Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความรู้สุขภาพจิต ปี2558

บทความรู้สุขภาพจิต ปี2558

Published by 500bookchonlibrary, 2021-05-11 06:01:23

Description: บทความรู้สุขภาพจิต ปี2558

Search

Read the Text Version

บทความความรสู้ ุขภาพจติ 1 จาก การประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ ารเพ่อื พฒั นาศกั ยภาพนักสื่อสารสุขภาพจติ กรมสขุ ภาพจิต ปี 2558

ช่ือหนังสอื บทความความรสู้ ขุ ภาพจิต จาก การประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการเพือ่ พัฒนาศกั ยภาพนกั สือ่ สารสุขภาพจิต กรมสุขภาพจติ ปี 2558 สิงหาคม 2558 บรรณาธกิ าร กองสขุ ภาพจติ สังคม กรมสขุ ภาพจติ กระทรวงสาธารณสขุ พมิ พค์ รั้งที่ 1 บริษัท บยี อนด์ พับลิสชง่ิ จ�ำ กดั จัดพิมพโ์ ดย 100 เล่ม พมิ พ์ท่ ี จำ�นวนพิมพ์

คาํ นํา การสื่อสารถือเปนองคประกอบสําคัญองคประกอบหนึ่งของการสงเสริมสุขภาพจิต เน่ืองจาก ทําใหป ระชาชนไดร ับขอมลู ความรู ขาวสารดานสุขภาพจิตท่ีจําเปน เพื่อสรางความเขาใจ ความตระหนัก ตลอด ถงึ การดแู ลสขุ ภาพจิตดวยตนเองได การส่อื สารผานบทความเปนสิ่งที่ผูเขียนตองการส่ือสารขอเท็จจริง และหรือ ความคดิ เห็นในเร่ืองใดเรอ่ื งหน่ึง โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือใหความรู ความเขาใจ หรือใหความบันเทิง และเปนการ กระตนุ ใหประชาชนตระหนักและเกิดพฤตกิ รรมสุขภาพจิตที่ถกู ตอ ง สําหรบั หนังสือบทความความรสู ุขภาพจิต จากการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพ นักสื่อสารสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต คร้ังท่ี 2 ไดรวบรวมบทความ ความรูสุขภาพจิตท่ีผูเขารวมโครงการ ประชุมเชงิ ปฏบิ ตั ิการเพ่ือพฒั นาศกั ยภาพนักสื่อสารสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต คร้ังที่ 2 เขียนขึ้น ผูจัดทําหวัง เปน อยางย่งิ วา หนงั สือเลม น้จี ะเปน ประโยชนในการดาํ เนินงานเผยแพรค วามรสู ุขภาพจติ ตอ ไป คณะผจู ดั ทาํ สงิ หาคม 2558 บทความความร้สู ุขภาพจติ ก จาก การประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการเพ่อื พัฒนาศกั ยภาพนักสือ่ สารสุขภาพจติ กรมสุขภาพจติ ปี 2558

สารบญั หนา คํานาํ ก สารบญั ข “ความสุข” สมบัติทใ่ี ครๆ ก็อยากเปนเจา ของ 1 “ชวี ิตวุนวาย ของเจาชายไบโพลา ร” 2 “พลิก” ชวี ิต 3 15 สญั ญาณอัลไซเมอร 4 กลับบานเกา 5 ครอบครวั ...กับการดูแลผปู วยจติ เวช 6 ความสุข...อยูท ่ไี หน? 7 ความสุขสรา งได เมอื่ สูงวยั 8 ฉันไมไ ดบ า นะ! 9 ชวี ิตสดุ โตง ...ของเจาบอล 10 ชีวิตอนั มืดมนของ “ออย” 11 ดยู ังไง ใครซมึ เศรา 12 เธอผูไ มแพ 13 เบอื่ เรอ่ื งเพศ...ชีวติ คไู รส ุข 14 พลงั ใจทา มกลางวิกฤต 15 มาทาํ ความรูจักและชวยเหลอื เดก็ สมาธสิ ัน้ กันเถอะ 16 ไมรจู กั ฉนั ...ไมร ูจักเธอ 18 รบั มอื ...เม่ือตกงาน 19 เรอื่ งเลากรณศี ึกษา 20 เลีย้ งลูกอยางไรเส่ยี งตอไอคิวอีควิ ตาํ่ 21 เศรา...แลว ไง 22 สถานการณข องกลมุ ชาติพนั ธทุ ่ผี า นมา 23 สบายดีจะเดก็ ไทย 24 สมอง...ยาเสพติด...โรคจติ เกย่ี วพันกันอยางไร 25 สองขัว้ ...ซอนวญิ ญาณ 26 สง่ิ เลก็ ๆ ทีเ่ รียกวา “โรคเครยี ด” 28 ข บทความความรสู้ ุขภาพจติ จาก การประชมุ เชิงปฏิบัตกิ ารเพื่อพฒั นาศกั ยภาพนกั สอ่ื สารสขุ ภาพจิต กรมสุขภาพจติ ปี 2558

สขุ ใจท้ังผใู ห...ดีใจทั้งผูรบั 29 สุขอยา งสูงวัย...กายใจเปน สุข 30 หลงั คาแดง...บานนม้ี ีรกั จติ ตกปวยใจ แวะมาเยยี วยา 31 อยูรว มกบั ผูติดสุราอยางมคี วามสขุ 33 บทความความรูส้ ขุ ภาพจิต ค จาก การประชุมเชิงปฏบิ ตั กิ ารเพ่ือพฒั นาศักยภาพนกั ส่อื สารสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต ปี 2558

ง บทความความรสู้ ขุ ภาพจิต จาก การประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ ารเพือ่ พฒั นาศกั ยภาพนกั ส่อื สารสขุ ภาพจติ กรมสขุ ภาพจิต ปี 2558

“ความสขุ ” สมบตั ทิ ใี่ ครๆ กอ็ ยากเปนเจาของ สพุ รรณี แกน แกว “ความสขุ ” คาํ ส้นั ๆ ท่ใี ครๆ รจู ักและปรารถนาท่ีจะไดม าเปน เจาของ แตไมใชทุกคนท่ีจะได มันมาเปนเจาของอยางสมบูรณ เพราะอะไรน่ันหรือ?? ถึงแมวาความสุขเกิดข้ึนไดจากหลายๆ สิ่ง เชน ความสุขของบางคนเกิดจากการไดเปนเจาของวัตถุที่ช่ืนชอบและปรารถนา บางคนมีความสุขไดดวยตัวของ ตนเองแมว าจะมสี ง่ิ ท่ีปรารถนาอยางสมบูรณหรือไม ในขณะที่บางคนความสุขเกิดขึ้นจากความคาดหวังในตัว ผูอืน่ เมอ่ื ความคาดหวังไมเ ปนดง่ั ทห่ี วังใจกเ็ กดิ ความทกุ ข ความทุกขน้ันคืออะไร? โดยสวนตัวเช่ือวา ความทุกขเปนส่ิงที่เจาของความทุกขสรางขึ้นมา ดวยตัวเอง ไมวาทกุ ขจะเกี่ยวของกับคนหรือวตั ถสุ ง่ิ ของหรือไม ความทุกขเกิดจากความคาดหวังตอส่ิงตางๆ ที่ มีมากเกินไป เพราะเฉพาะน้ันการไมเปนทุกขอาจทําไดโดยการไมคาดหวังมากเกินไปท้ังท่ีเปนความคาดหวัง ในตัวเองและความคาดหวงั จากผอู นื่ เพราะความคาดหวังนี้แหละ กอใหเกิดความทุกข ซ่ึงเปนตนเหตุของการ ไมม ีความสขุ ของคน กลา วไดวาการไดมาซึ่งความสุขน้ันไมใชเรื่องงาย แตก็ไมใชเรื่องยาก คนทุกคนสามารถเปน เจาของความสขุ ไดดว ยตัวเอง ในขณะทีค่ วามสขุ จะหนีไปไกลหรือไมนั้นก็เกิดขึ้นจากตัวเองท้ังส้ิน การควบคุม อารมณ ความรูส กึ ของตนเองในการดําเนินชีวิตจึงเปนสิ่งสําคัญ การไมคาดหวังสิ่งตางๆที่เกิดขึ้นมากเกินไปก็ เชน กนั จะชว ยใหความทุกขไ มเขามาใกลตัว ในขณะที่ความสุขจะขยับเขามาใกล เขามาใกลๆใหเจาตัวมีเปน เจา ของ บทความความรู้สุขภาพจิต 1 จาก การประชุมเชงิ ปฏิบตั กิ ารเพื่อพัฒนาศกั ยภาพนกั สอื่ สารสุขภาพจติ กรมสุขภาพจติ ปี 2558

“ชีวติ วุน วาย ของเจา ชายไบโพลาร” ชชั วาลย นอยวังฆัง โรคไบโพลาร หรือท่ีรูจักกันในอีกช่ือคือ โรคอารมณสองขั้ว ซึ่งเปนโรคทางจิตเวช ท่ีมีความ บกพรอ งดา นการควบคุมอารมณป ระเภทหน่งึ ลกั ษณะอาการ คือ มสี องบุคลิกอยูในคนๆ เดยี วกัน ทั้งดานบวก และดานลบ ในดานบวกกจ็ ะเปน ลักษณะอารมณดี รื่นเริงมีความสุขมากกวาปกติ โดยไมทราบสาเหตุท่ีแนชัด เม่ือเทียบกับคนรอบขาง สวนในกรณีดานลบเม่ือเกิดอาการไมพอใจ จะหงุดหงิด ซึมเศรา หรือโกรธก็จะ แสดงออกมากกวา ปกตเิ ชน เดยี วกนั บางคนอารมณสลับไปมา เดี๋ยวดีเด๋ียวรายภายในเวลาไมน าน การดําเนนิ ชวี ติ ของบุคคลที่เปนโรคไบโพลาร หรือคนที่มีความเส่ียงท่ีจะมีอาการ จะมีปญหา ในการดําเนินชีวิตท่ีตางจากคนปกติ บางคร้ังเขาอาจจะไมรูตัวเองวาตัวเองปวย ไมรูตัวเองวาไดแสดงกิริยา อาการอะไรออกไปบาง หรือบางคนไมสามารถควบคุมอารมณตัวเองได เม่ือเจอกับสถานการณตางๆ ทําให แสดงพฤติกรรมที่แปลกจากเดมิ มีความสุขมาก หรือโกรธจนนา กลวั ทําใหคนรอบขางตกใจ และอาจจะสัมผัส ไดวาเขามีความผิดปกติไป ทําใหคนรอบขางรูสึกไมดีกับเขา และแสดงออกกับเขาในทาทีท่ีเปลี่ยนไป เชน ไมอ ยากเกย่ี วของดวย กลัว หรือรงั เกยี จเขา ซ่งึ ย่งิ ทําใหเขามีอาการแยลง หมดกําลังใจในการดําเนินชีวิต และ มีพฤติกรรมที่แยลงกวาเดิม จนเปนที่จับจองของทุกคน เวลาไปไหน จะทําอะไรก็จะไมเปนตัวของตัวเอง เพราะเกรงวาจะถกู จบั ผดิ ตลอดเวลา ซึง่ ทาํ ใหการดาํ เนนิ ชีวิตของเขาวุน วายไปหมด โรคไบโพลารเปน โรคทีส่ ามารถรกั ษาไดเ หมือนกับโรคอืน่ ๆ นอกจากการพบจิตแพทย ไมขาด ยา และที่สําคัญขอเพียงแคคนรอบขางใหความสนใจ เอาใจใส ใหการดูแล ปฏิบัติกับเขาเหมือนกับคนปกติ ท่ัวไป ใหโอกาส และสง เสรมิ สุขภาพจิต พูดคุยแตสิ่งดีๆ ไมกระตุนใหเขาเกิดอาการเขาก็จะสามารถใชชีวิตอยู ในสังคมไดอยางมคี วามสุข 2 บทความความร้สู ุขภาพจิต จาก การประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการเพอ่ื พฒั นาศักยภาพนักสื่อสารสขุ ภาพจติ กรมสุขภาพจติ ปี 2558

\"พลกิ \" ชีวติ รชตพรณ คงดิษฐ \"พลิก\" หมายถึง กลับ เปลยี่ น แตในการเปลีย่ นกน็ าจะยอมมีท้ังดแี ละไมดี พลิก! คําๆ นี้ไดเขา มาอยูในชีวิตของเด็กผหู ญิงคนหน่ึง นอ งตอง อายุ 12 ป มีความสดใส ราเรงิ เรียนหนังสือเกง มีความกตัญู ชวยเหลืองานบาน แบบไมมีบกพรอง พอและแม แยกทางกัน นองตองอาศัยอยูกับตายาย แตนองตองก็ใชชีวิตแบบเด็กทั่วไป สดใส รา เรงิ อารมณดี เปน ท่รี กั ของคนในครอบครัว \"พลิก\" ชีวิต ของคํ่าของวันหน่ึง ตองไปนอนท่ีหางนากับตายาย (ตาของตองเปนคนเสียงดัง โวยวาย ชอบตวาดใสยาย) ตองนอนหลับอยูดีๆ ก็ตองสะดุงสุดตัวกลางดึก เมื่อไดยินเสียงตาเมาเหลามาตบตี ยาย ขวางโทรศัพทใสหนายายจนเลือดไหลออกจมูก เมื่อเห็นภาพนั้นตองรองไหโฮ และกรีดรองลั่นสุดเสียง กลางทงุ นา ทําใหตาตอ งหยุดชะงักเพราะความสงสารหลาน และจากน้นั ชีวิต ตอง กต็ องพลกิ . หลังจากคืนน้ัน ตองกลายเปนเด็กที่เงียบๆ เก็บตัว ซึมเศรา ไมคอยพูดจากับใคร ไมยอมไป เรียนหนังสืออีกเลย จะพูดจาเสียงดังตะคอกใสตากับตลอด ไมยอมออกจากบานเพราะตองจะเห็นคนตาย เลือดไหลเต็มหนาตลอด และชวงพลบคํ่า ตองจะมีอาการปวดหัวรุนแรง รองไห น้ําเสียงเปล่ียน ถาเปน ชาวบา นก็เรยี กวาผเี ขา ตอง จะคยุ ราเรงิ ซักถามคุยเกงกวา ปกติ แตจะคยุ เฉพาะกบั คนท่ีตองไวใจ ตากับยายพา ตองไปหา หมอแตหมอผีนะคะ อาบน้ํามนต คนทรง ไปทั่วสารทศิ อาการตองก็ไมด ีขึ้น ดิฉันจึงแนะนําใหพามา โรงพยาบาลจติ เวชนครสวรรคราชนครินทร แพทยวินิจฉัยวาตองเปนไบโพลารคะ เปนอายุนอยมาก ตองเร่ิม เขารับการรกั ษาอยางตอ เนื่อง และอาการดีข้ึนตามลําดบั \"พลกิ \" ชีวติ ตองอกี สง่ิ คงไมใชยาอยา งเดียว แตเปนเพราะยาทางใจที่ตากับยายชวยกันเยียวยา ตอง ต้ังแตนนั้ มาตาไมเ คยทะเลาะกับยายใหตองไดเ หน็ อีกเลย และแมของตองเองก็กลับบานมาหาตองบอยขึ้น ตองยายเรียนทก่ี ารศกึ ษานอกโรงเรยี น เพื่อนฝงู ก็รักตอง ตองไดกลบั มาเปน เด็กท่สี ดใสรา เรงิ สมวัยอกี ครั้ง \"พลกิ \" ชวี ติ จะใหดีข้ึน หรือเลวรา ยลง ข้ึนอยกู ับความรักท่ีทกุ ครอบครัวกาํ หนดได \"ความสขุ เริม่ ตน ไดท บ่ี านคะ \" บทความความรู้สุขภาพจติ 3 จาก การประชุมเชงิ ปฏิบัตกิ ารเพอ่ื พัฒนาศักยภาพนกั สื่อสารสุขภาพจิต กรมสขุ ภาพจิต ปี 2558

15 สัญญาณอลั ไซเมอร จิตรา จนิ ารตั น คณุ เปน คนข้ีลมื ใชไหมคะ ลมื วาวางกระเปาไวท ี่ไหน ลืมวาตองทําอะไร ท้ัง ๆท่ีเตือนตัวเองมา ตลอดทั้งวัน ลืมวาทานขาวกับอะไร ทั้งที่ทานไปเมื่อกี้ หรืออะไรท่ีเคยทําเปนปกติอยูแลว แตอยูๆ ก็ลืมเสีย เฉยๆ บางทีนอี่ าจจะไมใชอาการข้ีลืมธรรมดานะคะ มันอาจเปน สัญญาณเตือนของโรคที่รายแรงกไ็ ด เพ่ือใหปรับตัวรับโรคน้ีไดทัน ลองมาสํารวจตัวเองดูวาคุณอาจจะกําลังเขาขายการเปน อลั ไซเมอรห รอื ไม 1. หงดุ หงดิ อารมณเ สยี งา ยกวาปกติ 2. การตัดสนิ ใจแยล ง เปล่ยี นใจงาย 3. งานหรอื กิจกรรมทเี่ คยทาํ อยปู ระจํา จะกลายเปน งานทที่ ําไดยากข้นึ 4. วางของผิดทีผ่ ิดทาง 5. สับสนเร่ืองเวลา มกั คิดวา เวลาผานไปนานกวา ปกติ 6. สื่อสารกับคนอ่นื ยากขนึ้ โดยเฉพาะการพดู มกั จะเรยี งคาํ ผิด พูดผดิ 7. เดินออกไปขางนอกอยา งไมมจี ดุ หมาย ไมร วู า จะไปไหน 8. ทํากจิ กรรมบางอยางซํา้ ๆ 9. ไมค อยดูแลตวั เอง 10. แสดงพฤตกิ รรมไมเ หมาะสม 11. รูสึกหวาดระแวงอยตู ลอดเวลา 12. นอนหลบั ยาก 13. ถอยหางออกจากครอบครวั เพ่อื น กจิ กรรมเดมิ ๆ ทเ่ี คยทํา 14. ชอบทํากิจกรรมเหมอื นเดก็ ๆ 15. พูดจาและแสดงอาการกาวราว น่ีเปนเพยี งวธิ สี งั เกตอาการเบ้ืองตน ที่คุณสามารถสํารวจไดดวยตัวคุณเอง ถาพบวามีอาการ มากกวา 5 ขอ อาจเขาขา ยโรคอัลไซเมอร ทางท่ีดคี ือลองไปพบแพทยเ พื่อตรวจอาการเพมิ่ เติมจะดีที่สุด เพราะ โรคนีไ้ มมที างรักษา เราสามารถปอ งกันหรือชะลอใหมนั เกดิ ชาลงได 4 บทความความร้สู ขุ ภาพจิต จาก การประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ ารเพือ่ พัฒนาศักยภาพนักสอ่ื สารสขุ ภาพจติ กรมสขุ ภาพจติ ปี 2558

กลบั บา นเกา เพยี งจันทร วงศทวสี ขุ “คงไปไหนไมร อดละสิ ถึงไดกลับมา” “บอกแลว หนาแบบนี้ ออกไปไมนาน เดี๋ยวก็ กลับมา” หากพิจารณาประโยคบอกเลาดังกลาวอาจดูธรรมดา แตมันคือประโยคท่ีสะเทือนใจสําหรับ บุคคลท่ีเจอประโยคนไ้ี มนอย หลายทา นอาจมีประสบการณกับตัวเองหรือพบเจอจากคนรอบขาง ในกรณี ท่ีลาออกจากงานเดิม แลวกลับมาทํางานใหมอีกคร้ังในสถานประกอบการเดิม พบเจอหัวหนา เพื่อน รวมงาน บรรยากาศเดมิ ๆ จะปรบั ตัวอยา งไร ใหก ลบั มาทํางานไดอยางมคี วามสขุ คงไมใชเ รื่องแปลกทส่ี ถานประกอบการจะรับพนักงานเกา เขาทํางานอีกคร้ัง ถาคุณจาก ไปดวยดี ท้ังนายจา งและเพ่ือนรว มงานยังมคี วามรูส กึ ทดี่ ตี อคุณอยู อยากใหค ุณไดล องปรับมมุ มองความคิด หากคุณตองการกลบั ไปทาํ งานทเ่ี กา ควรเปน เพราะคณุ มั่นใจวา คุณมีคุณคาสาํ หรบั ท่เี กา ไมใชเพราะวาคุณ ไมมที ีไ่ ป แตคงเปนโอกาส จงั หวะท่เี หมาะสมประจวบเหมาะพอดี ในการเร่มิ งานใหมในสถานท่ีเดิม หลาย คนอาจมีความรูสึกกังวล ในเรื่องการปรับตัวจะทําอยางไร เรามีเคล็ด (ไม) ลับมาแนะนํา เริ่มตน จาก การเตรียมคําอธบิ าย นายจา งเกาตอ งอยากรูเ หตผุ ลทคี่ ณุ ลาออกและ กลบั มาอีกคร้ังอยางแนนอน เตรียม คาํ อธิบายไวใ หด ี เชน - คุณออกไปเพราะอยากคนหาประสบการณใหม แตตอนน้ีคุณรูแลววาที่นี่ใหสิ่งท่ีคุณ ตอ งการในอาชพี อยา งแทจริง และท่ีนค่ี ือท่ี ๆ ดีทสี่ ุดท่ีคุณจะไดแ สดงความสามารถอยางเตม็ ศักยภาพ - คุณเปนคนมีฝมือ สรางช่ือเสียงใหกับบริษัท อีกทั้งยังคุนเคยกับระบบงานของที่น่ีเปน อยา งดี เขา ใจวัฒนธรรมองคกร ขอบขายงาน ตลอดจนมีทักษะและความสามารถในการทํางาน นี้มากอน เม่อื เทยี บกับการจา งพนักงานใหมท่ีตอ งใชเวลาในการสอนงานและเรยี นรงู าน เปน ตน เคลด็ (ไม) ลบั อกี ประการหนึง่ กค็ อื การพิสูจนต นเอง เมื่อคุณไดกลับเขาทํางานอีกคร้ัง คุณอาจพบวา ทุกอยางไมเหมอื นเดมิ รอยเปอรเ ซน็ ต อาจมีคนทม่ี องคุณไมดี ซุบซบิ นนิ ทาบางก็ไมตองสนใจ ทาํ งานใหเตม็ ทีเ่ พอ่ื พสิ จู นต นเองวา คุณคคู วรกบั งานน้ี ตอใหใครเขามาใหมก็ไมส ามารถทาํ งานน้ีไดดีเทาคุณ แลวเสยี งนกเสียงกาและสายตาดแู คลนเหลา นัน้ กจ็ ะหายไปเอง นอกจากนีย้ งั มคี าถาหากคณุ ทองแลวคาถาบทนี้จะเปนภูมิคุมกันใหกับจิตใจ คือ คาถา 3 คํา จํางายๆ ของกรมสุขภาพจิต คือ \"อึด ฮึด สู\" โดย อึด หมายถึง ศักยภาพที่ทนตอแรงกดดันไดดี ฮึด หมายถงึ มีกําลงั ใจเขม แข็ง และ สู หมายถงึ การตอสเู อาชนะอปุ สรรคตางๆที่เกิดขึน้ กรมสขุ ภาพจิตขอเปน สวนหนึ่งในการสรางภูมิคุมกันใหประชาชน มีปญหาสุขภาพจิต โทรสายดวนสุขภาพจิต 1323 ยินดี ใหบ รกิ ารคะ แหลงขอ มลู http://www.bus.rmutt.ac.th/journal/pdf/vol7-no2-04.pdf http://pantip.com/topic/32278183 http://www.dmhweb.dmh.go.th/jvsk/inter/link/Html/kown2.html บทความความรู้สขุ ภาพจิต 5 จาก การประชุมเชิงปฏบิ ัติการเพอ่ื พัฒนาศกั ยภาพนักสื่อสารสุขภาพจติ กรมสุขภาพจติ ปี 2558

ครอบครัว...กับการดแู ลผปู วยจติ เวช พิมลศรี จนิ า การเจบ็ ปว ยดว ยโรคทางจิตเวชมีโอกาสเปน โรคเร้ือรงั สงู และจําเปนตองไดร ับการรักษาอยาง ตอ เนื่อง เพื่อควบคุมอาการและปอ งกันมิใหอาการกําเริบ ครอบครัวจึงมีสวนสําคัญย่ิงตอการทําหนาที่ดูแลให ผปู ว ยไดม ีโอกาสรบั การรกั ษาตามแผนการรกั ษาของแพทย เพ่อื ใหเ ขาสามารถดาํ เนินชีวิตอยูกับครอบครัวและ สงั คมไดตามอตั ภาพ ครอบครวั ควรดแู ลผูป ว ยจิตเวชเรอื่ งใดบาง 1. การรบั ประทานยา ผดู ูแลควรใหผ ปู วยไดร ับประทานยาตามแผนการรักษาของแพทย ไม ควรเพม่ิ หรอื ลดยา หรือกินยาเฉพายาบางชนิด รับประทานยาใหสม่ําเสมอหากมีอาการเปลี่ยนแปลง ควรพา ผูปว ยไปพบแพทย 2. กิจวัตรประจาํ วัน ผปู ว ยทางจิตมักไมคอยสนใจตัวเอง ดังน้ันญาติควรกระตุนใหผูปวยได ทํากจิ วตั รประจาํ วันดวยตนเอง พยายามใหผ ูป วยไดช วยเหลือตนเองใหมากทส่ี ุด 3. การทาํ งาน ผูด แู ลควรกระตนุ ใหผ ปู ว ยไดม ีสวนรวมในการทํางาน เชน งานบาน หรืองาน อาชพี เพ่ือใหผ ูปว ยรูสกึ ภาคภูมิใจ มคี วามรับผดิ ชอบ และไมค ดิ ฟงุ ซา น 4. การมีสวนรวมกับกิจกรรมทางสังคม ผูดูแลควรเปดโอกาสใหผูปวยไดรวมกิจกรรมใน ชุมชน เชน งานเทศกาลตา งๆ รว มกจิ กรรมทางศาสนา เปนจิตอาสา เปนตน เพ่ือใหสังคมเกิดการยอมรับและ ลดอคติตอ ผูป ว ยจิตเวช ผปู วยทางจติ จะสามารถอยกู ับครอบครัวไดน านเทาใดโดยไมม อี าการกําเริบน้ัน ขึ้นอยูกับการ ดูแลเอาใจใสจากญาติ หรือผูดูแลดวยเชนกัน นอกจากน้ีการยอมรับ ไมลอเลียน ไมซํ้ากันมีความเมตตาตอ ผูปวยจิตเวชก็จะชวยใหพวกเขาเหลานี้ สามารถอยูรวมกับครอบครัวแลสังคมไดอยางมีศักด์ิศรี และมีความ สบายใจมากขนึ้ 6 บทความความรสู้ ุขภาพจติ จาก การประชมุ เชิงปฏิบัติการเพอื่ พัฒนาศกั ยภาพนักส่อื สารสุขภาพจิต กรมสขุ ภาพจิต ปี 2558

ความสุข...อยทู ี่ไหน? “ไดแ คน ผ้ี มกข็ อบคุณมากแลว ครับ กราบขอบคุณทุกๆ คนนะครบั ” เสียงแหบเครอื ออกจาก ปากชายสงู วัย ผมสีดอกเลา นัยนตาเออลน ดว ยความปลมื้ ปติ บา นสวนอยูหา งออกจากชมุ ชน ราวๆ หา กโิ ลเมตร ทางเขา เปน คันดนิ ท่ีขุดจากสองฟากฝง ข้ึนมาถมเพอื่ ทาํ เปนทางสญั จร ฤดูฝนลาํ บากมาก รถยนตเขา ไมถงึ ...ใชเ ดินเทาอยางเดียว ทมี งานจติ อาสามโี อกาสลงพื้นทแ่ี ละไดเห็นความยากลําบากของลุงแดง ซง่ึ มีลูกปวยเปน โรค จติ เภท ไมมบี า นอยอู าศยั มเี พียงผา ใบขึงเชอื กสี่มุม ทาํ เปน เพงิ หลังคาเพือ่ หลบแดดฝนอยกู ลางปา รายลอ ม ดว ยไรออ ย และปา มันสําปะหลัง เราชาวจติ อาสารวบรวมปจ จัยไดจํานวนหนงึ่ และนาํ ไปซือ้ วสั ดุอุปกรณท่ีพอหาไดแ ละรวมกนั เพ่อื ลงมือทาํ บา นใหลุงแดง ปจ จยั ท่ีไดร วบรวมมาซอ้ื ไดเ พยี งเหลก็ และสงั กะสี โชคดีทล่ี ุงแดงแกมีเสาเกาๆ อยู แลว ทมี จงึ ปรกึ ษาหารอื กนั และตัดสินใจ “ทาํ เทา ที่ทาํ ได” ลงมอื ขุดหลุมต้งั เสา ขึน้ โครงหลงั คา แลว ก็มงุ ใชเ วลาท้ังหมด 3 วนั บานลุงแดงกเ็ ร่ิมเห็นเปน รปู ราง ที่มเี พียงหลงั คา ไมมฝี าขาง...แตง บประมาณหมดลงแลว ในวนั สดุ ทายกอนราํ่ ลา “ไดแคหลังคานะลุง” ลุงแดงยกสองมอื พนมท่ัวหวั น้าํ ตาคลอเบา กลา วดวยเสยี งแหบเครอื “ไดแ คนี้ลุงก็ขอบคุณมากแลว ”... บทความความรูส้ ขุ ภาพจิต 7 จาก การประชมุ เชิงปฏิบัตกิ ารเพ่อื พฒั นาศกั ยภาพนกั สอ่ื สารสุขภาพจติ กรมสขุ ภาพจิต ปี 2558

ความสุขสรา งได เมอื่ สูงวัย “ผูส งู อาย”ุ หรืออาจเรยี กวา คนแก คนชรา หรือผูสูงวัย เปนบุคคลที่ตองพ่ึงพา มีปญหาจาก การเส่อื มถอยของรา งกาย ซึ่งเปนไปตามธรรมชาติ ตามวัยทเี่ พ่มิ มากข้นึ รวมท้ังการมีโรคเรื้อรังตางๆ นํามาซ่ึง ความเจ็บปวดดานรางกายและดานจิตใจ เพราะเปนวัยแหงงการพลัดพรากสูญเสีย ดังน้ันอาจพูดไดวา วัยนี้ เปนวัยที่ตองการดูแลเฉพาะแตกตางจากวัยอื่นๆ นอกเหนือจากการดูแลทางกายแลว การดูแลทางใจก็เปน สงิ่ สาํ คัญที่ญาติหรือคนใกลชิดตองเอาใจใส เพราะสุดทายแลว... เปาหมายของวัยสูงอายุ คือ การมีสุขภาพดี มีความสขุ กบั ลกู หลาน มเี พือ่ นฝูง มีสังคม ความสขุ ทั้งหลายขน้ึ อยูกับตัวของผูส ูงอายเุ องวาจะเลอื กสุขแบบไหน วางแผนดี ชีวติ มีสขุ การวางแผนชีวิตในทุกชวงอายุ มีความจําเปนอยางมากที่ทุกคนควรทํา เพราะวาจุดหมาย ปลายทางไมมีใครคาดเดาไดวา ชีวิตเราจะเปนแบบไหน รูแตเพียงวาระหวางทางเราสามารถพบเจอกับ ความสุขไดต ลอดไป จนถงึ วยั สดุ ทายของชวี ิต ซึ่งจะเกิดขึ้นไดกต็ อเมอื่ มาจากการวางแผนในวัยตนและวัยกลาง ที่ดี ความสขุ ในวัยสงู อายุ จึงควรวางแผนใหครอบคลุมท้งั 5 มิติ ไดแก สขุ สบาย (เนนการดูแลเอา ใจใสสุขภาพรา งกายของตนเองใหแ ขง็ แรงอยเู สมอ) สขุ สงา (เนนการทํากิจกรรมที่กอใหเกิดความภาคภูมิใจใน ตนเอง เห็นคณุ คาของตนเอง) สขุ สวาง (เนนการฝก สมองใหสามารถจาํ ลกู จําหลานได ไมห ลงลืม) สุขสนุก (เนน การเขารวมกิจกรรม หม่ันหากิจกรรมท่ีชื่นชอบและสนใจ) สุขสงบ (สามารถควบคุมอารมณ และยอมรับส่ิง ตางๆ ท่ีเกดิ ขนึ้ ตามความเปน จรงิ ) แ น ว ท า ง ส ร า ง สุ ข เ บื้ อ ง ต น เ ป น เ พี ย ง ตั ว เ ลื อ ก ห นึ่ ง ที่ ท า น ส า ม า ร ถ นํ า ไ ป ป รั บ ใ ช ไ ด ใ น ชีวิตประจาํ วันเชอ่ื วา หากทา นเรมิ่ ตน วางแผนนับต้งั แตว นั น้ี ในอนาคตอันใกลทา นจะมีหนทางสูการกาวไปสูการ เปนผูสูงอายุ หรือคนแกท่ีมีความสุขครบท้ัง 5 มิติ ตลอดจนสามารถทําคุณประโยชนเพื่อสังคมและ ประเทศชาติตอ ไปได 8 บทความความรสู้ ุขภาพจติ จาก การประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการเพื่อพฒั นาศักยภาพนกั สือ่ สารสขุ ภาพจิต กรมสุขภาพจิต ปี 2558

