสัปดาห์นี้เปรียบเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เพ่มิ ข้ึนหรือลดลง เนอ่ื งจากสาเหตุใด เชน่ มนั สำปะหลังราคาลดลงเนอื่ งจาก ฝนตกทำให้คุณภาพไม่ดี หรอื สุกร ราคาเพิ่มข้นึ เนื่องจากสภาพอากาศร้อน ทำให้สุกรโตชา้ ผลผลิตออกสู่ตลาดลดลง 10. การคำนวณ 10.1 การคำนวณราคาเฉลี่ยรายสปั ดาห์ระดบั ภาค การคำนวณราคาเฉล่ียรายสปั ดาห์ระดับภาค แบ่ง ภาคออกเป็น 4 ภาค คือ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ โดยแต่ละภาคครอบคลุม จังหวดั ตา่ งๆ ดงั น้ี

6 10.2 ภาคเหนือ ประกอบด้วยจังหวัดต่างๆ ในพื้นท่ี สศท. 1, 2 และ 12 ซ่ึงมีท้ังส้ินรวม 17 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน ลำพูน พะเยา น่าน แพร่ ลำปาง อุตรดิตถ์ พิษณุโลก สุโขทัย นครสวรรค์ เพชรบรู ณ์ อทุ ยั ธานี กำแพงเพชร ตาก และพจิ ิตร 10.3 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบดว้ ยจงั หวัดต่างๆ ในพนื้ ท่ี สศท. 3, 4, 5 และ 11 ซง่ึ มีทงั้ สิ้น รวม 19 จังหวัด ไดแ้ ก่ นครพนม สกลนคร หนองคาย อุดรธานี เลย หนองบัวลำภู มุกดาหาร ยโสธร อำนาจเจริญ อุบลราชธานี กาฬสินธุ์ ขอนแกน่ มหาสารคาม รอ้ ยเอด็ บุรีรมั ย์ สรุ นิ ทร์ ศรสี ะเกษ นครราชสมี า และชัยภูมิ 10.4 ภาคกลาง ประกอบด้วยจังหวัดต่างๆ ในพื้นท่ี สศท. 6, 7 และ 10 ซึ่งมีท้ังส้ินรวม 26 จังหวัด ได้แก่ ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด นครนายก ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ ปราจีนบุรี สระแก้ว ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา สิงห์บุรี สุพรรณบุรี อ่างทอง กรุงเทพฯ สมุทรสาคร สมทุ รสงคราม กาญจนบรุ ี ประจวบครี ีขันธ์ เพชรบุรี และราชบรุ ี 10.5 ภาคใต้ ประกอบด้วยจังหวัดตา่ งๆ ในพื้นท่ี สศท. 8 และ 9 ซึ่งมีทั้งส้ินรวม 14 จังหวัด ได้แก่ สุ ราษฎร์ธานี ระนอง ชุมพร นครศรีธรรมราช กระบ่ี พังงา ภูเก็ต สงขลา พัทลุง ตรัง สตูล ยะลา ปัตตานี และ นราธวิ าส 10.6 การคำนวณค่าเฉลี่ยในระดับภาค เฉลี่ยแบบถ่วงน้ำหนัก (Weighted Average) ด้วยปริมาณ การขายผลผลิตหรือปริมาณการเกบ็ เก่ียวผลผลติ ระดบั จงั หวดั เปน็ ตวั ถ่วงนำ้ หนัก Pr = r โดยท่ี =  PpQp = Pr = p =1 p = r Pp Qp Qp r= p =1 ราคาเฉลยี่ ระดับภาคของสนิ ค้าที่จะคำนวณของภาค r จังหวดั ที่ 1, 2, 3, …, r ราคาเฉลยี่ สินค้าจังหวดั ท่ี p ปริมาณการขายผลผลิตหรือปริมาณการเกบ็ เกยี่ วผลผลิตของ จงั หวดั P จำนวนจังหวดั ทีเ่ กบ็ รวบรวมขอ้ มลู ในภาค 10.7 การคำนวณค่าเฉลี่ยรายสัปดาห์ระดับประเทศ การประมาณค่าเฉลี่ยข้อมูลระดับประเทศของ สินค้าแต่ละชนิด โดยใช้ปริมาณการขายหรือปริมาณการเก็บเก่ียวผลผลิตรายเดือนของแต่ละภาคเป็นตัวถ่วง น้ำหนัก (Weighted Average) จากสตู ร n Pk =  PrQr r =1 n  Qr r =1

7 โดยที่ = ราคาเฉลยี่ ของสินค้าทง้ั ประเทศ = ภาคที่ 1, 2, 3, และ 4 Pk = ราคาสนิ ค้าเฉลย่ี ของภาคที่ r r = ปรมิ าณการขายหรือปริมาณการเกบ็ เกี่ยวผลผลิตของภาคท่ี r Pr = จำนวนภาคทเี่ กบ็ ข้อมลู Qr n 10.8 การคำนวณราคาเฉล่ียรายเดือน ระดับประเทศ ภาค และจังหวัด เป็นการคำนวณค่าเฉลยี่ จาก ราคารายสัปดาห์แบบตัวกลางเลขคณติ (Arithmetic Mean) จากสูตร n P=  Pi i =1 n โดยท่ี P = ราคาเฉลย่ี รายเดือน i = สัปดาห์ท่ี 1, 2, 3, …, n Pi = ราคาสนิ คา้ สปั ดาหท์ ี่ i n = จำนวนสัปดาหท์ ี่มีข้อมลู 10.9 การคำนวณราคาเฉลี่ยราย 3, 6, 9 และ 12 เดือน คือราคาเฉล่ียจากเดือนท่ีมีผลผลิตออกมาขาย หรือปริมาณการเก็บเก่ียวผลผลิตตั้งแต่เดือนมกราคม ถึงเดือนธันวาคม ในช่วงเดือนของปีปฏิทิน โดยวิธีถ่วง นำ้ หนัก (Weighted Average) ด้วยปริมาณการขายผลผลิตหรือปรมิ าณการเก็บเกี่ยวผลผลิตรายเดือน และแบ่ง ออกเป็น 4 ช่วง ได้แก่ 1) ชว่ งที่ 1 เฉลยี่ 3 เดือน ต้ังแตเ่ ดอื น มกราคม – มีนาคม 2) ช่วงที่ 2 เฉลย่ี 6 เดอื น ตงั้ แต่เดอื น มกราคม – มิถนุ ายน 3) ชว่ งที่ 3 เฉล่ีย 9 เดอื น ตั้งแต่เดือน มกราคม – กันยายน 4) ช่วงท่ี 4 เฉล่ยี 12 เดือน ตัง้ แตเ่ ดือน มกราคม – ธนั วาคม จากสูตร Pj = nj  PijQij i =1 nj  Qij i =1 โดยท่ี Pj = ราคาเฉลยี่ รายเดือนตามช่วงเวลาท่ี j i= เดอื นท่ีขายผลผลติ j = ชว่ งเวลาที่คำนวณค่าเฉลี่ย ชว่ งท่ี 1, 2, 3 และ 4

8 =pij ราคาของเดือนท่ี i ในช่วงเวลาคำนวณท่ี j =Qij ปรมิ าณการขายหรือการเก็บเก่ียวผลผลิตเดอื นที่ i ในช่วงเวลา คำนวณที่ j nj = เดอื นสุดทา้ ยทีม่ กี ารขายผลผลติ ในช่วงเวลาคำนวณท่ี j มีคา่ เท่ากับ 3, 6, 9 และ 12 เดอื น 10.10 การคำนวณราคาเฉลี่ยตามปีเพาะปลูก คือราคาเฉลี่ยจากเดือนที่มีผลผลิตออกมาขายจน ผลผลิตหมดไปจากมือเกษตรกร ตามช่วงเวลาการเก็บเกี่ยว และการขายผลผลิตท่ีคาบเก่ียวกับปีปฏิทิน ในปีเพาะปลกู นั้นๆ ตามชนดิ สินค้า ซึ่งแบ่งออกได้เปน็ 4 กล่มุ คอื 1) กลุ่มท่ี 1 มีช่วงการขายระหวา่ งเดือน กรกฎาคม – มิถุนายน ปีถัดไป ได้แก่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์, ถั่วเขียว, ถว่ั เหลือง, ถ่วั ลิสง และหอมแดง 2) กลุ่มที่ 2 มีช่วงการขายระหว่างเดือน ตุลาคม – กันยายน ปีถัดไป ได้แก่ อ้อยโรงงาน, มนั สำปะหลัง, หอมหัวใหญ่ และกาแฟ 3) กลุ่มที่ 3 มชี ่วงการขายระหวา่ งเดอื น กนั ยายน – สิงหาคม ปีถดั ไป ได้แก่ ฝา้ ย 4) กลุ่มที่ 4 มีช่วงการขายระหว่างเดือน พฤศจิกายน – ตุลาคม ปีถัดไป ได้แก่ ข้าวนาปี และ กระเทียม จากสูตร nj Pj =  PijQij i=S j nj  Qij i=S j โดยท่ี Pj = ราคาเฉลย่ี ตามช่วงเวลาของกลุ่มสนิ คา้ j i= เดอื นท่ขี ายผลผลิต j = กลมุ่ สินค้าที่ 1, 2, 3 และ 4 =pij ราคาของเดือนท่ี i ของกลุ่มสนิ คา้ j =Qij ปรมิ าณการขายหรือการเก็บเก่ียวผลผลติ เดอื นท่ี i ของกลุ่มสินคา้ j sj = เดอื นเริ่มตน้ การขายผลผลติ ของกลมุ่ สนิ ค้า j nj = เดือนสุดทา้ ยทมี่ กี ารขายผลผลติ ของกล่มุ สนิ คา้ j

9 การเก็บรวบรวมข้อมูลราคารายวันทีต่ ลาดกลางและ/หรือตลาดสำคัญ 1. คำนิยามและความสำคญั สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) โดยศูนย์สารสนเทศการเกษตร (ศสส.) ร่วมกับ สำนักงาน เศรษฐกิจการเกษตรท่ี (สศท.) มีการจัดเก็บ รวบรวม และเผยแพร่ ข้อมูลราคาสินค้าเกษตรที่ตลาดกลางและ/ หรอื ตลาดสำคัญ ราคารายวันที่ตลาดกลางและ/หรือตลาดสำคัญ เป็นการจัดเก็บข้อมูลราคาสินค้าเกษตรรายวันจาก พ่อค้ารับซ้ือ ณ ตลาดสำคัญและสินค้า(เกรด) ที่ไดก้ ำหนด เพ่ือติดตามความเคล่ือนไหวของสถานการณ์ราคา ให้ มคี วามรวดเร็ว และถกู ต้องในการนำเสนอผูบ้ ริหาร เป็นการเตือนภยั ทางดา้ นราคา เม่อื ราคาสินค้าเกษตรลดลง 2. วธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ราคาสนิ ค้าเกษตร 2.1 การจัดเก็บราคารายวันทีต่ ลาดกลางและ/หรอื ตลาดสำคัญ 2.1.1 กำหนดตลาดท่ีเชื่อถือได้ และให้ความร่วมมือในการเก็บข้อมูลราคาได้ทุกวัน โดยจะต้องระบุ ช่ือตลาดและทอี่ ยู่ พร้อมเบอรโ์ ทรศัพท์ 2.1.2 กำหนดเกรดสนิ คา้ ในการรายงานราคา 2.1.3 เป็นราคารบั ซอ้ื ที่ตลาดกลางและ/หรอื ตลาดสำคญั 2.1.4 เป็นราคารบั ซ้อื สว่ นใหญใ่ นรอบวัน 2.1.5 เก็บเฉพาะสินคา้ สำคัญระดับประเทศหรือเป็นสินค้าที่มักมีปัญหาราคาตามฤดูกาลในจังหวัดท่ี เป็นแหลง่ ผลติ ทีส่ ำคัญ 2.1.6 สศท.เก็บรวบรวมราคา พร้อมท้ังระบุสาเหตุการเคล่ือนไหวของราคา และรายงานโดยผ่าน ทางโปรแกรม Key on web ให้กับ ศสส.ภายในเวลา 10.00 น. ทุกวันราชการ 2.1.7 ศสส. วิเคราะห์ข้อมูลโดยการเปรียบเทียบกับวันที่ผ่านมาและเปรียบเทียบกับตลาดอ่ืนๆ ใน สินค้าและเกรดเดยี วกนั 2.1.8 ศสส.รายงานผ่านทาง Line ให้ผู้บริหารก่อน 12.00 น.และส่งให้ฝ่ายประชาสัมพันธ์ สศก. เพ่อื เผยแพรก่ ่อน 12.00 น. 3. การวเิ คราะหร์ าคาสนิ คา้ เกษตร การวิเคราะห์ข้อมูลราคาสินค้าเกษตรในที่นี้ หมายถึง การเคลื่อนไหวของข้อมูลราคาสินค้าเกษตรอย่างมี เหตุและผล จากความหมาย ส่ิงท่ีต้องคำนึงถึงคือ ความเป็นไปได้ของข้อมูลนั่นเอง ดังนั้น การวิเคราะห์ราคา สนิ ค้าเกษตรต้องพจิ ารณาลักษณะของราคา ดงั นี้ 3.1 ความแตกต่างของราคาสินคา้ เกษตร มผี ลมาจากมิตขิ องข้อมลู ทต่ี ่างกันใน 3 ลกั ษณะ ดังน้ี 3.1.1 ด้านสถานท่ี ราคาสินค้าเกษตรจะแตกต่างกันในแต่ละท้องท่ี หรือแต่ละตลาด แม้ว่าจะเป็น สินค้าท่ีมีลักษณะเดียวกันและในช่วงเวลาเดียวกันก็ตาม เนื่องจากสินค้าในแต่ละแหล่งมีค่าขนส่ง ไปยังที่เก็บ

10 รวบรวมกลาง (ตลาดกลาง โรงสี โรงงาน) แตกตา่ งกัน เช่น หวั มันสำปะหลงั สด ของจังหวดั นครราชสีมา ราคาสูง กวา่ จงั หวัดใกล้เคียง เนือ่ งจากมีโรงงานผลิตแป้งมนั อยใู่ นจงั หวัด เปน็ ตน้ 3.1.2 ช่วงเวลา แม้ว่าคุณภาพสินค้าและตลาดเดียวกันเม่ือต่างเวลากัน ราคาไม่เท่ากันอัน เนื่องมาจาก ความต้องการและปริมาณสินค้าที่เปลี่ยนไป เพราะฉะน้ันในการรายงานราคาสินค้าเกษตร จะต้อง ระบุเวลาการรายงานท่ชี ดั เจน และระบสุ าเหตขุ องการเปลยี่ นแปลงของราคา 3.1.3 เกรดสนิ ค้า สินค้าเกษตรมีผู้ผลติ หลายรายและผลิตในหลายสถานทีท่ แ่ี ตกตา่ งกนั มีคณุ ภาพไม่ เหมือนกันแม้ว่าจะเป็นสินค้าชนิดเดียวกันก็ตามจึงทำให้ราคาสินค้าเกษตรแตกต่างกัน เช่น ราคามันสำปะหลัง จะแบ่งตามเปอร์เซ็นต์แป้ง โดยราคามันสำปะหลังเปอร์เซ็นต์แป้งร้อยละ 30 จะต้องสูงกว่าราคามันสำปะหลัง เปอร์เซ็นตแ์ ปง้ รอ้ ยละ 25 เปน็ ตน้ 3.2 สาเหตขุ องการเปลี่ยนแปลงราคาสินคา้ เกษตร ราคาสินค้าเกษตรเกือบทุกชนิด มีความแปรปรวน ขึ้นลงอยู่เสมอ ทั้งน้ีเนื่องจากปริมาณการผลิตท่ี ออกสู่ตลาดแต่ละเดือน แต่ละปี ไม่แน่นอน เพราะความไม่แน่นอนของดินฟ้าอากาศ การตัดสินใจในการผลิต ของเกษตรกร และความต้องการสินค้าท่ีเปล่ียนแปลงไป โดยเฉพาะสินค้าที่ส่งออกไปจำหน่ายต่างประเทศ จะ ขึ้นอยู่กับผลผลิตของประเทศท่ีเป็นคู่แขง่ หรอื คู่คา้ ของเราเปน็ อย่างมาก โดยปกตแิ ลว้ ลักษณะการขน้ึ ลงของราคา จะมรี ูปแบบใหญๆ่ อยู่ 4 รปู แบบ ดังนี้ คือ 3.2.1 การเปลี่ยนแปลงของราคาแบบผิดปกติ (Irregular Price Fluctuation) การเปลี่ยนแปลง ราคาสนิ ค้าแบบผิดปกตมิ ักจะเกดิ จากเหตกุ ารณ์ทไี่ ม่สามารถทำนายล่วงหนา้ ได้ อันเป็นผลมาจากปัจจยั ภายนอก เหตุการณ์พวกน้ีจะเกิดขึ้นในระยะสั้น ๆ เช่น การเกิดจราจลภายในประเทศ มีการกักตุนอาหารทำให้ราคา อาหารแพงข้ึนทันที หรือการเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติในประเทศผู้ผลิตรายใหญ่ เช่น น้ำท่วม ฝนแล้ง โรค ระบาด หรอื หนาวจดั ผดิ ปกติ ทำใหพ้ ชื ผลเสียหายไม่สามารถส่งออกได้ตามปกติ เป็นตน้ 3.2.2 การเปล่ยี นแปลงของราคาตามฤดูกาล (Seasonal Price Fluctuation) การเปล่ียนแปลงของ ราคาตามฤดูกาลเป็นการข้ึนลงของราคาท่ีเกิดข้ึนเพราะอุปสงค์ที่เป็นไปตามฤดูกาลและ/ หรือลักษณะการผลิต สินค้าเกษตรทีเ่ ปน็ ฤดูกาล สามารถสรุปได้ ดงั น้ี 1) สินค้าท่ีมีผลผลิตออกสู่ตลาดปีละครั้ง กล่าวคือ ถ้าเป็นช่วงต้นฤดูที่มีผลผลิตออกสู่ตลาด น้อยจะมีราคาแพง แต่เมื่อผลผลิตออกสู่ตลาดมากช่วงกลางฤดู ราคาจะตกต่ำและขยับสูงขึ้นอีกในช่วงปลายฤดู เช่น ข้าวนาปี พชื ไรต่ า่ งๆ ผลไม้ ไดแ้ ก่ ทุเรยี น เงาะ มงั คุด ลองกอง และลิ้นจ่ี 2) สินค้าท่ีมีโรงงานแปรรูปรองรับ กล่าวคือ โรงงานจะเร่ิมแปรรูปก็ต่อเมื่อปริมาณออกสู่ ตลาดมาก และจะหยุดก่อนสิ้นฤดูเพราะช่วงปลายฤดูผลผลิตเร่ิมน้อยลงราคาจะสูงข้ึน การเปล่ียนแปลงจะเป็น ลักษณะน้ีในแต่ละปี แต่ความรุนแรงของการเปลี่ยนแปลงในแต่ละปีจะไม่เหมือนกันเช่น สับปะรดโรงงาน เป็น ตน้ 3) สินค้าเน่าเสียง่าย เป็นสินค้าเม่ือถึงเวลาต้องรีบเก็บเก่ียว มิฉะน้ันต้องสูญเปล่า ความ รนุ แรงในการเปลย่ี นแปลงราคาจะมมี าก เช่น ผลไม้ ดงั ทก่ี ล่าวมาแล้ว 4) สินค้าเกษตรท่ีผลิตได้ตลอดท้ังปี เช่น ผักต่างๆ รวมทั้งสัตว์ปีก และสุกร เป็นต้น ก็ยังมี ความเป็นฤดูกาล ท้ังนี้ ก็เพราะความเหมาะสมของสภาวะอากาศในแต่ละช่วงฤดูกาลแตกต่างกัน ทำให้ปริมาณ การผลิตท่ีผลิตได้ในแต่ละฤดูกาลแตกต่างกัน จึงทำให้ราคาสินค้านั้นเปล่ียนแปลงเป็นฤดูกาลเช่นกัน เช่น ฤดู

