Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การศึกษาแนวทางพัฒนาการเกษตรจากการเปิดประชาคม จ.ตราด

การศึกษาแนวทางพัฒนาการเกษตรจากการเปิดประชาคม จ.ตราด

Description: 3

Search

Read the Text Version

41 4.2.2 สหกรณก์ ารเกษตรบอ่ ไร่ จากดั สหกรณ์จัดต้ังมาต้ังแต่ปี 2526 แต่เร่ิมรวบรวมผลไม้ในปี 2555 เป็นระยะเวลา 5 ปี สหกรณ์รวบรวมผลไม้โดยร่วมกับบรษิ ัทผู้ส่งออกมังคุด คือ บริษัทริชฟิลล์ จากัด ซ่งึ จัดส่งเจา้ หน้าท่ี ของบริษัทเข้ามารับซ้ือมังคุดท่ีจุดรับซื้อของสหกรณ์ นอกจากนี้ยังได้ร่วมกับสหกรณ์ส่งเสริมธุรกิจ ภาคเกษตร จังหวัดตราด จากัด ในการรวบรวมเงาะคุณภาพส่งให้กับพ่อค้าในประเทศและพ่อค้า สง่ ออก ภาพที่ 4.14 - 4.15 การรวบรวมผลไม้ของสหกรณ์การเกษตรบอ่ ไร่ จากดั 4.2.3 สหกรณก์ ารเกษตรเพ่ือการแปรรปู และส่งออกจงั หวัดตราด จากัด สหกรณ์จัดต้ังมาแล้ว 5 ปี รวบรวมผลไม้ส่งโรงงานในประเทศไทย คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 50 และอกี รอ้ ยละ 50 รว่ มกบั ผู้สง่ ออกรวบรวมทเุ รยี นทาเป็นทุเรยี นแช่แขง็ ส่งไปประเทศจีน ภาพที่ 4.16 การรวบรวมผลไม้เพื่อแปรรูปของสหกรณ์การเกษตรเพื่อการแปรรูปและ ส่งออกจงั หวดั ตราด จากดั

42 4.2.4 สหกรณ์การเกษตรเขาสมงิ จากัด สหกรณ์จัดตั้งมาต้ังแต่ปี 2519 ดาเนินการรวบรวมผลไม้ให้กับพ่อค้าทั้งในประเทศ และพ่อค้าส่งออกไปประเทศกัมพูชาและจีน ชนิดผลไม้ท่ีรวบรวม ได้แก่ เงาะ มังคุดและลองกอง ในช่วงฤดูกาลผลไม้มีการรวบรวมทุกวันในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงมิถุนายน การติดต่อซื้อขายใช้ ความสัมพันธ์ส่วนตัว โดยพ่อค้าส่งออกโอนเงินล่วงหน้ามาให้รวบรวมผลไม้ สหกรณ์ทาหน้าที่ รวบรวมและขนสง่ ผลไมไ้ ปสง่ ใหก้ ับผู้สง่ ออกที่จุดผ่านแดนถาวรบา้ นหาดเล็ก 4.3 แนวทำงกำรพัฒนำกำรเกษตรจำกกำรเปิดประชำคมเศรษฐกิจอำเซียนในเขตพัฒนำ เศรษฐกิจพิเศษจงั หวัดตรำด จากการสัมภาษณ์ผู้ท่ีมีส่วนได้ส่วนเสียและผู้ท่ีเก่ียวข้อง ได้แก่ เจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน ภาครัฐภาคเอกชน พ่อค้า ผู้ขนส่งผลไม้ ผู้จัดการและสมาชิกสหกรณ์การเกษตรที่สาคัญในพื้นที่ เกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกบั เขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษอาเภอคลองใหญ่ จังหวดั ตราด พบว่า ผู้จัดการสหกรณ์การเกษตรที่ทาการศึกษาท้ังหมดทราบว่ามีการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดตราดโดยมีความรู้ความเข้าใจต่อวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษใน ระดบั ปานกลางและมคี วามรคู้ วามเข้าใจในระดับนอ้ ยในด้านการพัฒนาโครงสรา้ งพ้ืนฐานเพอ่ื รองรับ การลงทุน สิทธิประโยชน์สาหรับการลงทุน การให้บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จและมาตรการสนับสนุน แรงงานตา่ งด้าว สมาชิกสหกรณ์ส่วนใหญ่ร้อยละ 63.33 ไม่ทราบว่ามีเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและร้อยละ 36.67 ทราบวา่ มีเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดยรับทราบจากการประชมุ ของสหกรณ์ ซ่ึงส่วนใหญ่ไม่ ทราบวัตถุประสงค์ของการจดั ตั้ง การพฒั นาโครงสร้างพื้นฐานเพอื่ รองรับการลงทุน สทิ ธิประโยชน์ สาหรับการลงทุน การให้บริการจุดเดียวเบด็ เสร็จและมาตรการสนับสนุนแรงงานต่างดา้ ว คิดเป็น ร้อยละ 93.33 63.33 93.33 93.33 และ 96.67 ตามลาดับ โดยในปีงบประมาณ 2558 สานักงานสหกรณ์จังหวัดตราดได้จัดอบรมเกี่ยวกับการส่งออกสินค้าไปประเทศกัมพูชา จานวน 1 ครั้ง ให้แก่คณะกรรมการและเจ้าหน้าที่สหกรณ์ 2 สหกรณ์ คือ สหกรณ์เมืองตราด จากัดและ สหกรณ์ส่งเสริมธุรกิจภาคเกษตรจังหวัดตราด จากัด เนื้อหาที่อบรมประกอบด้วย แนวทางการ บริหารจัดการด้านการส่งออก กฎระเบียบในการส่งออก โดยเชิญวิทยากรจากหน่วยงานที่เกี่ยว เก่ียวข้อง เช่น กรมวิชาการเกษตร กรมศุลกากร ฯลฯ รวมท้ังอานวยความสะดวกในการจด ทะเบียนเป็นผู้ส่งออกและสนับสนุนด้านการส่งออก ซึ่งสหกรณ์ส่งเสริมธุรกิจภาคเกษตรจังหวัด ตราด จากัด ได้มีการส่งออกผลไม้ไปยังกรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา จานวน 1 ครงั้ ปริมาณผลไม้ 3 ตัน ส่วนสหกรณ์เมืองตราด จากัด ยังไม่ได้ดาเนินการส่งออกเนื่องจากยังไม่ได้ดาเนินธุรกิจ รวบรวมผลไม้ ในปี 2559 ได้มีการจัดอบรมให้กับสหกรณ์อีก จานวน 4 สหกรณ์ คือ สหกรณ์ ส่งเสริมธุรกิจภาคเกษตรจงั หวดั ตราด จากดั สหกรณ์การเกษตรบอ่ ไร่ จากัด สหกรณก์ ารเกษตรเขา สมงิ จากัด สหกรณก์ ารเกษตรเพื่อแปรรูปและส่งออก นอกจากนไ้ี ดม้ กี ารเชอ่ื มโยงตลาดระหว่างเขต

43 พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษในประเทศไทย ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรหนองสูง ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พเิ ศษมกุ ดาหาร สหกรณ์การตลาด (สกต.) ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษนครพนม ผปู้ ระกอบการผลไม้สมาชิกสหกรณส์ ่วนใหญ่ร้อยละ 77.50 ไม่ทราบวา่ มเี ขตเศรษฐกิจพเิ ศษ และร้อยละ 22.50 ทราบว่ามีเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ซ่งึ สว่ นใหญ่ไมท่ ราบวัตถปุ ระสงค์ของการ จัดตั้ง การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการลงทุน สิทธิประโยชน์สาหรับการลงทุน การ ให้บริการจุดเดียวเบ็ดเสร็จ มาตรการสนับสนุนแรงงานต่างด้าว คิดเป็นร้อยละ 93.33 63.33 93.33 93.33 และ 96.67 ตามลาดบั (ตารางท่ี 4.10) ตารางท่ี 4.10 ความร้คู วามเข้าใจเกีย่ วกับเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษของผจู้ ัดการสหกรณก์ ารเกษตร หนว่ ย : รอ้ ยละ รายการ ผู้จัดการ สมาชกิ ผ้ปู ระกอบการผลไม้ สหกรณ์ สหกรณ์ 1.การจัดตั้งเขตพัฒ นาเศรษฐกิจ พิเศษ ทราบ 100.00 36.67 22.50 ไมท่ ราบ - 63.33 77.50 2.วัตถุประสงคก์ ารจดั ตั้ง ทราบ 100.00 6.67 20.00 ระดบั มากที่สุด ระดบั มาก ระดับปานกลาง 100.00 50.00 25.00 ระดับนอ้ ย 50.00 37.50 ระดับนอ้ ยท่ีสุด 37.50 ไมท่ ราบ - 93.33 80.00 3.การพัฒนาโครงสรา้ งพ้นื ฐาน ทราบ 75.00 6.67 20.00 ระดับมากท่ีสุด ระดบั มาก ระดับปานกลาง 50.00 25.00 ระดบั น้อย 66.67 37.50 ระดบั นอ้ ยทสี่ ุด 33.33 50.00 37.50 ไม่ทราบ 25.00 93.33 80.00

44 ตารางที่ 4.10 (ต่อ) รายการ ผจู้ ัดการ สมาชกิ หนว่ ย : ร้อยละ สหกรณ์ สหกรณ์ ผู้ประกอบการผลไม้ 4.สทิ ธิประโยชน์ ทราบ 75.00 6.67 20.00 ระดบั มากทีส่ ดุ ระดับมาก 33.33 12.50 ระดับปานกลาง 33.33 ระดับน้อย 33.33 50.00 37.50 ระดบั นอ้ ยท่สี ุด 25.00 50.00 50.00 ไมท่ ราบ 93.33 80.00 100.00 5.การให้บริการจดุ เดยี ว 6.67 20.00 ทราบ 25.00 6.67 20.00 ระดบั มากท่ีสดุ 25.00 ระดบั มาก 50.00 12.50 ระดบั ปานกลาง 50.00 37.50 ระดับนอ้ ย - 50.00 50.00 ระดบั น้อยท่สี ดุ 93.33 80.00 ไม่ทราบ 100.00 3.33 20.00 6.มาตรการสนบั สนุนแรงงานตา่ งดา้ ว 25.00 ทราบ 25.00 100.00 ระดบั มากท่สี ุด 50.00 25.00 ระดบั มาก 25.00 ระดับปานกลาง - 50.00 ระดบั นอ้ ย ระดบั นอ้ ยทส่ี ุด 96.67 80.00 ไม่ทราบ ท่มี า : จากการสารวจ

45 โดยผูท้ ีเ่ กีย่ วขอ้ งให้ข้อเสนอแนะเก่ยี วกบั เขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษและแนวทางการ พฒั นาผลไม้ ดังน้ี ผู้จัดการสหกรณ์ การเกษตรเสนอให้ภ าครัฐจัดทาแนวทางกระจายสินค้าโดย พิ จารณ า แนวโน้มทั้งระยะส้ันและระยะยาว ให้ความสาคัญกับสินค้าเกษตรที่แม้มีมูลค่าต่ากว่าสินค้า อุตสาหกรรมแต่เป็นส่ิงจาเป็นทต่ี ้องบริโภคทุกวนั รวมท้ังบริโภคแลว้ หมด ไปจับคู่ค้าท่ีดีให้กับสหกรณ์ คา้ ประกันการจา่ ยเงนิ ลดค่าใชจ้ ่ายเกี่ยวกับแรงงานต่างด้าวให้ความร้เู รอื่ งขั้นตอนการส่งออก จัดทา คูม่ อื การสง่ ออกในแตล่ ะชนดิ สินคา้ สมาชกิ สหกรณ์การเกษตรมีข้อเสนอแนะในดา้ นตา่ งๆ ดงั น้ี - ดา้ นการผลติ ผลไม้ ภาครัฐควรสนบั สนนุ การลดต้นทุนการผลิตผลไมท้ ่มี ีคณุ ภาพการลดการ ใช้สารเคมสี นับสนนุ ให้ท่วั ถงึ ในทกุ จุดท่ผี ลติ ผลไม้ เช่น การอบรม - ด้านแรงงานตา่ งดา้ ว ภาครฐั ช่วยดแู ลและกาหนดมาตรการด้านความปลอดภัยให้กบั คนไทยในการเขา้ มา ทางานของแรงงานต่างด้าวการทาบัตรผ่านแดนควรให้ระยะเวลา 7 วัน โดยใหเ้ ดนิ ทางได้แค่ภายใน จงั หวัด การทาบัตรแรงงานต่างด้าวควรเปิดให้ทาตลอดทั้งปีดูแลมาตรการแรงงานด้านจดุ เนิน 400 อาเภอบ่อไรใ่ หม้ ีความสะดวก เนื่องจากอยูต่ ิดกบั แหล่งผลติ ผลไม้ - ดา้ นตลาดผลไม้ เสนอแนะให้เกษตรกรควรเป็นท้ังผู้ผลิตและผู้ค้าการดาเนินงานของสหกรณ์ยังไม่ ค่อยตรงตามหลักการ เช่น การตีราคารับซ้ือผลผลิต กรรมการไม่โปร่งใสมีผลประโยชน์แอบแฝง คนไทยควรเรียนรู้ภาษากัมพูชา เวียดนาม เพื่อติดต่อการค้าหรือประกอบอาชีพเป็นล่ามควบคุม ผลไม้ให้มีคุณภาพทั้งจากในจังหวัดและจากนอกจังหวัดสหกรณ์ควรทาธุรกิจทุเรียนแช่แข็งรัฐบาล ชว่ ยหาตลาด - ดา้ นอน่ื ๆ ประมงชายฝ่งั อาจไดร้ บั ผลกระทบจากโรงงาน ควบคุมการบาบัดนา้ เสยี เจ้าหน้าที่ควรมีความสุจริต ไม่รับสินบน ควบคุมดูแลการลักลอบนาเข้าสินค้าอย่างเข้มงวดรัฐบาล ช่วยเกษตรกรโดยตรง ผู้ประกอบการรับซือ้ ผลไมม้ ีขอ้ เสนอแนะในด้านตา่ งๆ ดงั นี้ - ดา้ นโครงสร้างพื้นฐาน ควรสร้างสถานท่ีขายผลไม้ให้ความสาคญั กับการปรับปรุง ระบบการขนสง่ - ด้านการประขาสมั พนั ธ์ ประชาสัมพันธใ์ ห้คนทราบถึงสิทธิประโยชนใ์ นเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษ - ด้านแรงงานต่างด้าว อานวยความสะดวกเรื่องแรงงานต่างด้าวลดค่าใช้จ่ายเรื่อง แรงงานตา่ งด้าว - ด้านอ่ืนๆ ช่วยเหลือผู้ประกอบการรายย่อยลดภาษี ค่าธรรมเนียมการส่งออก เพ่ือให้ผู้ประ กอบการเข้าสู่ระบบมากข้ึน ดูแลเร่ืองการ แข่งขัน ของล้งชาวต่างชาติท่ีเข้ามารับซ้ือ

46 โดยตรงจากชาวสวนซึ่งมีความได้เปรียบไม่ต้องเสียภาษีในการทาธุรกิจเสียแต่ค่าด่านในการส่งออก ผลไม้ เจ้าหน้าท่ีภาครัฐภาคเอกชนมีข้อเสนอแนะให้มีการร่วมมือกับภาคสังคม เช่น โรงเรียน ชุมชน ฯลฯ ในการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษฯ การนาเข้าส่งออกควรมี การบันทึกข้อมูลให้ครบถ้วนเพื่อทราบถึงปริมาณท่ีแท้จริงสาหรับนาไปใช้ของบประมาณปรับปรุง สถานทแ่ี ละจัดซือ้ วัสดุอปุ กรณต์ า่ งๆเพื่อเพ่ิมศักยภาพของดา่ นดา่ นตรวจสนิ ค้าของเกษตรยังมีสถานท่ี และวสั ดอุ ุปกรณ์ท่ีไม่สะดวกการออกกฎระเบียบต่างๆ ควรคานึงถึงผ้ปู ระกอบการรายย่อยและคนใน ชมุ ชนให้สามารถทาตามได้โดยไม่ผดิ กฎหมาย กฎระเบียบของประเทศไทยมีความเขม้ งวดและยังไม่ เอื้อประโยชน์กับผู้ประกอบการรายยอ่ ย การออกกฎระเบียบมีหลายหน่วยงาน ระบบการใหบ้ รกิ าร แบบจุดเดยี วเบ็ดเสร็จและระบบ National Single Window ยังดาเนนิ การไดน้ อ้ ย จากการสัมภาษณ์ผู้ที่เก่ียวข้องและการรวมรวมข้อมูลจากเอกสาร รายงานต่างๆ ทาให้ ทราบถึงจุดแข็ง จุดอ่อน (ปัจจัยภายใน) โอกาส ข้อจากัด(ปัจจัยภายนอก) ของผลไม้ในเขตพัฒนา เศรษฐกิจพเิ ศษจังหวดั ตราด เพ่ือนามากาหนดแนวทางการพัฒนา ได้ดงั นี้ 1) จุดแขง็ 1.1) เขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษจังหวัดตราดมพี ่อคา้ รบั ซอื้ ผลไม้ท่สี ามารถ ติดตอ่ สอ่ื สารรวมท้งั มสี ายสมั พนั ธ์ทางการคา้ กับประเทศกัมพูชามาอย่างยาวนาน 2) จุดออ่ น 2.1) พื้นท่ปี ลูกและปริมาณผลไมใ้ นเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษจงั หวดั ตราด ยงั มนี อ้ ยเนือ่ งจากมขี อ้ จากัดดา้ นสภาพพนื้ ทที่ ี่มีลกั ษณะเปน็ พ้ืนท่แี คบและยาว 3) โอกาส 3.1) พ้ืนที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดตราดมีแหล่งท่องเท่ียวที่ หลากหลายท้ังแหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติ ทางประวัติศาสตร์และทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะการ ท่องเที่ยวทางทะเลซ่ึงมีชายหาดเป็นแนวยาว นอกจากนี้ยังสามารถเชื่อมโยงกับแหล่งท่องเท่ียวใน จังหวัดตราดซึง่ มีแหล่งทอ่ งเที่ยวท้ังทะเล ชายหาด ป่าชายเลนและปะการังที่มีความโดดเดน่ สมบูรณ์ สวยงามเป็นท่ีสนใจของนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ โดยเฉพาะหมู่เกาะช้าง เกาะกูด เกาะหมาก แหล่งท่องเท่ียวในจังหวัดจันทบุรี ระยอง ชลบุรีต่อเนื่องไปจนถึงกรุงเทพมหานคร มี โอกาสท่ีจะส่งผลไม้และผลิตภัณฑ์ไปจาหน่ายในสถานที่ท่องเท่ียว ร้านอาหาร โรงแรม ฯลฯ ตลอดจนการให้บริการท่ีเกี่ยวข้องกับผลไม้ เช่น การเท่ียวชมสวนผลไม้ การรับประทานบุฟเฟ่ ผลไม้ การขีจ่ กั รยานเทีย่ วชมสวนผลไม้ ฯลฯ 3.2) พื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษอาเภอคลองใหญ่อยูต่ ิดกับจังหวัดคือ เกาะกงถัดไปเป็นจงั หวัดพระสีหนุ กาปอดและแกบซงึ่ มีชายทะเลเปน็ แนวยาวและไดร้ บั การยอมรับ ว่าเป็นชายหาดท่สี วยระดับโลก นอกจากนีป้ ระเทศกัมพูชายังมีแหลง่ ท่องเท่ยี วทถ่ี ือเปน็ สง่ิ มหัศจรรย์ ของโลก คือ ปราสาทนครวัดนครธม ซ่ึงรฐั บาลกมั พูชาใหค้ วามสาคญั กบั อุตสาหกรรมการท่องเท่ยี ว เป็นอย่างยิง่ ได้จัดทาแผนการพฒั นาการท่องเท่ียวมาตง้ั แตป่ ี 2544 มกี ารสนบั สนุนใหน้ ักลงทนุ เขา้ ไป ลงทุนพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานด้านการท่องเท่ียวเช่นการขนส่งโรงแรมร้านอาหารการสื่อสาร

47 โทรคมนาคมพลังงานและนา้ ประปารวมถึงได้มีการเจรจากับรฐั บาลจีนและญี่ปุ่นเพ่ือให้ไปลงทุนใน ภาคการท่องเที่ยวนอกจากน้ียังได้ทาบนั ทึกความตกลง (MOU) กับสายการบินต่างๆให้เพมิ่ เท่ียวบิน และเปิดเที่ยวบินตรง (Direct Flights) ภายใต้นโยบายเปิดน่านฟ้าเสรี (Open Sky Policy) นอกจากน้ีมีแผนการพัฒนาอย่างเร่งด่วนประกอบด้วยการปรับปรุงคุณภาพของการบริการการ ฝึ ก อ บ รม บุ ค ล า ก รท่ี ท าง า น ใน ภ า ค ก าร ท่ อ ง เท่ี ย วก าร พั ฒ น าโรง แ รม ให้ ได้ ม าต รฐ าน แ ล ะ ก า ร ประชาสัมพนั ธ์การทอ่ งเท่ยี วของประเทศรวมถึงการสร้างและพฒั นาจุดขายดา้ นการทอ่ งเทีย่ วเพม่ิ ขึ้น ปัจจุบันมีสายการบินนานาชาติบินมาลงที่กรุงพนมเปญและจังหวัดเสียมเรียบมากกว่า 20 สาย วันละ 58 เท่ียวบิน มีโอกาสท่ีจะพัฒนาการผลิตผลไม้เพ่ือส่งออกไปจาหน่ายในแหล่งท่องเท่ียว ร้านอาหาร โรงแรม ฯลฯ ในประเทศกัมพชู าและเวียดนาม 3.3) พ้ืนท่ีเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษอาเภอคลองใหญ่ ติดกับจงั หวัดเกาะ กง ซึ่งมีเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ/นิคมอุตสาหกรรมเกาะกง มีระยะห่าง 2 กิโลเมตร ปัจจุบันมี โรงงานเปิดทาการแล้ว เชน่ โรงงานYazaki (Cambodia) Products Co., Ltd. (ญี่ปุ่นลงทุน/ผลิต ชุดสายไฟอุตสาหกรรมยานยนต์และส่งออกข้ามพรมแดนมายังตลาดในประเทศไทย)โรงงาน MikasaSports (Cambodia) Co., Ltd. (ญ่ีปุ่นลงทุน/ผลิตอุปกรณ์กีฬาและลูกวอลเลย์บอลโดย นาเขา้ วตั ถดุ ิบจากไทย ญ่ีปนุ่ จนี เกาหลี มาผลติ และส่งออกโดยใช้ท่าเรอื สีหนุวิลล์) และโรงงาน KKN Apparel Co., Ltd. (ไทยลงทุน/ตัดเย็บเส้ือผ้าและส่งออกออกโดยใช้ท่าเรือสีหนุวิลล์ กัมพูชา) ห่าง จากท่าเรือสีหนุวิล์ของประเทศกมั พูชา 233 กิโลเมตร พน้ื ท่ีเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษอาเภอคลอง ใหญ่หา่ งจากท่าเรือฮาเตยี นของเวยี ดนาม 285 กิโลเมตรและหา่ งจากทา่ เรอื แหลมฉบงั ของประเทศ ไทย 330 กิโลเมตร มโี อกาสทีจ่ ะพัฒนาการผลติ ผลไมเ้ พือ่ สง่ ออกไปจาหน่ายในแหลง่ อุตสาหกรรม 3.4) พ้ืนท่ีเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษอาเภอคลองใหญ่อยู่ในแนวเส้นทาง เลียบชายฝ่ังด้านใต้ (Southern Coastal Subcorridor) หรือเส้นทาง R10 ซ่ึงเป็นหนึ่งในเส้นทาง โครงการพัฒนาแนวพ้ืนที่เศรษฐกิจตอนใต้ หรือ Southern Economic Corridor (SEC) เชื่อมโยง พ้ืนที่เศรษฐกิจและแหล่งท่องเท่ียวสาคัญระหว่างไทย–กัมพูชา–เวียดนาม ท้ังทางบก ทางทะเลและ ทางอากาศ โดยทางอากาศอยู่ใกล้กับสนามบินเอกชน จานวน1แห่ง คือสนามบินของบริษัท บางกอกแอร์เวย์ ต้ังอยู่ท่ีตาบลท่าโสม อาเภอเขาสมิง จังหวัดตราด เปิดให้บริการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2546 ให้บริการวันละ 3 เที่ยวบินกรณีปกติ และวันละ 6 เท่ียวบินกรณีช่วงฤดูการท่องเท่ียว ได้รับ การอนุญาตให้เป็นสนามบินศุลกากรเรียบร้อยแล้ว ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันที่ 13 มีนาคม 2556 ทางน้า มีท่าเทียบเรือของเอกชน 5 แห่ง ในอาเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด ได้แก่ ท่าเทยี บเรอื ชลาลยั ท่าเทยี บเรือกลั ปังหา ท่าเทยี บเรอื ป.เกษมท่าเทยี บเรือส.กฤตวรรณและทา่ เทียบ เรือทรัพย์ชโลธรรวมทั้งท่าเทียบเรือเอนกประสงค์คลองใหญ่ ขนาด 500 ตันกรอสซ่ึงดาเนินการ ก่อสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้วมีโอกาสในการส่งผลไม้ออกไปจาหน่ายในแหล่งเศรษฐกิจที่มีศักยภาพ เช่น แหล่งท่องเท่ียว เขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษของประเทศกัมพูชาและเวียดนาม ฯลฯ หรือสง่ เป็น วัตถุดิบในการแปรรปู

48 3.5) สินค้าไทยเป็นที่นิยมในกัมพูชาเน่ืองจากมีความใกล้ชิดกัน รวมท้ัง การโฆษณาทางสื่อโทรทศั นไ์ ทยทาให้สินค้าไทยเป็นทรี่ จู้ ักแพร่หลายมากกว่าสินคา้ จากประเทศอ่ืนๆ 3.6) การผลิตผลไม้ของประเทศไทยมีเทคโนโลยีท่ีทันสมัย มีคุณภาพ มี การวิจัย มพี นั ธ์ทุ ่มี ีศักยภาพสูง มีระบบรบั รองมาตรฐาน เชน่ GAP อนิ ทรีย์ 3.7) การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของโลก กระแสรักสุขภาพ กระแสการ ท่องเทีย่ วชุมชน การทอ่ งเท่ียวเชิงนิเวศน์ เชงิ วฒั นธรรม เชิงอนุรกั ษ์ส่ิงแวดล้อม เอื้อกับการพฒั นา ผลไม้เพอ่ื การท่องเทีย่ ว การพัฒนาผลไมเ้ พอ่ื การบริโภคเชงิ สขุ ภาพ 3.8) การดาเนนิ งานเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษมีคณะทางานขบั เคล่อื นและ มีงบประมาณสนับสนุนท้ังในระดับประเทศและในระดับจังหวัด โดยจังหวัดตราดมียุทธศาสตร์ จังหวัดท่ีสอดคล้องกับการพัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ มีงบประมาณของจังหวัดและกลุ่ม จังหวัดสนับสนุน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มีกรอบแนวทางการดาเนินงานด้านเขตพัฒนา เศรษฐกจิ พิเศษ มีงบประมาณเพ่ือเพ่มิ ศกั ยภาพด่านสนิ คา้ เกษตร สามารถจัดทาแผนงาน โครงการ เพอ่ื พฒั นาผลไม้ 3.9) นโยบายรัฐบาลและแผนพัฒนาของประเทศไทยให้ความสาคัญกับ การพัฒนาภาคเกษตรโดยเฉพาะการพัฒนาผ่านกลไกขององค์กรเกษตรกร นโยบายสนับสนุน ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเลก็ ทั้งในด้านการให้บริการข้อมูล การให้คาแนะนาปรึกษาและ ให้เงินลงทุนดอกเบ้ียต่าสาหรับกู้ยืม มีโอกาสที่องค์กรเกษตรกรและเกษตรกรจะพัฒนาการผลิต การส่งออกผลไม้และการบริการท่ีเกีย่ วข้องกบั ผลไม้ เช่น การเที่ยวชมสวนผลไม้ของสมาชิกองค์กร เกษตรกร 3.10) นโยบายภาครัฐของไทยสนับสนุนเศรษฐกิจแบบดิจิตอล (Digital Economy) รวมทั้งการจัดเก็บและเผยแพร่ข้อมูลด้านการค้าและการลงทุนของไทยและกัมพูชามี เพิ่มมากขึ้นทาให้ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถสืบค้นข้อมูลด้านการผลิตการตลาด เช่ือมโยงเครือข่ายทา การตลาดผ่านระบบ Social Network ได้สะดวกเพิ่มมากขึ้น 4) ขอ้ จากัด 4.1) กฎระเบียบการค้าของกัมพูชาไม่ค่อยเป็นสากล มีการเปลี่ยนแปลง บอ่ ย มีการลักลอบทาการค้าผิดกฎหมายสินค้าท่สี ่งออกไปกมั พูชา โดยเฉพาะท่ีผา่ นด่านชายแดน มี การเก็บภาษีและค่าธรรมเนียมให้กับด่านต่างๆ ในลักษณะท่ีผิดกฎหมายจานวนมาก ทาให้ต้นทุน สนิ คา้ เพมิ่ ขึ้นการใชม้ าตรการทีไ่ ม่ใช่ภาษี อาทิ การตรวจสอบสินคา้ กอ่ นการนาเข้า ฯลฯ ทาใหต้ ้นทุน การนาเข้าสินค้าไปยังกัมพูชาสูงข้ึนกัมพูชายังมีการบังคับใช้กฎหมายที่ไม่มีประสิทธิภาพระบบ ธนาคารพาณิชย์ยังไม่เป็นที่นิยม มีการใช้เงินสดในการค้าทั่วไปค่อนข้างมาก การส่งออกผลไม้ไป ประเทศกัมพูชาสามารถทาได้โดยไม่ผ่านระบบศุลกากรและไม่มีการบันทึกข้อมูลการส่งออกทาให้ ขาดขอ้ มูลทชี่ ัดเจนในการพัฒนา

49 4.2) กฎระเบียบของประเทศไทยมีความเข้มงวดและยังไม่เอ้ือประโยชน์ กับผปู้ ระกอบการรายย่อย รวมท้ังการออกกฎระเบียบมีหลายหน่วยงาน ระบบการให้บริการ แบบจดุ เดียวเบ็ดเสรจ็ และระบบ National Single Window ยงั ดาเนนิ การได้นอ้ ย ผู้ประกอบการ มปี ัญหาเร่ืองกฎระเบียบและขั้นตอนการปฏิบตั ิดา้ นแรงงานต่างดา้ วมีความเขม้ งวดเปล่ยี นแปลงบอ่ ย และมีคา่ ใชจ้ า่ ยสงู 4.3) ผ้ทู ี่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้ประกอบการ องค์กรเกษตรกรและเกษตรกร ในจังหวัดตราดส่วนใหญ่ยังไม่ทราบรายละเอียดของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษการเผยแพร่ข้อมูล เกี่ยวกับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดตราดและของประเทศไทยยังมีน้อยและอยู่ในหลาย แหล่งข้อมูล 4.4) การนาเข้าส่งออกผลไม้ระหว่างประเทศไทยและประเทศกมั พูชาผา่ น ดา่ นอาเภอคลองใหญ่ซง่ึ อยู่ในพื้นที่เขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษจงั หวัดตราดสว่ นใหญย่ ังไม่ถกู ตอ้ งตาม กฎระเบียบและไมม่ กี ารบนั ทึกการนาเข้าส่งออกที่ชดั เจนโดยเป็นการยืดหยนุ่ เพ่อื รักษาความสัมพนั ธ์ อันดีระหว่างกันและเพ่ือเป็นการระบายผลไม้ในช่วงฤดูผลไม้ ทาให้ขาดข้อมูลในการพัฒนาการ สง่ ออกผลไม้ 4.5) ชายแดนระหว่างประเทศไทยและประเทศกัมพูชาในเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษจังหวัดตราดมีระยะทางไกลทั้งทางบกและทางทะเล ทาให้เฝ้าระวังได้ยาก สถานท่ี และส่ิงอานวยความสะดวกของด่านตรวจสินค้าเกษตรยังไม่เพียงพอ โดยบริเวณจุดตรวจเป็นเตน็ ท์ ขนาดเล็กทาใหก้ ารติดต้ังเคร่อื งมืออปุ กรณ์คอมพิวเตอร์ซึ่งต้องเชื่อมต่อข้อมูลผ่านระบบอินเตอร์เน็ต มีความไม่สะดวกนอกจากน้ีเจ้าหน้าที่ด่านตรวจยังขาดทักษะด้านภาษาทาให้การสื่อสารไม่สะดวก เจ้าหน้าท่ีด่านตรวจมีความต้องการสนับสนุนเคร่ืองมืออุปกรณ์ เช่น เรือตรวจการเพ่ือป้องกันการ ลักลอบนาเขา้ ส่งออกสินค้าตามแนวชายฝั่งทะเล รวมทง้ั การปรับปรุงจดุ ตรวจของด่าน การปรบั ปรุง การบนั ทกึ ข้อมลู การนาเข้าส่งออกสนิ ค้าเกษตรเพ่ือใชพ้ ัฒนาดา่ นตรวจ การจดั งบประมาณในการจา้ ง ล่ามภาษากัมพชู า ตารางท่ี 4.11 จดุ แข็ง จุดแขง็ (S) ระดบั ความสาคัญ มาก S1 เขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษจังหวดั ตราดมีพ่อคา้ รับซอื้ ผลไมท้ ี่สามารถ ติดต่อสื่อสารรวมทั้งมีสายสัมพันธ์ทางการค้ากับประเทศกัมพูชามาอย่าง ยาวนาน

50 ตารางที่ 4.12 จุดออ่ น จุดอ่อน (W) ระดบั ความสาคัญ ปานกลาง W1 พ้นื ทป่ี ลูกผลไมใ้ นเขตพฒั นาเศรษฐกิจอาเภอคลองใหญม่ ีน้อย ตารางท่ี 4.13 โอกาส โอกาส (O) ระดบั ความสาคัญ มากที่สดุ O1 พื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดตราดมีแหล่งท่องเที่ยวและ สามารถเช่ือมโยงกับแหลง่ ท่องเที่ยวในจังหวัดตราด จงั หวดั จันทบรุ ี ระยอง ชลบุรตี อ่ เนอื่ งไปจนถึงกรุงเทพมหานคร มาก O2 พนื้ ทเ่ี ขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษอาเภอคลองใหญ่ สามารถเชื่อมโยง กบั แหลง่ ทอ่ งเที่ยวของประเทศกมั พชู า มาก O3 พื้นท่ีเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวดั ตราดติดกับเขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ/นิคมอุตสาหกรรมของประเทศกัมพชู า มาก O4 พื้นท่ีเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษอาเภอคลองใหญ่อยู่ในแนวเส้นทาง โครงการพัฒนาแนวพ้ืนที่เศรษฐกิจตอนใต้ หรือ Southern Economic Corridor (SEC) เช่ือมโยงพ้ืนท่ีเศรษฐกิจและแหล่งท่องเท่ียวสาคัญระหว่าง ไทย–กัมพชู า–เวยี ดนาม ทงั้ ทางบก ทางทะเลและทางอากาศ มาก O5 สินค้าไทยเป็นท่ีนิยมในกัมพูชาเน่ืองจากมีความใกล้ชิดกัน รวมทั้งการ โฆษณา ทางสื่อโทรทัศน์ไทยทาให้สินค้าไทยเป็นท่ีรู้จักแพร่หลายมากกว่าสินค้าจาก ประเทศอนื่ ๆ มาก O6 การผลติ ผลไม้ของประเทศไทยมเี ทคโนโลยีทท่ี ันสมัย มีคุณภาพ มีการ วจิ ยั มพี ันธทุ์ ่ีมศี ักยภาพสูง มรี ะบบรบั รองมาตรฐาน เชน่ GAP อินทรยี ์

51 ตารางที่ 4.13 (ตอ่ ) โอกาส (O) ระดับ ความสาคัญ มาก O7 การเขา้ สูส่ ังคมผสู้ ูงอายขุ องโลก กระแสรกั สขุ ภาพ กระแสการท่องเทย่ี ว ชมุ ชน การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ เชิงวัฒนธรรม เชิงอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม เอ้ือ กบั การพฒั นาผลไมเ้ พื่อการทอ่ งเท่ียว การพฒั นาผลไม้เพื่อการบริโภคเชงิ สุขภาพ มาก O8 การดาเนินงานเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษมีคณะทางานขับเคลื่อนและมี งบประมาณ สนบั สนุนทัง้ ในระดับประเทศและในระดบั จงั หวดั มาก O9 นโยบายรฐั บาลและแผนพัฒนาของประเทศไทยใหค้ วามสาคัญกับการพัฒนา ภาคเกษตรโดยเฉพาะการพัฒนาผ่านกลไกขององค์กรเกษตรกร นโยบาย สนับสนุนผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กท้ังในด้านการให้บริการข้อมูล การใหค้ าแนะนาปรกึ ษาและใหเ้ งนิ ลงทุนดอกเบยี้ ต่าสาหรับกยู้ มื มาก O10 นโยบายภาครัฐของไทยสนับสนุนเศรษฐกิจแบบดิจิตอล (Digital Economy) รวมทั้งการจัดเก็บและเผยแพร่ข้อมูลด้านการค้าและการลงทุนของ ไทยและกัมพูชามีเพิ่มมากขน้ึ ทาให้ผทู้ ่ีเก่ียวขอ้ งสามารถสบื ค้นข้อมลู ด้านการผลิต การตลาด เช่ือมโยงเครือข่าย ทาการตลาดผ่านระบบ Social Network ได้ สะดวกเพมิ่ มากข้นึ

52 ตารางที่ 4.14 อุปสรรค อุปสรรค (T) ระดับ ความสาคญั มาก T1 กฎระเบียบการค้าของกมั พูชาไม่คอ่ ยเป็นสากล มีการเปลี่ยนแปลงบ่อยการ ส่งออกผลไม้ไปประเทศกัมพูชาสามารถทาได้โดยไมผ่ า่ นระบบท่ี กฎหมายทาให้ขาดข้อมูลท่ชี ัดเจนในการพฒั นา มาก T2 กฎระเบียบของประเทศไทยมีความเข้มงวดและยงั ไมเ่ อ้อื ประโยชน์กบั ผู้ประกอบการรายย่อย รวมทัง้ การออกกฎระเบียบมหี ลายหนว่ ยงาน ร ะ บ บ การให้บริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จและระบบ National Single Window ยัง ดาเนินการได้น้อย ผู้ประกอบการมีปัญหาเรื่องกฎระเบียบและข้ันตอนการ ปฏบิ ตั ดิ า้ นแรงงานต่างดา้ วมีความเข้มงวดเปล่ยี นแปลงบอ่ ยและมคี า่ ใช้จ่ายสงู มาก T3 ผู้ที่เก่ียวข้อง ได้แก่ ผู้ประกอบการ องค์กรเกษตรกรและเกษตรกรใน จังหวัดตราดส่วนใหญย่ ังไมท่ ราบรายละเอยี ดของเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษการ เผยแพร่ขอ้ มูลเกี่ยวกับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดตราดและของประเทศ ไทยยงั มนี ้อยและอยู่ในหลายแหลง่ ข้อมลู มาก T4 การนาเขา้ สง่ ออกผลไมร้ ะหวา่ งประเทศไทยและประเทศกัมพูชาผา่ นดา่ น อาเภอคลองใหญ่ซ่ึงอยู่ในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวดั ตราดส่วนใหญ่ ยังไม่ถูกต้องตามกฎระเบียบและไม่มีการบันทึกการนาเข้าส่งออกที่ชัดเจนโดย เป็นการยดื หยุ่นเพ่ือรักษาความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างกนั และเพ่ือเป็นการระบาย ผลไมใ้ นช่วงฤดูผลไม้ ทาใหข้ าดข้อมูลในการพฒั นาการส่งออกผลไม้ ปานกลาง T5 ชายแดนไทยกัมพชู ามีระยะทางไกลท้ังทางบกและทางทะเล ทาให้เฝา้ ระวัง ไดย้ าก ส่ิงอานวยความสะดวกของดา่ นตรวจพชื สัตวแ์ ละสตั ว์น้ายังไม่เพยี งพอ รวมทัง้ เจา้ หน้าท่ีด่านยังขาดทักษะดา้ นภาษาทาให้การสอื่ สารยงั ไมส่ ะดวก

53 4.3.3 การวิเคราะหป์ ัจจัยเชิงกลยุทธ์ (TOWS Matrix) การจัดทาแนวทางพัฒนาการเกษตร (ผลไม้) ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดตราดโดย นาจดุ ออ่ น จดุ แข็ง โอกาสและข้อจากดั ท่สี าคญั มาจบั คู่ในรปู ของเมตริกซ์ (TOWS Matrixs) ไดด้ ังนี้ 1) กลยทุ ธ์เชงิ รุก (SO) ได้จากการจบั ครู่ ะหวา่ งจุดแขง็ ซ่งึ เปน็ ปจั จัยภายใน (S) กบั โอกาส (O) ซ่งึ เปน็ ปจั จัยภายนอก 1.1) สนบั สนนุ ให้พ่อค้าผลไม้ในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษจงั หวดั ตราด ส่งออกผลไม้คุณภาพและผลิตภัณฑ์จากผลไม้ซึ่งรวบรวมจากเกษตรกรและองค์กรเกษตรก รใน จังหวัดตราดและจังหวัดจันทบุรีไปจาหน่ายยังแหล่งท่องเที่ยวและแหล่งอุตสาหกรรมในประเทศ กัมพชู า 2) กลยทุ ธ์เชิงป้องกนั (ST) ได้จากการจบั ค่รู ะหว่างจุดแข็ง (S) ซ่ึงเปน็ ปจั จัย ภายใน กบั อุปสรรค(T) ซ่งึ เป็นปัจจยั ภายนอก 2.1) สนับสนุนใหพ้ ่อคา้ ผลไมใ้ นเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษจังหวัดตราดเข้า สู่ระบบการส่งออกที่ถูกกฎระเบียบโดยเชื่อมโยงกับองค์กรเกษตรกรเพื่อพัฒนาระบบการบริหาร จัดการขององค์กรเกษตรกรและเกษตรกรที่เป็นสมาชิกโดยให้สิทธปิ ระโยชน์ด้านต่าง ๆ เช่น เงินกู้ ดอกเบ้ียต่า สิทธิประโยชน์ด้านภาษี ด้านแรงงานต่างด้าว ฯลฯ การอบรมให้ความรู้ด้าน กฎระเบียบ การพัฒนากฏระเบียบด้านการนาเข้าส่งออกผลไม้ การพัฒนา NSW และ One Stop Service 3) กลยุทธ์เชงิ แกไ้ ข (WO) ได้จากการจบั คู่ระหว่างจุดอ่อน (W) ซง่ึ เป็นปัจจยั ภายในกบั โอกาส (O) ซงึ่ เปน็ ปจั จัยภายนอก 3.1) หนว่ ยงานภาครัฐ ภาคเอกชนสนับสนุนใหส้ วนผลไมใ้ นเขตพัฒนา เศรษฐกจิ พิเศษเป็นแหลง่ ท่องเที่ยวเชิงเกษตร แหล่งศึกษาดูงาน สถานท่สี าหรบั จดั กจิ กรรมดา้ นการ ท่องเท่ียว ด้านสขุ ภาพ โดยเชื่อมโยงกบั สวนผลไมใ้ นจังหวดั ตราดและจังหวัดจนั ทบุรี 3.2) สนับสนุนการผลิตผลไม้ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษจงั หวัด ตราดและในจังหวดั ตราด จงั หวัดจนั ทบรุ ี ให้มีคุณภาพตรงกับความต้องการของผบู้ ริโภคแต่ละกลุ่ม (ผู้สงู อายุ , ผู้รักสุขภาพ , ผ้มู ีรายได้น้อย/ปานกลาง/สูง ,นักท่องเท่ียว ฯลฯ) มีความปลอดภัยปลอด สารเคมตี กค้าง ไดร้ ับการรบั รองมาตรฐาน (ผลไม้ GAP ผลไม้อินทรีย์ ฯลฯ) มตี ราสินค้า มีบรรจุ ภัณฑ์ที่เหมาะสม เพิ่มมูลค่าผลไม้ เช่น ไอศกรีมผลไม้ สลัดผลไม้ ยาผลไม้ ส้มตาผลไม้ รองรับ การทอ่ งเท่ียวและการสง่ ออก 3.3 ) สนับสนุนการเพ่ิมชอ่ งทางการตลาดผลไมใ้ นเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษ เชน่ การจาหนา่ ยผลไมค้ ุณภาพในรีสอรท์ โรงแรม ท่ีพัก ร้านจาหนา่ ยสนิ ค้าท่ีได้รับมาตรฐาน Q (Q Shop) ร้านอาหารท่ีใช้วัตถุดิบจากสินค้าเกษตรที่ได้รับมาตรฐาน Q (Q Restaurant) ท่าเรือ เอนกประสงค์คลองใหญ่ นิคมอุตสาหกรรมท่ีกาลังจะเปิดดาเนินการ Home stay Long stay รา้ นอาหาร ศูนย์อาหาร ตลาดนัดสนิ คา้ สุขภาพ ฯลฯ การจัดงาน Event : ขี่จักรยาน บุฟเฟ่ผลไม้ ชม สวนผลไม้ ศึกษาดูงาน

54 3.4) จัดทา website เผยแพร่ข้อมูลเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัด ตราด มาตรการส่งเสริมการลงทุน ข้ันตอนการส่งออกผลไม้ รวมทั้งสนับสนุนการประชาสัมพันธ์ เชน่ แหลง่ ผลติ ผลไมค้ ุณภาพ สถานที่จาหนา่ ย สถานทแ่ี ละช่วงเวลาการจดั งาน ฯลฯ

55 บทท่ี 5 สรุปและขอ้ เสนอแนะ 5.1 สรุป ในวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ประเทศสมาชิกอาเซียนได้ก้าวเข้าสู่การเป็นประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนครบทั้ง 10 ประเทศ ก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งทางด้านการสร้างความมั่นคงทาง เศรษฐกิจและส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันของสินค้าไทยในตลาดสากล โดยในปี 2558 ประเทศไทยไดอ้ อกประกาศจดั ต้งั เขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษ รวม 10 เขต มีวัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ พัฒนา คุณภาพชีวิตของประชาชน ส่งเสริมการค้า การลงทุนและเพ่ือเตรียมพร้อมรองรับการเปิด ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (ASEAN Economic Community : AEC) เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดตราด ต้ังอยู่ที่อาเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด ติดกับ อาเภอมณฑลสีมา จังหวัดเกาะกง ประเทศกัมพูชา มีการติดต่อการค้าระหว่างกันเพ่ิมขึ้นอย่าง ต่อเน่ือง ในปี 2558 มีมูลค่าการค้าสูงถึง 31,914.69 ล้านบาท สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 6 ซ่ึงรับผิดชอบจังหวัดตราดจึงได้ทาการศึกษาแนวทางการพัฒนาการเกษตรจากการเปิดประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน กรณีศึกษาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดตราด มีวัตถุประสงค์เพ่ือทราบ สถานการณ์การค้าสนิ ค้าเกษตรทีส่ าคญั ระหวา่ งไทย - กัมพูชา ผ่านด่านการคา้ ชายแดนอาเภอคลอง ใหญ่ จังหวัดตราด การบริหารจัดการด้านการนาเข้าและส่งออกสินค้าเกษตรท่ีสาคัญของสหกรณ์ การเกษตรในพื้นท่ีเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดตราด รวมทั้งเสนอแนะแนวทางพัฒนาการ เกษตรจากการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดตราด โดย กาหนดขอบเขตสินค้าเกษตรสาคัญที่ศึกษา คือ ผลไม้ ได้แก่ ทุเรียน มังคุด เงาะและลองกอง ซ่ึง เปน็ ผลไมท้ ่สี าคัญของจงั หวดั ตราด ผลการศกึ ษา พบวา่ การคา้ ผ่านด่านการค้าชายแดนอาเภอคลองใหญ่ ซึง่ อยูท่ บ่ี ้านหาดเล็ก ตาบลหาดเล็ก อาเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด ติดกับชายแดนประเทศกัมพูชาที่บ้านจามเย่ียม อาเภอมณฑลสีมา จังหวัดเกาะกง มีมูลคา่ เพ่ิมข้ึนอยา่ งต่อเนื่อง จาก 20,207.74 ล้านบาท ในปี 2554 เป็น 31,914.69 ล้านบาท ในปี 2558 คิดเป็นอัตราการขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 11.08 ต่อปี การค้าส่วนใหญ่เป็นการส่งออก ในปี 2558 มีมูลค่า 29,000.25 ล้านบาท หรือร้อยละ 90.87 ของมูลค่าการค้าท้ังหมด สินค้าส่งออกท่ีสาคัญ คือ เครื่องด่ืม น้าอัดลม น้าหวานต่างๆ นม - อาหารเสริม นา้ ตาลทราย เบียร์ ผงชรู ส – ผงปรุงรส รถยนต์น่งั ใหม่ ชดุ สายไฟฟ้า น้ามันหลอ่ ลื่น ผงซักฟอก – น้ายาซักผ้า ท่อแป๊บน้าและอุปกรณ์ก่อสร้างทาด้วย P.V.C การนาเข้ามีมูลค่าเพียง 2,914.44 ลา้ นบาท หรือรอ้ ยละ 9.13 สินค้านาเข้าท่ีสาคญั คอื ชุดสายไฟรถยนต์สาเร็จรปู ยางใน ลกู ฟตุ บอล เศษสายไฟ ไม้แปรรูป ปลาหมกึ ตากแห้ง ปลาทะเลสด กระเพาะปลาตากแหง้ กะปิ เนอื้ ในเมล็ดปาล์มน้ามนั ผลมะพรา้ วแก่ปอกเปลอื ก

56 การนาเข้าส่งออกสินคา้ ส่วนใหญ่เป็นการขนสง่ ทางน้าผ่านท่าเทียบเรอื ของเอกชน 5 แห่ง ในอาเภอคลองใหญ่ จังหวดั ตราด ได้แก่ ท่าเทยี บเรอื ชลาลัย ท่าเทียบเรอื กัลปังหา ท่าเทียบเรือ ป. เกษม ท่าเทียบเรือ ส.กฤตวรรณและท่าเทียบเรือทรัพย์ชโลธร ในปี 2558 มีมูลค่าการค้าที่ขนส่ง ทางเรือ 20,651.23 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 64.70 ของมูลค่าการค้าท้ังหมด ส่วนอีกร้อยละ 35.17 หรือ 11,223.70 ล้านบาท ขนส่งทางบกผ่านจุดผ่านแดนถาวรบ้านหาดเล็ก อาเภอคลอง ใหญ่ ซึ่งเปิดทุกวัน ตั้งแต่เวลา 06.00น. - 22.00 น. โดยสัดส่วนการนาเข้าส่งออกสินค้าทางบก ผ่านจุดผ่านแดนถาวรบ้านหาดเล็ก อาเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง จากสดั ส่วนเพียงรอ้ ยละ 7.88 ในปี 2554 เปน็ ร้อยละ 35.17 ในปี 2558 เน่ืองจากระบบ การขนส่งทางบกมีการพฒั นาเพ่มิ มากขน้ึ นอกจากการคา้ ผ่านจุดผ่านแดนถาวรบ้านหาดเล็ก อาเภอคลองใหญ่ การคา้ ระหวา่ งจงั หวัด ตราดและประเทศกัมพูชายังมีการค้าผ่านจุดผ่านแดนอีก 2 แห่ง คือ จุดผ่อนปรนการค้าบ้าน มะม่วง อาเภอบ่อไร่ (เนิน 400) ซึ่งตรงข้ามกับบ้านคลองรถถัง อาเภอสารูด จังหวดั พระตะบอง ปัจจุบันสามารถผ่านจุดผ่านแดนได้ทุกวัน ต้ังแต่เวลา 06.00 - 18.00 น. และจุดผ่อนปรนการค้า ช่ัวคราวบ้านท่าเสน้ ตาบลแหลมกลัด อาเภอเมืองตราด ซ่ึงตรงข้ามกับบ้านทมอดา อาเภอเวียง เวล จังหวดั โพธิสัตย์ เปิดใหผ้ า่ นแดนเฉพาะวันเสาร์เวลา 10.00 - 16.00 น. โดยสามารถลงทะเบียน เข้า - ออกได้ท่ีฐานกองรอ้ ย ทพ.นย.ที่ 535 (บ้านท่าเส้น) ส่วนใหญ่เป็นการเขา้ มาซื้อสนิ ค้าอุปโภค บรโิ ภคของชาวกัมพชู าท่ีตลาดนดั ภายในบริเวณวดั ท่าเส้น ซึ่งการค้าท้ัง 2 จุด ยังมีมลู ค่าการค้าไม่ มากนัก ในปี 2558 มีมูลค่าการค้าเพียง 39.76 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.13 ของมูลค่าการค้า ท้ังหมด การค้าสินค้าเกษตรผ่านด่านการค้าชายแดนอาเภอคลองใหญ่ ในปี 2558 มีมูลค่า 967.75 ล้านบาท สว่ นใหญ่เปน็ การคา้ ด้านประมง มูลค่า 827.92 ล้านบาท หรอื ร้อยละ 85.55 ของมูลคา่ การค้าสินคา้ เกษตร เป็นการนาเข้ามูลค่า 604.92 ล้านบาท สินค้านาเข้าท่ีสาคัญ คือ หอยลายมีชีวิต ปูแสมแช่เย็น หอยครางแช่เย็น เน้ือปูม้าแช่เย็น หอยแมลงภู่มีชีวิต กุ้งโอคักแช่ เย็น ปลาหมึกกล้วยตากแห้ง ปลาทูสั้นแช่เย็น กระเพาะปลาตากแห้ง เปลือกหอยสังข์ จกุ พราหมณ์ ปูม้าต้มแช่เยน็ ปลาหมึกกระดองแชเ่ ย็น ปลาหมึกสายแช่เย็น ฯลฯ การสง่ ออกมี มูลค่า 222.99 ล้านบาท สินค้าส่งออกท่ีสาคัญ คือ กุ้งขาวแช่เย็น หอยแครงมีชีวิต ปลาหมึก หอมแช่เย็น ปูทะเลมีชีวติ ฯลฯ มูลค่าการนาเขา้ สินค้าด้านประมง มากกว่ามูลค่าการส่งออกสินค้า ด้านประมง 381.93 ล้านบาท การค้าสินค้าด้านปศุสัตว์ มูลค่า 82.72 ล้านบาท หรือร้อยละ 8.55 เป็นการส่งออกเพียงดา้ นเดียวไมม่ ีการนาเขา้ สินคา้ ท่ีส่งออก ได้แก่ ซากไก่ สุกรและโคเนื้อ การค้าสินค้าด้านพืชมลู ค่า 57.11 ล้าน บาท หรือร้อยละ 5.90 การค้าด้านพืชเป็นการนาเข้าเน้ือ ในเมล็ดปาล์มน้ามันและผลมะพร้าวแก่ปอกเปลือก สาหรับการส่งออกสินค้าด้านพืชไม่มีการแจ้ง การสง่ ออก เน่ืองจากติดข้อกาหนดของพระราชบัญญัตกิ ักพืช พ.ศ. 2507 และที่แก้ไขเพิม่ เติม ซงึ่ มี ความเข้มงวดประกอบกับปริมาณผลไมใ้ นประเทศกมั พูชายังมีปริมาณไม่มาก แต่อย่างไรก็ตามจาก การลงพื้นที่พบวา่ มีการส่งออกผลไม้ไปยังประเทศกมั พูชาโดยไม่ผ่านระบบศลุ กากร

57 สาหรับการบริหารจัดการด้านการนาเข้าและส่งออกสินค้าเกษตรท่ีสาคัญของสหกรณ์ การเกษตรในพื้นท่ีเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดตราด ดาเนินการศึกษาสหกรณ์การเกษตรที่ สาคัญในจังหวัดตราดท่ีดาเนินการเก่ียวกับผลไม้ 4 สหกรณ์ ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรเขาสมิง สหกรณ์การเกษตรบ่อไร่ สหกรณ์ส่งเสริมธุรกิจภาคเกษตร จังหวัดตราด จากัดและสหกรณ์ การเกษตรเพื่อการแปรรูปและส่งออกจงั หวัดตราด จากัด โดยสหกรณไ์ ม่ได้ดาเนินการส่งออกผลไม้ แต่รวบรวมผลไม้ให้กับพ่อค้าท่ีส่งออกไปยังประเทศกัมพูชา เวียดนาม พม่าและจีน การติดต่อซ้ือ ขายผลไม้ใช้ความสัมพันธ์ส่วนตัว บางสหกรณ์พ่อค้าส่งออกโอนเงินมาให้ล่วงหน้าเพ่ือใช้ในการ รวบรวมผลไม้ บางสหกรณ์พ่อค้าโอนเงินผ่านบัญชีธนาคารก่อนและหลังรับสินค้า บางสหกรณ์ รวบรวมผลไม้โดยบรษิ ัทส่งออกส่งพนักงานเข้ามารับซื้อ ณ จุดรับซื้อของสหกรณ์ บางสหกรณ์มี พนักงานของพ่อค้าส่งออกเข้ามาดาเนินการร่วมกับเจ้าหน้าท่ีของสหกรณ์ในข้ันตอนต่างๆ เพ่ือทา ทุเรยี นแชแ่ ข็งส่งออกไปยงั ประเทศจนี ผ่านท่าเรอื แหลมฉบังในจังหวัดชลบุรี เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดตราด มีจุดแข็ง คือมีพ่อค้ารับซื้อผลไม้ท่ีสามารถ ติดต่อสือ่ สารรวมทั้งมีสายสัมพันธท์ างการค้ากับประเทศกมั พูชามาอย่างยาวนาน มจี ดุ ออ่ นคือ พื้นท่ี ปลูกและปริมาณผลไมใ้ นเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษจงั หวดั ตราดยังมีน้อย มีโอกาส ไดแ้ ก่ ในพน้ื ที่ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดตราดมีแหล่งท่องเที่ยว โดยเฉพาะการท่องเที่ยวทางทะเลซึ่งมี ชายหาดเป็นแนวยาว นอกจากนี้ยังสามารถเช่ือมโยงกับแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดตราดซ่ึงมีแหล่ง ท่องเที่ยวท้ังทะเล ชายหาด ป่าชายเลนและปะการังที่มีความโดดเด่นสมบูรณ์สวยงามเป็นท่ีสนใจ ของนักท่องเท่ียวท้ังชาวไทยและชาวต่างชาติ แหล่งท่องเท่ียวในจังหวัดจันทบุรี ระยอง ชลบุรี ต่อเน่ืองไปจนถึงกรุงเทพมหานคร อยู่ติดกับจังหวัดคือเกาะกง ถัดไปเป็นจังหวัดพระสีหนุ กา ปอดและแกบซึ่งมีชายทะเลเป็ นแนวยาวและได้รับการยอมรับว่าเป็ นชายหาดที่ สวยระดับโลก นอกจากนี้ประเทศกัมพูชายังมีแหล่งท่องเท่ียวท่ีถือเป็นสิ่งมหัศจรรย์ของโลก คือ ปราสาทนครวัด นครธม ติดกับเศรษฐกิจพิเศษ/นิคมอุตสาหกรรมเกาะกง มีระยะห่าง 2 กิโลเมตร ปัจจุบันมี โรงงานเปิดทาการแล้ว ห่างจากท่าเรือสีหนุวิล์ของประเทศกัมพูชา 233 กิโลเมตร ห่างจากท่าเรือ ฮาเตียนของเวียดนาม 285 กิโลเมตรและห่างจากท่าเรือแหลมฉบังของประเทศไทย 330 กิโลเมตร อยใู่ นแนวเส้นทางโครงการพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจตอนใต้ หรือ Southern Economic Corridor (SEC) เชอ่ื มโยงพื้นท่ีเศรษฐกิจและแหล่งท่องเท่ียวสาคัญระหว่างไทย–กัมพูชา–เวียดนาม ทั้งทางบก ทางทะเลและทางอากาศ สินค้าไทยเป็นทีน่ ยิ มในกัมพชู า การผลติ ผลไม้ของประเทศไทยมี เทคโนโลยีท่ีทนั สมัย มีคุณภาพ มีระบบรับรองมาตรฐาน การเข้าสู่สังคมผสู้ ูงอายุของโลก กระแส รักสุขภาพ กระแสการท่องเท่ียวชุมชน การท่องเท่ียวเชิงนิเวศน์ เชิงวัฒนธรรม เชิงอนุรักษ์ ส่ิงแวดล้อม การดาเนินงานเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษมีคณะทางานขับเคล่ือนและมีงบประมาณ สนับสนุน นโยบายให้ความสาคัญกับการพัฒนาภาคเกษตรผ่านกลไกขององคก์ รเกษตรกร นโยบาย สนับสนุนผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กทั้งในด้านการให้บริการข้อมูล การให้คาแนะนา ปรกึ ษาและให้เงินลงทนุ ดอกเบยี้ ตา่ สาหรบั กยู้ ืม สนับสนนุ เศรษฐกิจแบบดจิ ิตอล มีข้อจากัด คือ กฎระเบียบการค้าของกัมพูชาไม่ค่อยเป็นสากล มีการเปล่ียนแปลงบ่อย มี การลักลอบทาการค้าผิดกฎหมายสินค้าท่สี ่งออกไปกัมพูชา โดยเฉพาะทีผ่ ่านด่านชายแดน มกี ารเก็บ

58 ภาษีและค่าธรรมเนียมให้กับด่านต่างๆ ในลักษณะท่ีผิดกฎหมายจานวนมาก ทาให้ต้นทุนสินค้า เพ่ิมขึ้นการใช้มาตรการท่ีไม่ใช่ภาษี อาทิ การตรวจสอบสินค้าก่อนการนาเข้า ฯลฯ ทาให้ต้นทุนการ นาเข้าสินค้าไปยังกัมพูชาสูงขึ้นกัมพูชายงั มีการบังคับใช้กฎหมายที่ไม่มีประสิทธิภาพระบบธนาคาร พาณิชย์ยังไม่เป็นที่นิยม มีการใช้เงินสดในการค้าทั่วไปค่อนข้างมาก การส่งออกผลไม้ไปประเทศ กมั พูชาสามารถทาได้โดยไม่ผ่านระบบศุลกากรและไมม่ ีการบนั ทึกข้อมูลการสง่ ออกทาใหข้ าดข้อมลู ท่ี ชัดเจนในการพัฒนา กฎระเบียบของประเทศไทยมีความเข้มงวดและยังไม่เอื้อประโยชน์กับ ผู้ประกอบการรายย่อย รวมท้งั การออกกฎระเบียบมีหลายหน่วยงาน ระบบการให้บริการแบบจุด เดียวเบ็ดเสร็จและระบบ National Single Window ยังดาเนินการได้น้อย ผู้ประกอบการมีปัญหา เร่ืองกฎระเบียบและขั้นตอนการปฏิบัติด้านแรงงานต่างด้าวมีความเข้มงวดเปลี่ยนแปลงบ่อยและมี ค่าใช้จ่ายสูง ผู้ท่ีเกี่ยวข้องส่วนใหญ่ยังไม่ทราบรายละเอียดของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษการ เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดตราดและของประเทศไทยยังมีน้อยและอยู่ ในหลายแหล่งข้อมลู การนาเขา้ สง่ ออกผลไม้ระหวา่ งประเทศไทยและประเทศกัมพชู าผ่านด่าน อาเภอคลองใหญ่ซึ่งอยู่ในพ้ืนที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดตราดส่วนใหญ่ยังไม่ถูกต้องตาม กฎระเบยี บและไม่มีการบนั ทึกการนาเข้าส่งออกท่ีชดั เจนโดยเปน็ การยดื หยนุ่ เพอ่ื รกั ษาความสัมพนั ธ์ อันดีระหว่างกันและเพ่ือเป็นการระบายผลไม้ในช่วงฤดูผลไม้ ทาให้ขาดข้อมูลในการพัฒนาการ ส่งออกผลไม้ ชายแดนระหว่างประเทศไทยและประเทศกัมพูชาในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดตราดมีระยะทางไกลเฝ้าระวังได้ยาก สถานทแ่ี ละสิ่งอานวยความสะดวกของด่านตรวจสินค้า เกษตรยังไม่เพียงพอ ด่านตรวจมีความต้องการสนับสนุนเครื่องมืออุปกรณ์ การปรับปรุงจุดตรวจ ของด่าน การปรับปรุงการบันทกึ ข้อมูลการนาเข้าส่งออกสินค้าเกษตรเพื่อใช้พัฒนาด่านตรวจ การ จดั งบประมาณในการจ้างล่ามภาษากัมพชู า แนวทางพัฒนาการเกษตร (ผลไม้) ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวดั ตราดโดยนาจดุ อ่อน จุดแข็ง โอกาสและข้อจากัดที่สาคัญมาจับคู่ในรูปของเมตริกซ์ (TOWS Matrixs) ได้กลยุทธ์เชิงรุก คือ สนับสนุนให้พ่อค้าผลไม้ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดตราดส่งออกผลไม้คุณภาพและ ผลติ ภณั ฑจ์ ากผลไม้ซ่งึ รวบรวมจากเกษตรกรและองคก์ รเกษตรกรในจงั หวัดตราดและจังหวัดจันทบุรี ไปจาหน่ายยังแหล่งท่องเท่ียวและแหล่งอุตสาหกรรมในประเทศกัมพูชา กลยุทธ์เชิงป้องกัน คือ สนับสนุนให้พ่อค้าผลไม้ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดตราดเข้าสู่ระบบการส่งออกที่ถูก กฎระเบียบโดยเชื่อมโยงกับองค์กรเกษตรกรเพื่อพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการขององค์กรเกษตรกร และเกษตรกรท่ีเป็นสมาชิกโดยให้สิทธิประโยชน์ด้านต่าง ๆ เช่น เงินกู้ดอกเบี้ยต่า สิทธิประโยชน์ ดา้ นภาษี ดา้ นแรงงานต่างด้าว ฯลฯ การอบรมให้ความรู้ด้านกฎระเบียบ การพัฒนากฏระเบียบ ด้านการนาเข้าส่งออกผลไม้ การพัฒนา NSW และ One Stop Service กลยุทธ์เชิงแก้ไข คือ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนสนับสนนุ ใหส้ วนผลไม้ในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษเปน็ แหลง่ ท่องเทย่ี ว เชิงเกษตร แหล่งศึกษาดูงาน สถานท่ีสาหรับจัดกิจกรรมด้านการท่องเที่ยว ด้านสุขภาพ โดย เชื่อมโยงกับสวนผลไม้ในจังหวัดตราดและจังหวัดจันทบุรี สนับสนุนการผลิตผลไม้ในเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษจงั หวดั ตราดและในจังหวดั ตราด จังหวัดจันทบุรี ให้มีคุณภาพตรงกับความต้องการ ของผู้บริโภคแต่ละกลุ่ม (ผูส้ ูงอายุ , ผู้รักสุขภาพ , ผู้มรี ายได้นอ้ ย/ปานกลาง/สูง ,นกั ท่องเท่ยี ว ฯลฯ)

59 มีความปลอดภัยปลอดสารเคมีตกคา้ ง ไดร้ ับการรับรองมาตรฐาน (ผลไม้ GAP ผลไม้อินทรีย์ ฯลฯ) มีตราสินค้า มีบรรจุภัณฑ์ท่ีเหมาะสม เพ่ิมมูลค่าผลไม้ เช่น อาหารท่ีทาจากผลไม้ เช่น ไอศกรีม ผลไม้ สลัดผลไม้ ยาผลไม้ ส้มตาผลไม้ รองรับการท่องเท่ียวและการส่งออก สนับสนุนการเพ่ิม ช่องทางการตลาดผลไม้ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ เช่น การจาหน่ายผลไม้คุณภาพในรีสอร์ท โรงแรม ท่ีพัก ร้านจาหน่ายสินค้าที่ได้รับมาตรฐาน Q (Q Shop) ร้านอาหารที่ใช้วัตถุดิบจาก สินค้าเกษตรท่ีได้รับมาตรฐาน Q (Q Restaurant) ท่าเรือเอนกประสงค์คลองใหญ่ นิคม อุตสาหกรรมทกี่ าลังจะเปิดดาเนินการ Home stay Long stay รา้ นอาหาร ศูนยอ์ าหาร ตลาดนัด สินค้าสุขภาพ ฯลฯ การจัดงาน Event : ขี่จกั รยาน บุฟเฟผ่ ลไม้ ชมสวนผลไม้ ศึกษาดูงาน จัดทา website เผยแพร่ข้อมูลเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดตราด มาตรการส่งเสริมการลงทุน ขั้นตอนการส่งออกผลไม้ รวมทั้งสนับสนุนการประชาสัมพันธ์ เช่น แหล่งผลิตผลไม้คุณภาพ สถานทจ่ี าหนา่ ย สถานทีแ่ ละช่วงเวลาการจดั งาน ฯลฯ 5.2 ขอ้ เสนอแนะ 5.2.1 หนว่ ยงานภาครัฐและภาคเอกชนท่ีเก่ียวข้องเพ่มิ การประชาสัมพันธ์ขอ้ มลู เกยี่ วกบั เขต พฒั นาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดตราดในรปู แบบต่างๆโดยเฉพาะการประชาสัมพันธ์ผ่านระบบ Social Network ซ่ึงมีการใช้อย่างแพร่หลายและสามารถสืบคน้ ขอ้ มูลได้ตลอดเวลา 5.2.2 ส่งเสริมให้เกษตรกรและองค์กรเกษตรกรทาแผนธุรกิจอย่างครบวงจรตั้งแต่การ ตัดสินใจเลือกชนิดสินค้าเกษตรท่ีผลิตโดยพิจารณาถึงความต้องการและแนวโน้มของตลาด ความ เหมาะสมของพ้ืนท่ี การผลิตสินค้าท่ีมีคุณภาพและมีมาตรฐาน การเพ่ิมมูลค่าสินค้า การส่งเสริม การขาย ชอ่ งทางการขาย ฯลฯ 5.2.3 ส่งเสริมการส่งออกผลไม้ท่ีมีคุณภาพไปยังประเทศกัมพูชา โดยเน้นการส่งออกไปยัง แหล่งท่องเที่ยวและเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษของประเทศกัมพูชาซึ่งมีศักยภาพทางเศรษฐกิจสูง ดาเนินการท้งั ในระยะสนั้ เช่น การอบรมให้ความรู้ในการทาธรุ กิจสง่ ออกผลไม้ การจับคู่ธุรกิจ การ ลดค่าธรรมเนียมต่างๆ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นพี่เล้ียงช่วยดาเนินการ ฯลฯ และในระยะยาว เช่น การเจรจาการคา้ ระหว่างประเทศ การปรับปรุงกฎระเบียบ การวิจัยพฒั นา ฯลฯ 5.2.4 ส่งเสริมการจาหน่ายผลไม้คุณภาพในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดตราดโดย เชื่อมโยงกับการบริการ เช่น รีสอร์ท Homestay Longstay Q Shop Q Restaurant โรงเรียน โรงพยาบาล สถานออกกาลังกาย การจดั งาน ( Event) เช่น การขจ่ี กั รยานเพ่ือสุขภาพ การเข้าคา่ ย สุขภาพ การจัดโปรแกรมท่องเที่ยวไทย – กัมพูชา การจัดโปรแกรมท่องเที่ยวพร้อมตรวจสุขภาพ ใหก้ บั ชาวกัมพูชา ฯลฯ 5.2.5 พัฒนาการบริการด้านการเกษตรเพ่ือเพ่ิมทางเลือกให้กับผู้บริโภคและเพ่ิม ผลตอบแทนให้กับเกษตรกร เช่น การท่องเที่ยวเชิงเกษตร การศึกษาดูงานด้านการเกษตร มหกรรมผักผลไมแ้ ละอาหารเพื่อสขุ ภาพ ฯลฯ

60

60 บรรณานกุ รม กรมการคา้ ต่างประเทศ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษในประเทศไทย เข้าถงึ ไดจ้ าก http://www.dft.go.th/th-th/dft-service-data-deverlop-alert วันท่ีสบื ค้นขอ้ มูล 20 สงิ หาคม 2559 กรมธนารกั ษ์ คมู่ ือการลงทนุ ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษ เข้าถงึ ไดจ้ าก http://www.treasury.go.th/download/article/article_20170802121819.pdf วันที่สืบค้น ขอ้ มลู 20 สงิ หาคม 2559 เชงิ ชยั ตนั สุชาตแิ ละคณะ (2556) ผลกระทบขอ้ ตกลงประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น ปี 2558 ต่อผลไม้ กรณีศกึ ษาประเทศไทยและสาธารณรัฐฟลิ ปิ ปนิ ส์ รายงานเสนอสานกั งานกองทนุ สนับสนุนการวจิ ัย สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร (2554) กลยทุ ธ์การผลติ การตลาดผลไม้ (กรณีศกึ ษา ทุเรียน มังคุด เงาะ) สานักวจิ ัยเศรษฐกิจการเกษตร สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ เขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน เขา้ ถงึ ได้ จาก https://drive.google.com/drive/folders/0B9Axq5iCYsKCSm4xQkpzeEFkTjg วันทส่ี บื ค้นข้อมูล 10 กันยายน2559 สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ เขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษในประเทศไทย เขา้ ถึงไดจ้ าก http://www.nesdb.go.th/ewt_dl_link.php?nid=5198 วนั ที่สบื ค้นขอ้ มลู 20 สงิ หาคม 2559 สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ . 2558 . การพัฒนาเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษไทย เข้าถงึ ไดจ้ าก http://www.nesdb.go.th วันทีส่ บื คน้ ข้อมูล 20 พฤศจกิ ายน 2558 สถาบนั ระหวา่ งประเทศเพอ่ื การคา้ และการพฒั นา.2557.แนวทางและมาตรการเพอ่ื การพฒั นาเขตเศรษฐกิจ พิเศษ บรเิ วณพื้นท่ีแนวชายแดนของไทย.แหลง่ ที่มา :http//www.itd.or.th(20 พฤศจกิ ายน 2558) เอกชัย อภิศักดก์ิ ุล และทรรศนะ บุญขวัญ. เอกสารประกอบการสอน “การจดั การกลยทุ ธ์” (Strategic Management) แปลจาก Michael A.Hitt, R.Duane Ireland and Robert E.Hoskisson . พมิ พ์ครัง้ ที่ 3. กรงุ เทพ ฯ : บรษิ ัท เจเอสที พบั ลิชชิง่ จากัด, 2551. อารยาและคณะ (2556) ศักยภาพการผลิต การตลาดและขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของผลไมไ้ ทยใน ประเทศกมั พชู าและเวียดนาม รายงานเสนอสานักงานกองทนุ สนบั สนนุ การวิจยั