Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการติดตามคลินิคเกษตตราด63

รายงานผลการติดตามคลินิคเกษตตราด63

Description: รวม-รายงานผลการติดตามคลินิคเกษตตราด63

Search

Read the Text Version

สรปุ ผลการติดตามผลการดําเนนิ งานแบบโครงการคลนิ ิกเกษตรเคล่ือนที่ จังหวัดตราด เนื�อหาสําคัญประกอบด้วย 1. ขอมลู ท่วั ไปของผูเขา รบั บรกิ ารคลนิ ิกเกษตรเคลื่อนท่ีฯ 2. การรับบริการคลินกิ เกษตร การไปใชป ระโยชนและผลจากการนําไปใช ประโยชน 3. ความพงึ พอใจ ปญหาและขอ เสนอแนะ ได้รบั ความร่วมมอื จาก ผูเขารบั บรกิ ารคลนิ กิ เกษตรเคลื่อนทีฯ่ หนว ยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ สอบถามขอมลู เพม่ิ เตมิ สว นวิจัยและประเมนิ ผล สาํ นักงานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 6 โทร 0-3835-1398 อเี มล [email protected]

สรปุ ผลการติดตามผลการดำเนินงานแบบโครงการคลินกิ เกษตรเคล่ือนท่ี จงั หวดั ตราด สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 6 ได้ติดตามผลการดำเนินงานคลินิกเกษตรเคล่ือนท่ี ในพ้ืนที่ที่มีการจัดงาน คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ จังหวัดตราด ในวันท่ี 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ปีงบประมาณ 2563 ณ วัดแหลมกลัด หมู่ท1ี่ ตำบลแหลมกลัด อำเภอเมืองตราด จังหวัดตราด ซ่ึงทำการติดตามผลในเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2563 โดยสุ่ม สัมภาษณ์เกษตรกรท่ีผ่านการรับบริการคลินิกจำนวน 60 ราย เป็นเกษตรกรที่ได้รับบริการแบบเบ็ดเสร็จ ท้ังหมด สรปุ ผลการติดตามเกษตรกรท่ีเข้ารับบรกิ ารคลินิกเกษตรเคล่ือนท่ีฯ ได้ดังน้ี 1. การรบั บริการคลินกิ เกษตรเคลอื่ นท่ี แบบเบ็ดเสร็จ 1. ข้อมูลพ้ืนฐานของเกษตรกร ผู้เข้ารับบริการคลินิกเกษตรปีงบประมาณ 2563 พบว่าเป็นเพศชาย คดิ เป็นร้อยละ 20.00 และหญิง คิดเป็นร้อยละ 80.00 อายุของผู้เขา้ รับบริการคลินิกส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 51- 60 ปี คิดเป็นร้อยละ 40.00 รองลงมาคือ ช่วงอายุมากกว่า 60 ปี คิดเป็นร้อยละ 25.00 ช่วงอายุ 21-30 ปี คิดเป็นร้อยละ 25.00 ช่วงอายุ 31-40 ปี คิดเป็นร้อยละ 5.00 ช่วงอายุน้อยกว่า 20 ปี คิดเป็นร้อยละ 3.33 และช่วงอายุน้อยกว่า21-30 ปี คิดเปน็ ร้อยละ 1.67 โดยส่วนใหญจ่ บการการศกึ ษาระดบั ประถมศึกษา คิดเป็นรอ้ ย ละ 63.33 รองลงมาคือ ไม่ได้เรียน/ไม่จบประถมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 15.00 ระดับมัธยมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 10.00 อาชีวศึกษา/อนุปริญญา คิดเป็นร้อยละ 8.33 และปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 3.34 การประกอบอาชีพ ด้านการเกษตร ผู้เข้ารับบริการคลินิกเกษตรส่วนใหญ่ปลูกผัก/ไม้ผล/ไม้ยืนต้นสัดส่วนเท่ากันกับไม่ได้ประกอบอาชีพ คิดเป็นร้อยละ 28.33 รองลงมาคืออาชีพค้าขาย/รับจ้าง/บริการ คิดเป็นร้อยละ 38.34 และเล้ียงสัตว์/ประมง คดิ เป็นรอ้ ยละ 5.00 การถือครองที่ดินของเกษตรกร ผู้เข้ารับบรกิ ารคลินกิ เกษตรส่วนใหญ่ไมม่ ีพน้ื ที่ถือครอง คิดเป็น ร้อยละ 61.67 รองลงมาคือมีพ้ืนที่ถือครองน้อยกว่า 5 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 18.33 มีพ้ืนท่ีถือครองน้อยกว่า 11 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 10.00 และมีพ้ืนท่ีถือครองน้อยกว่า16 ไร่ เท่ากับมากกว่า15ไร่ คิดเป็นร้อยละ 5.00 ดังแสดงใน ตารางท่ี 1 ตารางท่ี 1 ข้อมลู พน้ื ฐานของเกษตรกร รายการ ร้อยละ 1. เพศ 20.00 - ชาย 80.00 - หญงิ 3.33 2. อายุ 1.67 - นอ้ ยกว่า 20 ปี 5.00 - 21 – 30 ปี 25.00 - 31 – 40 ปี 40.00 - 41 – 50 ปี 25.00 - 51 – 60 ปี - มากกวา่ 60 ปี

๒ 3. การศึกษา 15.00 - ไม่ไดเ้ รียน/ไม่จบประถมศึกษา 63.33 - ประถมศึกษา 10.00 - มธั ยมศึกษา 8.33 - อาชวี ศึกษา/อนุปริญญา 3.34 - ปริญญาตรี - สงู กว่าปริญญาตรี - ตารางท่ี 1 ข้อมูลพน้ื ฐานของเกษตรกร (ต่อ) ร้อยละ รายการ - 5.00 4. อาชพี หลัก 28.33 - ทำนา/ทำไร่ - เล้ยี งสตั ว/์ ประมง - - ปลกู ผกั /ผลไม/้ ไม้ยืนต้น 38.34 - รับราชการ/รฐั วิสาหกจิ 28.33 - ค้าขาย/รับจ้าง/บริการ - อ่นื ๆ (ไม่ได้ประกอบอาชพี ) 61.67 18.33 5. พน้ื ทถ่ี ือครองทำการเกษตร 10.00 - ไม่มีพน้ื ทถ่ี ือครอง 5.00 - นอ้ ยกว่า 5 ไร่ 5.00 - 6 - 10 ไร่ - 11 - 15 ไร่ - มากกว่า 15 ไร่ขึ้นไป ท่มี า : จากการสำรวจ 2. การรบั บริการคลนิ กิ เกษตรและการนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ผทู้ ี่เข้ารับบริการคลนิ กิ เกษตรแต่ละรายมีจุดประสงค์ในการเข้ารับบรกิ าร หรอื ได้รบั บริการทแ่ี ตกต่างกัน โดย พจิ ารณาเฉพาะในคลินิกหลักๆ ได้แก่ คลินิกพชื ดิน ปศุสัตว์ ประมง บญั ชี สหกรณ์ และกฎหมาย.สป.ก และคลินิก เสริม ได้แก่ คลินิกการยางแห่งประเทศไทยจังหวัดตราด ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดจันทบุรี คลินิกศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดชลบุรี คลินิกศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ นครราชสีมา คลินิกสำนกั งานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดตราดรายละเอียดดงั ตารางที่ 2 2.1) คลินิกพืช ผู้เข้ารับบริการมีวัตถุประสงค์เพื่อชมนิทรรศการภายในคลินิก คิดเป็นร้อยละ 47.37 รองลงมาคือขอรับเอกสาร/ความรู้ คิดเป็นร้อยละ 45.61 และขอรับปัจจัยการผลิต คิดเปน็ ร้อยละ 7.02 สว่ นการ ได้รับประโยชน์จากการบริการของคลินิกพืชคือ ได้รับความรู้ เท่ากับ ได้รับคำแนะนำการแก้ไขปัญหา คิดเป็นร้อยละ 46.43 รองลงมาคือ ไดร้ บั แจกวัสดุ/ ปัจจัย การผลิต คิดเป็นร้อยละ 7.14 แจกเอกสารทางวิชาการได้แกเ่ ทคโนโลยี การผลิต ทเุ รียนใหม้ ีคุณภาพ ผู้เข้ารับบริการคลินิกพืชได้นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ คิดเป็นร้อยละ 11.54 ผลจากการนำ ความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ทำให้มีผลผลิตเพื่อบริโภค/จำหน่าย คิดเป็นร้อยละ 100 ส่วน