11 หนาวการผลิตผักจะได้ผลดี มีผลผลิตจะออกสู่ตลาดมากราคาก็จะตกต่ำ แต่ในช่วงฤดูฝน การผลิตทำได้ลำบาก ราคากจ็ ะสงู ขึ้น ในทางตรงกันข้ามหากเปน็ มะนาว ผลผลติ จะมีมากในฤดูฝน ราคาจะตกต่ำ แต่ในฤดูแล้งผลผลิต นอ้ ยราคาจะสูงข้นึ และแตกตา่ งกันมากอยา่ งชดั เจน 5) สินค้าเกษตรท่ีผลผลิตออกสู่ตลาดเป็นฤดูกาล แต่มีเกษตรกรบางรายใช้เทคโนโลยีบังคับ ให้ผลผลิตออกนอกฤดูกาลได้ เช่น มะม่วง ลำไย ทุเรียน เป็นต้น ผู้ที่ประสบผลสำเร็จในการผลิตนอกฤดูกาล ยอ่ มขายได้ในราคาสูงในชว่ งดังกล่าว 6) สนิ คา้ ที่เป็นความต้องการในช่วงเทศกาลต่างๆ กล่าวคือ สินคา้ บางชนิดมีความต้องการจน กลายเปน็ ประเพณีนยิ มไปแลว้ เชน่ ช่วงเทศกาลปีใหม่ วันวาเลนไทน์ ตรุษจนี สารทจีน เทศกาลกนิ เจ และอื่นๆ เปน็ ต้น ถ้าเกษตรกรและผูค้ ้ารว่ มมือกนั ในกาววางแผนการผลติ และการจำหน่ายเพอ่ื ผลติ ใหต้ รงกับช่วงดังกลา่ วก็ จะทำให้ไดร้ ับราคาดีขึ้น เพราะปริมาณความต้องการในช่วงนนั้ มีจำนวนมากเป็นกรณีพเิ ศษและยินดีท่ีจะจ่าย จึง เปน็ โอกาสท่เี กษตรกรจะผลิตแลว้ ขายได้ในราคาค่อนข้างสงู จากท่ีกล่าวมาจะช้ีให้เห็นว่าการเปล่ียนแปลงราคาตามฤดูกาล แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของ ราคาในช่วงเดอื นต่างๆ ในรอบปี อนั เน่อื งมาจากการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์และอปุ ทานในแตล่ ะระยะเวลา 3.2.3 การเปล่ียนแปลงของราคาตามแนวโน้ม (Time Trend Price Movement) เป็นการ เปล่ียนแปลงขึ้นลงของราคาสินค้าชนิดใดชนิดหน่ึงในช่วงเวลาหน่ึงท่ีเกิดข้ึนในระยะหลายปี อาจเป็นเวลา 5 ปี หรือ 10 กว่าปีก็ได้ การท่ีราคาในแต่ละปีเปล่ียนแปลงเน่ืองมาจากการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์และอุปทานของ สนิ ค้า การพิจารณาทศิ ทางของแนวโนม้ สามารถแยกได้ 3 ลักษณะ 1) แนวโน้มของราคาที่เพิ่มขึ้น แสดงว่าอุปสงค์มีมากกว่าอุปทานในแต่ละช่วงเวลาที่ผ่านมา จงึ ทำใหร้ าคาขยบั สูงขน้ึ สนิ ค้าในลักษณะนีเ้ ป็นสนิ ค้าท่ดี แี ละมคี วามต้องการสูง 2) แนวโน้มของราคาที่ลดลง แสดงวา่ ในแตล่ ะชว่ งเวลาท่ผี ่านมาอปุ ทานมีมากกวา่ อุปสงค์ สาเหตุท่ีเป็นเช่นน้ีอาจเน่ืองมาจากสินค้าน้ันขยายการผลิตได้ง่าย หรือความต้องการของ ผู้บริโภคลดลง ถึงแม้วา่ ปริมาณผลผลติ ยงั คงเดมิ 3) แนวโน้มของราคาท่ีค่อนข้างคงท่ีแสดงว่าในแต่ละชว่ งท่ีผ่านมาอุปสงค์กับอุปทานค่อนข้าง จะเทา่ กัน และเปล่ยี นแปลงไปในทศิ ทางเดยี วกนั อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการพิจารณาแนวโน้มของราคานั้นเป็นการมองในระยะยาวเท่านั้น แม้ว่าในบางช่วงอาจมีแนวโน้มสูงข้ึน บางช่วงอาจมีแนวโน้มลดลง นอกจากน้ีแล้วหากพิจารณาในช่วงสั้นก็ อาจจะเหน็ วา่ มีการเปลีย่ นแปลงของราคาขึ้นลงปีต่อปีหรือเดือนตอ่ เดือน ซ่งึ สามารถเกดิ ขน้ึ ได้เสมอ 3.2.4 การเปล่ียนแปลงของราคาตามวัฏจักร (Cyclical Price Fluctuation) เป็นลักษณะการ เปล่ียนแปลงของราคาผลผลิตเกษตรที่เป็นวงจรหรือวัฏจักรที่เกิดข้ึนซ้ำๆกันเป็นช่วงๆ ในแต่ละช่วงอาจจะใช้ เวลาหน่ึงปี สองปี หรือมากกว่าสองปขี ้ึนไป ท้งั นี้ข้ึนอยู่กับลักษณะการผลิตของสนิ ค้าชนิดนนั้ ๆ ช่วงหนึ่งราคาจะ สูงอีกช่วงหนึ่งราคาจะต่ำ แล้วกลับสูงขึ้นอีกสลับกันแบบนี้เรื่อยๆไป อันเนื่องมาจากการผลิตไม่สามารถปรับตัว ให้เพ่ิมข้ึนหรือลดลงตามราคาได้ในทันทีทันใด ในช่วงการผลิตกับช่วงที่ผลผลิตออกสู่ตลาด ทำให้อุปสงค์และ อปุ ทานไม่มคี วามสัมพนั ธ์กัน ในประเทศไทยสุกรนับได้ว่ามีการเปล่ียนแปลงราคาลักษณะแบบน้ี กลา่ วคือ ราคา สงู ควบคู่กับปริมาณการผลิตมนี ้อย ในช่วงน้ีผูเ้ ล้ยี งเหน็ ว่าไดร้ าคาดี ก็ต้องการเลย้ี งกันมากขึ้น แต่ช่วงการผลติ ลูก สุกรรุ่นใหม่เพื่อการเล้ียงและขุนให้ได้ขนาดตามที่ตลาดต้องการ ต้องใช้เวลามากกว่า 1 ปี ในช่วงต่อมาปริมาณ

12 สุกรก็จะมีมาก ทำให้ราคาต่ำลง ผู้เล้ียงก็จะลดการผลิตลง ช่วงต่อไป สุกรมีน้อยราคาก็จะสูงข้ึนอีก การ เปล่ียนแปลงของราคาตามวัฏจักรนี้ สามารถอธิบายได้โดยใช้ทฤษฏีใยแมงมุม (Cobweb Theory) นำมา วเิ คราะห์ได้ ซ่ึงเป็นทฤษฏีท่ีใช้อธิบายถึงการเปล่ียนแปลงของราคาและปรมิ าณของสนิ ค้าท่ีเปน็ วงจรหรอื เป็นวัฎ จักร ซ่ึงท้ังราคาและปริมาณจะมีความสัมพันธ์ในลักษณะต่อเน่ืองเชื่อมโยงกันเป็นลูกโซ่ตลอดเวลา เช่น เม่ือ ผลผลิตราคาสูงในปีที่ผ่านมาก็จะทำให้ปริมาณการผลิตมากขึ้นในปีปัจจุบัน เมื่อผลผลิตมากขึ้นราคาจะลดลง และเม่ือราคาลดลงก็จะทำให้ปริมาณผลผลิตในปีการผลิตต่อไปลดลง เม่ือปริมาณผลผลิตลดลงราคาก็จะกลับ สูงขนึ้ อีกเปน็ เชน่ นเี้ รอื่ ยไป 4. การใชป้ ระโยชน์ข้อมูลราคาสินค้าเกษตร เป้าหมายหลักของสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรในการจัดเก็บข้อมูลราคาสินค้าเกษตร คือการติดตาม ความเคลื่อนไหวของสถานการณ์ราคาสินค้าเกษตร เพ่ือผู้บริหาร จะได้กำหนดนโยบายหรือแก้ปัญหาเมื่อราคา สินค้าน้ันผิดปกติ เนื่องจากสินค้าเกษตรเกี่ยวข้องกับประชากรมากกว่าคร่ึงของประเทศ และนอกจากน้ีหลาย หน่วยงานท้ังภาครัฐ และเอกชน ได้นำราคาสินค้าเกษตรท่ี สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรจัดเก็บรวบรวม ไปใช้ ประโยชนใ์ นการ วิเคราะห์ วจิ ยั สรา้ งตวั ชว้ี ดั เป็นต้น ผู้บรหิ าร สศก. และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ติดตามสถานการณร์ าคาสนิ ค้าเกษตร ทุกวันผ่านทาง SMS ไปที่มือถือ โดยรายงานราคาปัจจุบัน (Spot Price) ของสินค้าและตลาดที่กำหนดไว้แล้ว พร้อม เปรยี บเทยี บกบั วันท่ีผ่านมา 5. การเผยแพร่ขอ้ มลู ราคาสนิ ค้าเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรได้ทำการเผยแพร่ข้อมูลราคาสินค้าเกษตรในหลายรูปแบบเช่น ราคา รายวัน ส่ง SMS ใหผ้ บู้ รหิ ารทกุ วันทำการ เผยแพร่ทางโทรทศั น์ และทาง Website http://www.oae.go.th

13 ตาราง ช่วงระยะเวลาอ้างอิงฤดูการปลกู การเกบ็ เกี่ยว และการขายผลผลิตสนิ คา้ เกษตร ปี ปี ช่วงระยะเวลาทใ่ี ช้อา้ งอิง เพาะปลูก ปฏิทิน ช่อื พชื / สัตว์ การปลกู /การเก็บเกย่ี ว ราคาจากการขาย การปลกู ราคาทข่ี ายระหวา่ ง 1. ขา้ วนาปี 2557/58 2557 1 พ.ค.57 - 31 ต.ค. 1 พ.ย.57 - 31 ต.ค.58 57 2. ขา้ วนาปรงั 2557/58 2558 1 พ.ย.57 - 30 เม.ย. 1 ม.ค.58 - 31 ธ.ค.58 58 3. ข้าวโพดเลย้ี งสัตว์ , ข้าวฟ่าง (รนุ่ 2557/58 2557 1 ม.ี ค.57 - 31 ก.ค. 1 ก.ค.57 - 30 ม.ิ ย.58 1) 57 ขา้ วโพดเลีย้ งสตั ว์ , ขา้ วฟา่ ง (รนุ่ 2557/58 2557 1 ส.ค.57 - 28 ก.พ. 1 ก.ค.57 - 30 ม.ิ ย.58 2) 58 4. ถ่ัวเขยี ว,ถ่วั เหลือง,ถั่วลิสง (รุ่น 1) 2557/58 2557 1 พ.ค.57 - 31 ต.ค. 1 ก.ค.57 - 30 ม.ิ ย.58 57 ถ่วั เขยี ว,ถัว่ เหลือง,ถัว่ ลสิ ง (ร่นุ 2) 2557/58 2557 1 พ.ย.57 - 30 เม.ย. 1 ก.ค.57 - 30 มิ.ย.58 58 5. ปอ 2557/58 2557 1 เม.ย.57 - 31 มี.ค. 1 ก.ค.57 - 30 ม.ิ ย.58 58 6. ฝา้ ย 2557/58 2557 1 เม.ย.57 - 31 ม.ี ค. 1 ก.ค.57 - 30 ม.ิ ย.58 58 7. หอมแดง 2557/58 2557 1 เม.ย.57 - 31 มี.ค. 1 ก.ค.57 - 30 ม.ิ ย.58 58 8. กระเทยี ม 2557/58 2557 1 เม.ย.57 - 31 มี.ค. 1 พ.ย.57 - 31 ต.ค.58 58 9. หอมหวั ใหญ่ 2557/58 2557 1 เม.ย.57 - 31 มี.ค. 1 ต.ค.57 - 30 ก.ย.58 58 10. มนั ฝรง่ั 2557/58 2557 1 เม.ย.57 - 31 มี.ค. 1 ม.ค.58 - 31 ธ.ค.58 58 11. พืชผกั * 2557/58 2557 1 เม.ย.57 - 31 ม.ี ค. 1 ม.ค.58 - 31 ธ.ค.58 58 12. พืชไรอ่ ่ืนๆ* 2557/58 2557 1 เม.ย.57 - 31 ม.ี ค. 1 ม.ค.58 - 31 ธ.ค.58 58

14 ปี ปี ช่วงระยะเวลาท่ใี ช้อา้ งอิง เพาะปลูก ปฏทิ ิน ชือ่ พืช / สัตว์ การปลกู /การเกบ็ เก่ียว ราคาจากการขาย การปลกู ราคาทีข่ ายระหว่าง การเกบ็ เกี่ยว 13. สบั ปะรดโรงงาน 2557/58 2557 1 ม.ค.57 - 31 ธ.ค. 1 ม.ค.57 - 31 ธ.ค.57 57 14. มันสำปะหลัง 2557/58 2558 1 ต.ค.57 - 30 ก.ย. 1 ต.ค.57 - 30 ก.ย.58 58 15. อ้อยโรงงาน 2557/58 2558 1 ต.ค.57 - 30 ก.ย. 1 ต.ค.57 - 30 ก.ย.58 58 ยืนตน้ อย่รู ะหว่าง 16. กาแฟ 2557/58 2558 1 ต.ค.57 - 30 ก.ย. 1 ต.ค.57 - 30 ก.ย.58 58 17. พริกไทย 2557/58 2557 1 ม.ค.57 - 31 ธ.ค. 1 ม.ค.57 - 31 ธ.ค.57 57 18. ยางพารา 2557/58 2557 1 ม.ค.57 - 31 ธ.ค. 1 ม.ค.57 - 31 ธ.ค.57 57 19. ปาล์มน้ำมัน 2557/58 2557 1 ม.ค.57 - 31 ธ.ค. 1 ม.ค.57 - 31 ธ.ค.57 57 20. ไมผ้ ล/ไม้ยนื ตน้ * 2557/58 2557 1 ม.ค.57 - 31 ธ.ค. 1 ม.ค.57 - 31 ธ.ค.57 57 21. ปศสุ ัตวท์ กุ ชนดิ (ปริมาณการ 2557/58 2557 1 ม.ค.57 - 31 ธ.ค. 1 ม.ค.57 - 31 ธ.ค.57 ผลติ ) 57 22. ประมงทุกชนดิ (ปรมิ าณการผลิต) 2557/58 2557 1 ม.ค.57 - 31 ธ.ค. 1 ม.ค.57 - 31 ธ.ค.57 57 หมายเหตุ : 1. พืชผัก เช่น พริก, ขิง, ผักกาดกวางตุ้ง, ผักกาดหอม, หอมแบ่ง, มะเขือเทศ, ถ่ัวลันเตา, ถั่วฝกั ยาว, แตงรา้ น, มะระ, กะหลำ่ ปลี, ผักกาดขาวปลี, ผักกาดเขยี วปลี, ผกั คะนา้ , ผกั บ้งุ จีน, ผักบงุ้ นำ้ , ฯลฯ 2. พชื ไร่ เช่น ยาสูบ, งา, ละหงุ่ ฯลฯ 3. ไมผ้ ล/ไม้ยนื ตน้ เชน่ มะม่วง, มะมว่ งหิมพานต,์ ลำไย, ลนิ้ จ่ี, ทเุ รียน, เงาะ, องุ่น, มะพร้าว ฯลฯ

15 ภาคผนวก รายการสินคา้ เกษตร ปศสุ ัตว์ และประมง ท่เี กษตรกรขายได้ ณ ไรน่ า

16 ตราด สมุทรปราการ รายการ รายการ ผลปาลม์ น้ามันทง้ั ทะลาย นน.> 15 กก. ขนึ้ ไป มะพร้าวผลแห้งทงั้ เปลือก ขนาดใหญ่ ข้าวเปลอื กเจ้านาปคี วามชน้ื 15% สบั ปะรดโรงงานผลขนาดใหญ่ ข้าวเปลอื กเจ้านาปีความชน้ื 24-25% สับปะรดบริโภคพันธต์ุ ราดสที อง ข้าวเปลือกเจ้านาปคี วามชนื้ >25% ยางพาราแผ่นดบิ ชน้ั 3 ตน้ หอมสดคละ(หอมแบง่ ) เศษยางพารา (ขย้ี าง) ถวั่ ฝกั ยาวฝกั สดชนิดคละ น้ายางพาราสด พริกขหี้ นูสวนสดคละ เมล็ดพริกไทยด้าชนิดคละ ผกั ชีไทยคละ เมล็ดพริกไทยขาวชนิดคละ ไข่ไก่เบอร์ 0 ทเุ รียนพันธหุ์ มอนทองส่งออก ไข่ไกเ่ บอร์ 1 ทเุ รียนพันธหุ์ มอนตกไซด์ ไข่ไก่เบอร์ 2 ทเุ รียนชะนีตกไซด์ ไข่ไก่เบอร์ 3 มังคดุ คละ ไข่ไกเ่ บอร์ 4 มังคดุ ผวิ มัน ไข่ไก่เบอร์ 5 มังคดุ ผวิ ลาย มะพร้าวน้าหอมผลสดคละ เงาะโรงเรียน มะนาวแป้นผลขนาดใหญ่ เงาะสที อง มะนาวแป้นผลขนาดเลก็ ลองกอง 1 ตะไคร้ชนิดคละ ลองกอง 2 โหระพาชนิดคละ ใบกะเพราคละ ปลานิลขนาดใหญ่

17 ชลบรุ ี ระยอง รายการ รายการ หัวมันส้าปะหลังสดคละ หัวมันส้าปะหลงั สดคละ หัวมันส้าปะหลงั สดเชอื้ แป้ง 30% หวั มันส้าปะหลังสดเชอ้ื แปง้ 30% ผลปาล์มน้ามันทง้ั ทะลาย นน.> 15 กก. ขนึ้ ไป มะพร้าวผลแห้งทง้ั เปลอื ก ขนาดใหญ่ มะพร้าวผลแหง้ ทง้ั เปลอื ก ขนาดใหญ่ ถวั่ ฝกั ยาวฝกั สดชนิดคละ ตน้ หอมสดคละ(หอมแบ่ง) แตงกวาชนิดคละ คน่ื ช่ายชนิดคละ พริกขหี้ นูสวนสดคละ คะน้าตน้ ใหญช่ นิดคละ ผักบงุ้ จีนชนิดคละ ผกั กาดขาวปลีขนาดคละ ชะอมคละ ผกั กวางตงุ้ ใบชนิดคละ สับปะรดโรงงานผลขนาดใหญ่ ถวั่ ฝักยาวฝักสดชนิดคละ สบั ปะรดบริโภคพันธปุ์ ัตตาเวียขนาดใหญ่ แตงกวาชนิดคละ เศษยางพารา (ขยี้ าง) พริกขหี้ นูสวนสดคละ น้ายางพาราสด ผักชีไทยคละ สกุ รขุนพันธล์ุ กู ผสม นน.100 กก. ขน้ึ ไป ผกั บงุ้ จีนชนิดคละ ไข่ไกเ่ บอร์ 0 ชะอมคละ ไข่ไก่เบอร์ 1 สบั ปะรดโรงงานผลขนาดใหญ่ ไข่ไกเ่ บอร์ 2 สบั ปะรดบริโภคพันธปุ์ ตั ตาเวียขนาดใหญ่ ไข่ไกเ่ บอร์ 3 ยางพาราแผ่นดบิ ชน้ั 3 ไข่ไกเ่ บอร์ 4 ยางพาราแผน่ ดบิ คละ ไข่ไกเ่ บอร์ 5 เศษยางพารา (ขยี้ าง) ไข่ไก่คละ น้ายางพาราสด กล้วยน้าว้าขนาดคละ โคเนื้อพันธล์ุ ูกผสม ขนาดใหญ่ โหระพาชนิดคละ โคเน้อื พันธลุ์ ูกผสม ขนาดกลาง ใบกะเพราคละ โคเน้อื พันธพุ์ ื้นเมือง ขนาดกลาง ปทู ะเลขนาดใหญ่ สกุ รขุนพันธลุ์ ูกผสม นน.100 กก. ขนึ้ ไป หอยนางรมแกะเปลือก ไก่รุ่นพันธเ์ุ น้อื (ราคาฟาร์มอิสระ) ไม้ยูคา ไก่รนุ่ พันธพ์ุ ื้นเมืองเพศเมีย ทเุ รียนพันธห์ุ มอนทองส่งออก ไข่ไกค่ ละ ทเุ รียนพันธหุ์ มอนตกไซด์ มะพร้าวน้าหอมผลสดคละ ทเุ รียนชะนีส่งออก กล้วยน้าว้าขนาดคละ ทเุ รียนชะนีตกไซด์ ตะไคร้ชนิดคละ มังคดุ คละ โหระพาชนิดคละ มังคดุ ผวิ มัน ใบกะเพราคละ มังคดุ ผิวลาย ปลากะพงขาวขนาดใหญ่ เงาะโรงเรียน ปูม้าขนาดใหญ่ ลองกอง 1 ปูม้าขนาดกลาง ลองกอง 2 ปูม้าขนาดเลก็