ฉันไมไ ดบานะ! สันติ แซล ้ี คนเราทุกคนน้นั มีโอกาสทจ่ี ะเจ็บปวยไดเสมอ บางคนอาจจะเจ็บปวยทางกาย ทางจิต หรือ ทั้งสองทางกไ็ ด ข้นึ อยูกับบุคคลแตละบุคคล รวมทั้งส่ิงแวดลอมรอบๆ ตัวบุคคลน้ันดวย สําหรับคนที่เจ็บปวย ทางกาย ทกุ คนมกั จะเรียกเขาวา \"ผปู วย\" หรือ \"คนปวย\" หรือ \"ปวย\" แตในทางตรงกันขาม คนที่เจ็บปวยทาง จติ หรือมีความผิดปกติทางจิต ทุกคนกลับมักจะเรียกเขาวา \"คนบา\" หรือ \"ไอบา\" หรือ \"บา\" แทนที่จะเรียก เขาเหลาน้ันวา \"ผูป ว ย\" เพราะจรงิ ๆ แลวคนท่ีเจบ็ ปวยทางจติ หรือ \"ผูปวยทางจิต\" ก็คอื ผูท ่ีมคี วามผิดปกติทาง จติ ไดแ ก อาการผิดปกติของจิตใจที่แสดงออกมาทางพฤติกรรม ทางอารมณ ทางความคิด ทางความจํา ทาง สติปญญา ทางประสาทการรับรู หรอื การรเู วลา สถานที่ หรอื บคุ คล รวมทั้ง อาการผิดปกติของจิตใจที่เกิดจาก สรุ าหรอื สารอ่ืนที่ออกฤทธ์ติ อจติ และประสาท ซึ่งจาํ เปนตอ งไดรบั การบาํ บัดรักษา การท่ีคนเรามักจะเรียกผูปวยทางจิตวา \"คนบา\" หรือ “ไอบา” นั้น ทําใหหลายๆ คนมี ทศั นคตดิ านลบตอผปู วย สง ผลใหผปู ว ยดงั กลา วไมไ ดร ับการบําบัดรักษาอยา งถูกตองและเหมาะสม เปนเหตุให ความผิดปกติทางจิตทวีความรุนแรงมากขนึ้ จนกอ ใหเ กิดอันตรายรายแรงทั้งตอชีวิต ตอรางกาย หรือทรัพยสิน ของตนเองหรือผูอ่ืนได ...มาถึงตรงน้ีแลว... คงไมมีใครอยากใหเหตุการณดังกลาวเกิดข้ึนกับตนเอง หรือ ครอบครวั ของตนเองแนน อน คงถึงเวลาแลวท่ีเราจะเร่ิมตน มองผมู คี วามผิดปกตทิ างจติ หรือผูปญหาสุขภาพจิต วา คือ \"ผปู ว ย\" ไมใ ช \"คนบา \" ย้าํ ! คือ \"ผปู วย\" ไมใช \"คนบา\"... เพ่ือที่สังคมของเราจะไดมีความนา อยูมากข้ึน บทความความรู้สุขภาพจิต 9 จาก การประชมุ เชิงปฏิบตั กิ ารเพอ่ื พัฒนาศกั ยภาพนกั สอื่ สารสขุ ภาพจติ กรมสขุ ภาพจิต ปี 2558

ชีวิตสดุ โตง …ของเจาบอล นิภา ชาญสวสั ดิ์ เจาบอล... เด็กนอยหนาตานารัก อวน ขาว เกิดและเติบโตในกรุงเทพ ทางบานมี อาชีพคาขาย เงินทองไมเคยขัดสนเรียกวาเจาบอลสบายมาต้ังแตเกิด ปากับมารักและตามใจ ทําใหเจา บอล มีทกุ อยา งเหมือนท่เี พ่อื นเขามีกัน ชวี ติ ของเจา บอลเมอื่ กา วเขาสวู ัยรุน เปล่ยี นจากหนามือเปนหลัง มอื ชีวิตเต็มไปดวยความทะเยอทะยาน ฝนอยากเปนโนน อยากทํานี่ตลอดเวลา แตไมเคยสําเร็จหรือได อะไรเปนช้นิ เปน อันสักอยางเดยี ว จากเด็กนอยนารัก กลายเปนวัยรุนเลือดรอน หงุดหงิด กาวราว ใชเงินเหมือนเบ้ีย ชอบเลี้ยงเพอ่ื นฝงู อยากไดอะไรเปนตองได ท่ีหนักกวานั้นคือด่ืมสุราและเขาบอน ชอบลุน ชอบเส่ียงโชค การเรียนเริ่มตกต่ํา ในท่ีสุดก็เรียนไมจบ ขณะที่เพื่อนๆเตรียมตัวเขามหาวิทยาลัย ปากับมาเสียใจ เปน ท่สี ุดทเ่ี จาบอลนาํ ความอปั ยศอดสู มาสคู รอบครัว เจาบอลท่เี คยราเรงิ กลายเปนคนเก็บเนื้อเก็บตัว ไม พบปะผูคน ไมเห็นคณุ คา ของตนเอง วัน ๆ เอาแตน อน สิ้นหวังกับชวี ติ และในกลางดกึ ของคืนวันหน่ึงเจา บอลพยามจะกระโดดตกึ เพ่ือจบชีวิตของตนเอง โชคดีที่ปาต่นื มาเจอจงึ ชวยไวไ ดท นั ในท่ีสุด...เจาบอลก็ไดรับการบําบัดจากจิตแพทย และไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรค ไบโพลาร หรือโรคอารมณสองข้ัว สาเหตุเกดิ จากความผิดปกตขิ องสารเคมีในสมอง ทําใหเกดิ การเปลี่ยนแปลงของอารมณแบบสุดขั้ว อารมณพุงสูง (Mania) ราเริง สุขลน พูดมาก ความคิดพร่ังพรู หงุดหงิด ฉุนเฉียวงาย เท่ียวเตร ใชจายฟุมเฟอย ชอบ แจกเงิน ไมหลับไมนอน อารมณด่ิงเศรา(Depression) เบื่อหนาย ทอแท เฉ่ือยชา วิตกกังวล ไมมี ความสขุ สน้ิ หวัง รูสึกวา ชวี ิตไรคา เกนิ กวา ทจี่ ะดาํ รงอยตู อ ไปไดอ ีก ทุกวนั น้ี...เจาบอล ปาและมา ผานพน วกิ ฤตนั้นมาได และยอมใหเจาเพ่ือนใหมไบโพลาร เขามาเปนสวนหนึ่งของชีวิต ดวยการใชยาชวยใหสารเคมีในสมองกลับสูสมดุลดังเดิม แตเหนือสิ่งอื่นใด การเขาใจ และการยอมรับ จากคนรอบขา ง เปรยี บเสมือนน้ําทพิ ยชโลมใจใหเ จาบอล... อดทนกบั ชวี ิตที่ สดุ โตง ...ในรางเดียวของเขาตอไปได แลวคุณละพรอมหรือยัง...ท่ีจะใหโอกาสและแบงปน ชวยใหพวกเขาเหลานั้น ไดก า วเดินไปพบกับแสงสวางทีป่ ลายอโุ มงค 10 บทความความร้สู ุขภาพจติ จาก การประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการเพ่ือพัฒนาศกั ยภาพนักส่อื สารสขุ ภาพจติ กรมสุขภาพจิต ปี 2558

ชวี ติ อนั มืดมนของ “ออย” “ออ ย” หญิงวยั 40 ป หนาตาดี เธอเปน ลูกสาวคนเดียวของครอบครัว ฐานะดี อาศัยอยูกับ แมและสามี พอเสียชีวิตหลายปแลว จากเหตุการณที่พอเสียชีวิตโดยกะทันหัน เธอไมสามารถทําใจได รูสึก สูญเสียกับการจากไป หลังจากพอเสียชีวิต เธอเร่ิมเก็บตัว ไมอยากคุยกับใคร ซึมลงเร่ือยๆ จนแมและสามี ตัดสินใจพาไปพบแพทยท่ี โรงพยาบาลแหงหนึ่ง แพทยบอกวาเธอปวยเปนโรคซึมเศรา เธอเก็บตัวไมออกไป ไหนเลย พูดคุยกับแมและสามีนอยมาก ท้ัง 2 คนก็ไดใหกําลังใจตลอดเวลาและดูแลเปนอยางดี อาการเธอก็ เรม่ิ ดขี ึน้ เล็กนอย วันหน่ึงเธอไดฟงรายการวิทยุท่ีฉันจัด ณ สถานีวิทยุชุมชนแหงหน่ึง ไดจดเบอรโทรศัพทไว ทนั ที และทอ งจําชือ่ ของฉนั ไวในใจ “หมอเจย๊ี บ” เธอบอกวาไดยินเสียงแลวรูสึกถูกใจ จะเปนคนที่จะชวยเธอ ได เธอตัดสนิ ใจโทรมา เธอบอกวาดีใจมากทีฉ่ ันรับโทรศัพท และดีใจมากข้ึนอีก เม่ือฉันตอบวา “แนนอน ไดสิ คะ” หลงั จากน้ันเธอไดพรงั่ พรคู ําถามมามากมาย จนฉันหัวเราะและบอกวาใจเย็น ๆ เธอบอกวา “ชอบเสียง หัวเราะพ่ีจังและรูสึกรกั ขน้ึ มาทันที ” และมีคําถามหนึ่งท่ีเธอย้ําถามฉัน เธอถามเบาๆ วา “เปนซึมเศราชีวิต จะแยม้ัย จะหายไดอยางไร นองหาทางออกไมได ”เธอรองไหอยางหนัก จนฉันตองหยุด ใหเวลาเมื่อเธอ พรอม ก็ไดคุยกันแบบถอดใจ เอาใจเขามาใสเ รา ซึ่งใหเธอคนหาคุณคาในตัวเองใหเจอและการสรางพลังดวย ตวั เอง ก็เปนส่ิงหนึง่ ท่ีจะชว ยใหเ ธอมคี วามเขมแข็งทางใจได ฉันพูดวา “เธอยังมีแมและสามีคอยดูแล ไมเคย ปลอยใหเธอโดดเด่ียว แตท่ีเธอรูสึกโดดเด่ียวเพราะเธอทําตัวเธอเอง ตองเปล่ียนตัวเองใหได” คําถามทุก คาํ ถาม คําตอบทุกคําตอบเหมือนตรงกับท่ีใจเธอตองการหมด เธอบอกวา“ขอบคุณท่ีมาชวยเปดทางใหเธอ พน จากความมดื มน ขอบคณุ ท่ีไดรูจ กั กัน” การทาํ ใหค นๆหนึ่งหลุดพนจากความทุกข ทําใหฉันมานั่งคิดวา การรักษาดวยเครื่องมือแพง ๆ ยังไมไดผลเทากับการคุยกันเพียง 5 นาที เมื่อไหรเราใชตามอง เราจะเห็นแตภายนอก ความคิดท่ีถูกลอม กรอบ แตถ าเราใชทง้ั ตาและใจมอง จะเห็นวา จรงิ ๆ มีอะไรอีกหลายอยาง ที่ไมตองเรียนมาก็รักษาใหได หลาย คร้ังที่พบวาเม่ือหยุดพูด หยุดคิด แลวปลอยตัวเองสักพัก เราจะไดยินหัวใจเราบอกความตองการของตัวเอง เชนกันเมือ่ ไหรทเี่ ราตองการฟงหวั ใจคนอ่ืนเรากต็ อ งพดู นอ ยลง ใชหวั ใจฟง เขาใหม ากข้นึ บทความความรู้สขุ ภาพจติ 11 จาก การประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารเพื่อพัฒนาศักยภาพนกั ส่ือสารสขุ ภาพจิต กรมสุขภาพจติ ปี 2558

ดูยงั ไง ใครซึมเศรา ชยพล สันติวรากร จากการที่ไดพ บเหน็ ผูปว ยสวนใหญไมทราบวา ตวั เองเปน โรคซมึ เศราและไมไ ดรบั การรักษาทง้ั ทป่ี จ จุบันมียา และวิธกี ารรกั ษาที่ไดผลดี หากพบวา คนทรี่ ูจ ักมอี าการดังตอไปนี้ รีบแนะนําใหเขา พบจติ แพทย โรคซมึ เศรา เปนการปว ยทั้งรางกายและจติ ใจ และความคดิ ซ่ึงผลของโรคกระทบตอ ชีวิตประจาํ วนั เชน การรับประทานอาหาร การหลับนอน คณุ อาจเคยเห็นสัญญาณดงั กลาวกับคนใกลชิด แต อาการของโรคซึมเศราจรงิ ๆเปนยงั ไงไปดกู นั 4 สัญญาณอาการซมึ เศรา 1. การเปลย่ี นแปลงทางอารมณ รูส กึ ซมึ เศรา กังวลอยูตลอดเวลา หงดุ หงิดฉุนเฉยี ว โกรธงาย ไมอ ยูสุข 2. การเปลี่ยนแปลงทางความคดิ รูสกึ สน้ิ หวัง มองโลกในแงร าย รสู ึกตวั เองไรค า 3. การเปลี่ยนแปลงการเรยี นรหู รอื การทาํ งาน ไมส นใจสิง่ แวดลอ ม ความสนกุ งานอดิเรก หรอื กิจกรรมที่ เพมิ่ ความสนุก 4. พฤตกิ รรมเปล่ยี นแปลง นอนไมห ลับ ตื่นเร็ว หรอื หลับมากเกินไป บางคนเบ่ืออาหาร โรคซมึ เศรา อาจเกดิ ในคนทม่ี กี ารสญู เสียหรอื โรคซึมเศรา อาจเกดิ ในคนทีม่ ีโรคประจําตัวหรือเกดิ ใน คนปกตทิ ั่วๆไป หากพบสัญญาณดังกลาวกบั คนใกลช ิด เพื่อนรวมงาน หรือคนทเ่ี ราตอ งการ ใหการ ชว ยเหลือ ใหเขาไปพดู คยุ แนะนํา รบั ฟง เพ่ือนาํ เขา สูระบบการรักษา และใหกําลังใจเพราะโรคน้ี สามารถรักษาได 12 บทความความรู้สขุ ภาพจติ จาก การประชุมเชิงปฏบิ ตั กิ ารเพื่อพัฒนาศักยภาพนกั สอื่ สารสุขภาพจติ กรมสุขภาพจติ ปี 2558

เธอผไู มแ พ ศศิรกานต รงุ สกุล เด็กผูหญิงวัยรุนรูปรางทวม สวมเส้ือยืดสีชมพูกางเกงขาส้ันสีฟาอยูเปนประจํา เดินเขามา ทักทายเจาหนาที่งานสุขภาพจิต “สวัสดีคะ คุณหมอคนสวย” พรอมกับยกมือไหว ทั้งเจาหนาที่โรงพยาบาล ชุมชน และคนท่ัวไปมกั คนุ หนา เธอเปน อยา งดี นับตั้งแตเธอมาโรงพยาบาลครั้งแรกกับมารดา เพ่ือขอใบสงตัว ไปรักษาโรคภาวะปญญาออน (Mental Retardation) ท่ีโรงพยาบาลศูนยประจําจังหวัด เธอก็กลายเปน สมาชกิ อีกคนหนงึ่ ของโรงพยาบาลชุมชนแหงน้ี เพราะเธอมกั จะมาพรอมกับมารดาทุกครั้ง ทต่ี องมาขอใบสงตัว และรกั ษาตามทีห่ มอไดน ัดทคี ลนิ กิ เบาหวาน ความดนั “จุมจิ๋ม” มักจะทักทายเจาหนาที่งานสุขภาพจิต และจําช่ือเลนของทุกคนได เธอชอบท่ีจะ พดู คยุ และสนทนาเปน ประโยคงายๆ เชน ไปไหนมา, กินขาหรือยัง เปนตน เม่ือพอใจแลวก็จะเดินกลับไปหา มารดาท่ีนั่งรอรับยา เธอไมไดประกอบอาชีพ แตก็สามารถดูแลตัวเองไดในการทํากิจวัตรประจําวัน และยัง สามารถดูแลมารดายาท่ปี ว ยและตอ งนอนในโรงพยาบาลได เชน เชด็ ตัว, คอยบอกพยาบาลเม่ือมารดาตองการ อะไร เปน ตน จุมจม๋ิ เปน ตวั อยา งหนง่ึ ของผมู ีภาวะปญญาออ น (MR) และอยูในครอบครัวที่เขาใจ มีมารดา คอยดแู ล คอยฝก จากท่เี ธอมีพัฒนาการทีล่ า ชา มขี ีดความสามารถท่จี าํ กดั ในการส่ือความหมาย การชวยเหลือ ตนเอง สมั พันธภาพทางสังคม ครอบครัวของจุมจิ๋มไดรับความรูความเขาใจ ใชความอดทนพยายามและมุงมั่น เพอื่ ใหเ ธอสามารดูแลตัวเองได มีสมั พนั ธภาพกบั ผูอนื่ อกี ท้งั ยังสามารถทํางานท่ีไมซับซอนได ซ่ึงเชื่อวายังมีอีก หลายครอบครัวท่ีตองดูแลผูท่ีมีภาวะปญญาออน (MR) หากคนในครอบครัวมีความเขาใจ พยายาม หาขอมูล ฝก ฝน ดแู ล พยายามควบคุมอารมณ และคนในครอบครัว สังคมชวยเหลือกนั ผูที่มีภาวะทางปญญาออน (MR) จะสามารถเพมิ่ ขีดความสามารถในการดูแลตนเองไดโดยไมเปนภาระใหกับคนในครอบครัวและสังคม โดยอีก สิง่ หนึ่งทมี่ ีความสําคัญ น่ันกค็ ือ กาํ ลงั ใจซึง่ กันและกนั นนั่ เอง บทความความรสู้ ขุ ภาพจิต 13 จาก การประชุมเชงิ ปฏิบตั กิ ารเพ่ือพฒั นาศกั ยภาพนักสอื่ สารสขุ ภาพจติ กรมสขุ ภาพจติ ปี 2558