๓ ผู้เข้ารับบริการคลินิกพืชไม่ได้นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ คิดเป็นร้อยละ 88.46 เน่ืองจากต้องการ เท่ียวชมงาน รอ้ ยละ 100 2.2) คลินิกดิน ผู้เข้ารับบริการมวี ัตถุประสงค์เพื่อชมนิทรรศการภายในคลินิก เท่ากับ ขอรับปจั จยั การผลิต คิดเป็นร้อยละ 33.64 รองลงมาคือ ขอรับเอกสาร/ความรู้ คิดเป็นร้อยละ 32.72 ส่วนการได้รับประโยชน์จากการ บรกิ ารของคลนิ กิ ดนิ คอื ได้รับความรู้ท้งั หมดเท่ากบั ไดร้ บั คำแนะนำการแก้ไขปัญหา คิดเป็นร้อยละ 33.33 รองลงมา คือได้รบั แจกวัสด/ุ ปัจจัยการผลิต เช่น น้ำหมักชีวภาพ สารเร่งพด. คิดเปน็ รอ้ ยละ 32.44 และได้รับการแสดงวิธีการ สาธติ คิดเป็นร้อยละ 0.90 ผู้เขา้ รับบริการคลินิกดิน ได้นำความรู้หรอื คำแนะไปใช้ประโยชน์ คิดเป็นร้อยละ 100 ผลจากการนำความรู้ หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ทำให้คุณภาพผลผลิตดีขึ้น คิดเป็นร้อยละ 97.30 ลดการใช้สารเคมี คิดเป็นร้อยละ 2.70 2.3) คลินิกปศุสัตว์ ผู้เข้ารับบริการมีวัตถุประสงค์เพื่อชมนิทรรศการภายในคลินิก คิดเป็นร้อยละ 50.00 ขอรับเอกสาร/ความรู้ คิดเป็นร้อยละ 50.00 และส่วนการได้รับประโยชน์จากการบริการของคลินิกปศุสัตว์ คือ ได้รับความรู้ในการเลี้ยงปศุสัตว์ คิดเป็นร้อยละ 50.00 และ ได้รับคำแนะนำการแก้ไขปัญหา เช่นบริการฉีดวัคซีน ป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าในสุนัข-แมว ผ้าตัดทำหมันและตอนสุนัข-แมว แจกเวชภัณฑ์สำหรับสัตว์ คิดเป็นร้อยละ 50.00 ผเู้ ข้ารับบริการคลินิกปศุสัตว์ ได้นำความรู้หรอื คำแนะนำไปใช้ประโยชน์ คิดเป็นร้อยละ 93.75 ผลจากการ นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ทำให้สุขภาพสัตว์ดีข้ึน/ลดการติดเชื้อ คิดเป็นร้อยละ 100 ส่วนผู้เข้ารับ บรกิ ารคลินิกปศุสัตว์ท่ีไม่ได้นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ คิดเป็นร้อยละ 6.25 เนื่องจากต้องการเที่ยวชม งานเพียงอยา่ งเดียว คดิ เปน็ ร้อยละ 100 2.4) คลนิ ิกประมง ผู้เข้ารับบริการมีวัตถุประสงค์เพ่ือชมนิทรรศการภายในคลินิกมีสัดส่วนเท่ากันกบั ขอรับ เอกสาร/ความรู้ คิดเป็นร้อยละ 34.00 รองลงมาคือ ขอรับปัจจัยการผลิต คิดเป็นร้อยละ 32.00 ส่วนการได้รับ ประโยชน์จากการบริการของคลินิกประมงคือ ได้รับความรู้การเลี้ยงสัตว์น้ำมีสัดส่วนเท่ากันกับได้รับคำแนะนำการ แก้ไขปัญหา คดิ เป็นร้อยละ 34.00 รองลงมาคอื ได้รบั แจกวัสดุ/ปจั จัยการผลิต ได้แก่ พันธุ์ปลาน้ำจดื คิดเป็นรอ้ ยละ 32.00 ผู้เข้ารับบริการคลินกิ ประมง ไดน้ ำความรหู้ รอื คำแนะนำไปใช้ประโยชน์ คิดเป็นรอ้ ยละ 35.29 ผลจากการ นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ทำให้ปญั หาลดลง เช่น เลี้ยงปลาไว้ให้กินลูกน้ำยุงลาย ทง้ั หมดคดิ เป็น คดิ เป็น รอ้ ยละ 100 สว่ นผู้เข้ารับบริการคลินกิ ประมงที่ไม่ได้นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ท้ังหมด คิดเป็นร้อยละ 64.71 เนอ่ื งจากเข้าชมงานอยา่ งเดียว คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 2.5) คลินิกข้าว ผู้เข้ารับบริการมีวัตถุประสงค์เพ่ือชมนิทรรศการภายในคลินิก คิดเป็นร้อยละ 49.15 ขอรับเอกสาร/ความรู้ คิดเป็นร้อยละ 49.15 และขอรับปัจจัยการผลิต คิดเป็นร้อยละ 1.70 ส่วนการได้รับ ประโยชน์จากการบริการของคลินิกข้าวคือ ได้รับความรู้ คิดเป็นร้อยละ 56.86 และได้รับคำแนะนำในการแก้ไข ปญั หา คดิ เป็นรอ้ ยละ 43.14 ผู้เข้ารับบริการคลินิกข้าวไม่ได้นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ คิดเป็นร้อยละ 100 เน่ืองจากต้อง เข้าชมงานอยา่ งเดียว คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100