18 สระแกว้ ปราจนี บรุ ี รายการ รายการ ข้าวหอมมะลิ ข้าวเปลอื กเจ้านาปีความชน้ื 15% หัวมันส้าปะหลงั สดคละ ข้าวเปลอื กเจ้านาปีความชน้ื 24-25% หัวมันส้าปะหลังสดเชอ้ื แป้ง 30% ข้าวเปลือกเจ้านาปคี วามชนื้ >25% ผลปาลม์ น้ามันทงั้ ทะลาย นน.> 15 กก. ขน้ึ ไป หัวมันส้าปะหลังสดคละ ตน้ หอมสดคละ(หอมแบ่ง) ผลปาลม์ น้ามันทง้ั ทะลาย นน.> 15 กก. ขนึ้ ไป คะน้าตน้ ใหญช่ นิดคละ ถวั่ ฝกั ยาวฝกั สดชนิดคละ ผกั กาดขาวปลขี นาดคละ แตงกวาชนิดคละ ผกั กวางตงุ้ ใบชนิดคละ ชะอมคละ ถวั่ ฝกั ยาวฝักสดชนิดคละ เศษยางพารา (ขย้ี าง) แตงกวาชนิดคละ ไกร่ ุ่นพันธเ์ุ นื้อ(ราคาฟาร์มประกนั ) พริกขห้ี นูสวนสดคละ ไข่ไกค่ ละ ผกั ชีไทยคละ ตะไคร้ชนิดคละ ผกั บงุ้ จีนชนิดคละ โหระพาชนิดคละ เศษยางพารา (ขย้ี าง) ใบกะเพราคละ ตะไคร้ชนิดคละ ปลานิลขนาดใหญ่ โหระพาชนิดคละ ปลาช่อนขนาดใหญ่ ใบกะเพราคละ ปลาช่อนขนาดกลาง ขนุนพันธทุ์ องประเสริฐเบอร์ A นครนายก ขนุนทองมาเล สง่ ออก รายการ บวบงู ข้าวเปลือกเจ้านาปีความชนื้ 15% น้าเตา้ ข้าวเปลอื กเจ้านาปคี วามชนื้ 24-25% สม้ โอทองดผี ลใหญ่ ข้าวเปลือกเจ้านาปีความชนื้ >25% ส้มโอทองดผี ลเลก็ ถว่ั ฝักยาวฝักสดชนิดคละ ส้มโอขาวพวงผลใหญ่ แตงกวาชนิดคละ ส้มโอขาวพวงผลใหญ่ ผกั บงุ้ จีนชนิดคละ ทเุ รียนพันธหุ์ มอนทองส่งออก ทเุ รียนชะนีส่งออก มังคดุ คละ เงาะโรงเรียน

19 จนั ทบรุ ี ฉะเชิงเทรา รายการ รายการ หัวมันส้าปะหลังสดคละ ผลปาลม์ น้ามันทง้ั ทะลาย นน.> 15 กก. ขน้ึ ไป ข้าวเปลอื กเจ้านาปคี วามชน้ื 15% เศษยางพารา (ขยี้ าง) ข้าวเปลือกเจ้านาปคี วามชนื้ 24-25% น้ายางพาราสด ข้าวเปลือกเจ้านาปีความชน้ื >25% ปลาทขู นาดใหญ่ หวั มันส้าปะหลังสดคละ ปลาทขู นาดเล็ก ผลปาล์มน้ามันทงั้ ทะลาย นน.> 15 กก. ขน้ึ ไป กลว้ ยน้าว้าขนาดคละ มะพร้าวผลแห้งทงั้ เปลือก ขนาดใหญ่ กลว้ ยไข่ขนาดคละ มะพร้าวผลแห้งทงั้ เปลือก ขนาดกลาง ตะไคร้ชนิดคละ ตน้ หอมสดคละ(หอมแบง่ ) น้านมดบิ คน่ื ช่ายชนิดคละ ปลาลงั ขนาดใหญ่ คะน้าตน้ ใหญช่ นิดคละ ปลาลงั ขนาดเล็ก ผกั กวางตงุ้ ใบชนิดคละ ปลากะพงขาวขนาดใหญ่ ถวั่ ฝกั ยาวฝกั สดชนิดคละ ปลากะพงขาวขนาดกลาง แตงกวาชนิดคละ ปูทะเลขนาดใหญ่ พริกขห้ี นูสวนสดคละ ปูทะเลขนาดกลาง ผักชีไทยคละ ปทู ะเลขนาดเลก็ ผกั บงุ้ จีนชนิดคละ หอยนางรมแกะเปลือก ชะอมคละ หอยแมลงภขู่ นาดใหญ่ สับปะรดโรงงานผลขนาดใหญ่ หอยแครงขนาดใหญ่ เศษยางพารา (ขย้ี าง) สละสมุ าลี สุกรขุนพันธลุ์ กู ผสม นน.100 กก. ขน้ึ ไป โกโก้ ไข่ไกค่ ละ กลว้ ยไข่สง่ ออก กงุ้ ขาวแวนนาไมขนาด 51-60 ตวั /กก. ล้าไยเกรด AA กงุ้ ขาวแวนนาไมขนาด 61-70 ตวั /กก. ปลาทขู นาดใหญ่ กงุ้ ขาวแวนนาไมขนาด 71-80 ตวั /กก. ปลาทขู นาดเลก็ มะพร้าวน้าหอมผลสดคละ หมากสกุ กลว้ ยน้าว้าขนาดคละ ทเุ รียนพันธห์ุ มอนทองสง่ ออก มะนาวแป้นผลขนาดใหญ่ ทเุ รียนพันธหุ์ มอนตกไซด์ มะนาวแป้นผลขนาดเล็ก ทเุ รียนชะนีส่งออก ตะไคร้ชนิดคละ ทเุ รียนชะนีตกไซด์ โหระพาชนิดคละ ทเุ รียนกระดมุ คละ ใบกะเพราคละ มังคดุ คละ ปลาช่อนขนาดใหญ่ มังคดุ ผิวมัน ปลาช่อนขนาดกลาง มังคดุ ผิวลาย มะม่วงเขียวเสวยเบอร์ 0 เงาะโรงเรียน มะม่วงน้าดอกไม้เบอร์ 4 เงาะสีทอง มะม่วงโชคอนันตค์ ละ ลองกอง 1 ออ้ ยปดิ หบี ลองกอง 2 ไม้ยูคา

20 ภาคผนวก รายการสนิ คา้ เกษตร ปศุสตั ว์ และประมง ที่เกษตรกรขายได้ ณ ตลาดกลาง หรอื ตลาดรบั ซื้อท่สี ำคัญ(ราคารายวนั )

21 จงั หวดั ตลาด รายการสินค้า จนั ทบรุ ี บ.โยโก แอนด์ตงหมิง จำกดั ทเุ รียนพนั ธกุ์ ระดมุ ส่งออก เกรด AB ทุเรียนพนั ธุก์ ้านยาวส่งออก เกรด AB ทุเรยี นพนั ธช์ุ ะนีสง่ ออก เกรด AB ทุเรียนพนั ธ์ชุ ะนสี ง่ ออก เกรด C ทุเรยี นพันธุ์ชะนีส่งออก เกรด D ทเุ รยี นพันธพ์ุ วงมณสี ง่ ออก เกรด AB ทเุ รียนพันธพ์ุ วงมณสี ง่ ออก เกรด C ทุเรยี นพันธุห์ มอนทอง เกรด A ทุเรยี นพนั ธุ์หมอนทอง เกรด AB ทุเรยี นพนั ธุ์หมอนทอง เกรด B ทุเรียนพันธห์ุ มอนทอง เกรด C ทุเรียนพนั ธหุ์ มอนทองสง่ ออก เกรด AB ทุเรียนพนั ธ์หุ มอนทองส่งออก เกรด C ทุเรียนพันธห์ุ มอนทองส่งออก เกรด D มังคุดผวิ มนั ลาย+หแู ดงสง่ ออก ขนาดคละ มังคุดผิวมันส่งออก ขนาดเลก็ มงั คุดผวิ มนั สง่ ออก ขนาดใหญ่ จุดรับซ้อื รา้ นนอ้ งเก้า ลองกอง เบอร์ 1 ลองกอง เบอร์ 2 ลองกอง เบอร์ 3 ลองกอง เบอร์5 ลองกอง เบอร6์ (รว่ ง) ลองกองเบอร์ 4

22 จงั หวดั ตลาด รายการสนิ ค้า จันทบรุ ี ลง้ นายณัฐกฤษฏ์ โอฬารหริ ัญรกั ษ์ ตราด ทเุ รยี นพนั ธุ์ชะนีสง่ ออก เกรด AB ทุเรียนพันธห์ุ มอนทองส่งออก เกรด A ทุเรียนพนั ธหุ์ มอนทองส่งออก เกรด AB ทเุ รียนพันธุ์หมอนทองสง่ ออก เกรด B ทเุ รยี นพันธุ์หมอนทองส่งออก เกรด C ตลาดกลางผลไม้เนนิ สูง ทุเรียนพันธชุ์ ะนี เกรด A ทุเรียนพนั ธช์ุ ะนีผลขนาดคละ ทเุ รยี นพันธ์ุหมอนทอง เกรด A ทเุ รยี นพันธุ์หมอนทองผลขนาดคละ ตลาดวัดดงกลาง มังคุดคละ มงั คุดผวิ ดำ(ขายในประเทศ) มังคุดผวิ มันผลขนาดใหญ่ มงั คดุ ผวิ มันสง่ ออก ขนาดกลาง มังคุดผวิ มนั ส่งออก ขนาดเลก็ มงั คุดผิวมนั ส่งออก ขนาดใหญ่ ตลาดผลไมเ้ ขาสมิง ทเุ รยี นพันธ์หุ มอนทองสง่ ออก เกรด AB ทเุ รียนพันธุ์หมอนทองส่งออก เกรด C โรงงานสุขสมบูรณ์ ผลปาล์มน้ำมนั ท้ังทะลายคละ ตลาดผลไม้แสนตุ้ง ลองกอง เบอร์ 1 ลองกองเกรดคละ เงาะพันธโุ์ รงเรยี น(ตะกร้า)

23 จงั หวดั ตลาด รายการสินคา้ ระยอง ตลาดกลางเขาดิน(จุดรบั ซ้ือนายวินัย ใจดี) ทุเรยี นพนั ธุ์ชะนีผลขนาดคละ ทเุ รยี นพันธห์ุ มอนทอง เกรด A ทุเรยี นพันธห์ุ มอนทอง เกรด AB ทเุ รยี นพันธห์ุ มอนทอง เกรด B ทเุ รยี นพันธุ์หมอนทอง เกรด C มงั คดุ คละ เงาะพนั ธุ์โรงเรียน(ตะกร้า) ตลาดผลไม้เขาดิน ทเุ รยี นพนั ธช์ุ ะนี เกรด AB ทเุ รียนพนั ธุ์ชะนีผลขนาดคละ ทเุ รยี นพันธห์ุ มอนทอง เกรด A ทุเรยี นพนั ธ์หุ มอนทอง เกรด B ทุเรยี นพันธห์ุ มอนทองผลขนาดคละ รา้ นสนิ การยาง ยางพาราแผ่นดบิ ชั้น 3 ลง้ ลงุ จวบ ทุเรยี นพนั ธชุ์ ะนีผลขนาดคละ ทุเรยี นพันธุ์หมอนทองผลขนาดคละ มงั คุดผิวมันผลขนาดกลาง มงั คุดผิวมนั ผลขนาดคละ มงั คดุ ผิวมันผลขนาดใหญ่ บรษิ ัท SAICO จำกัด สับปะรดโรงงานผลขนาดเลก็ สบั ปะรดโรงงานผลขนาดใหญ่ บริษทั ไทยรับเบอร์ลาเทกซ์กร๊ปุ นำ้ ยางพาราสด บรษิ ัท สำปะหลงั พัฒนา จำกัด หวั มันสำปะหลงั สด (แป้ง 30%)

24 จงั หวัด ตลาด รายการสนิ คา้ ชลบุรี บริษทั เจรญิ โภคภัณฑ์ จำกดั สกุ รขนุ พันธุ์ลูกผสม นน.100 กก. ขึ้นไป ไก่รนุ่ พันธุ์เนอ้ื (ราคาฟารม์ อสิ ระ) บริษทั สุขสมบูรณน์ ำ้ มนั ปาล์ม จำกัด ผลปาลม์ น้ำมันทงั้ ทะลาย นน.> 15 กก. ข้ึน ไป บริษัท ชลเจรญิ จำกดั หวั มันสำปะหลังสด (แปง้ 25%) หัวมนั สำปะหลังสด (แปง้ 30%) โรงงานอาหารสยาม สบั ปะรดโรงงานผลขนาดเลก็ สบั ปะรดโรงงานผลขนาดใหญ่ ฉะเชิงเทรา ศริ ปิ ณุ ย์ฟาร์ม สุกรขุนพนั ธุล์ ูกผสม นน.100 กก. ขึน้ ไป ร้านสนิ งอกงาม กงุ้ ขาวแวนนาไมขนาด 31-40 ตัว/กก. กุง้ ขาวแวนนาไมขนาด 41-50 ตวั /กก. กงุ้ ขาวแวนนาไมขนาด 51-60 ตวั /กก. กุ้งขาวแวนนาไมขนาด 61-70 ตวั /กก. ก้งุ ขาวแวนนาไมขนาด 71-80 ตวั /กก. สหกรณ์ผู้เลีย้ งไกไ่ ข่ ไข่ไก่คละ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook