82 ภาพท่ี 37 แสดงพน้ื ที่มันสาปะหลังไมเ่ หมาะสม (N) ปรบั เปลย่ี นเป็นลาไย จงั หวดั สระแก้ว ตาพระยา เมือง วัฒนานคร โคกสงู เขาฉกรรจ์ อรัญประเทศ วังน้าเยน็ คลองหาด วงั สมบรู ณ์ แหลง่ ขอ้ มูล : http://agri-map-online.moac.go.th แนวทางการปรับเปล่ียนพื้นที่ปลูกมันสาปะหลังไม่เหมาะสม (N) จังหวัดสระแก้ว ซ่ึงมีพื้นท่ี 27,276 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 4.29 ของพ้ืนที่การปลูกมันสาปะหลังท้ังหมด และการผลิตในพื้นที่ดังกล่าว เกษตรกรขายทุนไร่ละ 369.93 บาท หากเกษตรกรปลูกพืชทดแทนที่สาคัญๆ เช่น อ้อย มะม่วง และลาไย เกษตรกรจะได้รับผลตอบแทน ดังน้ี (2.1) อ้อยโรงงาน จากพ้ืนที่ปลูกมันสาปะหลังไม่เหมาะสม (N) 27,276 ไร่ สามารถ ปรับเปลี่ยนเพ่ือปลูกอ้อยโรงงาน ซ่ึงเป็นในพ้ืนท่ีเหมาะสม (S1 และ S2) 20,856 ไร่ หรือร้อยละ 76.46 โดย กระจายไปได้ใน 7 อาเภอ อาเภอท่ีเหมาะสมมากทสี่ ุด คือ อาเภอเมือง สามารถปรับเปล่ียนพื้นท่ีมันสาปะหลัง ไม่เหมาะสม (N) เป็นพื้นที่ปลูกอ้อยท่ีเหมาะสม (S) ได้ 11,568 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 55.45 ของพื้นท่ีท่ี สามารถปรับเปลี่ยนได้ รองลงมาคือ อาเภอตาพระยา (21.89%) วัฒนานคร (20.25%) วังสมบูรณ์ (1.10%) วังน้าเย็น (1.09%) อรัญประเทศ (0.17%) และเขาฉกรรจ์ (0.02%) ของพ้ืนท่ีที่สามารถปรับเปล่ียนเป็นพื้นท่ี ปลูกอ้อยได้ ได้ การปลูกออ้ ยโรงงานทดแทนพน้ื ทีป่ ลูกมนั สาปะหลังไม่เหมาะสม (N) จะมีต้นทุนการผลิตไร่ ละ 7,639.63 บาท เกษตรกรจะมีรายได้ไร่ละ 9,231.68 บาท หรือกาไรไร่ละ 1,592.50 บาท มากกว่ามัน สาปะหลงั ทีเ่ กษตรกรขาดทุนไร่ละ 369.93 บาท
83 ตารางที่ 40 เปรยี บเทียบ ตน้ ทุนการผลิต ผลตอบแทน มนั สาปะหลงั ไมเ่ หมาะสม (N) เปน็ อ้อยโรงงาน รายการ มนั สาปะหลัง อ้อยโรงงาน ส่วนตา่ ง หมายเหตุ (N) (S1&S2) ตน้ ทนุ ผันแปร (บาท/ไร)่ 4,193.49 5,360.95 1,167.46 ต้นทุนคงท่ี (บาท/ไร)่ 1,129.07 2,278.68 1,149.61 ต้นทนุ (บาท/ไร)่ 5,322.56 7,639.63 2,317.07 ผลผลติ (กก./ไร)่ 3,154.54 11,640.00 ราคาทีเ่ กษตรกรขายได้ (บาท/กก.) 1.57 0.79 รายได้ (บาท/ไร)่ 4,952.63 9,231.68 4,279.06 กาไรสทุ ธิ (บาท/ไร่) -369.93 1,592.05 1,961.99 ท่มี า : จากการสารวจ สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 6 (2.2) มะม่วง จากพ้ืนทปี่ ลกู มันสาปะหลงั ไม่เหมาะสมจังหวดั สระแก้ว 27,276 ไร่ สามารถปรับเปล่ียนเพ่ือปลูกมะม่วง (ใช้เกณฑ์พื้นท่ีเหมาะสมไม้ผล) และเป็นในพื้นที่เหมาะสม (S) รวม 465 ไร่ หรือคิดเปน็ ร้อยละ 1.71 จากพ้ืนทีม่ นั สาปะหลังท่ีไมเ่ หมาะสม(N) โดยกระจายไปใน 3 อาเภอ โดยอาเภอท่ี เหมาะสมมากทสี่ ุด คือ อาเภอวงั สมบรู ณ์ 230 ไร่ หรอื คิดเปน็ ร้อยละ 49.39 ของพ้ืนที่ท่ีสามารถปรับเปลี่ยนได้ รองลงมาคือ อาเภอวังน้าเยน็ (48.97%) และเขาฉกรรจ์ (1.64%) ของพ้ืนที่ท่ีสามารถปรับเปลี่ยนเป็นการปลูก มะม่วงในพน้ื ทเี่ หมาะสม (S) ได้ การปลกู มะมว่ งทดแทนพืน้ ท่ีการปลูกมันสาปะหลังไม่เหมาะสม (N) จะมีต้นทุนการ ผลิตไร่ละ 18,890.86 บาท เกษตรกรจะมีรายได้ไร่ละ 53,659.14 บาท หรือกาไรไร่ละ 34,757.70 บาท มากกวา่ มนั สาปะหลงั ที่เกษตรกรขาดทุนไร่ละ 369.93 บาท ตารางท่ี 41 เปรียบเทยี บ ตน้ ทนุ การผลิต ผลตอบแทน มันสาปะหลัง (N) เป็นมะมว่ ง รายการ มันสาปะหลงั มะมว่ ง ส่วนต่าง หมายเหตุ (N) (S1&S2) ตน้ ทุนผันแปร (บาท/ไร)่ 4,193.49 15,730.80 11,537.31 ตน้ ทนุ คงท่ี (บาท/ไร)่ 1,129.07 3,160.06 2,030.99 ต้นทนุ (บาท/ไร)่ 5,322.56 18,890.86 13,568.30 ผลผลติ (กก./ไร)่ 3,154.54 1,256.36 ราคาที่เกษตรกรขายได้ (บาท/กก.) 1.57 42.71 รายได้ (บาท/ไร)่ 4,952.63 53,659.14 48,706.51 กาไรสทุ ธิ (บาท/ไร่) -369.93 34,768.28 51,355.25 ทมี่ า : จากการสารวจ สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 6 (2.3) ลาไย จากพื้นที่ปลูกมันสาปะหลังไม่เหมาะสม (N) 27,276 ไร่ สามารถปรับเปล่ียน เพอื่ ปลูกลาไย และเป็นในพ้ืนที่เหมาะสม (S1 และ S2) 26,881 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 98.95 โดยกระจาย ไปใน 8 อาเภอ โดยอาเภอที่เหมาะสมมากท่ีสุด คือ อาเภอเมือง 12,865 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 47.68 ของ พื้นท่ี ท่ีสามารถปรับเปล่ียนได้ รองลงมาคืออาเภอวัฒนานคร (25.92%) ตาพระยา (16.98%) เขาฉกรรจ์
84 (4.03%) วังน้าเย็น (3.74%) วังสมบูรณ์ (0.86%) คลองหาด (0.48%) และอรัญประเทศ (0.13%) ของพื้นท่ี ปลกู มนั ไม่เหมาะสม(N) ท่สี ามารถปรบั เปลี่ยนเพือ่ ปลกู ลาไยได้ โดยทีก่ ารปลูกลาไยทดแทนพน้ื ทม่ี นั สาปะหลังไม่เหมาะสม (N) เกษตรกรมตี ้นทุน การผลิตไร่ละ 6,722.30 บาท ซ่ึงเกษตรกรจะมีรายได้ไร่ละ 40,480 บาท หรือกาไรไร่ละ 33,757.70 บาท มากกวา่ มันสาปะหลงั ที่เกษตรกรขาดทนุ ไร่ละ 369.93 บาท ตารางท่ี 42 เปรยี บเทียบ ตน้ ทนุ การผลติ ผลตอบแทน มนั สาปะหลังไม่เหมาะสม (N) เป็นลาไย รายการ มันสาปะหลงั ลาไย ส่วนต่าง หมายเหตุ (N) (S1&S2) ตน้ ทุนผนั แปร (บาท/ไร)่ 4,193.49 4,653.17 459.68 ตน้ ทุนคงท่ี (บาท/ไร)่ 1,129.07 2,069.13 940.06 ต้นทนุ (บาท/ไร)่ 5,322.56 6,722.30 1,399.74 ผลผลติ (กก./ไร)่ 3,154.54 1,012.00 ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ (บาท/กก.) 1.57 40.00 รายได้ (บาท/ไร)่ 4,952.63 40,480.00 35,527.37 กาไรสุทธิ (บาท/ไร่) -369.93 33,757.70 34,127.63 ที่มา : ตน้ ทุนการผลิตมันสาปะหลงั จากการสารวจ สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 6 ตน้ ทนุ การผลิตลาไย ใชต้ น้ ทนุ การผลิตระดบั ประเทศ ปี 2559
บทที่ 4 สรุป ข้อเสนอแนะ 4.1 สรุปสถานการณ์การผลติ สนิ คา้ เกษตรท่สี าคัญจงั หวัดสระแกว้ 4.1.1 สถานการณ์การผลติ ขา้ ว ปี 2558 จังหวดั สระแก้วมีพืน้ ท่คี วามเหมาะสม (S) ในการปลูกข้าวท้งั หมด 988,253 ไร่ และ ประมาณการว่าพ้ืนทป่ี ลกู ข้าวจงั หวัดสระแกว้ มี 853,993 ไร่ โดยปลกู ในพน้ื ทคี่ วามเหมาะสม (S) 555,885 ไร่ หรือคดิ เป็นร้อยละ 65.09 ของพนื้ ท่ีปลกู ปลูกในพ้นื ท่ีความเหมาะสมน้อย (S3) 39,136 ไร่ หรอื ร้อยละ 5.58 และปลกู ในพืน้ ที่ไมเ่ หมาะสม (N) 258,972 ไร่ หรือร้อยละ 30.20 ของพน้ื ท่ปี ลกู ข้าว (ข้อมูลกรมพฒั นาทด่ี ิน (2558) http://agri-map-online.moac.go.th) โดยพนั ธขุ์ ้าวท่ีปลกู มากที่สดุ คือ ขา้ วขาวดอกมะลิ 105 โดย ปลูกรอ้ ยละ 76.59 รองลงมา คอื พนั ธุร์ าชการทไ่ี วต่อแสง รอ้ ยละ 10.07 พันธุร์ าชการท่ีไมไ่ วต่อแสง ร้อยละ 9.14 พันธ์ุ กข.6 ร้อยละ 2.02 พันธ์พุ ื้นเมือง รอ้ ยละ 1.83 และพันธ์ปุ ทมุ ธานี 1ร้อยละ 0.35 และสานกั งาน เศรษฐกจิ การเกษตรที่ 6 ได้สารวจต้นทนุ การผลติ ข้าวขาวดอกมะลิ 105 (หอมมะลิ) ทง้ั ในพน้ื ที่เหมาะสมและ ไม่เหมาะสม พบว่าต้นทุนและผลตอบแทนในการผลติ ขา้ วหอมมะลิในพื้นทีเ่ หมาะสม (S) มีต้นทุนการผลิต ทั้งหมด (TC) 3,683.11 บาทตอ่ ไร่ โดยเป็นต้นทนุ ผันแปร (TVC ) 2,598.53 บาทต่อไร่ หรือคดิ เป็นร้อยละ 70.55 และต้นทนุ คงท่ี (TFC ) 1,084.57 บาทต่อไร่ และเม่ือพิจารณาถึงผลตอบแทนจากราคาท่เี กษตรกรขาย ได้ ณ ไรน่ า 7.12 บาทต่อกโิ ลกรมั เกษตรกรจะมรี ายได้ 2,330.87 บาทต่อไร่ ดังน้นั จะขาดทุน 1,352.24 บาทต่อไร่ สาหรับตน้ ทนุ และผลตอบแทนในพน้ื ที่ไม่เหมาะสม (N) เกษตรกรมตี น้ ทนุ การผลติ เฉล่ยี (TC) 3,956.54 บาทต่อไร่ โดยเปน็ ต้นทนุ ผนั แปร (TVC ) 2,762.42 บาทตอ่ ไร่ และต้นทนุ คงท่ี (TFC ) 1,194.11 บาทต่อไร่ ผลผลติ เฉล่ยี 323.59 กิโลกรัมต่อไร่ เม่ือพิจารณาถึงผลตอบแทนจากราคาท่ีเกษตรกรขายได้ ณ ไร่ นา 7.12 บาทต่อกโิ ลกรมั เกษตรกรจะมรี ายได้ 2,303.89 บาทต่อไร่ ดังนนั้ เกษตรกรจะขาดทุน 1,652.65 บาทต่อไร่ ซึ่งหากเกษตรกรปลูกพืชทดแทนที่สาคัญๆ เช่น ออ้ ย มะม่วง ลาไย และการปลกู หญ้าเนเปยี ร์ เกษตรกรจะได้รบั ผลตอบแทน ดังนี้ การปลูกอ้อยทดแทนพื้นที่นาไม่เหมาะสม (N) จะมีต้นทุนการผลิตไร่ละ 7,639.63 บาทต่อ ไร่ ซง่ึ เกษตรกรมีรายได้ไร่ละ 9,231.68 บาท หรอื กาไรไร่ละ 1,592.50 บาท มากกว่าการปลูกข้าวที่เกษตรกร ขาดทนุ ไรล่ ะ 1,379.21 บาท การปลกู มะม่วงทดแทนพื้นท่ีนาไม่เหมาะสม (N) จะมีต้นทุนการผลิตไร่ละ 18,890.86 บาท ซ่ึงเกษตรกรจะมีรายได้ไร่ละ 53,659.14 บาทต่อไร่ หรือกาไรไร่ละ 34,757.70 บาท มากกว่าการปลูกข้าวท่ี เกษตรกรขาดทนุ ไรล่ ะ 1,379.21 บาท การปลูกลาไยทดแทนพื้นท่ีนาไม่เหมาะสม (N) เกษตรกรจะมีต้นทุนการผลิต ไร่ละ 18,890.86 บาท ซึ่งเกษตรกรจะมีรายได้ไร่ละ 53,659.11 บาทต่อไร่ หรือกาไรไร่ละ 34,768.28 บาท มากกวา่ การปลกู ข้าวทเี่ กษตรกรขาดทุนไรล่ ะ 1,379.21 บาท การปลกู หญา้ เนเปยี ร์ ทดแทนพื้นทีน่ าไม่เหมาะสม (N) จะมตี น้ ทุนการผลติ ไร่ละ 20,763.45 บาท ซ่ึงเกษตรกรจะมีรายได้ไร่ละ 70,571.33 บาทต่อไร่ หรือกาไรไร่ละ 49,807.88 บาท มากกว่าการ ปลูก ข้าวทีเ่ กษตรกรขาดทุนไร่ละ 1,379.21 บาท ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย (1) ในพื้นที่ S1,S2 ควรมีการถ่ายทอดความรู้การใช้พ้ืนที่ตามความ เหมาะสม Zoning By Agi-Map สร้างกระบวนการขับเคล่อื นแบบแปลงใหญ่ ส่งเสริมงานวิจัยด้านพัฒนาพันธ์ุ สนับสนุนให้ได้มาตรฐาน GAP จนถึงอินทรีย์ ส่งเสริมให้มีการใช้นวัตกรรมเพ่ือสร้างมูลค่าเพิ่ม และถ่ายทอด องค์ความรู้ผ่าน ศพก./ปราชญ์ และ (2) ส่วนพื้นท่ี S3 และ N ที่เป็นแหล่งผลิตเพ่ือบริโภคในครัวเรือน ก็ทา การผลติ ตอ่ ไป ในแหล่งผลิตเพือ่ การคา้ ควรปรับเปลี่ยนไปปลกู พชื อ่นื ทใ่ี ห้ผลตอบแทนดีกว่า เช่น อ้อยโรงงาน
86 มะม่วง ลาไย หรือ หญ้าเนเปียร์ และการเลี้ยงปศุสัตว์ (โคเนื้อ/แพะ) ตามโครงการท่ีรัฐบาลโดยกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ที่ต้องการผลักดันให้จังหวัดสระแก้วเป็นเมืองโคบาลบูรพา ท่ีคณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติ เห็นชอบแนวทางดาเนินงานโครงการแล้ว และอนุมัติงบกลาง จานวน 1,028.40 ล้านบาท เมื่อวันท่ี 6 มิถุนายน 2560 4.1.2 สถานการณ์การผลิตมันสาปะหลัง ในเขตพ้ืนที่เหมาะสม (S) ได้ผลผลิตเฉล่ีย 3,317.29 กิโลกรัมต่อไร่ โดยเกษตรกรมีต้นทุนการผลิตเฉล่ีย (TC) 5,803.83 บาทต่อไร่ เป็นต้นทุนผันแปร (TVC ) 4,530.02 บาทต่อไร่ หรือร้อยละ 78.05 และต้นทุนคงท่ี (TFC) 1,273.81 บาทต่อไร่ หรือร้อยละ 21.91 ราคา ณ ไร่นา 1.57 บาทต่อกิโลกรัม เกษตรกรจะมีรายได้ 5,208.15 บาทต่อไร่ ดังนั้นเกษตรกร ขาดทนุ 595.68 บาทตอ่ ไร่ สว่ นในพืน้ ทไ่ี ม่เหมาะสม (N) ผลผลติ เฉล่ีย 3,154.34 กิโลกรัมต่อไร่ เกษตรกรมี ต้นทุนการผลิต(TC) 5,322.56 บาทต่อไร่ เป็นต้นทุนผันแปร (TVC ) 4,193.49 บาทต่อไร่ หรือร้อยละ 78.79 และต้นทุนคงท่ี (TFC) 1,129.07 บาทต่อไร่ หรือร้อยละ 21.21 เกษตรกรจะมีรายได้ 4,952.31 บาท ต่อไร่ ดงั นั้นเกษตรกรขาดทุน 370.25 บาทต่อไร่ หากเกษตรกรปลูกพืชทดแทนท่ีสาคัญๆ เช่น อ้อย มะม่วง และลาไย เกษตรกรจะไดร้ ับผลตอบแทน ดงั น้ี การปลูกอ้อยโรงงานทดแทนพื้นที่ปลูกมันสาปะหลังไม่เหมาะสม (N) จะมีต้นทุนการผลิตไร่ ละ 7,639.63 บาท เกษตรกรจะมีรายได้ไร่ละ 9,231.68 บาท หรือกาไรไร่ละ 1,592.50 บาท มากกว่ามัน สาปะหลังท่เี กษตรกรขาดทนุ ไรล่ ะ 369.93 บาท การปลูกมะมว่ งทดแทนพ้ืนทกี่ ารปลกู มันสาปะหลงั ไมเ่ หมาะสม (N) จะมีต้นทุนการผลิตไร่ละ 18,890.86 บาท เกษตรกรจะมีรายได้ไร่ละ 53,659.14 บาท หรือกาไรไร่ละ 34,757.70 บาทมากกว่ามัน สาปะหลังทเ่ี กษตรกรขาดทนุ ไร่ละ 369.93 บาท การปลูกลาไยทดแทนพืน้ ทม่ี นั สาปะหลังไม่เหมาะสม (N) เกษตรกรมตี ้นทุน การผลิตไร่ละ 6,722.30 บาท ซ่ึงเกษตรกรจะมีรายได้ไร่ละ 40,480 บาท หรือกาไรไร่ละ 33,757.70 บาท มากกว่ามันสาปะหลังทเ่ี กษตรกรขาดทนุ ไร่ละ 369.93 บาท ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย (1) ในพื้นท่ี S1,S2 ต้องถ่ายทอดความรู้ Zoning By Agi-Map สร้างกระบวนการขับเคล่ือนแบบแปลงใหญ่ เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตโดยลดต้นทุนการผลิต ส่งเสริม งานวิจัยด้านพัฒนาพันธุ์ส่งเสริมให้มีการใช้นวัตกรรมเพื่อสร้างมูลค่าเพ่ิม และทา MOU กับผู้ประกอบการ ส่วนในพ้ืนท่ี S3 , N ควรมีการปรับเปล่ียนไปปลูกพืชที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่า เช่น อ้อยโรงงาน มะม่วง และ ลาไย 4.1.3 สถานการณ์การผลิตอ้อยโรงงาน จังหวัดสระแก้วมีผลผลิตอ้อยโรงงานปีละ 3,371,704 ตัน แต่ยังไม่เพียงพอกับความต้องการโรงงานในพ้ืนท่ี และผลตอบแทนในการผลิตในพื้นที่ เหมาะสม (S) ได้ผลผลิตเฉล่ีย 11.64 ตันต่อไร่ ต้นทุนการผลิต (TC) 8,824.28 บาทต่อไร่ เป็นต้นทุนผัน แปร (TVC) 7,313.51 บาทตอ่ ไร่ หรือรอ้ ยละ 82.88 และต้นทุนคงที่ (TFC) 1,510.77 บาทต่อไร่ หรือร้อยละ 17.12 ราคา ณ ไร่นา 793.10 บาทต่อตัน และมีรายได้ 9,233.20 บาทต่อไร่ ดังนั้นมีกาไร 408.92 บาท ต่อไร่ ส่วนในพื้นทไ่ี มเ่ หมาะสม (N) ผลผลิตเฉลย่ี 11.28 ตันต่อไร่ ต้นทุนการผลิต (TC) 8,411.63 บาทต่อ ไร่ เป็นต้นทุนผนั แปร (TVC) 6,848.47 บาทต่อไร่ หรือร้อยละ 81.42 ต้นทุนคงท่ี (TFC) 1,563.16 บาทต่อ ไร่ หรือรอ้ ยละ 18.58 รายได้ 8,942.71 บาทต่อไร่ หรือมกี าไร 531.08 บาทตอ่ ไร่ ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย (1) ในพ้ืนที่ S1,S2 ถ่ายทอดความรู้ Zoning By Agi-Map สร้าง กระบวนการขับเคล่ือนแบบแปลงใหญ่ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโดยลดต้นทุนการผลิต ส่งเสริมงานวิจัย ด้านพัฒนาพันธ์ุ และทา MOU กับผู้ประกอบการโรงงานน้าตาล ส่วนในพ้ืนท่ี S3 , N ควรมีการปรับเปล่ียน ไปปลกู พืชที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่า
87 4.1.4 สถานการณ์การผลิตมะม่วง มะม่วงเป็นพืชเศรษฐกิจท่ีทารายได้เป็นอันดับที่ 6 ของ จังหวัดสระแก้ว เป็นสินค้าเด่นที่น่าจับตามองของจังหวัด ปี พ.ศ.2558 มีมูลค่า 249 ล้าน จากข้อมูลกรม ส่งเสริมการเกษตร ปี 2560 คาดว่าจังหวัดสระแก้ว มีพ้ืนที่ปลูกมะม่วง 10,314 ไร่ ผลผลิต 9,900.60 ตัน และเนื่องจากมะม่วงไม่มีพื้นที่ความเหมาะสมในการปลูกโดยตรง สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 6 จึงได้ จัดเก็บตน้ ทุนการผลิตโดยไมแ่ บง่ ตามพน้ื ทีร่ ะดบั ความเหมาะสม โดยการเก็บข้อมูลต้นทุนการผลิต พบว่าได้ผล ผลิต 1,256.36 กิโลกรัมไร่ และมีต้นทุนการผลิต (TC) 18,890.86 บาทต่อไร่ โดยเป็นต้นทุนผันแปร (TVC) 15,730.80 บาทต่อไร่ หรือร้อยละ 83.27 และต้นทุนคงที่ (TFC) 3,160.06 บาทต่อไร่ หรือร้อยละ 16.73 ราคา ณ ไรน่ า 42.71 บาทต่อกิโลกรมั เกษตรกรจะมรี ายได้ 53,659.14 บาทตอ่ ไร่ ดงั นนั้ เกษตรกรจะมีกาไร 34,768.28 บาทตอ่ ไร่ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย(1) ในพื้นที่ S1,S2 ถ่ายทอดความรู้ Zoning By Agi-Map เพิ่ม ประสิทธภิ าพการผลิตโดยลดต้นทนุ การผลติ ส่งเสริมงานวิจยั ดา้ นพัฒนาพนั ธุ์ สร้างแบรนด์ของจังหวดั 4.1.5 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมจงั หวดั สระแก้ว การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมด้านการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัด จากการระดมความ คดิ เห็นสรุปการวเิ คราะห์ศักยภาพทางการเกษตรของจังหวัดสระแก้ว ดงั นี้ (1) การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน จดุ แขง็ (Strengths : S) (1) จังหวัดสระแก้ว ตั้งอยู่ในทาเลท่ีมีลักษณะทางภูมิศาสตร์และกายภาพท่ีดี เป็นปัจจัย เกื้อหนุนทาให้การผลิตได้เปรียบมากขึ้น ประกอบกับมีลักษณะโครงสร้างทางกายภาพ (ดิน) ท่ีดี พื้นที่มีความ เหมาะสมในการทาการเกษตรไดห้ ลากหลาย ทงั้ ข้าว พชื ไร่ และไม้ผล (2) จังหวัดสระแก้วมีสินค้าเกษตรและปศุสัตว์ท่ีทาการผลิตในพ้ืนที่ เกษตรกรมีทักษะและ ความชานาญ ทาให้มีผลตอบแทนสงู กว่าการปลกู ขา้ วในพื้นทไี่ ม่เหมาะสม (N) (3) จังหวดั สระแกว้ เปน็ แหล่งแปรรูปสินค้าเกษตร มีโรงงานอุตสาหกรรม เช่น โรงสี โรงงาน นา้ ตาล โรงงานแป้งมัน สหกรณ์โคนมอยู่ในจังหวัด เพอื่ รองรบั ผลผลติ ดา้ นการเกษตรได้ (4) เกษตรกรตัวอย่างที่ประสบความสาเร็จในพื้นท่ี มีภูมิปัญญาในการทาการเกษตรแบบ ผสมผสาน และมีการถา่ ยทอดองค์ความรู้ให้แก่เกษตรกรในพื้นที่ร่วมกับเจ้าหน้าท่ีรัฐบาล โดยใช้พื้นท่ีจากศูนย์ เรียนรเู้ พิ่มประสทิ ธิภาพการผลิตสินคา้ เกษตร (ศพก.) เปน็ ศนู ย์กลาง (5) เกษตรกรนานโยบายของรัฐบาลมาใช้ เชน่ เรอ่ื งแปลงใหญ่ ช่วยลดต้นทุน เพ่ิมผลผลิต (6) เกษตรกรนานโยบายของรัฐบาลมาใช้ เรื่องเกษตรทฤษฎีใหม่ (5 ประสานสืบสานเกษตร ทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง) มีการปลกู พืชผสมผสาน การเล้ียงสัตว์ และมีการนาภูมิปัญญาท้องถิ่น และปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพียงมาปรับเปล่ียนการผลติ ในลกั ษณะพอเพียงท่เี หมาะสมกับพนื้ ที่ (8) มีสถาบันเกษตรกรและนิคมสหกรณ์ท่เี ข้มแข็ง (9) บางพน้ื ท่ีมีระบบชลประทาน มีแหลง่ นา้ สามารถใชเ้ ป็นแหลง่ นา้ การเกษตรในฤดแู ล้ง จุดอ่อน (Weakness) (1) พนื้ ท่ีเกษตรกรรมหลายพ้ืนทม่ี ลี กั ษณะพื้นท่ีดินขาดความอุดมสมบรู ณ์ ดินเสื่อมโทรม จาก การใช้สารเคมีและยังขาดการปรับปรุงบารงุ ดินอย่างต่อเนือ่ ง (2) พ้ืนที่การเกษตรในจังหวัดสระแก้วยังมีระบบชลประทานไม่ทั่วถึง ต้องอาศัยน้าฝน ทาให้ ยงั ขาดประสิทธิภาพในการบริหารจดั การการผลิตท้ังดา้ นปริมาณ และคุณภาพ
88 (3) เกษตรกรยังเน้นในเรื่องของการเพ่ิมปริมาณ ผลผลิตทางการเกษตร พ่ึงพาสารเคมี และ ไม่ คานึงถึง คุณภาพ การบริหารจัดการผลผลิตยังไม่มีประสิทธิภาพ ยังขาดความรู้ การทาเทคโนโลยีนวัฒก รรมใหม่ๆ มาใช้ในการผลิต เพื่อลดต้นทุน เพ่ิมผลผลติ (4) เกษตรกรบางกลุ่มยังมีทัศนคติทางด้านการผลิต และการตลาดแบบด้ังเดิม ทาให้ยังไม่ สามารถ ปรบั เปล่ยี นการผลิตสนิ ค้าตามที่ตลาดต้องการได้ (5) ปญั หาการลกั ลอบนาเข้าผลผลติ จากประเทศเพอ่ื นบา้ น (6) การบริหารจัดการกลุ่มของเกษตรกรยังไม่ประสบ ผลสาเร็จ เพราะขาดความรู้ความ ชานาญเพ่ือเปน็ ผูป้ ระกอบการทดี่ ี (7) เกษตรกรขาดการรวมกลุ่มใหญ่เพ่อื ใหม้ อี านาจตอ่ รอง สว่ นใหญ่มีแต่กลุ่มเล็ก ๆ กระจาย ตวั ทาให้ยงั ไม่มีอานาจตอ่ รองเป็นรปู ธรรม (8) เกษตรกรยังขาดการเพิม่ มูลคา่ ของสินค้า เชน่ การแปรรปู (2) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก โอกาส (Opportunity) (1) นโยบายการกาหนดเขตการผลิตสินค้าเกษตร (Zoning by Agri-Map) เพ่ีอทาให้การผลิต เหมาะสมกับพ้ืนที่ ต้นทุนการผลติ ลดลงและมี รายไดส้ ูงข้นึ รวมทั้งการผลิตที่สอดคลอ้ งกบั ความ ตอ้ งการตลาด (2) รฐั บาลได้ประกาศใหม้ ีเขตเศรษฐกิจพิเศษสระแก้ว โดยเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษตน้ แบบ (Quick Win) (3) ทาเลทต่ี ้ังของจังหวดั สระแกว้ เป็นเสน้ ทาง เช่ือมโยง ระเบยี งเศรษฐกิจตอนใต้และอินโดจีน (4) มนี โยบายสนบั สนนุ เครือข่ายประชารฐั เป็นการ เช่ือมโยงตลาด ให้กบั เกษตรกรเข้าถงึ แหล่งข้อมลู และแหลง่ ทุนของภาครฐั (5) เป็นตลาดการค้าชายแดนที่ใหญ่ที่สุดในอาเซียน และเป็นประตูการขนส่งเช่ือมโยงภาค ตะวันออก ภาคอสี านใต้ และประเทศเพ่ือนบ้าน (6) นโยบายด้านการพัฒนาของรัฐบาลที่เกื้อหนุนต่อภาคเกษตรกรรมในพ้ืนท่ี นโยบายปฏิรูป การเกษตรท่ีต้องการสร้างความสามารถในการแข่งขัน โดยขับเคลื่อนภาคเกษตรโดยการดาเนินงาน ท่ีสาคัญ และเก่ียวข้องกับพ้ืนที่ท้ัง 13 มาตรการ คือ 1. ศูนย์เรียนรู้เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) 2. ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ และโครงการสนับสนุนสินเช่ือเพ่ือพัฒนาระบบส่งเสริมการเกษตร แบบแปลงใหญ่ 3. การบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมเชิงรุก (Zoning by Agri-Map) 4. เกษตรอินทรีย์ 5. เกษตรทฤษฎีใหม่/เกษตรผสมผสาน 6. แผนการผลิตข้าวครบวงจร 7. ธนาคารสินค้าเกษตร 8. ระบบส่งน้า/ กระจายนา้ 9. ตลาดสินค้าเกษตร 10. คุณภาพมาตรฐานสนิ ค้าเกษตร (มกอช.) 11. ยกระดับความเข้มแข็งของ สหกรณ์ 12. Smart Farmer/Young Smart Farmer 13. พฒั นาพ้ืนที่ ส.ป.ก. ตามมาตรา 44 ขอ้ จากดั (Threat) (1) ต้นทุนการผลิตสูง โดยเฉพาะปัจจัยการผลิต เช่น ปุ๋ย ยา สารเคมี มีราคาแพงในขณะที่ ราคาขา้ วลดต่าลง (2) ราคาผลผลิตทางการเกษตรมีความผันผวนตามราคาตลาดโลก และมีการแข่งขันกับ ประเทศอ่นื ทงั้ ด้านราคาและคุณภาพ
89 (3) การเปล่ียนแปลงภูมอิ ากาศ ทาให้เกิดความเส่ียง ท่ีจะทาให้เกิดภัยธรรมชาติต่าง ๆ (ภัยแล้ง น้าท่วม และภัย อ่ืนๆ) ท่ีผ่านมากระทบทาให้ผลผลิต ได้รับความเสียหายและส่งผลให้ปริมาณผลผลิตทาง การเกษตร ลดลงอยา่ งต่อเนอ่ื ง (4) การเปิดเสรีทางการค้า มีผลกระทบต่อสินค้า เกษตรไทยที่ไม่สามารถแข่งขันได้และเกิด มาตรการกีดกนั การค้าในหลายรปู แบบ 4.1.6 การวเิ คราะห์ศักยภาพ (1) การวิเคราะห์ TOWS Matrix การวิเคราะห์ SWOT Analysis และวิเคราะห์ TOWS Matrix เม่ือนากลยุทธ์ทางเลือกมาจัด กลุ่ม เพื่อกาหนดศักยภาพหรือทิศทางการพัฒนาด้านการเกษตรของจังหวัดสระแก้ว ซ่ึงจากการวิเคราะห์ได้ ประเดน็ กลยทุ ธ์ท่นี ามากาหนดยทุ ธศาสตร์ในภาพรวม 4 ประเดน็ หลกั ดงั น้ี SO : กลยุทธท์ างเลือก Strategy ผลักดันให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนโครงสร้างการผลิตจากการปลูกพืชเชิงเดี่ยวในเขตพื้นท่ีไม่ เหมาะสมมาปลูกพชื ผสมผสาน หรือเกษตรทฤษฎใี หม่ เพิม่ ประสทิ ธิภาพพ้นื ที่ S1 S2 ใหเ้ ขา้ โครงการแปลงใหญ่ เพ่ือเกิดการรวมกลุ่ม เพื่อลดต้นทุน เพมิ่ ผลผลติ และเพม่ิ มลู ค่าสินคา้ เกษตร ให้มกี ารพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื จังหวัดสระแก้วมโี รงงานอตุ สาหกรรมเกษตร ทาให้เกษตรกรมีแหล่งจาหนา่ ยผลผลติ พัฒนาด้านการผลิต และการตลาดในพื้นท่ีให้สอดคล้องกับความเหมาะสมทางกายภาพของ พ้ืนท่ี Zoning by Agri-Map นาเกษตรกรตัวอย่าง ปราชญ์เกษตร ที่ประสบความสาเร็จมาถ่ายทอดความรู้ในศูนย์การ เรยี นรู้เพิม่ ประสิทธภิ าพการผลิตสินคา้ เกษตร (ศพก.) WO : กลยุทธ์ทางเลือก Strategy การทางานบูรณาการร่วมกัน ส่งเสริมกิจกรรมการรวมกลุ่มประชารัฐ แปลงใหญ่ กลุ่ม สหกรณ์ ใหม้ อี านาจต่อรอง พัฒนาความรู้ เทคโนโลยี นานวัตกรรมใหม่ ๆ มาใช้เพ่ือลดต้นทุน เพ่ิมผลผลิต และสร้าง มลู ค่าเพิม่ ใหก้ ับสินค้าเกษตร สนับสนุนงบประมาณในช่วงแรก และปัจจัยการผลิต สนับสนุนสินเช่ือให้กับเกษตรกรที่เข้า รว่ มโครงการปรับเปล่ียนพ้ืนทป่ี ลูกไม่เหมาะสม สนับสนุนให้เกษตรกรปลูกพืช GI GAP และ Organic Thailand สนับสนุนให้เกษตรกรจด ทะเบียน และสนับสนนุ ปจั จยั การผลิต รวมท้ังสนิ เชือ่ และตลาดให้กับเกษตรกร การรวมกลุม่ เพ่ือมอี านาจตอ่ รองเร่ือง ราคา ตลาด ปจั จยั การผลติ ST : กลยุทธท์ างเลือก Strategy สร้างเกษตรกรต้นแบบ ปราชญ์เกษตร เป็นตัวอย่างให้เกษตรกร และเผยแพร่ความรู้ในศูนย์ การเรยี นรู้เพม่ิ ประสิทธิภาพการผลติ สนิ คา้ เกษตร ศพก. ใหก้ ับเกษตรกรรายอนื่ ๆ
90 ประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการผลิตสินค้า เพื่อรองรับต่อสภาพภูมิอากาศท่ี เปลยี่ นแปลง และลดตน้ ทุนการผลิตใหเ้ หมาะสมกบั พ้ืนท่ี การปรับเปลี่ยนสินค้าเกษตร ให้สอดคล้องกับเขตพ้ืนท่ีเหมาะสมทางด้านเศรษฐกิจสินค้า เกษตรการผลิตในพ้นื ที่เหมาะสมตามแผนท่ี (Agri-Map) WT : กลยุทธ์ทางเลือก Strategy ประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรเห็นความสาคัญถึงการเพาะปลูกในพ้ืนที่เหมาะสม Zoning by Agri-Map ด้วยการให้เกษตรกรเห็นถึง ต้นทุน ผลตอบแทน ตลาด ของการปลูกในพื้นที่ เหมาะสมกับพื้นที่ไม่เหมาะสมเปรียบเทียบกัน และนาเสนอทางเลือกการปลูกพืชอ่ืนท่ีให้ ผลตอบแทนท่ีดีกวา่ ให้กบั เกษตรกร การปรับเปลี่ยน หรือลดพื้นท่ีไม่เหมาะสมในการผลิตสินค้าเกษตรให้เหมาะสมกับศักยภาพ ของพน้ื ที่ ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชให้เหมาะสมกับลักษณะกายภาพของพ้ืนท่ี ท่ีมีแหล่งรับซื้อ ผลผลิต โดยสนบั สนุนใหใ้ ชภ้ ูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ เพื่อรองรับต่อสภาพภูมศิ าสตร์ท่เี ปลย่ี นแปลงไป (Agri-Map) 4.1.7 แนวทางบรหิ ารจดั การสนิ คา้ เกษตรท่สี าคัญจงั หวัดสระแก้วโดยแผนทเี่ กษตรกรรม (1) ปญั หาเร่งดว่ นและข้อจากดั ด้านการเกษตรจังหวดั สระแก้ว (1.1) สภาพดนิ ในบางพืน้ ทข่ี าดแรธ่ าตคุ วามอดุ มสมบรู ณ์ (1.2) ทัศนคติของการทาการเกษตรของเกษตรกรยงั ยึดติดกับการทานา ไม่ ปรับเปลยี่ นพืชอน่ื (1.3) ในชว่ งฤดูแล้ง น้าใชท้ างการเกษตรไมเ่ พยี งพอ (1.4) เกษตรกรมีภาระหนสี้ ิน (1.5) ต้นทนุ การผลติ เชน่ ราคาปุย๋ ยา/สารเคมี มีราคาแพง ในขณะทรี่ าคาข้าวลด ต่าลง (1.6). การบริหารจัดการในฟารม์ เกษตรกร ยงั ต้องพ่ึงพาสารเคมใี นช่วงทม่ี ีโรคและ แมลงรบกวน (1.7) กลมุ่ เกษตรกรขาดความเขม้ แข็ง และยงั ไม่มกี ารบริหารจดั การแบบกลุ่ม อยา่ ง เป็นรูปธรรมตา่ งคนตา่ งผลิต จงึ ขาดอานาจการต่อรองทางการตลาด (1.8) ขา้ วขาดคุณภาพ เนื่องจากปัจจุบันผูป้ ระกอบการรบั ซื้อขา้ วจากเกษตรกรโดยไม่มี การคัด พนั ธ์ุ/ คดั คุณภาพ (1.9) ภาวะโลกร้อนและสถานการณ์ภยั แล้งรนุ แรงข้นึ (2) แนวทางบริหารจดั การสินคา้ เกษตร (2.1) เพ่ิมประสิทธภิ าพการผลติ ด้วยการลดตน้ ทุนในพ้ืนที่เหมาะสม (S1/S2/S3) พนื้ ท่ีท่ีมศี ักยภาพหรือพ้ืนท่ีเหมาะสมมากและเหมาะสมปานกลาง (S1 & S2) ต่อการ เพาะปลูกของสินค้าแต่ละชนิดและมีระบบชลประทาน หรือบ่อน้าในไร่นาของตนเอง รวมถึงพื้นที่นอกเขต ชลประทานที่สามารถรับน้าจากชลประทานได้ แนวทางบริหารจัดการคือ (1) เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโดย ลดต้นทุนการผลิต ส่วนพ้ืนท่ีท่ีท่ีความเหมาะสมน้อย (S3) เช่น พื้นท่ีลุ่มต่าท่ีเสี่ยงน้าท่วม (1) ปรับปรุง
91 คุณภาพดินให้เหมาะสม (1) เน้นการลดต้นทุนโดยวางแผนการผลิต จัดทาปฏิทินการผลิต/กาหนดพันธุ์ท่ี เหมาะสม (2) จัดสรรท่ีดินเพื่อปลูกพืชทางเลือกชนิดอ่ืน ๆ ภายหลังน้าลด และทาการเกษตรทฤษฎีใหม่โดย น้อมนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งเพ่อื พฒั นากลุม่ อาชีพในตาบล (2.2) แนวทางปรับเปล่ียนปลูกพชื ทางเลือกทดแทนในพ้ืนท่ไี มเ่ หมาะสม (N) พื้นที่ดอน/ ท่ีไร่ ท่ีการบริหารจัดการน้ายังมีประสิทธิภาพไม่ทั่วถึง และพื้นที่ ทาการเกษตรอยูห่ า่ งไกลแหลง่ นา้ หรอื เปน็ พ้นื ที่ดอนสง่ ผลใหท้ านาได้ 1 ครั้ง/ปี แนวทางพัฒนาคือ (1) บริหาร จัดการปรบั ปรุงบารุงดินเพ่ิมสารอินทรีย์วัตถุ ใส่ปุ๋ยตามผลการวิเคราะห์ดิน (2) ส่งเสริมและถ่ายทอดการปลูก พืชทางเลือกเพ่ือให้เหมาะสมกับระดับความเหมาะสมของดิน (3) วิจัยและพัฒนาพันธุ์พืชทดแทนที่ให้ ผลตอบแทนดี และ (4) วางแผนการผลติ เหมาะสมกบั ฤดกู าล สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 6 ได้ศึกษาวิเคราะห์ต้นทุนการผลิต และผลตอบแทน เหนือต้นทุนท้ังหมด ของสินค้าที่สาคัญ 4 ชนิดพืชหลัก เพ่ือเป็นทางเลือกและตามความเหมาะสมในพื้นท่ี ดงั กล่าว ได้แก่ ข้าว มันสาปะหลัง อ้อยโรงงาน เป็นต้น รวมทั้งสินค้าตามนโยบายรัฐบาล ได้แก่ หญ้าเนเปียร์ และโคเนื้อ โดยข้อมูลน้ีสามารถใช้เป็นแนวทางให้เกษตรกรได้มีโอกาสตัดสินใจในการปรับเปล่ียนการปลูกพืช ทดแทนในพน้ื ทีท่ ไ่ี มเ่ หมาะสมโดยมีแนวคดิ ดังน้ี แนวคดิ การบริหารจดั การเขตเศรษฐกิจสนิ ค้าเกษตร (Zoning) 4 Goal Data การบร3หิ ารจัดการเขตเศรษฐกจิ สินคา้ เกษตร แนวทางสง่ เสรมิ /พัฒนา Internal factor (1) 1. กลยุทธ์ Mapping/Agri-Map - Physical 2. มาตรการดาเนนิ การ 3. แผนปฏบิ ตั ิงาน - Potential ขอ้ มูลแวดล้อม External factor (2) - Economic หน่วยงานท่เี กี่ยวขอ้ ง 2 สถานการณส์ ินค้า เช่น ดนิ นา ข้อมูลความต้องการของพชื (Crop 1 สานักงานเศเรกษษฐกติจรการเกษตรท่ี Requirement) ศกั ยภาพของเกษตรกร ฯลฯ / ความ สอดคล้องตามวัตถปุ ระสงค์ 6 แนวคิดการบรหิ ารจดั การเขตเศรษฐกิจสนิ คา้ เกษตร Zoning By Agri-Map ภาพที่ 38 แนวคดิ การบรหิ ารจดั การสนิ คา้ เกษตรในเขตเศรษฐกจิ Zoning ด้วย Agri-Map
92 4.2 ข้อเสนอแนะ 4.2.1 ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายในการปรับเปล่ียน การวิเคราะห์ด้านเศรษฐกิจสินค้าเกษตรระดับจังหวัด เพ่ือให้เป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย และมาตรการสนับสนุนในการปรับเปล่ียนการผลิตสินค้าเกษตรในพ้ืนท่ีไม่เหมาะสมตามแผนท่ี (Agri-Map) เป็นสินค้าทางเลือก ขับเคลื่อนแนวทางพัฒนาด้านการเกษตรจังหวัด จาเป็นที่จะต้องมีการจัดทาแนวทาง พัฒนาให้เหมาะสมและสอดคล้องกับศักยภาพและผลตอบแทนพ้ืนท่ี และการกาหนดเขตเกษตรเศรษฐกิจ (Zoning) ซ่ึงจากการวิเคราะห์สถานการณ์จากอดีตสู่ปัจจุบัน ประเมินศักยภาพของภาคเกษตรของจังหวัด สระแกว้ ทาให้มีกรอบทศิ ทางหรือแนวทางการพัฒนาสินค้าการเกษตรที่สาคัญ คือ ข้าวและพืชทดแทนข้าวใน พน้ื ที่ไม่เหมาะสมในการปลูกข้าว โดยมแี นวทางพฒั นา ดงั น้ี การขับเคลื่อนแนวทางการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจสินค้าเกษตร (Zoning) ของ จังหวัดสระแก้ว กลไกการขับเคล่ือนในรูปแบบการบูรณาการภารกิจ โดยมีหน่วยงานในกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์เป็นหน่วยหลัก สานักงานเกษตรจังหวัด กรมพัฒนาที่ดิน เกษตรและสหกรณ์จังหวัด ปศุสัตว์จังหวัด ชลประทาน และหน่วยงานอื่น ๆ ในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นศูนย์กลางการบูรณาการทุกภาคส่วน เพ่ือขับเคลื่อนนโยบายดังกล่าว โดยให้ทุกหน่วยงาน หรือเจ้าภาพของแต่ละกิจกรรม ดาเนินการตาม วัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมายและยทุ ธศาสตร์ท่ีกาหนดไว้ และต้องตดิ ตามประเมนิ ผลการดาเนนิ งานดงั กล่าวดว้ ย ความต้องการการสนบั สนนุ จากภาครฐั ในการปรับเปลีย่ นพ้ืนทไี่ ม่เหมาะสมในการปลูกขา้ ว (N) มาเป็นพชื อน่ื ในพ้ืนที่จงั หวดั สระแกว้ (1)การสนับสนนุ ปัจจัยการผลิตวสั ดุอุปกรณ์ตามความจาเป็น (2) การสนับสนุนปัจจัยการผลิตในการปรบั เปล่ยี นเพื่อเปน็ การสรา้ งแรงจงู ใจและลดภาระ ค่าใชจ้ ่าย เช่น ค่าเมลด็ พันธ์ุ ค่าต้นพันธ์ุ คา่ ใช้จ่ายเบ้ืองต้นในการผลติ (3) การสนบั สนนุ การปรบั รปู แบบแปลงนา ลักษณะที่ 2 ตามแบบของกรมพฒั นาทดี่ นิ (4) การสนบั สนุนหลกั ประกันในการปรบั เปลีย่ นตามความจาเปน็ เชน่ การประกนั ภัยพืชผล หรอื เงินชดเชย (5) การอบรมถา่ ยทอดความรู้ใหเ้ กษตรกร (6) การสนับสนุนการรวมกลุ่มเกษตรกร (7) การสนบั สนุนตลาดเกษตรกร (8) การสนับสนนุ สินเชื่อให้เกษตรกร 4.2.2 มาตรการจากภาครฐั เพ่ือสนบั สนนุ ให้มีการปรบั เปล่ียน นอกจากนี้คณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติเห็นชอบแนวทางดาเนินงานโครงการ“โคบาลบูรพา” และอนุมัติงบกลาง จานวน 1,028.40 ล้านบาท เม่ือวันท่ี 6 มิถุนายน 2560 ตามท่ีกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์เสนอ เพื่อให้กรมปศุสัตว์เป็นค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานโครงการดังกล่าว ทั้งน้ีเน่ืองจากสถานการณ์ โคเนื้อมีปริมาณลดลง ผลผลิตไม่เพียงพอต่อความต้องการบริโภคของประชากรในประเทศ นักท่องเที่ยว ต่างประเทศ และความต้องการของตลาดต่างประเทศ สาเหตุเกิดจากเกษตรกรท่ีเลี้ยงโคเน้ือต้นน้ามีจานวน
93 ลดลง เนอ่ื งจากต้องใชเ้ งนิ ลงทนุ ตอ่ ฟาร์มสูง และระยะเวลาคืนทุนใช้เวลานาน จึงไม่สามารถเพิ่มผลผลิตให้ทัน กับความตอ้ งการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จึงได้มอบหมายให้กรมปศุสัตว์จัดทาโครงการ \"โคบาลบูรพา\" โดยบูรณาการงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและภาคเอกชนตามแนวทางประชารัฐ เพ่ือช่วยเหลือฟื้นฟู เกษตรกรในพ้ืนที่ประสบภัยแล้งปรับเปล่ียนพื้นท่ีปลูกข้าวที่ไม่เหมาะสมมาเลี้ยงปศุสัตว์ โดยดาเนินการใน ลกั ษณะของธนาคารสินค้าเกษตรและส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ทัง้ น้ี จะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการ ผลติ ปศสุ ตั ว์ของจงั หวดั สระแกว้ ใหเ้ ป็นเมอื งแหง่ ปศสุ ตั ว์ \"โคบาลบูรพา\" เนื่องจากมีทาเลที่ต้ังและลักษณะพื้นที่ เหมาะสม เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนเชื่อมต่อกับประเทศกัมพูชาและเวียดนาม มีศักยภาพในการพัฒนา อตุ สาหกรรมโคเนอ้ื อยา่ งครบวงจร ซึ่งจะสามารถเพม่ิ ผลผลิตให้เพยี งพอตอ่ ความต้องการบริโภคของประชาชน และนักทอ่ งเทย่ี วในพน้ื ท่ภี าคตะวันออก และสรา้ งโอกาสในการผลิตเนื้อโคส่งออกตลาดอาเซียนในอนาคต โครงการโคบาลบูรพา มีวัตถุประสงค์เพ่ือช่วยเหลือฟ้ืนฟูเกษตรกรในพื้นท่ีประสบภัยแล้ง และส่งเสริมอาชีพให้เกษตรกรในพื้นที่ ส.ป.ก. ที่ยึดคืนตามคาส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติท่ี 36/2559 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2559 รวมทั้งเพื่อปรับเปล่ียนพื้นท่ีปลูกข้าวที่ไม่เหมาะสมไปเล้ียงปศุสัตว์ สร้างรายได้ท่ีมั่นคงให้เกษตรกรอย่างยั่งยืน ตลอดจนเพื่อส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมโคเนื้อครบวงจรใน พนื้ ท่ภี าคตะวันออก พืน้ ที่เป้าหมาย 1. พื้นท่ีประกาศเขตให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (ภัยแล้ง) จังหวัด สระแก้ว ปี 2559/60 ใน 3 อาเภอ ได้แก่ อาเภออรัญประเทศ อาเภอโคกสูง และอาเภอวัฒนานคร เนื้อท่ี 100,477 ไร่ เกษตรกร 6,106 ราย 2. พื้นท่ี ส.ป.ก. ที่ยึดคืนตามคาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ จังหวัด สระแกว้ ใน 3 อาเภอ ไดแ้ ก่ อาเภออรัญประเทศ อาเภอโคกสูง และอาเภอวัฒนานคร จานวน 9 แปลง เนื้อที่ 3,346 ไรเ่ กษตรกร 271 ราย การดาเนนิ งาน แบ่งออกเป็น 5 กิจกรรม ดงั น้ี 1) ส่งเสริมการเลยี้ งแมโ่ คเน้ือผลิตลกู 2) สง่ เสริมอาชพี เลี้ยงแพะ 3) ส่งเสรมิ การปลูกพชื อาหารสตั ว์ 4) การจัดตั้งโรงฆา่ สัตวม์ าตรฐาน GMP 5) ระยะเวลาดาเนนิ โครงการ 6 ปี (พ.ศ. 2560-2565)
94 สรุปโครงการ/กิจกรรม เปา้ หมายการปรบั เปลย่ี นสนิ ค้าเกษตรทส่ี าคญั (Top 4) จงั หวดั สระแกว้
สรปุ โครงการ/กจิ กรรม เป้าหมายการปรับเปลีย่ น สนิ คา้ เดมิ /สินค้าทดแทน โครงการ/กิจกรรมตามระดับ (สินค้าในพ้นื ทีไ่ ม่เหมาะสม(N) และขาดทุน (1) ข้าว พ้ืนท่ีเหมาะสม (S1/S2/S3) (2) มันสาปะหลัง - ถา่ ยทอดความรู้ Zoning By Agi-Map - สรา้ งกระบวนการขบั เคล่ือนแบบแปลงใหญ่ (3) ออ้ ยโรงงาน - เพิ่มประสทิ ธภิ าพการผลติ โดยลดต้นทุนการผลติ (4) มะมว่ ง - สง่ เสริมงานวิจยั ดา้ นพฒั นาพนั ธุ์ - สนบั สนุนให้ไดม้ าตรฐาน GAP จนถึงอนิ ทรยี ์ - ส่งเสรมิ ใหม้ กี ารใชน้ วัตกรรมเพอ่ื สร้างมลู ค่าเพ่มิ - ถ่ายทอดองค์ความรูผ้ ่าน ศพก./ปราชญ์ - ถา่ ยทอดความรู้ Zoning By Agi-Map - สรา้ งกระบวนการขับเคลื่อนแบบแปลงใหญ่ - เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ โดยลดตน้ ทนุ การผลติ - สง่ เสริมงานวจิ ยั ด้านพฒั นาพันธ์ุ - สง่ เสริมใหม้ กี ารใชน้ วัตกรรมเพอื่ สรา้ งมลู คา่ เพิ่ม - ทา MOU กบั ผู้ประกอบการ - ขยายพื้นท่ีในพื้นทีเ่ หมาะสม - สร้างกระบวนการขับเคลื่อนแปลงใหญ่ - ทา MOU กับผู้ประกอบการ - ส่งเสรมิ งานวิจยั ดา้ นพฒั นาพันธ์ุ - ขยายพืน้ ทีใ่ นพนื้ ที่เหมาะสม - สร้างกระบวนการขบั เคลอ่ื นแปลงใหญ่ - ทา MOU กบั ผปู้ ระกอบการ - ส่งเสรมิ งานวิจยั ด้านพฒั นาพันธ์ุ - สรา้ งแบรนดจ์ ังหวดั สระแก้ว
นสินค้าเกษตรทสี่ าคัญ (Top 4) จังหวัดสระแก้ว บความเหมาะสมของพื้นที่ พน้ื ท่เี ปา้ หมาย (เรยี งตามลาดับพนื้ ท่ีความเหมาะสม) พนื้ ท่ไี มเ่ หมาะสม (N) อ.วฒั นานคร/อ.เมอื ง/อ.เขาฉกรรจ์ - กรณผี ลติ เพื่อบริโภคไมค่ วรปรับเปลี่ยน อ.วังน้าเย็น/อ.อรัญประเทศ/อ.เขาฉกรรจ์ - ปรบั ปรงุ พนื้ ทใ่ี ห้เหมาะสม อ.วฒั นานคร/อ.เมอื ง/อ.เขาฉกรรจ์ - ปรับเปล่ียนพื้นทตี่ ามความสมคั รใจ อ.อรัญประเทศ/อ.โคกสงู /อ.วฒั นานคร ข้าว --> อ้อยโรงงาน อ.เมอื ง / อ..ตาพระยา /อ.วัฒนานคร ข้าว --> มะม่วง อ.วงั สมบรู ณ์/อ.วงั น้าเย็น/อ.เขาฉกรรจ์ ข้าว --> ลาไย อ.เมือง/อ.วัฒนานคร/อ.ตาพระยา ขา้ ว --> หญ้าเนเปยี ร์ - ปรบั เปล่ยี นพน้ื ทต่ี ามความสมคั รใจ มนั สาปะหลงั --> อ้อยโรงงาน มนั สาปะหลัง --> มะมว่ ง มนั สาปะหลัง --> ลาไย
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115