๔ 2.6) คลินิกชลประทาน ผู้เข้ารับบริการมีวัตถุประสงค์เพื่อชมนิทรรศการภายในคลินิก คิดเป็นร้อยละ 50.00 และได้รับแจกเอกสาร/ความรู้ คิดเป็นร้อยละ 50.00 ส่วนการได้รับประโยชน์จากการบริการของคลินิก ชลประทาน คือ ได้รับความ คิดเป็นร้อยละ 55.56 และไดร้ ับคำแนะนำการแก้ไขปัญหา คดิ เป็นรอ้ ยละ 44.44 ผู้ที่เข้ารับบริการคลินิกชลประทาน ไม่ได้นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ คิดเป็นร้อยละ 100 เน่ืองจากต้องการเขา้ ชมงานอย่างเดยี วทง้ั หมด คดิ เป็นรอ้ ยละ 100.00 2.7) คลินิกบัญชี ผู้เข้ารับบริการมีวัตถุประสงค์เพ่ือชมนิทรรศการภายในคลินิกมีสัดส่วนเท่ากันกับขอรับ เอกสาร/ความรู้ คิดเป็นร้อยละ 36.21 รองลงมาคือ ขอรับปัจจัยการผลิต คิดเป็นร้อยละ 27.58 ส่วนการได้รับ ประโยชน์จากการบริการของคลินิกบัญชี คือการได้รับความรู้เร่ืองการจัดทำบัญชีมีสัดส่วนเท่ากันกับได้รับคำแนะนำ การแก้ไขปัญหา คิดเป็นร้อยละ 36.21 รองลงมาคือ ได้รับแจกวัสดุ/ปัจจัยการผลิต ได้แก่ สมุดรายรับ-รายจ่าย คิด เป็นรอ้ ยละ 27.58 ผู้เข้ารับบริการคลินิกบัญชี ไม่ได้นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 100 เน่ืองจากต้องการเข้าชมงานอย่างเดียว ร้อยละ 94.74 รองลงมาคือ ยังไม่มีเวลาว่างท่ีจะดำเนินการ คิดเป็นร้อยละ 5.26 2.8) คลินิกสหกรณ์ ผู้เขา้ รับบริการมีวัตถุประสงคเ์ พ่ือชมนิทรรศการภายในคลินกิ มีสัดส่วนเท่ากนั กับขอรับ เอกสาร/ความรู้ คิดเป็นร้อยละ 35.14 รองลงมาคือ ขอรับปัจจัยการผลิต คิดเป็นร้อยละ 29.72 ส่วนการได้รับ ประโยชน์จากการบริการของคลินิกสหกรณ์ คือการได้รับความรู้เก่ียวกับสหกรณ์มีสัดส่วนเท่ากันกับได้รับคำแนะนำ การแก้ไขปัญหา คิดเปน็ รอ้ ยละ 35.14 รองลงมาคือ ได้รบั แจกวัสด/ุ ปัจจัยการผลิต ได้แก่ เมล็ดพันธุ์ผัก คดิ เป็นร้อย ละ 29.72 ผู้ท่ีเข้ารับบริการคลินิกสหกรณ์ ไม่ได้นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 100 เนื่องจากตอ้ งการเข้าชมงานอยา่ งเดียวทั้งหมด คิดเป็นรอ้ ยละ 100 2.9) คลินิกกฎหมาย ส.ป.ก. ผู้เขา้ รบั บรกิ ารมีวัตถุประสงค์เพื่อชมนิทรรศการภายในคลินกิ มีสัดส่วนเท่ากัน กับขอรับเอกสาร/ความรู้ คิดเป็นร้อยละ 50 ส่วนการได้รับประโยชน์จากการบริการของคลินิกกฎหมาย ส.ป.ก. คือ การไดร้ บั ความรู้เร่ืองกฎหมายมีสัดสว่ นเทา่ กนั กบั ไดร้ ับคำแนะนำการแกไ้ ขปญั หา คดิ เป็นรอ้ ยละ 50.00 ผู้ที่เข้ารับบริการคลินิกกฎหมาย ส.ป.ก. ไมไ่ ด้นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ท้ังหมด คิดเป็นร้อยละ 100 เนอื่ งจากตอ้ งการเขา้ ชมงานอยา่ งเดยี วทงั้ หมด คิดเป็นร้อยละ 100 2.10) คลินิกหม่อนไหม ผู้เข้ารับบริการมีวัตถุประสงค์เพื่อชมนิทรรศการภายในคลินิกมีสัดส่วนเท่ากันกับ ขอรับเอกสาร/ความรู้ คิดเป็นร้อยละ 50.00 ส่วนการได้รับประโยชน์จากการบริการของคลินิกหม่อนไหม คือการ ได้รับความรู้เรื่องสายพันธุ์หม่อนไหมมีสัดส่วนเท่ากันกับได้รับคำแนะนำการแก้ไขปัญหา คิดเป็นร้อยละ 35.71 รองลงมาคือ ได้รบั แจกวัสด/ุ ปัจจัยการผลติ ไดแ้ ก่ น้ำชาใบหมอ่ นนำ้ ผงึ้ คิดเปน็ ร้อยละ 28.58 ผู้ท่ีเข้ารับบริการคลินิกหม่อนไหม ไม่ได้นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ท้ังหมด ร้อยละ 100 เนอ่ื งจากตอ้ งการเข้าชมงานเพยี งอย่างเดยี วทัง้ หมด คิดเป็นรอ้ ยละ 100 2.11) คลินิกยางพารา ผู้เข้ารับบริการมีวัตถุประสงค์เพ่ือชมนิทรรศการภายในคลินิกมีสัดส่วนเท่ากันกับ ขอรับเอกสาร/ความรู้ คิดเป็นร้อยละ 41.67 รองลงมาขอรับปัจจัยการผลิต คิดเป็นร้อยละ 16.66 ส่วนการได้รับ ประโยชน์จากการบรกิ ารของคลินกิ ยางพาราคือ ได้รับความรู้มีสดั สว่ นเท่ากันไดร้ บั คำแนะนำการแก้ไขปัญหา คดิ เป็น ร้อยละ 41.67 รองลงมาคอื ไดร้ บั แจกวสั ด/ุ ปัจจยั การผลิต ไดแ้ ก่ เอกสารเก่ยี วกับยางพารา คิดเปน็ ร้อยละ 16.66

๕ ผู้ที่เข้ารับบริการคลินิกยางพารา ไม่ได้นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์คิดเป็น ร้อยละ 100 เน่อื งจากมีความประสงค์เข้าชมงานอยา่ งเดียวทง้ั หมด คดิ เปน็ ร้อยละ 100 2.12) คลินิกสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดตราด ผู้เข้ารับบริการมีวัตถุประสงค์เพื่อชมนิทรรศการ ภายในคลินิกมสี ัดส่วนเทา่ กันกบั ขอรบั เอกสาร/ความรู้ คิดเป็นร้อยละ 34.78 รองลงมาขอรบั ปจั จยั การผลิต คิดเป็น ร้อยละ 30.44 ส่วนการได้รับประโยชน์จากการบริการของคลินิกสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดตราด คือ ได้รับความรู้มีสัดสว่ นเท่ากันกับได้รบั คำแนะนำการแก้ไขปัญหา คิดเปน็ ร้อยละ 34.78 รองลงมาคือ ได้รับแจกวัสดุ/ ปจั จยั การผลิต ได้แก่ นำ้ สม้ ควนั ไม้ คดิ เปน็ ร้อยละ 30.44 ผู้เข้ารับบริการคลินิกสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดตราด ได้นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ คดิ เป็นร้อยละ 87.50 ผลจากการนำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ทำให้คุณภาพผลผลิตดีขึ้น คิดเป็นร้อยละ 71.43 รองลงมาคือ การใช้สารเคมีลดลง คิดเป็นร้อยละ 28.57 ส่วนผู้เข้ารบั บริการคลินิกประมงท่ีไม่ได้นำความรู้ หรือคำแนะนำไปใชป้ ระโยชน์ท้งั หมด คดิ เป็นรอ้ ยละ 12.50 เน่ืองจากเขา้ ชมงานอยา่ งเดยี ว คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 2.13) คลินิกศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช ผู้เข้ารับบริการมีวัตถุประสงค์เพ่ือชม นิทรรศการภายในคลินิกมีสัดส่วนเท่ากันกับขอรับเอกสาร/ความรู้ คิดเป็นร้อยละ 45.45 รองลงมาขอรบั ปัจจัยการ ผลิต คิดเป็นร้อยละ 9.10 ส่วนการได้รับประโยชน์จากการบริการของคลินิกศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้าน อารักขาพชื คอื ได้รบั ความรู้มสี ดั ส่วนเท่ากนั กับได้รับคำแนะนำการแก้ไขปัญหา คิดเป็นร้อยละ 50 ผู้ที่เขา้ รับบริการคลินกิ ศนู ย์ส่งเสรมิ เทคโนโลยกี ารเกษตรด้านอารักขาพืช ไมไ่ ด้นำความร้หู รือคำแนะนำไปใช้ ประโยชน์คิดเปน็ คิดเปน็ ร้อยละ 100 เนอื่ งจากมีความประสงค์เข้าชมงานอย่างเดยี วทงั้ หมด คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 2.14) คลินิกศูนย์ส่งเสริมพัฒนาอาชีพการเกษตร จ. จันทบุรี ผู้เข้ารับบริการมีวัตถุประสงค์เพื่อชม นิทรรศการภายในคลินิกมีสัดส่วนเท่ากันกับขอรับปัจจัยการผลิต คิดเป็นร้อยละ 35.71 รองลงมาขอรับเอกสาร/ ความรู้ คดิ เปน็ ร้อยละ 28.58 ส่วนการได้รับประโยชน์จากการบริการของคลินกิ ศูนย์ส่งเสรมิ พัฒนาอาชีพการเกษตร จ. จันทบุรี คือ ได้รับความรู้มีสัดส่วนเท่ากันกับได้รับแจกวัสดุ/ปัจจัยการผลิต ได้แก่ เมล็ดพันธุ์ผัก คิดเป็นร้อยละ 35.71 รองลงมาคือ ได้รับคำแนะนำการแก้ไขปัญหา คดิ เป็นร้อยละ 28.58 ผู้ที่เข้ารับบริการคลินิกศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช ได้นำความรู้หรือคำแนะนำไปใช้ ประโยชน์คิดเป็น คิดเป็นร้อยละ 100 ผลจากการนำความรู้หลังคำแนะนำไปใช้ประโยชน์ทำให้มีผลผลิตบริโภค/ จำหนา่ ย คิดเป็นรอ้ ยละ 100

ตารางที่ 2 การรับบริการและการนำความรู้หรอื คำแนะนำไปใช้ประโยชน์ รายการ พชื ดนิ ปศสุ ตั ว์ ประมง บญั ชี สห 1. วัตถุประสงค์ที่เข้ารบั 33.64 50.00 34.00 36.21 35 32.72 50.00 34.00 36.21 35 บ- รชกิมางราน 47.37 33.64 - 32.00 27.58 29 บ- รขกิอารรบั เอกสาร/ความรู้ 45.61 - --- - ขอรบั ปัจจัยการผลติ 7.02 33.33 33.33 - ขอปรึกษาปญั หา - 0.90 32.44 2. การได้รับประโยชน์ - จากการบรกิ าร 46.43 50.00 34.00 36.21 35 - ได้ความรู้ 100.00 36.21 35 - 50.00 34.00 - ไดร้ บั คำแนะนำการ 46.43 - 29 -- 27.58 แ- กแ้ปสัญดงหวาิธีการสาธิต - - 32.00 - แ- กได้ไข้รับแจกวสั ดุ ปจั จัย 7.14 222- 9.0 - 329.03 - อ่ืนๆ - 3. การนำความรู้หรอื คำแนะนำไปใช้ 11.54 93.75 35.29 - -ปรนะำโไยปชในช์้ 6.25 64.71 100.00 100 - ไม่นำไปใช้ 88.46 ทมี่ า : จากการสำรวจ

คลนิ ิก หนว่ ย: รอ้ ยละ หกรณ์ กฎหมาย หม่อนไหม ยางพารา กษ. อารกั ขาพืช อาชพี การเกษตรจ.จันทบุรี อเกหดอเ 5.14 50.00 50.00 41.67 34.78 45.45 35.71 5.14 50.00 50.00 41.67 34.78 45.45 28.58 9.10 35.71 9.72 - - 16.66 30.44 - - - -- - - 5.14 50.00 35.71 41.67 34.78 50.00 35.71 5.14 50.00 35.71 41.67 34.78 50.00 28.58 --- -- 9.72 - 28.58 16.66 30.44 - - --- -- - 35.71 - - - - - - 87.50 - 100.00 - 0.00 100.00 100.00 100.00 12.50 100.00

2.2 การนำความร้ทู ีไ่ ด้รับไปเผยแพร่/ถ่ายทอด ผู้ที่เขา้ รับบรกิ ารคลินิกเกษตรนำความรู้ไปเผยแพร่/ถา่ ยทอด คิดเป็นรอ้ ยละ 20.00 โดยเฉล่ียแล้วเกษตรกร นำความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอดต่อผู้อ่ืน 73 ราย ส่วนเกษตรกรที่ไม่ได้นำความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอด คิดเป็น รอ้ ยละ 80.00 โดยไม่ได้ถ่ายทอด เนอื่ งจากผู้อ่ืนไปใชบ้ รกิ ารคลนิ ิกเช่นเดยี วกัน คิดเป็นร้อยละ 29.17 รองลงมายัง ไม่มีเวลาว่างที่จะดำเนินการถ่ายทอดมีสัดส่วนเท่ากันกับคิดว่าผู้อ่ืนมีความรู้อยู่แล้ว คิดเป็นร้อยละ 25.00 และจำ คำแนะนำไม่ได้ คดิ เป็นร้อยละ 20.83 ดงั แสดงในตารางท่ี 3 ตารางท่ี 3 การนำความรูท้ ่ีได้รบั ไปเผยแพร/่ ถ่ายทอด รายการ ร้อยละ 1. เผยแพร่ถ่ายทอด 20.00 - จำนวน (จำนวนเฉล่ีย หนว่ ยเป็น ราย) 73 ราย 2. ไมไ่ ด้ถ่ายทอด 80.00 - จำคำแนะนำไม่ได้ 20.83 - ยังไม่มีเวลาว่างทจ่ี ะดำเนินการถ่ายทอด 25.00 - คิดว่าคนอ่ืนมีความรู้อยแู่ ล้ว 25.00 - ผอู้ ื่นไปใชบ้ รกิ ารคลินกิ เชน่ เดียวกัน 29.17 ที่มา : จากการสำรวจ 2.3 ระดับความพึงพอใจทม่ี ีต่อการใหบ้ ริการคลนิ กิ เกษตรเคลอื่ นทฯี่ ผ้เู ข้ารบั บริการคลนิ ิกเกษตรเคล่ือนท่ีมีความพึงพอใจประโยชน์ทไี่ ด้รับจากการเขา้ บริการคลินิกโดยรวมอย่ใู น ระดบั มากที่สดุ เมือ่ แบ่งความพงึ พอใจตามเร่ืองพบว่าผ้เู ข้ารับบรกิ ารคลินิกเกษตรเคลอื่ นทมี่ ีความพงึ พอใจมากท่ีสดุ ใน ด้าน การประชาสัมพันธ์การจัดงาน ( x = 4.12) ความรวดเร็วในการให้บริการ ( x = 4.18) ความเอาใจใส่ของ เจ้าหน้าท่ีในการให้บริการ ( x = 4.03) ส่วนการท่ีความรู้/คำแนะนำ ท่ีได้รับสามารถนำไปแก้ไขปัญหาได้มีความพิง พอใจระดับมาก ( x = 3.93)ความเหมาะสมของสถานที่จดั งาน ( x = 4.60) ความเหมาะสมของระยะเวลาการจดั งาน ( x = 4.32) และการไดร้ บั ประโยชน์จากการเขา้ รบั บรกิ ารคลนิ ิก ( x = 4.20) ตารางที่ 4 ระดบั ความพึงพอใจต่อการบรกิ ารของเจา้ หน้าท่ี รายการ ระดับความพึงพอใจ คะแนน ความหมาย เฉล่ีย มากที่สดุ มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยที่สุด (x) 1.) การประชาสัมพันธ์ 23.33 41.67 35.00 - - 4.12 มาก การจัดงาน 2.) ความรวดเรว็ ในการ 36.67 45.00 18.33 - - 4.18 มาก ให้บริการ 3.) ความเอาใจใส่ของ 38.33 26.67 35.00 - - 4.03 มาก เจ้าหนา้ ท่ใี นการให้บริการ

๘ 4.) ความร้/ู คำแนะนำ ท่ี 28.33 36.67 35.00 - - 3.93 มาก ได้รับสามารถนำไปแก้ไข ปัญหาได้ 5.) ความเหมาะสมของ 70.00 20.00 10.00 - - 4.60 มากทส่ี ดุ สถานท่จี ดั งาน 6.) ระยะเวลาการจดั งาน 51.67 30.00 16.67 1.66 - 4.32 มากทีส่ ุด 7.) ประโยชนท์ ่ไี ด้รับจาก 41.67 36.67 21.67 1.66 - 4.20 มาก การเขา้ รับบริการคลินิก หมายเหตุ : คะแนนเฉลี่ย ( x ) 5.00 - 4.21 หมายถึง มากทสี่ ุด 4.20 - 3.41 หมายถงึ มาก 3.40 - 2.61 หมายถงึ ปานกลาง 2.60 - 1.81 หมายถงึ นอ้ ย 1.80 - 1.00 หมายถงึ นอ้ ยที่สดุ 2.4 การเข้าชมนทิ รรศการเฉลิมพระเกยี รติฯ และระดับความพึงพอใจทีม่ ีตอ่ การจดั นทิ รรศการเฉลิมพระเกียรติฯ ผู้เข้ารับบริการคลินิกเคล่ือนที่ เข้าชมนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯ คิดเป็นร้อยละ 36.67 ท่ีเหลือไม่ได้เข้า ชมนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯ คิดเป็นร้อยละ 63.33 เนื่องจากไม่ทราบว่ามีการจัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯ และไมค่ อ่ ยมีเวลาเกษตรกรมาร่วมงานมาก 2.5 ระดับความพึงพอใจทีม่ ีต่อการจดั นิทรรศการเฉลิมพระเกียรตฯิ ในส่วนของผู้ท่ีเข้าชมนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯ นั้น มีความพึงพอใจที่มีต่อการจัดนิทรรศการเฉลิมพระ เกียรติฯ ในระดับมากท่ีสุดด้าน รูปแบบการจัดนิทรรศการ ( x = 4.19) เนื้อหาสาระของการจัดนิทรรศการ ( x = 4.29) ความน่าสนใจของนิทรรศการ ( x = 4.14) ส่วนการให้บริการของเจ้าหน้าท่ีประจำจุดนิทรรศการ ( x = 3.95) มคี วามพงึ พอใจ ดงั ตารางท่ี 5 ตารางที่ 5 ระดบั ความพึงพอใจที่มตี ่อการจัดนทิ รรศการเฉลิมพระเกยี รติฯ รายการ ระดับความพึงพอใจ คะแนน เฉล่ีย 1.) รปู แบบการจดั มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่ีสดุ ความหมาย นทิ รรศการ (x) มาก 28.57 61.90 9.52 - - 4.19 2.) เนอื้ หาสาระ 33.33 61.90 4.76 - - 4.29 มากท่ีสดุ 3.) ความน่าสนใจของ 33.33 47.62 19.05 - - 4.14 มาก นิทรรศการ

๙ 4.) การใหบ้ รกิ ารของ 28.57 47.62 19.05 - 4.76 3.95 มาก เจา้ หน้าทปี่ ระจำจดุ นทิ รรศการ หมายเหตุ : คะแนนเฉลย่ี ( x ) 5.00 - 4.21 หมายถงึ มากทส่ี ุด 4.20 - 3.41 หมายถงึ มาก 3.40 - 2.61 หมายถงึ ปานกลาง 2.60 - 1.81 หมายถงึ น้อย 1.80 - 1.00 หมายถึง น้อยท่สี ดุ 2.6 ประโยชนท์ ีไ่ ด้รับจากการชมนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯ ผู้ที่เขา้ ชมนิทรรศการเฉลมิ พระเกยี รตฯิ ได้รบั ประโยชน์จากการเข้าชมนิทรรศการเฉลิมพระเกยี รติ โดยได้นำ พระบรมราโชวาทไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 54.05 การนำความรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำวนั คิดเปน็ รอ้ ยละ 45.95 ดังแสดงในตารางที่ 6 ตารางท่ี 5 ประโยชนท์ ่ีได้รบั จากการชมนิทรรศการเฉลมิ พระเกยี รติฯ ร้อยละ รายการ 54.05 - ประโยชน์ทไี่ ด้รบั จากการชมนิทรรศการเฉลมิ พระเกียรตฯิ - นำนำพระบรมราโชวาทไปปรับใชใ้ นชวี ิตประจำวัน 45.95 - ทำเปน็ อาชีพเสริม - - นำความร้เู ร่ืองเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกตใ์ ช้ - - ลดรายจา่ ยในครัวเรอื น - - เพมิ่ รายได้ใหก้ บั ครัวเรือน - อื่นๆ ท่มี า : จากการสำรวจ 2.7 ความต้องการใหจ้ ดั งานคลินิกเกษตรเคลื่อนท่ีอีก ผู้เข้าร่วมงานคลินิกเกษตรเคลื่อนท่ี ต้องการให้มีการจัดงานคลินิกเกษตรเคลื่อนท่ีอีกคิดเป็นท้ังหมด คิดเป็น รอ้ ยละ 100 โดย ต้องการใหม้ กี ารจัดงานในรปู แบบเดิมเหมือนครัง้ นี้ คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 2.8 มเี จา้ หนา้ ทส่ี ง่ เสริม ให้คำแนะนำหลังจากรับบริการคลนิ ิกหรือไม่ จากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างผู้เข้าร่วมงานคลินิกเกษตรเคล่ือนท่ี พบว่า ไม่มีเจ้าหน้าที่มาส่งเสริม ให้ คำแนะนำหลังจากรับบริการคลินิกเกษตรเคลื่อนท่ี คิดเป็นทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 100 เน่ืองจากเป็นการให้บริการ เบ็ดเสรจ็ ณ สถานทจ่ี ดั งาน 2.9 การจำหนา่ ยสินคา้ ของกลมุ่ แม่บ้าน และวิสาหกจิ ชุมชนจากอำเภอตา่ งๆ ภายในจงั หวัด ผู้เข้าร่วมงานคลินิกเกษตรเคล่ือนที่ได้ซ้ือสินค้าของกลุ่มแม่บ้าน และวิสาหกิจชุมชนจากอำเภอต่างๆ คดิ เป็น ร้อยละ 13.33 โดยเป็นสินค้าบริโภค เช่น อาหารและเครื่องด่ืม ส่วนผู้เข้าร่วมงานคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ไม่ได้ซื้อ สินค้าจำหน่ายภายในงาน คิดเป็นร้อยละ 86.67 โดยสาเหตุเนื่องจาก เป็นสินค้าเดิมๆ ไม่น่าสนใจ และบางราย ต้องการเขา้ ชมงานเทา่ นนั้

๑๐ 2.10 ปญั หาท่ีจะนำมาปรึกษาในการเข้ารบั บรกิ ารคลินกิ เกษตรในครง้ั ตอ่ ไป ผู้เข้าร่วมงานคลินิกเกษตรเคลื่อนท่ีมีปัญหาท่ีจะนำมาปรึกษาในการเข้ารับบริการคลินิกเกษตรในคร้ังต่อไป ทงั้ หมด คิดเปน็ รอ้ ยละ 8.33 เช่น เรื่อง ศัตรูพืชใหม่ ๆ โรคพืช การทำหมันสุนัข การเล้ียงไก่ และการเล้ียงปลา ส่วน ผู้เขา้ ร่วมงานคลินกิ เกษตรเคล่อื นท่ีไม่มีปัญหาที่จะนำมาปรึกษาในการเขา้ รับบริการคลนิ ิกเกษตรในครั้งต่อไปทั้งหมด คดิ เป็นรอ้ ยละ 91.67 2.11 ปญั หาและขอ้ เสนอแนะ - ปจั จยั การการแจกของใหเ้ กษตรกรนอ้ ยเกินไปเกษตรกรบางรายไปแล้วไม่ได้รับ - การประชาสัมพันธก์ ารจัดงานน้อยเกินไปทำให้เกษตรกรบางรายไม่ทราบ - หน่วยงานในการร่วมงานโครงการคลินกิ เกษตรน้อย - ควรจดั เจา้ หน้าที่เพม่ิ ความรู้ให้กับเกษตรกรมากขน้ึ -ระยะเวลาการจดั งานนอ้ ยเกนิ ไปทำใหเ้ กษตรกรมาไม่ทันการจัดงาน 2.12 ขอ้ คิดเหน็ - ควรเพม่ิ ของแจกให้กบั เกษตรกรใหพ้ อเพียงและควรมกี ารจัดบัตรควิ -ควรเพม่ิ การประชาสมั พนั ธใ์ นการจัดงานล่วงหน้า 1 อาทติ ย์ -ควรจัดเจ้าหน้าท่ีต้อนรับแนะนำให้กับเกษตรกรท่ีมาร่วมงาน เช่นมีการแนะนำให้เกษตรกรทำการเกษตร แบบครบวงจร เพ่มิ ความรเู้ รือ่ งดินและใหค้ ำแนะนำเร่ืองโรคพืชให้กับเกษตรกร และการการใหค้ วามรู้ตอ่ เนื่อง - ควรใหม้ ีการบริการในการทำหมันสุนัข-แมว ท่ีบ้าน เม่ือเกษตรกรไม่สามารถมานำสนุ ัข-แมว มาใช้บริการที่ มกี ารจดั งานได้ดว้ ยตันเอง -ควรเพมิ่ ระยะเวลาในการจดั งานให้กบั เกษตรกรที่มาร่วมงาน …………………………………………………