เบอื่ เร่ืองเพศ...ชวี ติ คูไรสขุ ความเบ่ือหนา ยเร่ืองเพศสัมพนั ธเปนปญ หาท่ีชีวิตคูหลายคูพบเจอ ซ่ึงข้ึนอยูกับหลายปจจัยที่ นอกเหนือจากปจจัยทางชีวภาพ ซ่ึงไดแก ภาวะสุขภาพท่ัวไป โรคประจําตัว ปจจัยท่ีสําคัญอื่นๆ ไดแก ความสมั พันธในชวี ติ คู สภาพจติ ใจและอารมณข องแตละฝาย อาจเกิดจากความเครียดจากการทํางาน รวมท้ัง ทศั นคตทิ ีไ่ มดีเก่ยี วกับเพศสัมพนั ธดวย โดยคสู มรสตอ งปรบั ความคิดและทัศนคติเก่ียวกับการมีเพศสัมพันธเสีย ใหม คือ ตองไมม องเร่อื งเพศวาเปนเรื่องสกปรก หรือเปนบาป การมีความสุขทางเพศเปนส่ิงสําคัญและควรเปนที่พึงพอใจในชีวิตสมรส ควรเปดเผย ความรสู ึกพึงพอใจหรือความชอบใหอีกฝายหน่ึงรู ไมควรปลอยใหปญหาเร้ือรัง หากไมหาวิธีแกไขก็จะไมดีขึ้น โดยเฉพาะฝายภรรยามักมีความตองการแตกตางจากสามี เชน มีความตองการทางเพศนอยกวา และมักให ความสาํ คญั กับความสมั พนั ธใ กลช ดิ มากกวา การมเี พศสมั พนั ธ ภรรยาจงึ ใชค วามอดทน หรือจําใจมีเพศสัมพันธ เพอื่ ใหส ามีมีความสขุ และพึงพอใจ ในระยะยาวอาจเกิดความเบื่อหนาย และไมมีความสุข จนถึงขั้นมีอคติกับ การมเี พศสมั พันธ ตอ งเอาใจใสตอความตองการของกันและกัน เชน สามีตองตอบสนองตอความตองการของ ภรรยาดวย ตระหนักวาหญิง-ชาย มีความรูสึกและความตองการที่แตกตางกัน สามีมักคิดวาเม่ือตนเองมี ความสุขแลวภรรยาก็จะมีความสุขดวย จึงละเลยความตองการของภรรยา ทําใหภรรยาขาดความสุขและไม อยากมีเพศสัมพันธ ความสุขทางเพศสัมพันธไมไดอ ยูเฉพาะเวลารวมเพศ การกระตุนอารมณและความรูสึกก็เปน ส่ิงท่ีสําคัญโดยเฉพาะในผูหญิง หากสามีละเลยจะทําใหภรรยารูสึกเหมือนวาตนเปนวัตถุทางเพศเทาน้ัน บางครั้งความเบ่ือหนายเรื่องเพศสัมพันธอาจจะเกิดจากความซํ้าซากจําเจ หากไดเปล่ียนบรรยากาศหรือ สถานที่บางกอ็ าจทําใหดีขึ้น ในคูสมรสท่ีฝายใดฝายหน่ึงสุขภาพไมดีน้ัน ควรใหความเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน และ พยายามตอบสนองความตอ งการเทา ที่จะเปนไปได หากทําไมไดคูสมรสควรหากิจกรรมอ่ืนเขามาทดแทนเพ่ือ สรา งความสุขของชวี ติ คแู ทนได เชน ทํางานอดิเรก เท่ยี วตามตา งจังหวดั ออกกําลงั กายดวยกัน เปนตน 14 บทความความร้สู ุขภาพจติ จาก การประชุมเชิงปฏิบัติการเพือ่ พัฒนาศกั ยภาพนักสอื่ สารสุขภาพจติ กรมสขุ ภาพจติ ปี 2558

พลังใจทามกลางวกิ ฤต สังคมที่มีคนเปนองคประกอบ โดยสวนมากมักพบกับความวุนวาย ตามมาดวยปญหา อุปสรรคในทส่ี ดุ เมื่อคนตองเผชิญกับภาวะวิกฤตอยางหลีกเล่ียงไมไดท่ีเห็นไดชัดไมวาจะเปนการท่ีตองเผชิญ กับโรคภัยไขเจบ็ วิกฤตเศรษฐกจิ สถานการณก ารเมือง สถานการณภัยพิบัติตามธรรมชาติ หรือแมแตภัยพิบัติ ที่เกิดจากนา้ํ มอื มนุษย อยา งเชน ทางชายแดนใตของประเทศไทย ซ่ึงปญหาเหลานั้นจําเปนท่ีจะตองอดทน สู และฝาฟนสง่ิ เหลา น้ันไปใหได ดว ย 2 แขน 2 ขา และ 1 หวั ใจ การจะกาวผานปญหาไปใหไดน้ันไมใชเรื่องงาย แตก ็คงไมย ากเกินความสามารถที่จะทํา/ท่ีจะเปน แตวิธีการมากมายในการแกปญหาของแตละคนก็แตกตาง กันไป แตว ธิ ีไหนทีจ่ ะเหมาะสม หรอื ดีทีส่ ุด อาจไมใชรูปแบบตายตัวนัก อาจจะมีก็แต แนวทางไหนที่จะนําพา ไปสูการแกป ญ หาอยา งยง่ั ยืนนนั่ เอง ดวยสภาวะที่บุคคลพบปญหาและสามารถกาวผานปญหาน้ันๆ มาได ดวยการปรับทัศนคติ เปลี่ยนวธิ ีการคิดและมคี วามยืดหยุนตอสถานการณตา งๆ อกี ทงั้ ยงั เปนสวนในการเพ่ิมภูมิคุมกันทางจิตใจ เรา เรียกส่ิงนั้นวา “พลังสุขภาพจิต” หรือ Resilience Quotient: RQ ดวยมีหลักการสําคัญงายๆ เพียง 3 ประการเทานน้ั อีกทั้งยังจดจาํ ไดไมยาก คือ “อดึ ฮึด ส”ู ดวย พลังอึด จะนําพาใหบุคคลฝาฟนปญหาภายใตแรงขับภายในตนเองวา ความกดดันท่ี ผานเขามาในคร้ังน้ีจะผานไปไดโดยเร็ว ดวยความสามารถในการควบคุมอารมณของตนใหอยูในระดับที่ เหมาะสมตอความกดดนั เหลานัน้ พลังฮึด ถอื เปนกําลงั ใจที่ดีและหาไดไ มยาก ทง้ั จากตนเองและบคุ คลรอบขาง ดว ย แนวความคดิ ท่วี า ปญหาเหลานนั้ จะผา นพนไปในอีกไมช าและจะตอ งผา นไปไดดวยดี พลงั สดุ ทา ย พลังสู สใู นทีน่ ี้ไมไ ดเ ชิญชวนใหคุณหรือใครเดนออกไปฟาดฟนหรือโจมตกี ับ บุคคลอ่ืน แตหมายถงึ ใหคณุ สู สกู ับปญหาดว ยสติและสมาธิภายใตค วามเหมาะสม หรอื แมแ ตการปรับตวั ใหเ ขา กับสถานการณน ้ันๆ ใหจ งได เพียงแคคณุ หยุดตงึ ยดื หยุนบา ง ปรับหรอื รบั สงิ่ ใหมๆ เขา มาในชวี ิต และคิดมองในมุมบวก อยอู ยา งสมาํ่ เสมอ เพยี งเทา น้ีชีวติ ที่ดูจะไมสวยหรู วนุ วาย อาจกลายเปน วันธรรมดาทแี่ สนวเิ ศษขึ้นมา ดว ย ทักษะของการใชช ีวิตอยางผมู พี ลงั สุขภาพจิตก็เปนได บทความความร้สู ุขภาพจิต 15 จาก การประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารเพ่อื พฒั นาศกั ยภาพนกั สอ่ื สารสขุ ภาพจติ กรมสุขภาพจิต ปี 2558

มาทําความรจู ักและชว ยเหลือเดก็ สมาธิสน้ั กันเถอะ ปราณี ฉันทพจน เมื่อไปในสถานทีต่ างๆ เชน รานอาหาร หางสรรพสินคา เราอาจจะมีโอกาสไดพบเจอเด็กมาพรอม ผูป กครองทเ่ี รารูสึกวาเด็กซนมาก ไมสามารถอยูน่ิงๆไดเลย แมวาผูปกครองจะปรามเปนระยะๆ หรือเห็นวามีการ โพสหรอื แชรขอ มูลใน Internet แสดงความคิดเห็นวา “ดูแลเดก็ หนอย ลูกคนไมไดนารักสําหรับทุกคนในสังคมนะ” หรือบางครง้ั อาจแสดงความคดิ เหน็ ดวยถอยคําท่รี นุ แรง เชน “เดก็ เปรต เด็กนรก เดก็ พอ แมไ มส่งั สอน” จึงอยากให ไดรูจักกับโรคสมาธิสั้น )Attention Deficit Hyperactivity Disorder : ADHD) ซึ่งเด็กท่ีเปนโรคนี้จะมีปญหาดาน การควบคมุ ตนเองจนกอใหเกิดปญหาแกคนรอบขางไดบอยๆ อาการโรคสมาธสิ ้ันจะมีอาการเดน คือ 1)ซุกซน อยูไม นงิ่ 2) ไมม สี มาธิ 3)หนุ หันพลนั แลน การบําบดั รกั ษาโรคสมาธิสั้น 1. การรกั ษาดว ยยา ทําใหเ ด็กน่งิ ซนนอยลง ดูสงบลงและมีสมาธมิ ากขน้ึ มคี วามสามารถในการควบคุมตัวเอง 2. การปรับเปลย่ี นพฤติกรรมและการชวยเหลือทางดานจิตใจ ชวยใหเด็กมีสมาธิ มีความอดทน ควรใหขอมูลแก พอ แมโดยเฉพาะความเขา ใจผดิ ทีค่ ดิ วาเดก็ ดื้อหรือเกียจคราน 3. การชว ยเหลือดา นการเรยี น ประสานงานกับครูเพ่อื จดั การเรียนการสอนใหเหมาะกับเดก็ การรกั ษาสมาธิสัน้ ทด่ี ี คอื การผสมผสานการรักษาหลายๆดาน การรักษาอยางถูกวิธจะทําใหเด็ก รสู กึ มีคุณคาในตวั เองเพม่ิ ขึน้ ความสัมพนั ธกบั เพือ่ นหรือคนรอบขา งดีข้ึน พอแมควรทําอยา งไรเมอ่ื ลกู เปน โรคสมาธสิ นั้ พอ แมตอ งเรยี นรูเ ทคนคิ ทถ่ี กู ตองเพื่อชวยในการจัดการกบั พฤตกิ รรม ที่เปน ปญหาของเดก็ ดงั นี้ 1. ปรับทัศนคติที่มีตอเด็ก โรคสมาธิสั้นเปนความผิดปกติของการทํางานของสมอง พฤติกรรมท่ีกอปญหาของเด็ก ไมไ ดเ กิดขึ้นจากความตัง้ ใจที่จะกอกวนใหเ กดิ ปญหา แตเ พราะเด็กไมส ามารถควบคมุ ตนเองได ไมไ ดแกลง ไมใชนิสัย ไมด ี ไมใชเดก็ ดอื้ ไมอดทน ไมใชส อนไมจาํ ไมใ ชไ มม คี วามรบั ผิดชอบ 2. ใชเทคนคิ การปรับพฤติกรรมทไ่ี มทาํ ลายความรสู กึ มีคุณคาในตัวเองของเดก็ ดังนี้ - ลดส่งิ เรา จัดหาสถานท่ีใหเ ดก็ ทําการบา น อานหนงั สอื โดยไมม ใี ครรบกวน และไมมีส่ิงทําใหเด็กเสียสมาธิ เชน ทีวี หรอื ของเลนอยูใ กล ๆ - เพิ่มสมาธิ ถาเด็กวอกแวกหรือหมดสมาธิงาย มีผูใหญน่ังประกบระหวางทําการบาน เพื่อใหงานเสร็จ และ เวลาสัง่ ใหเดก็ ทาํ งาน ควรใหเดก็ พูดทวนคําสัง่ ทพ่ี อ แมเ พิ่งส่งั ไปทันที เพื่อใหม่ันใจวาเด็กฟงคําสั่งและเขาใจวาพอแม ตอ งการใหเ ขาทําอะไร 16 บทความความรู้สุขภาพจิต จาก การประชมุ เชิงปฏบิ ตั กิ ารเพื่อพฒั นาศักยภาพนกั สือ่ สารสขุ ภาพจติ กรมสุขภาพจติ ปี 2558

- เพ่ิมการควบคุมตนเอง จัดตารางกิจกรรมใหชัดเจน เม่ือเด็กทําผิดพอแมและบุคคลอ่ืนในบานตอง พยายามควบคุมอารมณ อยาตวาดตําหนิเด็กหรือลงโทษทางกายอยางรุนแรง การใชความรุนแรงกับเด็กสมาธิส้ันจะทําให เดก็ โตข้ึนมาเปน เดก็ กาวรา วและใชค วามรนุ แรงในการแกป ญหา โรคสมาธิส้ันคนพบมานานกวา 100 ป เม่ือกอนไมไดเปนที่รูจักกันแพรหลาย ปจจุบันเกณฑการ วินจิ ฉัยโรคของแพทยม คี วามชัดเจน ครแู ละผูปกครองมีความรูเก่ยี วกบั โรคน้ีเพิ่มข้ึน ทําใหเด็กท่ีมีอาการเขาขายโรค สมาธิสัน้ ถูกคนพบและไดร ับการวินิจฉัยมากขึ้น เลยทําใหดูเหมือนวาเปนการแพรระบาดหรือเปนแฟชั่นของสังคม ปจจุบัน การสามารถสงั เกตพฤติกรรมผิดปกติของเด็กเบ้ืองตน ก็จะชวยใหเดก็ ไดเ ขาสรู ะบบบําบดั รกั ษาอาการสมาธิ สั้นสงผลดีกบั ผูปว ยโรคสมาธิสน้ั ตอไป บทความความรู้สุขภาพจติ 17 จาก การประชมุ เชงิ ปฏิบัติการเพอื่ พัฒนาศกั ยภาพนกั สือ่ สารสขุ ภาพจติ กรมสุขภาพจิต ปี 2558

ไมร ูจักฉัน...ไมรูจ ักเธอ พรศริ ิ หาระพันธุ “คุณตาคะ คุณตามาทําอะไรแถวนี้คะ” คุณตาไมพูดจา ตามองไปขางหนา เหมอลอย “คุณ ตาน่งั กอ นนะคะ ทานนํา้ กอนคะ” เด็กนอ ยบอกคุณตา สกั พักมีคุณยายคนหน่ึงเดินมา “อีหนูเอยเห็นคุณตาม้ัย ลูก เดนิ มาแถวนี้ม้ัย” คุณยายรุนราวคราวเดียวกันกับคุณตาเดินมาถาม “ออ คุณตานอนอยูตรงนั้นคะ” เด็ก นอยบอกพรอมชี้มือไปทเ่ี ถยี งนา “เหน็ แกเดินมาถามวา สบายม้ัย แลวคุณตาก็นอนหลับไปคะ” เสียงเจ้ือยแจว ของเดก็ จอ ยเจรากับคณุ ยายอยางคลอ งแคลว คุณยายเลาวา “บางวันคุณตาก็เดินไปไกลมาก บางวันทานขาว แลว กบ็ อกวายงั ไมไ ดทาน เวลาลกู เตามาหาคุณตากไ็ มร จู กั และกลัวลกู และจะถามชื่อลูกซํา้ ๆ วาเปน ใครมาจาก ไหน” ผูเขียนจําไดข ึ้นใจ คณุ ตาและคุณยายสองคนน้ีอยูบานติดกับผูเขียน และเด็กนอยในวันนี้ก็คือผูเขียนใน วนั น้ี อาการท่ีคุณตาเปนนั้นหลายๆ คนคงรูจักกันดี วาเปนโรคอยางหนึ่ง ซ่ึงโรคนี้จะเกิดกับ ผสู ูงอายุ ซ่งึ ก็คือโรคอัลไซเมอร โรคน้ีมักจะมีอาการคอยเปนคอยไปแตจะรุนแรงเพ่ิมมากข้ึนเร่ือยๆ อาการท่ี เกิดขน้ึ นั้นจะไปกระทบกับกระบวนความจําในปจ จบุ นั ซง่ึ เปน อาการของคุณตา ในระยะเร่มิ แรกอาจไมไ ดเ กดิ ข้ึนตลอดเวลา บางครั้งผูปวยยังดูดี ความผิดปกติที่มากขึ้นจะมี ผลตอการวางแผน การตัดสินใจ และในท่ีสุดจะมีผลตอการดําเนินชีวิตประจําวัน อารมณเปล่ียนแปลง ข้ึนๆ ลงๆ หงดุ หงดิ โมโห หรือมีอาการซมึ เศรา กอใหเกดิ ปญ หาในครอบคารวั โรคอัลไซเมอร เปนโรคที่ไมส ามารถรักษาใหหายขาดได ผปู วยตองไดรับการดูแลอยางใกลชิด ลูกหลานทอ่ี ยูดวย และผทู ่ีเปนคชู วี ิตก็อาจจะตอ งศกึ ษาการดูแลผปู วยโรคน้ี ซึ่งจะไดพบกับวิธีการตางๆ ในการ ดูแล ในฉบบั ตอ ไป 18 บทความความรสู้ ขุ ภาพจิต จาก การประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ ารเพ่อื พฒั นาศกั ยภาพนักส่ือสารสขุ ภาพจิต กรมสุขภาพจติ ปี 2558

รบั มอื ...เมื่อตกงาน อานนท ฉตั รทอง สถานการณต างๆ ในปจจุบนั กาํ ลงั ทาํ ใหใ ครหลายคนอยูใ นภาวะท่ไี มสงบ หนึ่งในผลกระทบ ทร่ี ุนแรงมากทีส่ ุดทางเศรษฐกิจ คอื ปญหาการตกงาน การตกงานแบบทไี่ มค าดคดิ มากอ น หลายคนไมอ ยาก เชอ่ื วา เหตุการณเชน น้ีจะเกิดข้นึ กับตนเอง แตการตกงาน การปรับเปล่ียนตาํ แหนง และการถูกไลอ อก กก็ ลาย มาเปน เงอ่ื นไขธรรมดาทเ่ี กดิ ขึน้ ไดตลอดเวลา โดยไมเ ลอื กอายุ เชอื้ ชาติ หรอื อาชีพ ก็ทําใหม นุษยเ งนิ เดือนอยา ง พวกเราตอ งตระหนกั ถงึ ส่งิ เหลา น้นั มากข้นึ โดยทวั่ ไป เราทราบดีอยแู ลววา ควรทาํ อยา งไรกับตนเอง ดงั นั้น ควรหาทางพฒั นาความ มั่นคงทางจติ ใจหรือความรูสกึ ของตนเองใหดขี ึน้ และหาหนทางในการกา วไปขางหนา เพื่ออนาคตท่ดี ีกวา แทนทจี่ ะจมอยูกบั อดตี ท่ีผานไปแลว คุณลองพิจารณาสิง่ เหลาน้ี - ไมใชตัวคนเดียว หากมคี รอบครัวของตนเอง การตกงานอาจกอ ใหเกดิ ปญหาดานการเงิน ซึ่งมี ผลกระทบกับคนในครอบครัวโดยตรง ตอ งวางแผนการใชเ งนิ ภายในครอบครัวใหม - คํานวณคา ใชจาย แนนอนวา จะตองมกี ารวางแผนการใชเงินใหม ตอ งประหยดั ลดคาใชจ า ยท้งั ใน สว นทจี่ าํ เปน และไมจําเปน ลง โดยอาจจะเร่ิมจากการทานขาวทีบ่ า นบอยข้นึ ซอ้ื ของในรานขายสนิ คาราคา ประหยัด หากสถานการณแยมาก อาจตองนําสิ่งของภายในบานไปแลกเปลี่ยนเปนเงินเพือ่ มาใชจาย เมือ่ คุณ หางานทําไดอกี ครงั้ คณุ จะมองเห็นคุณคาของการใชเงินและตดั ส่งิ ท่ไี มจ ําเปนออกไป เพอ่ื ออมเงนิ ไวใ ชใ นคราว จาํ เปนซ่ึงอาจเกดิ ข้นึ ไดอีกในอนาคต - ทบทวนสิ่งตา งๆ หากตอ งการเวลาในการคดิ ทบทวนเกีย่ วกบั เปา หมายในการทํางาน นคี่ อื ชว งเวลาท่ีเหมาะสมท่ีสุดสําหรบั การใครครวญ ในกรณที ่ียงั ตอ งการหางานใหมท ํา ควรใชโ อกาสนใ้ี นการ ไตรต รองวา เปา หมายในการทาํ งานของตนเองคืออะไร และไดใ ชค วามรูความสามารถของตนเองเต็มทแ่ี ลว หรือ ยัง? และมีเวลาในการทําตามใจตนเองเพียงพอหรอื ยัง? อยากทํางานแบบเปนทีม หรือทํางานแบบตัวตนเดยี ว? เปาหมายในการทาํ งานในอีกหาปขางหนา? และจะแนใจไดอ ยา งไรวา หนาที่การานใหมจ ะทาํ ใหป ระสบ ความสาํ เรจ็ และกา วไปสเู ปาหมายท่ีตนเองตองการได? จงพยายามหาคําตอบใหก ับคําถามที่นา เบื่อเหลาน้ใี หได เพราะจะชว ยใหเ ราสามารถกําหนดเปาหมายในการสมัครงานได ซ่งึ หนาท่ีการงานใหม จะทาํ ใหตนเองและคน รอบขางมีความสขุ มากย่ิงข้ึน แมวาคุณอาจจะไมมีงานทําในตอนน้ี แตอ ยา ปลอ ยใหต นเองตอ งตกเปนเหยื่อจาก สถานการณท่ีเลวราย ควรมองหาโอกาสท่ีจะพฒั นาตนเอง ตองรจู ักปรบั ตัวเพ่ือความอยรู อด เพราะชวี ติ นัน้ ขนึ้ อยูกบั การควบคมุ และความเชอื่ ม่ันในตนเอง ดังน้ัน จงเริ่มตั้งแตต อนน้ี บทความความร้สู ุขภาพจิต 19 จาก การประชมุ เชิงปฏิบัติการเพอ่ื พฒั นาศักยภาพนักสอ่ื สารสุขภาพจติ กรมสุขภาพจิต ปี 2558

เรอื่ งเลา: กรณศี กึ ษา สุดา ยทุ ธโท ผูปวยหลายรายที่มปี ญ หาซบั ซอน ควรไดรบั การตดิ ตามดูแลตอ เนื่องท่ีบาน ด่ังเชนผูปวยราย น้ีเปนผูปวยนอก โรงพยาบาลจิตเวชแหงหน่ึง ผูปวยชื่อนางวี ใจนอย (นามสมมุติ) อายุ 65 ป น้ําหนัก 64 กโิ ลกรัม อาชีพวางงาน เช้ือชาติ ไทย การศึกษา ประถม ศาสนาพุทธ สถานภาพ หมาย บานเดิมอยู จังหวัด ลพบุรี การวินิจฉัยโรค Major Depressive Disorder เปน DM, HT, ไขมันสูง นาน 2 ป รักษาโรงพยาบาล ท่ัวไปแหงหนึ่งในจังหวัดสงขลาสม่ําเสมอ อาชีพรับจางซักผา ตอมาเปนแมบานของโรงพยาบาลแหงหนึ่งใน จงั หวัดสงขลา วันละ 100 บาท ทาํ วนั เวนวัน มีลูก 3 คน อยตู า งจงั หวัด ตดิ ตอ ลูกสาวได แตลูกสาวไมมาเยี่ยม คดิ วาปว ยเลก็ นอ ย สามีเสยี ชวี ิตนานแลว จากเรือถกู โจรปลน อาการสําคัญ คดิ มาก นอยใจงาย กลัวตาย ไมกลาเขาใกลคนใสชุดสีดํา ไมกลาอยูคนเดียว มอี าการ มา 1 เดอื น นอนสะดงุ บอ ย เครียด คิดวาตนเองไรคา ทอแท หมดกําลังใจ ไมมีใครสนใจ ไมมีใครรัก เพราะปวยหลายโรค อายุมาก คนอ่ืนเขารังเกียจ ผล2Q 2 คะแนน 9Q 16 คะแนน เมื่อ 10 ปกอน รับจางที่ บา นแหง หนึง่ เจา ของบา นมหี ลายคน หลายวยั หลายอารมณ ทกุ คนจะปลดปลอยอารมณลงไปท่ีผูปวย เชน ขวา งปาจาน ชามใสอาหาร ใสผูป ว ย จนอาหารหกเละเทอะ ผูปว ยกต็ องทําความสะอาดเศษอาหาร ดุดาใหเสีย ๆหาย ๆ รุนแรง ตลอด ผูปวยไมไดแสดงความไมพอใจใหนายจางเห็น ไดแตทนแลวก็ทน ทําใหเปนคนเงียบ นิ่งเฉย ไมคอยพูดกับใคร ขณะอยูคนเดียวรูสึกกลัว ผวา วังเวงในบาน เครียด ซึมเศรา ไปรักษาที่คลินิก เปน โรคซมึ เศรา ทาํ งานได 7 เดือน ลาออกมาเชาบานอยคู นเดยี ว ปจจุบันวางงาน อยูคนเดียว ลูกๆไมมาดูแล แมยามปวยไข หรือไดรับการผาตัด เพื่อนบาน เซ็นยนิ ยอมเขารกั ษาในโรงพยาบาล และชวยกันบริจาคคารักษา คาเดินทางมาพบแพทยทุกครั้ง อาหารแต ละวันไมมีจะรับประทาน เพื่อนบานแบงให ไดกินบาง ไมไดกินบาง นํ้าหนักตัวลดลง เดือนละ 1 กิโลกรัม เพ่ือนบานจะมาดูท่ีหองเปนชวงๆ เน่ืองจากมักจะเก็บตัวอยูในหองคนเดียวเกือบตลอด นาน ๆจึงจะลงไป พูดคยุ กับเพ่ือนบานบาง เพอื่ นบานอาชพี ขายของหาบเร ถ่ัวตม เผือกมัน ไขปง ผลไม แตละคนก็กลับมาบาน ตอนเย็น ๆ หรอื บางวนั ก็มืดคา่ํ ชว งกลางวันผปู วยจะอยคู นเดียว ไดร ับยา Fluoxetine 20 mg 1 mg 1เมด็ หลงั อาหารเชา T5 1 เม็ด 2 ครั้ง หลังอาหารเชา เย็น D5 1 เม็ด กอนนอน ไดสงเสริมการเห็นคุณคาในตนเอง เนนใหผูปวยเขาใจความรูสึกท่ีดีของตนเอง วา ตนเองมคี ณุ คา มคี วามสามารถ มีความสาํ คญั ปรบั เปล่ยี นความคิดโดยการสรางความหวงั สรา งแรงจูงใจในตน 20 บทความความรู้สขุ ภาพจิต จาก การประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการเพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพนกั ส่อื สารสขุ ภาพจิต กรมสขุ ภาพจติ ปี 2558

เล้ยี งลกู อยางไรเสี่ยงตอไอคิวอคี ิวตา่ํ เบญญาภา สมลกั ษณ การดําเนนิ ชีวิตของครอบครัวและการเลยี้ งดูลูก ในปจ จบุ นั มีแนวโนมทีจ่ ะสงผลใหเดก็ กลายเปน คนทมี่ ี ไอควิ อคี ิวตํ่าลงจรงิ หรอื ? ลองคน หาวิธกี ารเลี้ยงดูของคุณวาเปน แบบน้หี รอื เปลา? ๑. เล้ียงแบบสบายเกินไป จะมีผลทําใหเด็กขาดความอดทน ไมใชความพยายามของตนเอง แกป ญ หาเองไมไ ด เวลาเผชญิ กบั ความลําบากจะยอมแพงายๆ ๒. เลยี้ งแบบไมใหช ว ยเหลือตนเอง แมแตเ ร่ืองเลก็ ๆนอ ยๆ จะทาํ ใหเดก็ กลายเปน คนแกป ญหาไมเปน ขาดความสามารถในการปรบั ตัวใหเหมาะสมกบั สังคมหรอื สถานการณรอบขางทเี่ ปล่ียนแปลง ๓. เลยี้ งแบบโตไมสมวัย พอแมที่มักจะปลอยใหลูกมีพฤติกรรมแบบเด็ก ทั้งๆท่ีเขาสูวัยรุน จะทําให เดก็ ไมม ีวุฒภิ าวะ ใชชวี ติ เรอ่ื ยเปอย ขาดความกระตอื รือรน และไมมแี รงจงู ใจที่จะพฒั นาตวั เอง ๔. เลีย้ งแบบเนนเรียนมากเกินไป เด็กที่มัวแตใชเวลาสวนใหญไปกับการเรียนพิเศษก็จะขาดทักษะ อื่นๆ เชน การเขาสังคม ดนตรี กีฬา เด็กบางคนที่พ่ึงคุณครูหรือพอแมมากเกินหรือพอแมชวยทําการบาน ก็มักจะตดิ นิสัยพ่งึ พาผอู ื่น และไมข วนขวายหาความรูดวยตนเอง ๕. เลีย้ งแบบใชค วามรนุ แรง เดก็ ทถี่ กู กระทาํ รุนแรงไมว า ทางวาจาหรือทางกาย จะเกิดความรสู ึก วติ กกังวล กลัว กดดัน เครียด โกรธ อยากแกแคน เด็กบางคนถึงข้ันคิดหนีออกจากบาน หรือจมอยูกับความ ทุกขเปน เวลานาน อารมณเสียงาย ยิ่งถา เด็กทอ่ี ยูในครอบครัวที่มีแตการใชความรุนแรง เห็นพฤติกรรมรุนแรง ของผูใหญ หรือเคยถูกกระทํารุนแรงทางกาย จะเลียนแบบและมีพฤติกรรมใชความรุนแรงมากกวาเด็ก ท่ีเติบโตมาในครอบครวั ที่ไมม กี ารใชความรนุ แรง ๖. เล้ยี งดวยทีวหี รอื แท็บเล็ต เด็กเหน็ ภาพความรุนแรงหรือพฤติกรรมไมเหมาะสมผานทางโทรทัศน หรือแท็บเลต็ วนั ละหลายๆ ครัง้ จะสงผลตอการเลียนแบบพฤติกรรม และความฉลาดทางอารมณของเด็กทั้ง ทางตรงและทางออม เห็นภาพการดื่มเหลา สูบบุหรี่ การฆากัน การฆาตัวตาย บอยครั้ง จึงไมแปลกใจวา ทําไมเดก็ สมยั นี้ ถึงดม่ื แอลกอฮอลแ ละสูบบุหรเ่ี ร็ว และมพี ฤติกรรมกาวราวรุนแรง ถาจะใหดีพอแมหรือผูเลี้ยง ควรใชโทรทัศนเปนเครอื่ งมอื สรา งไอคิวอคี ิวใหส ูงข้นึ ดวยการน่ัง ดูโทรทัศนพรอมเด็ก เพื่อจะไดแนะนําในส่ิงที่ ถกู ทคี่ วร และเปดโลกทางความคดิ ดว ยการเลอื กดรู ายการที่มสี าระมากกวา บนั เทิง ถาพอแมหรือผูเล้ียงรูอยางนี้แลว ยังคงจะทําแบบเดิมไหม? หรือวาจะลองเปล่ียนวิธีการเลี้ยงดูใหม โดยเรม่ิ ตน จากครอบครวั ใชเ วลารวมกัน ผูกพันดวยความรัก ความรูสึกดี ๆ การใชคําพูดท่ีดีตอกัน ฝกใหเด็ก รับผิดชอบและลงมือทําดวยตนเอง พอแมหรือผูเลี้ยงดูคอยสนับสนุนและใหกําลังใจ ลดความคาดหวังแตให เกียรติและการยอมรบั แทน บทความความร้สู ุขภาพจิต 21 จาก การประชุมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพนักส่อื สารสุขภาพจติ กรมสขุ ภาพจติ ปี 2558

เศรา ...แลวไง ศริ ิจนั ทร สุขใจ ปจจุบันนี้ตองยอมรับวา “โรคซึมเศรา” เปนปญหาดานสาธารณสุขที่สําคัญและไดรับความ สนใจจากคนในสงั คมกนั มาก แตจะมสี ักกี่คนที่เขาใจและรเู รือ่ งโรคซึมเศราไดอ ยา งถกู ตอ ง หลายคนไมก ลาท่ีจะ ไปตรวจทีโ่ รงพยาบาลจติ เวชกลัวถูกมองวาเปน “บา” แตกลับไมกลัววาถามีอาการซึมเศรามาก ๆ อาจจะทํา รา ยตัวเองหรอื ฆา ตัวตายได โรคซมึ เศรา ไมใชโ รคจิต สามารถรักษาหายได สาเหตุการเกิดโรคไมทราบแนชัดวาเกิดจาก อะไร แตมีปจ จัยที่เก่ียวของคือ เปนโรคที่มีความผิดปกติของสารสื่อประสาทในสมองบริเวณสวนท่ีเกี่ยวของ กับการควบคุมและการแสดงออกของอารมณ พนั ธุกรรมเปน ปจ จัยหนึ่งทําใหเกิดโรคซึมเศรา หรือเหตุการณ ท่กี อ ความเครยี ดในชีวติ อาการสาํ คัญ 1. มีอารมณเ ศรา อารมณเ ศรามีเกอื บตลอดวนั และเปนทกุ วัน บางวันอาจเปน มากบางวันอาจเปน นอย 2. ความสนใจหรอื ความเพลิดเพลนิ ในกจิ กรรมตางๆท่เี คยทํา แทบทั้งหมดลดลงอยา งมาก 3. เบอ่ื อาหารจนนํา้ หนกั ลดลงหรอื บวงรายอาจมีความอยากอาหารเพม่ิ ขนึ้ 4. นอนไมหลับ หรือหลับมากแทบทุกวัน สวนใหญจะนอนไมหลับ กระสับกระสาย หลับดึกแตจะตื่นเชา 1-2 ชงั่ โมงกอ นเวลาปกตทิ เี่ คยตนื่ และไมส ดชนื่ 5. ทําอะไรชา พูดชา เคลอ่ื นไหวชา 6. ออ นเพลยี หรอื ไรเรย่ี วแรงท้งั วันและแทบทกุ วนั 7. รูสกึ ตนเองไรค าหรอื รสู ึกผดิ มากเกนิ ควร 8. สมาธิหรือความคดิ อานชา ลดลง 9. คดิ อยากตายไมอ ยากมีชีวติ อยู บางรายรุนแรงอาจมอี าการประสาทหลอน หแู วว ลองสังเกตอาการตัวเอง ถาคิดวาตัวเองเริ่มมีความเครียดหรือไมสบายใจ หรือเริ่มมีอาการ ทีก่ ลา วมา เพื่อใหแนใจวาปวยหรือไม สามารถไปรับการตรวจประเมินโรคซึมเศราไดที่ โรงพยาบาลใกลบาน ซ่ึง “โรคซมึ เศรา สามารถรักษาใหหายได” ดวยการรับประทานยาตานเศรา และถามีอาการซึมเศราในระดับ นอยๆไมตองรบั ประทานยา แคอ อกกําลงั กายทกุ วนั วันละ 30 – 45 นาที สามารถลดอาการเศรา ได ขอ มูลจากหนงั สือ โรคซมึ เศรา โดยนายแพทย ธรณนิ ทร กองสขุ 22 บทความความรสู้ ขุ ภาพจิต จาก การประชมุ เชิงปฏบิ ัตกิ ารเพอื่ พฒั นาศกั ยภาพนกั ส่ือสารสขุ ภาพจิต กรมสุขภาพจติ ปี 2558

สถานการณของกลุม ชาตพิ ันธทุ ผี่ า นมา นายชพู งษ สงั ขผ ลพิ นั ธ การพัฒนาประเทศในรอบ 20 ปท่ีผานมา ปรากฏวาสวนใหญไดเนนหนักการขยายฐานและ อัตราการเจริญเติบโตทางดานเศรษฐกิจ ซ่ึงไดสงผลกระทบทางดานสังคม การเมือง และการ ปกครองหลายดาน และจะเห็นไดวา ผลของการพฒั นาเศรษฐกิจนั้นยังไมไดกระจายไปสูคนสวนใหญเทาท่ีควร กอ ใหเกดิ ปญ หาตามมาดงั น้ี 1. สภาพโครงสรางสังคม ยังมิไดรับการพัฒนาใหสอดคลองกับการเปล่ียนแปลงทางดานเศรษฐกิจ กลาวคือการเปล่ยี นแปลงโครงสรา งของระบบเศรษฐกิจ ทาํ ใหฐ านอุตสาหกรรมขยายตัวขึ้นอยางรวดเร็วในเขต เมือง โดยเฉพาะในกรงุ เทพมหานคร ขณะเดียวกนั ระบบการผลิตของภาคเกษตรในชนบทก็ไดเปลี่ยนแปลงไป จากการผลิตเพยี งพออยูพอกนิ มาเปน การผลิตเพ่อื การคาและรายได เปนผลใหเกิดกลุมบุคคลอาชีพใหมหลาย ประเภทขึ้น ทําใหความสัมพันธระหวางคนในสังคมเปล่ียนแปลงไป และเกิดความไมสมดุล เกิดปญหาความ เหลอ่ื มลา้ํ เหลานไ้ี ด 2. ระบบการเมือง การปกครอง ถึงแมจะมีวิวัฒนาการมาต้ังแตป 2475 เปนตนมาก็ตาม ระบบ ราชการที่เปนอยูก็ยังไมไดพัฒนาจากแนวความคิดท่ีวาขาราชการเปนผูปกครองประชาชนแทนท่ีจะเปนผู บริการประชาชนตามลกั ษณะของระบบการพัฒนาบริหารใหม และมิไดสง เสริมใหประชาชนหรือองคกรชุมชน เขามามีบทบาทในการพัฒนาหรอื มสี วนรว มในการปฏบิ ัตงิ านหรือติดตามผลงานของขาราชการเทาท่ีควร 3. การเพิ่มข้ึนอยางรวดเร็วของจํานวนประชากรไมไดสัดสวนกับทรัพยากรเศรษฐกิจท่ีมีอยูหรือไม สัมพันธก บั โอกาสการมีงานทาํ ไดก อใหเ กดิ ปญ หาสงั คมตามมาอีกหลายดาน ตลอดท้ังการอพยพยายถ่ิน ความ แออัดและการขาดแคลนที่อยูอาศยั ในเมอื ง ย่งิ ทําใหเ กดิ สภาพแวดลอมทางสังคมที่มีผลกระทบตอสุขภาพกาย และสขุ ภาพจิตของประชาชนในเมืองโดยทั่วไป เกิดปญหาการใชแรงงานเด็กและสตรี และเกิดผลกระทบตอ สถาบันครอบครวั และสงผลสะทอนถงึ สังคมโดยสว นรวมในทสี่ ดุ 4. ความเสื่อมโทรมของวัฒนธรรม ทําใหเกิดปญหาในสังคมเพราะการพัฒนาท่ีผานมาไดทําใหการ ส่ือสารคมนาคม กา วหนาขน้ึ อยา งรวดเร็ว มีผลทําใหเกดิ การเปลยี่ นแปลงคานยิ มที่ขัดกับวัฒนธรรมไทยดั้งเดิม หลายอยางโดยไดร บั อทิ ธิภาพคานยิ มทางวัตถเุ กดิ ความตองการในส่ิงฟุมเฟอยมากข้ึน จึงทําใหสังคมโดยท่ัวไป ขาดการประหยดั มัธยสั ถ ปจจุบัน ประเพณีปฏิบัติของแตละกลุมชาติพันธุเปล่ียนแปลงไปมากไมวาจะเปนคนเมือง, คนพน้ื ราบหรอื แมแตค นชนเผาเองเนอ่ื งจากวถิ ีชีวติ เปลี่ยนไปจากการรกุ คืบเขา มาของประเทศ ตะวันตก ซึ่งคน ชนเผาไดรับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงนี้อยางมาก เนื่องจากการเขามาของเทคโนโลยีตาง ๆ เครอ่ื งใชไ ฟฟา การคมนาคมทส่ี ะดวกรวดเร็วขึ้น ทําใหความทันสมัยตาง ๆ เหลาน้ันเขาไปในชุมชนคนชนเผา อยา งรวดเรว็ บทความความร้สู ุขภาพจิต 23 จาก การประชมุ เชิงปฏิบัตกิ ารเพ่ือพัฒนาศกั ยภาพนักสือ่ สารสุขภาพจิต กรมสขุ ภาพจติ ปี 2558

สบายดีจะเด็กไทย ตัวคุณเตรียมพรอมเขาสู AEC แลวหรือยัง ตอนคุณพาลูกไปสงท่ีโรงเรียน ก็จะเห็น ปรากฏการณท่ีนอกจากจะเห็นธงชาติไทยผืนใหญ แลวยังจะเห็นธงชาติตางๆในกลุมประเทศอาเซียน ถาไม สงั เกตเหน็ ถอื วา เชยมาก เพราะเขารณรงคมามากวา 3 ปแลว ผานสอ่ื ตางๆ เอาละเขาเร่ืองเลยแลวกัน คําวา “สบายดี” เปนคําทักทายคลายกับคําวา “สวัสดี” ใน ภาษาไทย หากคุณติดตามนอง ณัชชา ลูกสาวพ่ีบอบ ก็จะมีประโยคท่ีติดปากคือ ดูปากณัชชานะคะ ทั้ง ภาษาจนี ภาษาอังกฤษ ณชั ชาออกเสยี งไดอยา งชัดเจนกับเจาของภาษา เกิดอะไรขึ้นกับเด็กมหัศจรรยคนนี้ เกิดและโตในเมืองไทย พูดภาษาตางประเทศไดชัด ปรากฏการณน้ีจึงเกิดขึ้นในชวงวัยเด็กเทาน้ัน ภาษาอังกฤษเรียกวา Golden Opportunity คือโอกาสทอง ของการสอนภาษาที่ 2 หรือ 3 ของลูกนอยคุณ มาลองสังเกตกันสมัยเราเด็กๆ ภาษาอังกฤษเราเร่ิมตอน ป.5 ตอนน้นั เราก็อายุ 10 หรือ 11 ป ถอื วา ชา ไปแลว เม่อื เราอยากใหล ูกนอยของคณุ เขา สู AEC อยางมั่นใจ ใหเร่ิม ภาษาทสี่ องพรอ มกบั เด็กที่เริ่มพูดเลย โอกาสทองของภาษาท่ี 2,3 จะอยูในชวง 18 เดือน – 9 ป จะเห็นไดวา รนุ คุณพอ คุณแมอยา งเราภาษาท่ี 2 คอื ภาษาไทย หากเกดิ ข้นึ ทอี่ สี านภาษาแรกกค็ ือภาษาอสี าน ดังนั้นอยากให ลกู คณุ พดู ภาษาที่ 2 ไดเ ลยทนั ทนี ะครับ อยารอใหส ายไป 24 บทความความร้สู ุขภาพจิต จาก การประชมุ เชิงปฏิบตั ิการเพอ่ื พัฒนาศกั ยภาพนกั สอื่ สารสุขภาพจิต กรมสขุ ภาพจิต ปี 2558

สมอง...ยาเสพติด...โรคจติ เก่ยี วพนั กันอยา งไร นันทนา รัตนากร การใชสารเสพติด นอกจากสงผลเกิดปญหาสุขภาพกาย ใจและอารมณของผูเสพแลว ยังสงผล กระทบตอครอบครัว เปน ภัยตอความสงบสขุ ของสังคม และเปนปญ หาระดับชาติ การตดิ สารเสพตดิ เปนกระบวนการตอ เน่อื งที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะสารเมทแอมเฟตา มีน ซงึ่ มีผลตอสมอง คือ สมองสว นคิด และสมองสว นความรูสกึ ถูกทําลายอยางถาวร สมองฝอลง และสูญเสียการ ทํางาน ไมสามารถยบั ย้ังความตอ งการหรอื ควบคมุ อารมณค วามรสู กึ ของตนเองได ปญหาการใชสารเสพติด...รนุ แรงแคไ หน ? ปญหาการใชสารเสพติดหรือสารเมทแอมเฟตามีน เปนปญหาใหญท่ีมีการแพรระบาดไปท่ัวโลก พบวา ประชากรกวา 35 ลา นคนเสพสารน้ี และมคี วามรุนแรงสูงข้นึ ในประเทศแถบเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต สารกลุมเมทแอมเฟตามีนทแี่ พรร ะบาดมากท่สี ดุ มี 4 ลกั ษณะคือ 1) ชนดิ เมด็ หรือ “ยาบา” ซ่ึงมี สารเมทแอมเฟตามีนประมาณ 10-30% 2) ชนิดเกร็ด หรือ “ไอซ” มีสารเมทแอมเฟตามีน ประมาณ 90% 3) ชนดิ ผง และ 4) ชนดิ น้ํามนั ขน ในประเทศไทย พบวา ผใู ช “ยาบา” มอี ายนุ อ ยลงในกลุมเยาวชนอายุ 15-19 ป และอายุต่ํากวา 15 ป มกี ารใช “ไอซ” มากขนึ้ ซงึ่ ความรนุ แรงมากกวา “ยาบา” หลายเทา การใชเมทแอมเฟตามีน มีความสัมพันธกับการเกิดอาการทางจิต หรือเรียกวาเกิด “ภาวะโรค รวมจติ เวชสารเสพตดิ ” ซึ่งเม่อื สารดังกลาวผา นเขาสูส มอง มีผลทําใหสารสื่อนําประสาท หรือ “สารโดปามีน” ใน สมองผิดปกติ เกิดอาการทางจิต ถึงแมอาการทางจิตจะหายไปไดหลังหยุดเสพยา แตอาจพัฒนากลายเปนโรคจิต เวชเรือ้ รังได แลวจะหางไกลจากการเสพยา...ไดอ ยา งไร? สิ่งสําคัญคือ การเสริมสรางความเขมแข็งทางใจต้ังแตวัยเด็ก ท้ังในครอบครัว โรงเรียน และ ชุมชน ในครอบครัวทําอะไรไดบาง....มีผลงานวิจัยพบวา เด็กท่ีมีความเขมแข็งทางใจสวนมากมีความ ผูกพันใกลชิดกับผใู หญอยา งนอ ยหน่ึงคน ซ่ึงไมจําเปนวาตองเปนบิดา มารดา อาจเปนญาติ ครูอาจารย หรือผูนํา ศาสนาในชุมชน ซึ่งสามารถใหการดูแลท่ีม่ันคง ใหความรัก ความเอาใจใสที่เหมาะสมและเพียงพอตอความ ตองการของเดก็ กระตุน ใหเดก็ คดิ อยางอสิ ระ เปนตวั ของตัวเองตามความเหมาะสมกับอายุ ในโรงเรียนและชุมชน.... สนับสนุนใหฝกทักษะชีวิต สรางความมั่นใจในตนเอง สรางจิตสํานึก สาธารณะ ปลูกฝงการทาํ ความดแี ละบาํ เพญ็ ประโยชนตอชุมชน การสรา งความตระหนักใหเ ดก็ และเยาวชนมีพลังใจท่เี ขมแข็ง มีทกั ษะชวี ิตที่ดี แกไ ขปญหาชีวิตได โดยไมใชย าเสพตดิ จะทาํ ใหเ ตบิ โตเปนประชากรทีม่ คี ณุ ภาพตอ การพัฒนาประเทศตลอดไป... บทความความรู้สขุ ภาพจติ 25 จาก การประชุมเชงิ ปฏิบัติการเพอ่ื พฒั นาศักยภาพนักสื่อสารสุขภาพจิต กรมสขุ ภาพจติ ปี 2558

สองขั้ว...ซอ นวิญญาณ จําป คําหอมกุล โรคท่ผี ูปว ยมอี ารมณสุดขวั้ ตั้งแตซ ึมเศราไปถึงคลุม คลง่ั สุดๆ จงึ เรียกโรคน้วี า “โรคจิตอารมณ คลุมคล่ังและซึมเศรา (manic Depressive Disorder)” โรคอารมณสองขั้วเปนโรคท่ีอันตรายมาก และมี พฤตกิ รรมท่มี คี วามเสีย่ งทอ่ี าจนําไปสกู ารฆาตวั ตายได สามารถรักษาไดโ ดยการบาํ บัดและทานยา อาการคลมุ คลั่ง อาการหงดุ หงิด กระวนกระวาย กระฉับกระเฉง ชางพูดมาก บุมบาม ใชจายสุรุยสุราย ชอบ แสดงอาํ นาจ มีอารมณเคลม้ิ สขุ อารมณซมึ เศรา จะมกี ารการตรงขามทงั้ หมด คอื เสียใจมาก รองไห รูสึกตัวเองไรคา ไมมีพลังงาน ไมมีความ ภาคภูมใิ จ พอใจ มปี ญ หาในการนอนหลับ ชนิด...สองข้วั อาการของโรคอารมณสองขั้วมีหลายชนิด ซ่ึงโดยรวมแลวคือ จะมีอาการซึมเศราและคลุม คล่งั ตา งระดบั กันไป ประกอบดว ย ไบโพลาร I, ไบโพลาร II, Cyclothymic, ไบโพลารแบบผสม และไบโพลาร แบบ Rapid-Cycling ไบโพลาร I อาการของผปู ว ยประเภทนี้สาเหตุจากมีอาการคลุมคลั่งอยางหนึ่งเกิดขึ้นในชวงท่ี มีอารมณร ว มกบั พฤตกิ รรมทไ่ี มป กตซิ ง่ึ ไปมผี ลตอ การดาํ เนินชีวิต ไบโพลา ร II ลักษณะอาการคลายกับ ไบโพลาร I แตชวงอารมณระหวางสองขั้วจะมีมากกวา แตก ย็ งั ไมแ สดงอาการคลุมคลงั่ มาก ไบโพลารแ บบ Rapid-Cycling ผูปวยประเภทนีเ้ คยมีอาการคลุมคล่งั หรือซึมเศรามากกวา 4 ครั้งข้ึนไปในรอบป ซ่งึ ไบโพลารชนดิ นพี้ บประมาณ 10-20% ของผปู วย ไบโพลารแบบผสม สวนใหญแลวผูปวยไบโพลารจะมีอารมณสลับกันไประหวางสองขั้วใน เวลาที่ไมปกติ แตไบโพลารชนิดนี้ผูปวยจะเคยมีอาการท้ังคลุมคลั่งและซึมเศราอยางตอเนื่อง หรือติดตอกัน อยา งมาก Cyclothymic ผูปวยจะแสดงอาการทางอารมณแบบไบโพลารแตไมมาก บางทีจึงเรียกวา Cyclothymic เพราะอาการนอ ยกวาโรคอารมณสองขวั้ ท่สี ดุ ข้วั กวา สองข้ัว...เด็กเลก็ ...วัยรนุ เนือ่ งจากเดก็ มคี วามเสี่ยงมากที่จะเปนหากคนใกลชิด เชน พอ-แม พ่ีนอง หรือญาติเปนโรค ดังกลาว ซึ่งพอแมอาจไมเขาใจวาอะไรท่ีเปนสาเหตุใหลูกมีอาการเชนน้ี ในเด็กเล็กและวัยรุนน้ันอารมณมัก แปรปรวนแบบไมม ีเหตุผลไดงายอยูแลว แตในเด็กปวยแบบไบโพลาร อารมณที่เปล่ียนน้ีมักมีอาการอยางอ่ืน 26 บทความความร้สู ขุ ภาพจิต จาก การประชมุ เชิงปฏบิ ัตกิ ารเพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพนกั สอ่ื สารสขุ ภาพจติ กรมสขุ ภาพจิต ปี 2558

รวมดว ย เชน การเปล่ียนพฤติกรรม ซึ่งเวลาที่เกดิ จะเห็นไดช ดั เจน เรียกวา เปน ตอนอารมณเลยทีเดียว (mood episode) การเกิดอารมณคลุมคลั่ง (mania) ในเด็กมีจํานวนครั้งที่เกิดนอยกวาในผูใหญ อยางนอยก็สัปดาห ละคร้ัง จะเปนชวงท่ีมีความสุขมากๆ กาวราว หรือมีอารมณโกรธ ซ่ึงจะมีอาการอ่ืนๆ ตามมา เชน ตองการ เวลานอนนอย กระปร้ีกระเปรา มีความม่ันใจในตัวเองสูงมาก พูดเร็ว คิดหลายๆ เร่ืองในขณะเดียวกัน ไมมี สมาธิ หาจุดสนใจไมได ชอบจับอวัยวะเพศตัวเอง ใชภาษาที่หมกมุนเร่ืองเพศ และชอบที่จะเขาใกลคนอ่ืนใน ลกั ษณะไปทางเร่ืองเพศ มกี ารกระทาํ ทีไ่ มเหมาะสม หรือกาวกายตอ สงั คม ยา...อารมณ (mood stabilizer) 1. Lithium (เรียกกันวา Esaklith หรือ Lithobid) ซึ่ง FDA ไดประกาศวาสามารถรักษาไดท้ังอาการ ซมึ เศรา และคลมุ คลง่ั 2. ยากันชัก (Anticonvulsants) ซึ่งใชรักษาโรคลมชัก หรือลมบาหมู สามารถนํามาใชในการควบคุม อารมณไดเ ชนกนั เชน 2.1 Valproic acid หรือ divalproex sodium (Depalote) ใน FDA กลาววาใชรักษาอาการคลุม คล่ัง และเปนอีกตัวเลือกหนึ่งแทน lithium แตก็มีขอควรระวังพิเศษในการใชสําหรับเพศหญิง โดยเฉพาะท่ี อายุไมเ กิน 20 ป 2.2 Lamotrigine (Lamictal) ใน FDA กลาววา ใหใ ชรักษาอาการซึมเศรา นอกจากนี้ยังมีตัวยาอื่นๆ เชน gabapebtin (Neurontin). Topiramate (Topamax), และ oxcarbaqepine (Trileptal) เปน ตน ยา Valproic acid Lamotrigine เปนยาท่ี FDA ไดมีคําเตือนเกี่ยวกับการบริโภคไววา อาจไป เพิม่ ความเส่ยี งตอความคิดและพฤตกิ รรมในการฆา ตัวตายได บทความความรสู้ ขุ ภาพจติ 27 จาก การประชุมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารเพือ่ พฒั นาศกั ยภาพนกั สือ่ สารสุขภาพจิต กรมสขุ ภาพจติ ปี 2558

ส่งิ เล็กๆ ทีเ่ รยี กวา “ โรคเครียด” สงั คมเมอื งในปจ จุบัน มกี ารพัฒนาและเจรญิ กา วหนา ในทกุ ๆดาน ไมว าจะเปนดา นการศึกษา และ ดานเทคโนโลยีตางๆ มากมาย ซ่งึ คนเมอื งสวนใหญ มีความตองการและใหความสําคญั กับสิ่งเหลาน้ีมาก จงึ พยายาม ขวนขวายใหไดมาซ่งึ เทคโนโลยี หรือสง่ิ อาํ นวยความสะดวกตา งๆ เพอ่ื ใหท ันยคุ ทันสมัยไมอายใคร จนลมื นกึ ไปวา สง่ิ เหลา น้ันมีความจําเปนกบั ชวี ิตเราจริงหรอื ไม แตต องใหไ ดม าเหมือนคนอนื่ เขา โดยหารูไมวา สิ่งเลก็ ๆท่เี รียกวา “ โรคเครยี ด ” กําลงั ถามหาทา นอยู โรคเครียด ในสงั คมเมอื ง เกดิ ขนึ้ ไดกับทุกเพศ ทุกวยั ไมวา จะเปน เดก็ หรือผูใ หญ สําหรับเด็กนั้น หลักๆคอื ตองการของเลน อยากไดโ ทรศพั ทมือถือเหมือนเพ่อื น หรือหากไมไดเ ขาเรียนในสถานศึกษาท่มี ชี ่อื ก็จะเกิด ความเครยี ด กนิ ไมได นอนไมหลบั หรือที่เหน็ บอยๆ ในขาวเดก็ ฆา ตัวตาย เนือ่ งจากผลการเรยี นไมด ี หรือสอบเขา โรงเรยี นท่มี ีช่อื เสยี งไมไ ด แตสําหรับวยั ทํางานหรอื วัยผใู หญนัน้ ตอ งเผชิญกับความเครียดมากกวา เชน ในชีวติ ประจําวนั เครยี ดจาก รถติด งาน เพอ่ื น ความรกั หนสี้ ิน ความตอ งการมคี อมพิวเตอร มโี ทรศัพทม ือถือราคาแพง มรี ถ ซงึ่ เกดิ สะสมข้ึนไดท ุกวนั รา งกายไมสามารถตอบสนองหรอื แสดงออกตอ ความเครยี ดนัน้ ได จนถกู สะสมใหเปน ความเครยี ด เรอ้ื รัง ความเครียด ถอื เปนระบบเตอื นภัยของรา งกาย ใหเ ตรยี มพรอ มเพอื่ ท่ีจะทําสิ่งใดส่ิงหนงึ่ ทาํ เพือ่ ใหพน จาก ความเครียดนี้ จนหลายคนตัดสนิ ใจผิดพลาด โดยการไปปลน จี้ หรอื หนปี ญหาโดยการฆาตัวตาย ก็มีใหเห็นในขา ว แทบจะทกุ วัน ความเครยี ดเหลาน้ี รางกายไมสามารถทาํ อะไรได เพราะเกดิ โดยท่ไี มร ตู ัว ทําใหฮ อรโ มนความเครียด กลมุ น้ี สะสมในรางกายจนกระทัง่ เกิดอาการทางสุขภาพกายและมผี ลทางจติ ใจ อาการหลักๆ อาจสังเกตได เชน ทาง รา งกาย จะมอี าการ ปวดหวั ปวดกลา มเน้ือ นอนไมห ลับ หูออ้ื มอื เย็น ออนเพลียงา ย ทองเสีย ทางจิตใจ ไดแ ก ความสามารถในการตดั สินใจนอยลง ไมม สี มาธิ ไมมีความคิดสรางสรรค ไมพ รอมจะเรียนรสู งิ่ ใหม ขี้ลืมบอ ยๆ ทาง อารมณ ไดแ ก มีความวิตกกงั วล หงดุ หงิด บางคร้ังมอี าการซมึ เศรา รอ งไหงา ย โกรธงา ย ทางพฤตกิ รรม ไดแ ก กนิ เกง ข้ึน รสู กึ ไมอยากยงุ กบั ใคร อยากแยกตัว ตดิ บุหร่ีหรือสุรา นอนไมห ลับ เปนตน ดงั น้นั เราควรหดั สงั เกตใหร เู ทาทันโรคเครยี ด หากเรารจู ักการจัดการกับความเครียด และรูจัก วธิ กี ารแกไขกับความเครียดแลว โรคเครียด จะไมสงผลกระทบตอ รา งกายและจิตใจของคนเมืองไดแ นน อน ยิ่งถา เรา สามารถปลอ ยวาง ไมว าจะเปนเรือ่ งของโทรศพั ทม ือถือ อนิ เตอรเ น็ท ไดน ัน้ บางทชี วี ติ เรากอ็ าจจะมคี วามสขุ มากข้ึน กวานกี้ ็ได อยาลมื วา ในสมยั ปู ยา ตา ยาย ของเรา พวกทา นไมม โี ทรศัพทมอื ถอื ไมม ีอนิ เตอรเ นท็ ทานกย็ งั มชี ีวติ อยู อยา งมีความสขุ ได 28 บทความความร้สู ุขภาพจิต จาก การประชมุ เชิงปฏิบตั กิ ารเพ่ือพัฒนาศกั ยภาพนักสอ่ื สารสุขภาพจติ กรมสขุ ภาพจติ ปี 2558

สขุ ใจท้งั ผใู ห. ..ดใี จทัง้ ผรู ับ ธนาภรณ ชาวชน่ื สุข ชวงเวลาการทํางานเรามักพบเจอผูคนมากมาย มีทั้งคนปกติและไมปกติ อาจจะเขามาขอ คําแนะนาํ ขอความชว ยเหลือ ดว ยหนาที่ความรบั ผดิ ชอบเราตองทําใหเตม็ ท่ี พยายามชวยเหลือใหผูรับสบายใจ เม่อื เราเหน็ รอยย้ิมเรากส็ ขุ ใจ งานบริการ คือ หัวใจสาํ คญั และเปน ส่ิงทเี่ รารกั พอรักแลว รูสกึ อยากเปน ผใู ห เมอื่ เวลาท่ีเราได ใหค ําปรึกษาใครสักคนหรอื ไดชว ยเหลือแลวจะดีใจทุกคร้ัง ขอยกตัวอยางเคสการใหคําปรึกษาการนําผูปวยมา รักษา แตผปู วยไมย อมรบั ตวั เองคนรอบขางพูดก็ไมฟงจนเวลาผา นไปอาการเร่ิมหนักข้ึนจนถึงขั้นทํารายตัวเอง เลยมาขอคําปรึกษาจะทําอยางไรดี เราจึงใหขอมูลวา พอแมตองพาผูปวยมาหาหมอใหไดนะคะ ถาถึงขั้นทํา รายตัวเองคนรอบขางก็คงไมปลอดภัยแนๆยังไงก็ตองพาตัวมาใหได เราจึงใหคําแนะนําวา การรักษาไมไดนา กลวั อยางทีค่ ิดอยา งเพิ่งคิดไปเองลองมาคยุ และปรกึ ษาคณุ หมอกอ น แตหากคุณมาโรงพยาบาลแลวไมสบายใจ คุณสามารถโทรปรึกษาทางสายดวนสุขภาพจิตกอนไดคะ เบอร 1323 โทรฟรี 24 ชั่วโมงอาจจะเปนทางเลือก หน่ึงในการตัดสินใจใหตัวผูปวยยอมเขารับการรักษา แตในอุปสรรคยอมมีโอกาสเม่ือผูปวยนั้นคิดไดเองวา ตวั เองอยากหาย เขาจงึ เปน ผูเ ดนิ เขามารับการรักษาดว ยตัวเองโดยไมป ฏเิ สธ พอผูป วยมาถึงโรงพยาบาลพรอม พอ แม เหน็ หนาเราผใู หค ําปรึกษาเขาดีใจและยิ้มทั้งนํ้าตาท่ีวันนั้นตัดสินใจมาปรึกษาเรา วายังไงตองพาเขามา รกั ษาใหได จากวันนนั้ ถึงตอนนี้ผปู ว ยมีอาการดีข้นึ เวลาญาติมารับยาเห็นเราก็ดีใจและขอบคณุ เรามาก ในท่สี ดุ แลว เมื่อเราไดช ว ยเหลือใครสกั คน แมแ คจ ะเปน คําปรกึ ษาที่เล็กนอยบางคร้ังการที่เขา ไดเ ลาแลว สบายใจ เราผูฟงก็ยินดีรบั ฟง เราจะดีใจทุกครัง้ วา การเปน ผูใหน ้นั ดีอยางนท้ี ีเ่ อง ตามช่ือเร่ืองสุขใจทั้ง ผใู ห ดใี จท้งั ผรู ับ บทความความร้สู ุขภาพจติ 29 จาก การประชุมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเพอื่ พัฒนาศกั ยภาพนกั สือ่ สารสุขภาพจติ กรมสุขภาพจิต ปี 2558

\"สุขอยางสูงวยั ... กายใจเปน สขุ \" สรศกั ดิ์ นาคสขุ มูล ผูส งู อายุ บคุ คลผูมากดว ยประสบการณ ท้งั ความรคู วามสามารถทคี่ วรคา แกก ารเคารพนับถือ ยกยอง ใหเ กียรตแิ ละไดร ับการดแู ล การเปล่ียนแปลงสูว ัยสงู อายุ นบั เปนอีกชวงชีวิตหน่ึงที่บุคคลตองเผชิญกับ การเปล่ียนแปลงทงั้ ดา นรา งกายและจิตใจไปพรอมๆกนั ดา นรางกายเปนการเปลย่ี นแปลงในทางท่ีเสื่อมถอยลง เชน สายตาฝาฟาง หูตึง หรอื ภาวะทางสมอง เปน ตน สวนการเปล่ียนแปลงดานจิตใจ เชน การสูญเสียคนที่รัก หรอื ความรสู ึกถูกทอดทิ้งจากลกู หลาน จนกระทั่งบางคร้ังผสู ูงอายจุ ําเปนตองดึงภูมิคุมกันทางจิตใจ (defense mechanism) ออกมาใชไมวาจะเปนการเจบ็ ปวยเพ่ือดึงดูดใหลูกหลานมาดูแลใกลชิด หรือการกลับไปแตงตัว สวยงามเหมือนสมัยหนมุ สาว เพ่อื ลดความรสู ึกเศรา หดหู และไรคาในตนเอง การดงึ ภูมคิ มุ กนั ทางจิตใจออกมาใชนั้นไมใชสัญญาณที่ดี แตการดูแลบุคคลในวัยสูงอายุจาก ลูกหลานตางหากคือสัญญาณอันวิเศษของทานเหลานั้น การดูแลทางรางกายไมวาจะเปนการดูแลเรื่องโรค ประจาํ ตวั การตรวจรางกาย หรือการรับประทานอาหารท่ีดีนับวาเปนส่งิ สาํ คัญแลว แตปฏิเสธไมไดวาการดูแล ดานจิตใจของบุคคลในวัยน้ีเปนส่ิงท่ีสําคัญกวา ความรัก ความเขาใจในการเปล่ียนแปลง วิธีการดูแล หรือ แมก ระทง่ั การพดู คุย ลวนเปนวิธีงายๆท่ีลูกหลานสามารถปฏิบัติได เพื่อลดภาวะซึมเศรา หรืออาการเจ็บปวย ทางดานรางกายทีน่ ับจะเสอ่ื มโทรมลงไปทกุ วนั และยงั เปนการเสริมสรางความเขมแข็งในจิตใจ เพิ่มความรูสึก เหน็ คุณคา ในตนเองแกบ คุ คลผูสูงอายุอีกเชน กัน การใหความสําคัญ และ ความรวมมือรวมใจ ของสมาชิกทุกคนในครอบครัว คือพลังอัน ยิ่งใหญใ นการดําเนนิ ชีวติ และการดํารงอยอู ยางมีความสขุ ของปชู นียบคุ คลอันเปน ทีร่ ักของบา น 30 บทความความรู้สขุ ภาพจติ จาก การประชุมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเพือ่ พัฒนาศักยภาพนกั ส่ือสารสุขภาพจิต กรมสขุ ภาพจติ ปี 2558

หลงั คาแดง...บานน้ีมรี ัก จติ ตกปว ยใจ แวะมาเยยี วยา ชนสินนั ท ธนาพฒั นธ นนท ผมเผา รกรงุ รงั เดนิ พูดอยคู นเดียว เด๋ียวย้ิม เดี๋ยวรองไห!!! นี่ไมใชฉากหน่ึงในละครภาคคํ่า ทหี่ ลายคนตดิ ตามชมแนๆ แตน ่ีคือเร่อื งจรงิ ของใครหลายๆ คนที่ตองกลายเปน ผปู ว ยจิตเวช...? ท้ังท่ีตัวเขาหรือ เธออาจจะไมรับรูหรือทุกขรอนใดๆ เลย แตความเจ็บปวยทางใจเปนทุกขอันย่ิงใหญของคนในครอบครัว...? อยา งทเ่ี หน็ เปน ขาวคราวใหญโ ต เพราะจิตปว ย แตไ มม ีใครรู ถาพดู ถึงผูปวยโรคจิตเวช หรือที่หลายๆ คนมักจะคุนชินกับคําวา ...บา บางก็เรียก...ไอโรค จิตหรือพวกโรคประสาท แนนอนวา...ใครก็ตามที่ตองอยูใกลกับคนท่ีตองสงสัยวา...จะปวย หลายคน หวาดกลวั ระแวง และไมอ ยากอยใู กล แมแตเขาเหลานั้นจะเปนคนหนึ่งในครอบครัวก็ตาม...? มีคนต้ังคําถาม วา โรคจิตเกดิ จากสาเหตใุ ด...? คาํ ตอบกอ็ ยา งทจ่ี ติ แพทยหลายๆ ทานไดพูดไปแลว...? แตอีกแงมุมหน่ึงท่ีคนใน สังคม หรือครอบครวั ควรจะใสใจคือความผิดปกติ หรือส่ิงท่ีผิดแปลกไปจากเดิม...ในแตวันนี้ดูผิดๆ เพี้ยนๆ ไป มากมายนกั เม่อื มคี วามเครยี ดเกิดขึ้น!!! แนนอนวิธีการจัดการแกปญหาของแตละคนยอมแตกตางกันไป ในขณะทบ่ี างคนเลือกทจี่ ะปรกึ ษาหารอื กับคนใกลชิด แตบางคนก็เลือกท่ีจะเก็บงําความทุกขใจเหลานั้นเอาไว เพยี งลาํ พงั !!! และแลวเหตุการณท ไ่ี มค าดฝนก็เกดิ ขน้ึ เมื่อเขาตองกลายเปนผปู วยจิตเวช แมกไมส เี ขียวขจี ประดลู าํ ตนใหญแ ข็งแรง บรรยากาศชางนาร่ืนรมย เพลิดเพลินตากับตนไม นานาพันธุ...หลายคนนกึ แปลกใจนเ่ี หรอโรงพยาบาลบา !!! หรอื หลังคาแดง...ไมเห็นจะนากลัวอยางท่ีคิดไวหรือ ตามคําบอกเลาเลยแมสักนดิ 100 กวาปแลวท่ี “หลังคาแดง” ไดทําหนาท่ีพักใจ คลายทุกขใหคนอยางคลาคล่ําที่ตอง เจ็บปวยดวยโรคจิต ไมวาจะเปนโรคซึมเศรา โรคไบโพลาร หรืออีกหลายโรคอยางโรคจิตเภท (Schizophrenia) นพ.สินเงนิ สุขสมปอง ผอู าํ นวยการสถาบันจติ เวชศาสตรเจาพระยา ไดเลาวาโรคจิตเภท มีสาเหตุเกิดจากหลายปจจยั เชน กรรมพันธุ ความผดิ ปกติของสมอง ความเครียด หรือการใชสารเสพติด โดย ผูปว ยจะมีอาการรนุ แรงคอ นขางมากในแงของการรับรูตัวเอง และรับรูส่ิงแวดลอมรอบขาง ความคิดผิดเพี้ยน จากความเปนจริง เชน มีอาการหลงผิด คิดวาผูอ่ืนจะมาทําราย คิดวาตนเองสงกระแสจิตได เปนผูวิเศษมี อิทธฤิ ทธ์ิเหนือคนธรรมดา จากขอมูลของกรมสุขภาพจติ ท่ีระบุวา...มีผปู วยดว ยโรคจติ เภทถึง 2.6 ลานคนในโลก มีเพียง คร่ึงหนง่ึ ของผปู วยจิตเภทที่เขาถึงบริการบําบัดรักษาได สวนใหญเกือบรอยละ 90 ของผูปวยที่อยูในประเทศ กําลังพัฒนาไมส ามารถเขา ถึงการบาํ บดั รักษา จากรายงานจํานวนผูปวยนอกจิตเวชของกรมสุขภาพจิต พบโรค จติ เภทเปน โรคทางจิตเวชท่พี บมากทส่ี ุดเปนอันดับ 1 มีจํานวนมากกวา 1 ใน 3 ของผูปวยนอกจิตเวชท้ังหมด พบ 388,369 ราย จาก 1,109,183 รายและพบในผปู ว ยในจิตเวช 20,634 รายจาก 42,861 ราย โรคจิตเวชเปนโรคทรี่ ักษาได เชน เดยี วกับการเจ็บปว ยดว ยโรคทางกาย ย่งิ เขารับการรักษาแต เนิ่นๆ ยิ่งดี เมื่อมีอาการดีขึ้นแลวผูปวยตองกินยา เพ่ือควบคุมอาการไมใหกําเริบ ผูปวยสามารถใชชีวิตอยูใน ชมุ ชนไดตามปกติ แตต องระวงั เปน พิเศษคอื ปญ หาการขาดยา หรือลดยา รวมถงึ การใชสารเสพติด โดยเฉพาะ บทความความรสู้ ขุ ภาพจิต 31 จาก การประชุมเชิงปฏบิ ัตกิ ารเพอื่ พฒั นาศกั ยภาพนกั สื่อสารสขุ ภาพจิต กรมสุขภาพจิต ปี 2558

ยาบา และเครื่องดม่ื แอลกอฮอลทุกชนดิ เพราะจะทาํ ใหผูปวยเกิดอาการทางจิต ญาติตองดูแลอยางใกลชิดหาก พบวาผูปว ยนอนไมห ลบั หงุดหงิด มีความคิดแปลกๆ กาวราว วิตกกังวล หวาดกลัว ฉุนเฉียวงาย ขอใหรีบพา ไปพบแพทย ทกุ ๆ ครั้งท่ีมีขาวผูปวยจิตเวชไปกอเหตุ!!! ผูคนในสังคมรูสึกหวาดกลัวผูตองหาในรางของ ผปู ว ยจติ เวช แตอ ีกมุมหน่ึงของสงั คมสะทอ นใหเ หน็ วา การดแู ลผูปวยจิตเวชใหทุเลาเบาบางลง!! คงไมใช เปนหนาท่ีของใครบางคนเทา นัน้ !!! ทุกๆ คนสามารถชว ยพวกเคาไดเพียงใสใจดูแลคนใกลชิดทุกครั้งที่ทุกขใจ หรือเลือกท่ีจะเดนิ เขามาท่ีโรงพยาบาลจติ เวชใกลบ าน สถาบนั จติ เวชสมเดจ็ เจา พระยา หรอื หลังคาแดงท่ีหลายคนคุนเคย ก็พรอมท่ีจะชวยใหคลาย ทกุ ขใจลงได จากคําบอกเลาของผปู ว ยและญาตผิ ปู ว ยท่ีไดแ วะเวยี นเขามาที่บานหลังนี้ตามท่ีนัดหมาย เคารูสึก อบอนุ ทุกๆ คร้งั ที่ไดมาเยอื นบานหลังนี้ ทๆ่ี เคยเปน ที่พกั ใจ หลอ หลอมใจใหเข็มแข็งมีพลังท่ีจะกาวเดินออกไป เพือ่ ทําประโยชนใ หส ังคม!!! มใิ ชเ ปน ภาระของใครหลายๆ คนอกี แลว 32 บทความความร้สู ุขภาพจติ จาก การประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารเพ่ือพฒั นาศักยภาพนกั สอ่ื สารสขุ ภาพจติ กรมสุขภาพจติ ปี 2558

อยรู ว มกบั ผตู ดิ สุราอยา งมีความสขุ ทศั วรรณ ปญ ญารกั ษา การตดิ สรุ านั้นเปนอาการท่ีตองไดร บั การรกั ษาโดยปกติแลว ผูทีต่ ดิ สรุ ามักมพี ฤตกิ รรมการตดิ เมอื่ เลิกไดก ็จะกลบั ไปดมื่ ซ้ําอกี เปนแบบนซี้ า้ํ แลว ซํา้ เลา สมาชิกในครอบครัวและผูใกลชิดจําเปน ตองมคี วาม เขา ใจในการชว ยเหลอื และการอยูร ว มกบั ผูติดสุราได จะเปนการชว ยใหเขาหายจากอาการติดสรุ าได โดยลอง ปฏบิ ัติตามวธิ ีท่ีจะแนะนาํ ดงั นี้ อยางแรกที่ตองเรยี นรูค อื “เรียนร”ู อาการท่ีเกดิ ข้ึนกับผูตดิ สุราเพอื่ ใหเ กิดการแสวงหาส่งิ ที่ จาํ เปน ในการดํารงชวี ิต ซึ่งเมอื่ คนเราไดร บั การตอบสนองดงั กลาวแลวก็จะเกดิ ความสุขขึน้ เชน เดียวกนั กับการ ดืม่ สรุ าจะเปน การกระตุนใหสมองหลั่งสารที่ใหค วามรูสึกเปน สุข ทาํ ใหผูทตี่ ิดสุรานั้นเกดิ ความเคยชิน และ ตองการหาสุรามาดื่มมากขึน้ อกี จงึ เกิดอาการติดสุราในทส่ี ุด และไมสามารถควบคมุ การดม่ื ของตนเองได หาก มีการขาดสรุ าอาจทําใหเ กดิ อาการมือส่ัน ใจส่ัน นอนไมหลับ เปนตน ดังนั้นผทู ่ีอยูร วมกับผูตดิ สรุ าตอ งเขาใจวา ผูติดสุรานน้ั เปนผูป ว ยทีต่ อ งการไดรบั การชวยเหลอื เมือ่ รแู ลววา ผตู ิดสรุ าคือผูป วยท่ีตอ งไดร ับการชว ยเหลอื สมาชิกในครอบครัวจะตอ ง “แนะนาํ ” ใหผตู ิดสรุ าเขารับการบาํ บดั รักษา โดยใหผ ตู ิดสุราไดตดั สินใจเอง เราไมค วรบังคบั หรอื แสดงความไม พอใจหากผูติดสรุ าเริ่มใหความสนใจในการเลิกสรุ าแตไ มเขา รับการบาํ บัดสักที เมอื่ ผูต ดิ สุรายอมเขา รบั การบําบดั แลว เราไมควรคาดหวงั วาเขาจะเลิกสุราไดเ ต็มรอ ย เพราะ อาการตดิ สรุ านนั้ เปน โรคเรื้อรงั ทส่ี ามารถกลบั ไปด่ืมซํ้าไดอกี สมาชกิ ในครอบครัวจึงตองคอย “ใหกําลงั ใจ” แสดงความเห็นใจกับผูตดิ สรุ าอยางนมุ นวล และอยาหยดุ ชวยเหลอื ผูตดิ สุรา เพราะการจะเลกิ สรุ าไดนน้ั จะตอ ง อาศัยแรงบันดาลใจ และกาํ ลังใจจากครอบครัวและผทู ่ีใกลชิดดว ย นอกจากน้นั แลว เราควร “สรา งความรับผิดชอบและปรบั ความคิด” ของผตู ดิ สุรา สนบั สนุน กิจกรรมทีเ่ ขาใหความสนใจเพ่อื ไมใ หเขาคิดแตเ ร่อื งการดม่ื สุรา ส่งิ ทส่ี าํ คญั อีกอยา งหนึ่งคือ “อยา ใชความรนุ แรงในทกุ ประเภท” ไมวาจะเปน การพูดขมขู การบน การตําหนิ การดาวา สั่งสอน สิ่งเหลานลี้ วนทําใหเ กดิ การขัดเคืองใจและการตอตา นในที่สุด ย่ิงไปกวา นั้นแลว นอ่ี าจเปนสาเหตใุ นการกระตุนใหเขากลบั ไปดมื่ ซาํ้ อีกดวย สมาชิกในครอบครัวจะตอ งพดู คยุ กนั ใหเ ขาใจในการใหการดูแลผูต ิดสรุ า โดยเฉพาะการ พูดคยุ กับลูกใหเขา ใจอาการของการตดิ สรุ า ไมค วรพดู ใหเกิดความเกลียดชัง หรือความรสู กึ ที่ไมด ตี อผูตดิ สุรา นอกจากนีแ้ ลว ควร “ปลอยวาง” จากพฤติกรรมการติดสุราของผูต ิดสุรา ไมควรเครงครดั มากจนเกินไป และ อยา ลืมวา ผูทอี่ ยูร ว มกับผูติดสรุ าควรมคี วามอดทนและเขาใจในพฤตกิ รรมตางๆ ทเี่ กิดข้ึน มองในแงด เี สมอ ให ความรกั และมกี ารรวมมอื อยางจรงิ จัง และจรงิ ใจระหวา งผตู ิดสรุ าและสมาชิกในครอบครัว การเลิกสรุ านั้นยาก แตสามารถทําได เพยี งแตการที่จะอยรู วมกับผูต ิดสุราไดนั้นจะตองมี ความเขาใจ เหน็ อกเห็นใจ จงึ จะสามารถอยรู วมกนั ไดอยา งมคี วามสุข บทความความรสู้ ขุ ภาพจิต 33 จาก การประชมุ เชิงปฏิบัตกิ ารเพอื่ พฒั นาศักยภาพนักสอ่ื สารสขุ ภาพจติ กรมสขุ ภาพจิต ปี 2558

34 บทความความร้สู ุขภาพจิต จาก การประชมุ เชงิ ปฏิบตั ิการเพ่ือพฒั นาศกั ยภาพนกั สอ่ื สารสขุ ภาพจติ กรมสุขภาพจติ ปี 2558


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook