Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือไข้เลือดออก

คู่มือไข้เลือดออก

Published by 500bookchonlibrary, 2021-06-15 03:33:51

Description: คู่มือไข้เลือดออก

Search

Read the Text Version

รายการบรรณานุกรมสำ�เรจ็ รปู (CIP) รายการบรรณานกุ รมสำ�เรจ็ รูป (CIP) ของหอ้ งสมุดคณะแพทยศาสตร์ มข. พีระ สมบตั ดิ ี ความรเู้ รื่องโรคไข้เลอื ดออก = Dengue Fever (DF), Dengue Hemorrhagic Fever (DHF) / พีระ สมบัตดิ ,ี สายสมร พลดงนอก, ภพ โกศลารักษ์.- - พิมพค์ รั้งที่ 1. - - ขอนแก่น : หน่วยสรา้ งเสริมสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีนครนิ ทร์, 2558. 11 หน้า : ภาพประกอบ 1. ไขเ้ ลอื ดออก. 2. เดง็ กี. (1) ชอื่ เร่อื ง. (2) สายสมร พลดงนอก. (3) ภพ โกศลารกั ษ์. (4) โรงพยาบาลศรนี ครินทร์. งานเวชกรรมสงั คม. หนว่ ยสร้างเสรมิ สุขภาพ . [WC528 พ796 2558]

คำ�นำ� หนังสือความรู้เรื่อง “โรคไข้เลือดออก” น้ีได้จัดขึ้นมาเนื่องจาก โรคไข้เลือดออกเป็นโรคท่ีเกิดจากยุงเป็นพาหะ เป็นปัญหาสาธารณสุข ของประเทศไทยและปญั หาสาธารณสขุ โลก โดยเฉพาะประเทศในเขตรอ้ นชืน้ ดังนั้น การให้ความรู้ความเข้าใจเร่ืองโรคและการป้องกันโรคเป็น สิ่งจำ�เป็นที่ต้องดำ�เนินการอย่างต่อเน่ือง เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ สามารถ ปฏิบัติตัวเพ่ือป้องกันโรคและดูแลตนเองขณะเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกได้ ส่งผลให้ประชาชนปลอดภัยและสามารถป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออก ในประเทศไทยได้ คณะผูจ้ ัดทำ� มิถุนายน 2558

กติ ติกรรมประกาศ ขอขอบคุณ รศ.นพ.สมศักด์ิ เทียมเก่า, รศ.นพ.ภพ โกศลารักษ์ และ นางกาญจนศรี สิงห์ภู่ ที่ให้คำ�ปรึกษาและคำ�แนะนำ�ในการจัดทำ�คู่มือสำ�หรับ ประชาชน ขอขอบคุณโรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น ที่สนับสนุนงบประมาณในการจดั ทำ�คมู่ ือ ส�ำ หรบั ประชาชนฉบับนี้

สารบัญ หนา้ 1 ไข้เลือดออก 1 สาเหตุของโรคไข้เลอื ดออก 2 การตดิ ตอ่ ของโรค 3 กลุ่มผปู้ ่วย 3 การระบาดของโรค 4 อาการของโรคไขเ้ ลอื ดออก 6 การวินจิ ฉัยโรค 7 การปฏิบัตติ ัวและการดูแลตนเองเมอื่ ปว่ ย 8 การรกั ษาโรค 9 ภาวะแทรกซอ้ นของโรค 10 การป้องกันโรค



ไข้เลอื ดออก ชอ่ื ภาษาไทย ไข้เลอื ดออก ไขเ้ ดง็ กี ชอื่ ภาษาองั กฤษ Dengue Fever (DF), Dengue Hemorrhagic Fever (DHF) สาเหตขุ องโรคไขเ้ ลอื ดออก โรคน้ีมียุงลาย (Aedes aegypti) เป็นพาหะนำ�โรค โยเกิดจากเช้ือ ไข้เลือดออกซึ่งเป็นไวรัสมีอยู่ 2 ชนิด ได้แก่ เด็งกี (Dengue) กับชิกุนคุนยา (Chigunkunya) ประมาณร้อยละ 90 ของผู้ป่วยไข้เลือดออก จะมีสาเหตุ จากเช้อื เด็งกี ซง่ึ ยงั แบง่ ออกเปน็ พนั ธุ์ยอ่ ยๆ ได้อีก 4 ชนิด ไดแ้ ก่ ชนิด 1, 2, 3, และ 4 เชอ้ื เดง็ กเี หลา่ นสี้ ามารถท�ำ ใหเ้ กดิ ไขเ้ ลอื ดออกทร่ี นุ แรงได้ ประมาณรอ้ ยละ 10 ของผู้ปว่ ยไขเ้ ลือดออกจะมสี าเหตจุ ากเช้ือชิกุนคนุ ยา ซ่งึ มกั มีอาการไม่รุนแรง คอื ไม่ท�ำ ให้เกิดภาวะชอ็ กเช่นท่ีเกิดจากเชอื้ เดง็ กี 1

การตดิ ต่อของโรค มยี งุ ลายเปน็ พาหะนาำ โรค โดยยงุ ลาย จะกัดคนที่มีเช้ือโรคไข้เลือดออกแล้ว ไปกัดคนปกติแล้วจะถ่ายทอดเชื้อไปสู่ คนปกติได้ โดยส่วนใหญเ่ ป็นยงุ ลายบา้ น ท่ีมีแหล่งเพาะพันธ์ุอยู่ในภาชนะขังน้ำา ทมี่ นษุ ย์สร้างขนึ้ ในบ้านและรอบบ้าน 2

กล่มุ ผูป้ ่วย ผู้ป่วยโรคน้ีพบได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ จากรายงานทางระบาดวิทยา พบว่า กลุ่มอายุท่ีป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกมากท่ีสุด คือ เด็กอายุ 5-14 ปี แต่ปัจจุบันพบในผู้ใหญ่มากขึ้น พบได้ท้ังเพศหญิงและเพศชาย ผู้ที่ป่วยแล้ว มีโอกาสเป็นซํ้าได้อีกและถ้าเป็นซ้ําครั้งต่อมาผู้ป่วยอาจมีอาการรุนแรงและ จะมโี อกาสเสยี ชีวิตสงู การระบาดของโรค ช่วงเวลาการระบาดของโรคพบได้ ตลอดทั้งปี แต่พบมากในฤดูฝน ต้ังแต่ เดอื นพฤษภาคมถึงตุลาคม ของทุกปี 3

อาการของโรคไขเ้ ลือดออก อาการของไขเ้ ลือดออกแบง่ ออกเป็น ๓ ระยะ ไดแ้ ก่ อาการของไขเ้ ลอื ดออกแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะท่ี 1 ระยะไขส้ งู ผู้ป่วยจะมีไข้สูงซึ่งเกิดข้ึนฉับพลัน มีลักษณะไข้สูงลอยตลอดเวลา (กนิ ยาลดไขก้ ม็ กั จะไมล่ ด) หนา้ แดง ปวดศรี ษะ อาจมอี าการเบอ่ื อาหารและอาเจยี น รว่ มดว้ ย บางรายอาจบน่ ปวดทอ้ งในบรเิ วณใตล้ นิ้ ปห่ี รอื ชายโครงขวา หรอื ปวดทอ้ ง ทั่วไป อาจมีอาการท้องผูก หรือถ่ายเหลว บางรายอาจมีอาการเจ็บคอ คอแดง เล็กน้อย หรือไอบ้างเล็กน้อย แต่ในราววันท่ี 3 ของไข้ อาจมีผ่ืนแดงไม่คันขึ้น ตามแขน ขา และล�ำ ตวั ระยะที่ 1 ระยะชอ็ กและมเี ลือดออก มักจะพบในไข้เลือดออกที่เกิดจากเช้ือเด็งกีท่ีมีความรุนแรงขั้นที่ 3 และ 4 อาการจะเกดิ ข้ึนในชว่ งระหวา่ งวนั ท่ี 3 - 7 ของโรคซึ่งถือว่าเป็นช่วงวกิ ฤติ ของโรค อาการไข้จะเร่ิมลดลง แต่ผู้ป่วยกลับมีอาการไม่สบาย เช่น มีอาการ ปวดท้องและอาเจียนบ่อยข้ึน ซึมมากข้ึน กระสับกระส่าย ตัวเย็น มือเท้าเย็น 4

เหงอื่ ออก ปสั สาวะออกนอ้ ย ชพี จรเตน้ เบาแตเ่ รว็ และความดนั ตา่ํ ซงึ่ เปน็ อาการ ของภาวะช็อก ถ้าเป็นรุนแรงผู้ป่วยอาจมีอาการไม่ค่อยรู้สึกตัว หากไม่ได้รับ การรักษาไดท้ นั ทว่ งทกี ็อาจเสยี ชีวติ ได้ภายใน 1-2 วัน นอกจากน้ี ผ้ปู ว่ ยยังอาจ มอี าการเลอื ดออกตามผิวหนงั (มีจ้ําเขยี วพรายยํา้ ขึน้ ) เลือดกำ�เดาไหล อาเจียน เปน็ เลอื ดสดๆ หรอื เปน็ สกี าแฟ ถา่ ยอจุ จาระเปน็ เลอื ดสดๆ ถา้ เลอื ดออกมกั ท�ำ ให้ เกดิ ภาวะชอ็ กรนุ แรงถงึ เสยี ชวี ติ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ระยะท่ี 2 น้ี จะกนิ เวลาประมาณ 24-27 ชว่ั โมง ถ้าหากผู้ปว่ ยสามารถผ่านชว่ งวกิ ฤตไิ ปไดก้ จ็ ะเข้าสู่ระยะท่ี 3 ระยะท่ี 3 ระยะฟืน้ ตัว ในรายทมี่ ภี าวะชอ็ กไมร่ นุ แรง เมอ่ื ผา่ นชว่ งวกิ ฤตไิ ปแลว้ จะมอี าการดขี นึ้ อย่างรวดเร็ว หรือแม้แต่ผู้ป่วยท่ีมีภาวะช็อกรุนแรง เม่ือได้รับการรักษาอย่าง ถูกต้องและทันท่วงที ก็จะฟื้นตัวสู่สภาพปกติ อาการที่บ่งชี้ว่าผู้ป่วยดีข้ึน คือ ผู้ป่วยจะเร่ิมอยากกินอาหาร อาการต่างๆ จะกลับคืนสู่สภาพปกติ ระยะน้ีอาจ กินเวลา 7-10 วัน หลงั ผ่านระยะท่ี 2 5

ก�รว�นิจฉัยโรค 1. การว�นิจฉัยเบ้ืองต้น โดยการทดสอบทูร์นิเคต์ (tourniquet test) โดยใช้เครื่องวัดความดันรัดเหนือข้อศอกของผู้ป่วยหรือใช้ยางหนังสติ๊กรัด เหนอื ขอ้ ศอกให้แนน่ เลก็ นอ้ ย (ยังพอคลาำ ชีพจรทขี่ อ้ มือได)้ นาน 5 นาที ถ้าพบ มีจุดเลือดออก (จุดแดง) เกิดข้ึนท่ีบริเวณท้องแขนในตำาแหน่งท่ีรัดเป็นจำานวน มากกว่า 10 จุด ในวงกลมเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 นิ้ว (เท่ากับเหรียญบาทโดย ประมาณ) แสดงว่าการทดสอบไดผ้ ลบวก การทดสอบน้จี ะไดผ้ ลบวกไดม้ ากกว่า ร้อยละ 80 ต้งั แต่เร่มิ มไี ข้ได้ 2 วนั เป็นตน้ ไป 2. การวน� จิ ฉยั โดยแพทย์ แพทยจ์ ะทาำ การเจาะเลอื ด ตรวจดคู วามเขม้ ขน้ ของเลือด (ฮีมาโทคริต) ซ่ึงจะพบว่ามีความเข้มข้นมากกว่าปกติ และตรวจนับ จำานวนเกล็ดเลือด ซึ่งจะพบว่าต่ำากว่าปกติ ซึ่งมักพบในระยะวิกฤตช่วงไข้ลดลง การวินิจฉัยที่แน่นอน คือ การตรวจเลือดพบเชื้อสารพันธุกรรมของเช้ือหรือ ภมู คิ ุม้ กันทตี่ อบสนองตอ่ การตดิ เชื้อไขเ้ ลือดออก 6

การปฏบิ ตั ิตวั และการดแู ลตนเองเมือ่ ป่วย ในระยะ 2-3 วันแรกของการเป็นไข้อาการอาจไม่ชัดเจน ก็อาจให้ การดูแลแบบไข้ทว่ั ๆ ไป ดงั น้ี 1. นอนพกั ผอ่ นใหม้ ากๆ 2. เช็ดตวั ลดไขด้ ว้ ยนาํ้ อุณหภมู หิ อ้ ง 3. ดม่ื นาํ้ ใหม้ ากๆ โดยทยอยจบิ ทลี ะนอ้ ยตลอดทง้ั วนั อาจเปน็ นาํ้ สกุ เปลา่ ๆ นาํ้ ส้มคนั้ นา้ํ มะนาวคั้น น้ําหวาน นํ้าอัดลม (ควรหลกี เล่ียงน้ําที่มสี แี ดง สดี �ำ หรอื สนี ้ําตาล เพราะหากผ้ปู ว่ ยมีอาการอาเจยี นเป็นเลือด อาจทำ�ให้เขา้ ใจผดิ วา่ เปน็ สี ของนา้ํ ที่ดื่มเขา้ ไปได้) ควรดืม่ น้าํ มากๆ ใหไ้ ดท้ กุ วันจนพน้ ระยะวกิ ฤติ (ประมาณ 7 วนั ) 7

4. ให้กินยาลดไข้ พาราเซตามอล • ผใู้ หญ่ กนิ ครง้ั ละ 1 เม็ด • เดก็ โต กนิ ครง้ั ละ คร่ึง - 1 เม็ด หรอื ตามแพทย์สั่ง • เดก็ เลก็ ใชช้ นดิ นา้ํ เชอื่ ม กนิ ครงั้ ละ 1-2 ชอ้ นชา (ดขู นาดตามฉลากยา) • ห้ามกินยากลมุ่ แอสไพรนิ หรือยาลดไข้อ่นื ๆ เปน็ อันขาด 5. เฝ้าสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด ตลอดเวลา ถ้าผู้ป่วยมีอาการปวดท้อง อาเจียน กินไม่ได้ ด่ืมน้ําได้น้อย ซึม ปัสสาวะออกน้อยและเปน็ สนี ้าํ ชา มจี ุด แดงจํ้าเขยี วขนึ้ ตามตวั หรอื มเี ลอื ดออก ควรไปพบแพทย์โดยเรว็ การรกั ษาโรค 1. แพทย์ทำ�การวินิจฉัยโดย การซักถามประวัติและตรวจร่างกาย อยา่ งละเอยี ด 2. ทดสอบทูรน์ เิ คต์ 3. ประเมนิ วา่ สามารถดแู ลทบี่ า้ น ได้หรือต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาล โดยพิจารณาระยะการเจ็บป่วยและ การกนิ โดยเฉพาะการดมื่ นา้ํ ไดเ้ พยี งพอ หรอื ไม่ 8

4. บางรายอาจต้องท�ำ การตรวจเลือดเป็นระยะ 5. การรกั ษา 5.1 ถ้าเป็นไม่รุนแรงอาจกินยาลดไข้ พาราเซตามอล และปฏิบัติตัว ตามคำ�แนะนำ� แพทย์จะนัดผู้ป่วยมาตรวจดูทุก 1-2 วัน จนแน่ใจว่าหายดี (อาจกินเวลา 7-10 วัน) 5.2 ในรายทเี่ ปน็ รุนแรง แพทยจ์ ะรับตัวไวร้ กั ษาในโรงพยาบาล โดยให้ นํ้าเกลือทางหลอดเลือดดำ� และทำ�การตรวจเลือดดูความเข้มข้นของเลือด (ฮมี าโทคริต) เป็นระยะๆ ภาวะแทรกซ้อนของโรค 1. ภาวะเลอื ดออกรนุ แรง 2. ภาวะชอ็ ก 3. ภาวะตบั วาย (มีอาการดซี ่าน) ซ่งึ เป็นภาวะร้ายแรงท�ำ ใหเ้ สยี ชีวิตได้ มักพบในผู้ป่วยที่มีภาวะช็อกอยู่นาน (อาจมีการหายใจลำ�บากจากภาวะมีนํ้า ในโพรงเย่อื หมุ้ ปอดรว่ มด้วย) 4. ถ้าได้รับน้ําเกลือมากไป อาจเกิดภาวะปอดบวมนํ้า (pulmonary edema) เป็นอนั ตรายต่อชวี ิตได้ 9

การป้องกันโรค 1. ปัจจุบันกำ�ลังมีการพัฒนาวัคซีนป้องกันไข้เลือดออก ซ่ึงอาจมีใช้ ในอนาคต การปอ้ งกันทสี่ �ำ คญั ในปัจจบุ ันอย่ทู ่กี ารท�ำ ลายแหลง่ เพาะพนั ธยุ์ งุ เช่น • ปดิ ฝาโอง่ น้าํ • เปล่ยี นน้ําในแจกนั ทกุ 7 - 10 วนั • จานรองตกู้ บั ขา้ ว ควรใสน่ า้ํ เดอื ดลงไปทกุ 10 วนั หรอื ใสเ่ กลอื แกง ในนํ้าท่อี ยูใ่ นจานรองตู้ ขนาด 2 ช้อนชาตอ่ นํ้า 1 แก้ว • ควรเกบ็ กระปอ๋ ง กะลา ยางรถยนตเ์ ก่าๆ หรือสง่ิ ท่จี ะเป็นท่ีขงั นํา้ ในบรเิ วณบา้ น โรงเรยี น และแหล่งชมุ ชน ท�ำ ลายหรอื ฝงั ดินให้หมด • ปรับพ้ืนบ้านและสนามอย่าให้เปน็ หลุมเปน็ บ่อทีม่ ีนา้ํ ขงั ได้ • วิธีท่ีสะดวก คือ ใส่ทรายอะเบต (abate) ชนิดร้อยละ 1 ลงใน ตุ่มน้ําและภาชนะกักเก็บน้ําทุกชนิด ในอัตราส่วน 10 กรัมต่อน้ํา 100 ลิตร (ตุ่มมังกรขนาด 8 ปีบ ใช้ทรายอะเบต 2 ช้อนชา, ตุ่มซีเมนต์ขนาด 12 ปีบ ใช้ทรายอะเบต 2.5 ช้อนชา) ควรเติมใหม่ทุก 2-3 เดือน นํ้าท่ีใส่ทรายอะเบต สามารถใชด้ ่ืมกนิ ไดอ้ ย่างปลอดภัย 2. เดก็ ที่นอนกลางวันควรกางมุ้งหรือทายากันยุงเพือ่ ป้องกนั ยงุ กดั 3. ก�ำ จดั ยุงโดยการใชย้ าฆ่ายงุ 4. การใช้กล่นิ กันยงุ เช่น ตะไครห้ อม เปลอื กส้ม เปน็ ตน้ 10

บรรณานุกรม กงั สดาล สวุ รรณรงค์. (2547). โรคไขเ้ ลือดออก: มติการปอ้ งกันควบคมุ โรค. พมิ พค์ ร้ังที่ 1. ขอนแก่น: โรงพมิ พ์คลงั นานาวิทยา. สจุ ติ รา นมิ มานนิตย.์ (2542). ไขเ้ ลอื ดออก. พมิ พ์คร้งั ท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. มานติ ธีระตนั ติกานนท์ และนิรุทน์ อุทธา. (2540). การควบคมุ โรคไขเ้ ลอื ดออก. โดยกลวธิ ีเชิงรุกจงั หวดั ขอนแก่น. พมิ พค์ รง้ั ท่ี 1. ขอนแก่น: โรงพิมพเ์ พญ็ พรน้ิ ต้ิง. ยรรยงค์ มว่ งอนิ ทร์ และชอบเรียน วงศ์ศิร.ิ (2544). ทางเลอื กของการควบคุม ป้องกันโรคไขเ้ ลอื ดออกชุมชน. พิมพ์ครง้ั ท่ี 1. วารสารเภสชั ศาสตรแ์ ละ วิทยาศาสตร์สุขภาพ.

ประวัติผเู้ ขียน นายพีระ สมบัตดิ ี คณุ วฒุ ิ : พยาบาลศาสตรบัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม ต�ำ แหนง่ : พยาบาลปฏิบัตกิ าร หนว่ ยสรา้ งเสริมสุขภาพ งานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น (043) 363078 รศ.นพ. ภพ โกศลารักษ์ คุณวุฒิ : แพทยศาสตร์บณั ฑติ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ต�ำ แหนง่ : รองศาสตราจารย์นายแพทย์ สาขาวิชาโรคติดเช้ือ ภาควชิ ากมุ ารเวชศาสตร์ โรงพยาบาลศรีนครนิ ทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น นางสายสมร พลดงนอก คุณวุฒิ : พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ (การพยาบาลผู้ใหญ)่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ตำ�แหน่ง : พยาบาลชำ�นาญการพิเศษ หนว่ ยสรา้ งเสริมสขุ ภาพ งานเวชกรรมสงั คม โรงพยาบาลศรนี ครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น (043) 363077



พมิ พท์ ี่ : หจก.โรงพมิ พ์คลังนานาวทิ ยา 232/199 ถ.ศรีจนั ทร์ ต.ในเมือง อ.เมอื ง จ.ขอนแก่น 40000 Tel. 0-4332-8589-91 Fax. 0-4332-8592 E-mail : [email protected] 2558


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook