Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระบรมราโชวาท

พระบรมราโชวาท

Published by pannapat6205, 2020-04-15 05:04:19

Description: พระบรมราโชวาท

Search

Read the Text Version

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Expand Evaluate เปา หมายการเรยี นรู (ยอจากฉบบั นักเรียน 20%) • สรปุ เนื้อหาเรื่องพระบรมราโชวาท • วเิ คราะหวิถไี ทยและคุณคา วรรณคดีเร่อื งพระบรมราโชวาท • สรุปความรแู ละขอคดิ ท่ีนาํ ไป ประยุกตใชในชีวิตจริง กระตนุ ความสนใจ óหน่วยที่ ครถู ามนักเรียนวาเคยฟงหรืออา น พระบรมรำโชวำท พระบรมราโชวาทบา งหรอื ไม ใหน ักเรียนท่เี คยอา นหรือฟงออกมา เลาประสบการณในหัวขอตอ ไปนี้ • ใครเปน ผกู ลา วพระบรมราโชวาท • พระบรมราโชวาทนี้ พระราชทานเน่อื งในโอกาสใด • เม่ือนักเรียนฟงหรอื อา นแลว มีความรูส กึ อยา งไร • นักเรียนนาํ พระบรมราโชวาท มาปรับใชไดหรือไม อยางไร ตวั ช้ีวดั พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเดจ็ ■ สรุปเน้อื หาวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมทองถิ่นในระดบั ท่ี ยากข้ึน (ท ๕.๑ ม.๓/๑) ■ วเิ คราะหวถิ ไี ทยและคณุ คา จากวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอี่ า น พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั คอื บทพระราช- นิพนธท่ีทรงคุณค่า ส�าหรับใช้สอนบุคคล (ท ๕.๑ ม.๓/๒) ทุกเพศทกุ วัย ท้ังผเู้ ป็นบิดามารดาและผู้ท่อี ยู่ ■ สรปุ ความรแู ละขอคิดจากการอา นเพอื่ นาํ ไปประยุกตใ ชในชีวิตจรงิ ในวัยศึกษาเล่าเรียน พระองคทรงใช้ภาษาที่ (ท ๕.๑ ม.๓/๓) สำระกำรเรยี นรูแกนกลำง ส่ือความเข้าใจง่าย มกี ลวิธีการอธบิ ายโนม้ น้าว ด้วยเหตุผล เพ่ือให้ผู้อ่านปฏิบัติตาม พระบรม- ■ วรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมทองถ่นิ เกย่ี วกับศาสนา ราโชวาทจงึ เปน็ วรรณกรรมคา� สอนทเ่ี ปน็ ประโยชน ประเพณี ตอ่ ผอู้ า่ น เพราะสามารถนา� ขอ้ คดิ ตา่ งๆ ไปประยกุ ต ■ การวิเคราะหวถิ ีไทยและคณุ คา จากวรรณคดีและวรรณกรรม ใชใ้ นชวี ติ ประจ�าวัน 66 คมู อื ครู

กระตุนความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Engage Expand Evaluate ๑ ความเป็นมา สํารวจคนหา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว รัชกาลที่ ๕ ทรงพระราชนพิ นธ์พระบรมราโชวาท ครูแบงกลุมนักเรียนสืบคนประวัติ เมอื่ พ.ศ. ๒๔๒๘ เพอ่ื พระราชทานแกพ่ ระเจา้ ลกู ยาเธอทง้ั ๔ พระองคท์ เ่ี สดจ็ ไปทรงศกึ ษาตอ่ ตา่ งประเทศ พระราชโอรสทง้ั 4 พระองค และแตล ะ เมื่อครั้งทรงพระเยาว์ พระองคดาํ รงพระอิสริยยศใดบาง (แนวตอบ • กรมพระจนั ทบรุ ีนฤนาถ ทรงดํารงตําแหนง เสนาบดี กระทรวงพระคลังมหาสมบัติ • กรมหลวงราชบรุ ีดิเรกฤทธิ์ ทรงดาํ รงตาํ แหนง เสนาบดี กระทรวงยตุ ิธรรม • กรมหลวงปราจณิ กติ ิบดี ทรงรับราชการราชเลขาธิการ ในรชั กาลที่ 5 • กรมหลวงนครไชยศรสี ุรเดช ทรงดํารงตาํ แหนง เสนาบดี กระทรวงกลาโหม) ๑. พระเจ้าลกู ยาเธอ พระองคเ์ จา้ ประวติ รวัฒโนดม (ยนื ด้านหนา้ ) อธิบายความรู ๒. พระเจ้าลกู ยาเธอ พระองค์เจ้ารพีพฒั นศกั ด์ิ (น่ังดา้ นซ้าย) ๓. พระเจ้าลกู ยาเธอ พระองคเ์ จา้ กิติยากรวรลักษณ์ (น่ังดา้ นขวา) ใหนักเรียนแตละกลุมชวยกัน ๔. พระเจ้าลกู ยาเธอ พระองค์เจ้าจริ ประวัติวรเดช (ยนื ดา้ นขวา) เรียบเรียงพระราชประวัติของพระ- ราชโอรสพระองคใดพระองคหนึ่งใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงห่วงใยในเร่ืองการปฏิบัติพระองค์ของ 4 พระองค ใหจับสลากหรือเรียงตาม พระราชโอรสโดยทรงอบรมมใิ หป้ ระพฤตพิ ระองคอ์ วดอา้ งวา่ ทรงเปน็ ชนชน้ั เจา้ นาย ใหม้ คี วามออ่ นนอ้ ม ลําดับเลขที่ กําหนดขนาดความยาว ใฝพ่ ระทยั ในการศกึ ษา ใชส้ อยพระราชทรพั ยอ์ ยา่ งประหยดั จงึ นบั ไดว้ า่ พระบรมราโชวาทในพระบาท- 1 หนากระดาษ พรอมทั้งใชภาพ สมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสมอื นตวั แทนคา� สอนของบดิ าทม่ี คี วามปรารถนา ดแี ละหว่ งใยตอ่ บตุ ร ประกอบการอธิบาย 67 นักเรยี นควรรู พระบรมราโชวาท เปน การสรา งคํา โดยวิธีสมาส คือ พระบรม+ราโชวาท และโดยวิธีสมาสอยางมีสนธิในคํา ราโชวาท คือ ราช+โอวาท คูมอื ครู 67

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Engage Expand Evaluate สาํ รวจคน หา (ยอจากฉบบั นกั เรยี น 20%) 1. ใหนักเรียนสืบคนประวัติพระบาท- ๒ ประวตั ผิ ูแ้ ต่ง สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว โดยเนน พระราชประวตั ิท่แี สดง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชโอรสใน พระปรชี าสามารถทางการประพนั ธ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี ทรงพระราชสมภพ และอกั ษรศาสตร เมอื่ วนั ท่ ี ๒๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๓๙๖ พระนามเดมิ กอ่ นเสดจ็ ขนึ้ ครองราชย์ คอื เจา้ ฟา้ จุฬาลงกรณ ์ กรมขนุ พนิ ติ ประชานาถ ขณะทรงพระเยาว์ทรงศึกษาศลิ ปวทิ ยาด้านตา่ งๆ เช่น ภาษาไทย ภาษามคธ 2. ใหน กั เรยี นสบื คน พระราชกรณยี กจิ คชกรรม มวยปล้�า กระบี่กระบองและทรงศึกษาภาษาอังกฤษกับนางแอนนา เลียวโนเวนส์ ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา- ทรงศกึ ษาเพ่มิ เติมกับหมอสอนศาสนาชาวอเมรกิ ันช่อื จนั ดเล (John H. Chandler) เจาอยหู ัว แลวเลอื กพระราชกรณยี - พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จข้ึนครองราชย์ เม่ือวันท่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ. กิจทน่ี ักเรียนประทับใจมา ๒๔๑๑ ขณะมีพระชนมายุได้ ๑๕ พรรษา โดยมีเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์เป็นผู้ส�าเร็จราชการแผ่นดิน 2 พระราชกรณียกจิ พรอมบอก จนพระองค์ทรงบรรลุนิติภาวะ ๒๐ พรรษา และเสด็จขึ้นครองราชยเ์ ป็นเวลา ๔๒ ปี เหตุผล ตลอดระยะเวลาแห่งการครองสิริราชสมบัติทรงพัฒนาบ้านเมืองให้เจริญก้าวหน้าโดยทรง ปฏริ ปู ระเบยี บราชการแผน่ ดนิ และทจ่ี ารกึ ในหวั ใจชาวไทยทกุ คนคอื การเลกิ ทาสโดยปราศจากเหตกุ ารณ์ อธิบายความรู วนุ่ วาย พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงตระหนกั ถงึ ความสา� คญั ของการศกึ ษา จงึ โปรด- ใหนักเรียนอภิปรายรวมกันวาเหตุ เกล้าฯ ให้จัดต้ังโรงเรียนหลวงข้ึนภายในพระบรมมหาราชวัง เพื่อให้บุตรหลานข้าราชการได้มีโอกาส ใดองคก ารยเู นสโกจงึ ยกยอ งพระบาท- ศกึ ษาเลา่ เรยี น โรงเรยี นหลวงแหง่ นต้ี อ่ มาไดช้ อื่ ว า่ โรงเรยี นพระตา� หนกั สวนกหุ ลาบ สว่ นโรงเรยี นสา� หรบั สมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจา อยหู วั เปน สามญั ชนทโี่ ปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั ตง้ั ขน้ึ เปน็ แหง่ แรกคอื โรงเรยี นวดั มหรรณพาราม รวมถงึ โรงเรยี นวชิ าชพี บคุ คลสาํ คญั และเปน ผมู ผี ลงานดเี ดน ชัน้ สงู ซ่ึงตอ่ มาในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงขยายเปน็ ระดับอดุ มศกึ ษา ซ่งึ ก็คือ ของโลก จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ด้านภาษาและวรรณกรรม ในรัชสมัยแห่งพระองค์ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงมากมายในสังคม ความนิยมในร้อยกรองลดลงเพราะอิทธิพลการพิมพ์ของตะวันตกเข้ามามีบทบาท มีการแปล วรรณกรรมตะวันตก รวมทั้งมีหนังสือพิมพ์รายวัน รายสัปดาห์ รายเดือนและสิ่งท่ีท�าให้วรรณกรรม แพร่หลายข้ึนในหมู่คนไทย คือการตั้งโรงเรียน การต้ังหอสมุดแห่งชาติ การตั้งโบราณคดีสโมสรใน พ.ศ. ๒๔๕๐ มีการน�าวรรณคดีโบราณลงพิมพ์ในหนังสือวชิรญาณและประทับตราพระราชลัญจกร- มังกรคาบแก้วของโบราณคดสี โมสรไวเ้ ปน็ เคร่อื งหมาย กา� เนดิ พจนานกุ รม บทละครพดู รอ้ ยแก้วและ การเขยี นนวนยิ ายแบบตะวนั ตก จากพระราชประวตั พิ ระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั จะเหน็ วา่ พระองคท์ รงมพี ระมหากรณุ าธคิ ณุ อยา่ งหาทสี่ ดุ มไิ ด ้ ในรชั สมยั ของพระองคเ์ ปน็ ชว่ งเวลาทป่ี ระเทศไทย ตอ้ งเผชญิ กบั ปญั หาทงั้ ภายในและภายนอกประเทศ แตพ่ ระองคก์ ท็ รงน�าพาพสกนกิ รชาวสยามผา่ นพน้ ปัญหานานปั การ พระราชประวัติของพระองคส์ ามารถแสดงเปน็ เส้นเวลาได้ ดังน้ี 68 68 คมู ือครู

พระราชประวัติ ในรัชกาลที่ ๕ ๒๔๑๐ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจา อยูหัว ๒๔๓๖ เกิดวกิ ฤตการณ ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖) ประเทศ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจา อยูห วั โปรดเกลาฯ ใหเล่ือนช้นั เปน สมเดจ็ พระเจา - ๒๔๔๐ จกั รวรรดิฝรงั่ เศสใชเรือรบตีฝา แนวปองกันของไทย ทรงเปนพระราชโอรสองคใหญในพระบาท- ลกู ยาเธอ เจาฟาฯ กรมขุนพินติ ประชานาถ ๒๔๕๓ทป่ี ากน้าํ และไดป ระกาศปดอาวไทยจนกวาไทยจะยอม สมเด็จพระจอมเกลา เจา อยหู ัว ทรงกํากับราชการกรมมหาดเล็ก ทําตามขอเสนอ ในทส่ี ุดไทยตองยินยอม สว นองั กฤษกไ็ ด และสมเดจ็ พระเทพศริ ินทราบรมราชนิ ี กรมพระคลงั มหาสมบตั ิและกรมทหารบก ดินแดนฝงตะวันตกของแมนา้ํ สาละวินและ ๔ หวั เมอื ง (หมอมเจา หญงิ ราํ เพย) เสดจ็ พระราชสมภพ วงั หนา ในป พ.ศ. ๒๔๑๐ มลายู พระองคทรงแกไขปญ หาดว ยการเจรจากับผนู ํา เมื่อวนั ที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๓๙๖ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลาเจาอยหู วั ประเทศตา งๆ ในยโุ รปเพอ่ื ใหรบั รองการเปนเอกราชของ เสดจ็ ขึ้นครองราชยด ว ยพระองคเ องในเดอื น ประเทศไทย และเจรจากบั ประเทศผคู กุ คามโดยตรงเพอื่ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๑๖ ไดทรงดาํ เนินการปฏิรปู ใหเ ขาใจวา ไทยตอ งการเปนมติ ร กระตุนความสนใจ สาํ รวจคนหา ประเทศโดยมีจดุ มงุ หมายเพอ่ื ใหไ ทยสามารถรักษา การปฏิรูปประเทศในระยะท่สี อง ทรงปฏริ ปู การปกครอง เอกราชไวไดและมคี วามเจริญทันสมยั ทงั้ สว นกลางและสว นภมู ภิ าค โดยจดั ต้ังกระทรวงตา งๆ และมีการจดั ตั้งมณฑลเทศาภบิ าลเพ่อื ปกครองหวั เมือง ๒๓๙๖ ๒๔๑๖ ใน พ.ศ. ๒๔๑๗ เกดิ วกิ ฤตการณวงั หนา อยางใกลชิด โดยรวมอาํ นาจเขาสศู ูนยกลาง การปฏริ ปู Engage ๒๔๑๗ แตเ หตกุ ารณส งบลงภายในระยะเวลาอนั สนั้ กฎหมายและการศาลเพือ่ ใหม คี วามยตุ ธิ รรมและทันสมัย ปฏิรูปการคมนาคมเพอื่ ประโยชนท างดานการเมอื งและ ๒๓๙๐ ๒๔๐๐ ๒๔๑๐ ๒๔๒๐ ๒๔๓๐ ๒๔๔๐ เศรษฐกิจ รวมถึงการดาํ เนนิ การเพ่ือจาํ กัดขอบเขตการ ใชสทิ ธสิ ภาพนอกอาณาเขต ๒๔๕๐ ๒๔๖๐ ๒๔๒๐ ๒๔๐๙ การปฏิรูปประเทศในระยะแรกที่พระองคยังไมทรงมีพระราช- Explore พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลาเจาอยหู วั ทรงพระผนวช อาํ นาจสมบรู ณ โดยทรงปฏริ ปู ดา นการเงนิ โดยทรงตงั้ หอรษั ฎา- เปนสามเณรตามราชประเพณี เปน เวลา ๖ เดือน ๒๔๑๑ กรพพิ ัฒนเ พื่อเรง รดั การเก็บภาษี ตัง้ สภาที่ปรึกษา ๒ สภา คือ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยหู ัว อธบิ ายความรู ใน พ.ศ. ๒๔๐๙ ทีว่ ดั บวรนิเวศวหิ าร ในระหวา งนีไ้ ด สภาทป่ี รึกษาราชการแผน ดินและสภาที่ปรึกษาในพระองค เสดจ็ สวรรคตเม่ือวนั ท่ี ๒๓ ตลุ าคม พ.ศ. โดยเสด็จฯ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจาอยูหวั ไป การยกเลิกระบบทาสและไพรแ ละทรงปฏริ ูปการศกึ ษา ๒๔๕๓ ในปจจบุ นั วนั คลายวนั สวรรคตของ Explain หัวเมอื งฝา ยเหนอื ถึงเมอื งพิษณโุ ลก เมื่อทรงลาพระผนวช พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจา อยหู วั เสด็จขนึ้ ครองราชย พระองคถ ือเปน วันปย มหาราชทีช่ าวไทย พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจา อยหู วั ทรงกวดขัน เม่ือวนั ท่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๑๑ ขณะทรงมพี ระชนมพรรษา ตางนอมราํ ลึกถึงพระมหากรณุ าธิคุณ ใหเรียนรูงานราชการและราชประเพณีอยา งใกลช ิด ไดเพียง ๑๕ พรรษา พระบรมวงศานุวงศและขนุ นางช้นั ผใู หญ ของพระองค และนาํ พวงมาลาไปสกั การะ จงึ ดาํ เนนิ การประชมุ และทปี่ ระชุมมีมติเห็นชอบใหเ จาพระยา- ท่พี ระบรมรูปทรงมา ศรสี ุรยิ วงศเ ปน ผสู ําเรจ็ ราชการแผน ดนิ จนกวา พระองคจะทรง มพี ระชนมพรรษา ๒๐ พรรษา เสนสัญลกั ษณ ขอมูลทั่วไป ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล การปฏริ ูปในชว่ งมสพีําเรจ็ะรราาชชอกา� านราแจผนดนิ การปฏิรูปในช่ว งสมา�พี เร็จะรราาชชอกําานราแจผน่ ดนิ นักเรียนควรรู อธิบายความรู Expand คมู ือครู 69 สทิ ธิสภาพนอกอาณาเขต คอื สทิ ธิ ใหนักเรียนอธิบายเก่ียวกับผลงาน Evaluate พิเศษท่ีจะใชกฎหมายของประเทศ หรอื พระราชกรณยี กจิ ทสี่ าํ คญั ของ หนึ่งบังคับบุคคลท่ีเปนพลเมืองของ รัชกาลที่ 5 ประเทศตนใหมีสิทธิเหนือดินแดนท่ี ไปอยู • เพราะเหตใุ ดพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลา เจาอยหู ัว รชั กาลท่ี 5 จงึ ไดรบั การ ขนานนามวา “พระปย มหาราช” (แนวตอบ พระองคท รงเสด็จไป เยยี่ มเยยี นราษฎรถึงบา นชอง ดจุ ไปหามติ รและทรงรจู กั คนุ เคย กบั ราษฎรในชนบทหลายคน โดย ทรี่ าษฎรไมร วู า พระองคเ ปน ผใู ด)

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Engage Explore Evaluate อธบิ ายความรู (ยอ จากฉบบั นักเรียน 20%) 1. ใหน ักเรยี นศกึ ษาลกั ษณะ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระราชนพิ นธผ์ ลงานทงั้ รอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรอง คาํ ประพันธท ใี่ ชในพระบรม- สามารถจดั จา� แนกได ้ ดังน้ี ราโชวาท แลวบันทกึ ความรลู งสมุด พระราชนพิ นธ์ร้อยแกว้ 2. ใหนกั เรียนอธบิ ายความรูเร่อื ง ๑. พระราชหัตถเลขาเรื่องไกลบ้านเป็นเร่ืองที่เด่นท่ีสุด ทรงพระราชนิพนธ์เป็นลายพระราช- ลักษณะคาํ ประพนั ธทนี่ ิยมใช หัตถเลขา เมือ่ ครัง้ เสด็จประพาสยุโรปครัง้ ท่ี ๒ เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๕๐ รวมจา� นวน ๔๓ ฉบบั เสด็จประพาส ในสมยั รัชกาลท่ี 5 วา มีลักษณะ ยโุ รปเปน็ ระยะเวลา ๒๒๕ วัน ทรงบันทกึ เกี่ยวกับพระราชภารกิจแต่ละวนั และพระราชด�าริวนิ ิจฉยั อยางไร ต่อสิ่งต่างๆ ในแบบพ่อเล่าให้ลูกฟัง พระราชทานแก่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้านิภานภดล- (แนวตอบ ความนิยมดานรอยกรอง วิมลประภาวดี ลดลง นิยมประพันธเปนรอยแกว ๒. พระราชวิจารณ์และพระราชวินิจฉัยเชิงประวัติศาสตร์และโบราณคดี เร่ืองท่ีส�าคัญคือ มากขึน้ เพราะอทิ ธิพลทาง พระราชวิจารณ์จดหมายเหตุความทรงจ�ากรมหลวงนรินทรเทวี พระบรมราชวินิจฉัยเรื่องชาดก วรรณกรรมของตะวนั ตกเขามามี พระราชพิธีสิบสองเดือน ซ่ึงได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นยอดแห่งหนังสือความเรียง บทบาทมากข้ึน) ประเภทอธิบาย ๓. พระราชดา� รัสและพระบรมราโชวาท ดงั ที่นา� มาใช้ในบทเรยี น ขยายความเขาใจ ๔. จดหมายเหตุรายวนั และจดหมายเหตุเสดจ็ ประพาส เชน่ พระราชนิพนธ์เสด็จประพาสตน้ จากการสืบคนขอมูลดานคุณูปการ พระราชนพิ นธร์ ้อยกรอง ของพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา - ๑. โคลง เชน่ โคลงสภุ าษิต โคลงนิราศ โคลงเรอื่ งรามเกยี รติ์ เจาอยูหัวท่ีมีตอประเทศ ใหนักเรียน ๒. บทละคร เชน่ เงาะป่า จัดทําปายนิเทศใหความรูหนาชั้น ๓. ลิลติ เช่น ลิลติ นิทราชาครติ เรยี น ๔. พระราชนพิ นธ์ลอ้ เลียนชวนขัน เชน่ บทเทศนามิกาทรุ ะ กลอนไดอารีซ่ มึ ซาบ บทละคร เรือ่ งวงศเทวราช นักเรยี นควรรู พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตเม่ือวันที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๓ องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (องค์การยูเนสโก) ได้ประกาศยกย่อง เงาะปา เปน บทละครทท่ี รงพระราช- ให้พระองค์ทรงเป็นบุคคลส�าคัญและเป็นผู้มีผลงานดีเด่นของโลก สาขาการศึกษา วัฒนธรรม นพิ นธ โดยใชพ ระราชจนิ ตนาการของ สงั คมศาสตร์ มานุษยวิทยา การพัฒนาสังคมและการศึกษา เนอ่ื งในวโรกาสครบ ๑๕๐ ปี ชาตกาล พระองคเ อง ทรงใชเ วลาพระราชนพิ นธ ในป ี พ.ศ. ๒๕๔๖ เพียง 8 วัน และพระราชนิพนธใน ขณะทรงพระประชวร แตก็ทรงพระ- ๓ ลกั ษณะคÓประพันธ์ ราชนิพนธไดด ีเยีย่ ม พระบรมราโชวาท พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอย่หู ัวทรงพระราชนพิ นธ์เปน็ รอ้ ยแกว้ ทรงใช้เทศนาโวหารด้วยภาษาท่ีสือ่ ความชดั เจนและเข้าใจง า่ ย ตอนใดท่ีเป็น “คา� ส่ัง” และประสงค์จะ ใหป้ ฏิบตั ติ ามจะใชค้ �าว่า “จง” ดังขอ้ ความ 70 70 คูม ือครู

กระตนุ ความสนใจ สํารวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explain Engage Explore Expand Evaluate “ขอจดหมายค�าสั่งตามความประสงค์ให้แก่ลูก บรรดาซึ่งจะให้ออกไปเรียนหนังสือ อธิบายความรู ในประเทศยโุ รป จงประพฤติตามโอวาทท่ีจะกลา่ วต่อไปนี.้ ..” ในสมัยรชั กาลที่ 5 มีกวหี ลายทา น เมอ่ื มรี บั สงั่ ใหป้ ฏบิ ตั ติ าม ทรงชแี้ จงเหตผุ ลทหี่ นกั แนน่ และชดั เจนทพ่ี ระราชโอรสตอ้ งทรงปฏบิ ตั ิ ท่ีมีความสามารถในการประพนั ธ ตามคา� สง่ั น้ัน ดังข้อความ ใหน กั เรยี นจับคกู ันยกตวั อยาง งานประพันธ 1 ตวั อยา ง ทเี่ ปนเร่ือง “...แต่เห็นว่าซ่ึงจะเป็นยศเจ้าไปน้ันไม่เป็นประโยชน์อันใดแก่ตัวนัก ด้วยธรรมดา ในสมัยรัชกาลที่ 5 และมลี ักษณะ เจา้ นายฝา่ ยเขามนี อ้ ย เจา้ นายฝา่ ยเรามมี าก ขา้ งฝา่ ยเขามนี อ้ ยตวั กย็ กยอ่ งทา� นุบา� รงุ กนั ใหญโ่ ต คาํ ประพนั ธเปนรอยแกว มาก กว่าเรา ฝ่ายเราจะไปมียศเสมออยูก่ บั เขา แต่ความบริบรู ณแ์ ละยศศักดไ์ิ ม่เตม็ ที่เหมือน อยา่ งเขากจ็ ะเปน็ ทน่ี อ้ ยหนา้ และเหน็ เปน็ เจา้ นายเมอื งไทยเลวไป และถา้ เปน็ เจา้ นายแลว้ ตอ้ ง • งานประพันธท ่ียกมานั้นเปนของ รักษายศศักดิ์ในกิจการท้ังปวงท่ีจะท�าทุกอย่างเป็นเคร่ืองล่อตาล่อหูคนทั้งปวงท่ีจะให้พอใจดู ใคร และมีลกั ษณะเดนอะไรบาง พอใจฟัง จะทา� อันใดกต็ อ้ งระวงั ตัวไปทกุ อย่าง ทีส่ ุดจนจะซอื้ จ่ายอันใดก็แพง กว่าคนสามญั (แนวตอบ งานประพนั ธข อง เพราะเขาถือว่าม่ังมี เป็นการเปลืองทรัพย์ในที่ไม่ควรจะเปลือง เพราะเหตุว่าถึงจะเป็นเจ้า ก.ศ.ร. กุหลาบ ลกั ษณะเดน ก็ดีเป็นไพร่ก็ดี เมื่ออยู่ในประเทศมิใช่บ้านเมืองของตัว ก็ไม่มีอ�านาจที่จะท�าฤทธ์ิเดชอันใด ของงานสะทอ นใหเ ห็นความคิด ไปผิดกับคนสามญั ได.้ ..” ทางการเมอื งวา การปกครองทดี่ ี นน้ั คือการนาํ หลกั คาํ สอนของ จากตัวอย่าง ทรงให้เหตุผลที่มีความน่าเช่ือถือและหนักแน่นแก่พระราชโอรส จึงท�าให้ผู้อ่าน พระพุทธศาสนามาเปนหลัก มคี วามเหน็ ชอบและยนิ ดที ีจ่ ะปฏบิ ตั ติ าม ในการปกครองและการบริหาร ส่วนตอนใดที่เป็นค�าสอนทรงใช้วิธีโน้มน้าวให้ผู้ฟังค�าสอนเกิดความคล้อยตาม โดยทรงยกให้ ราชการทุกระดบั ) เหน็ ทั้งข้อดีและขอ้ เสียของการเชอื่ ฟงั หรือไมเ่ ช่ือฟังในค�าส่ังสอน ดังข้อความ ขยายความเขาใจ “...ขอบอกเสียให้รู้แต่ต้นมือว่าถ้าผู้ใดไปเป็นหนี้มาจะไม่ยอมใช้หนี้ให้เลย หรือถ้า เป็นการจ�าเป็นจะต้องใช้ จะไม่ใช้เปล่าโดยไม่มีโทษแก่ตัวเลย พึงรู้เถิดว่าต้องใช้หนี้เมื่อใด จากเนอ้ื ความพระบรมราโชวาทใน กจ็ ะต้องรับโทษเมื่อนั้นพร้อมกนั อย่าเช่ือถ้อยค�าผ้ใู ด หรอื อยา่ หมายใจวา่ โดยจะใช้สรุ ุ่ยสุรา่ ย เร่ืองการใชจายทว่ี า “...แตพอ เขาเปน ไปเหมอื นอย่างเชน่ คนเขาไปแต่กอ่ นๆ แต่พอ่ เขาเปน็ ขนุ นางเขายงั ใช้กันไดไ้ ม่วา่ ไรกัน ถา้ คดิ ขนุ นางเขายงั ใชก นั ไดไ มวาไรกัน ถา ดังนั้นคาดดังน้นั เปน็ ผิดแท้ทีเดียว พอ่ รกั ลกู จรงิ แต่ไมร่ กั ลูกอย่างชนดิ น้ันเลย เพราะรเู้ ป็น คดิ ดงั นั้นคาดดงั นั้นเปนผิดแทท ีเดียว แน่ว่าถ้าจะรักอย่างนั้นตามใจอย่างน้ัน จะไม่เป็นการมีคุณอันใดแก่ตัวลูกผู้ได้รับความรัก พอ รักลกู จรงิ แตไ มร ักลูกอยางชนดิ นั้นเลย...” นนั้ เลย...” ใหน กั เรยี นชว ยกันตอบ คาํ ถามตอ ไปน้ี 71 • จากเนือ้ ความท่ยี กมาในขา งตน หมายความวาอยา งไร (แนวตอบ เปนความรักลูกท่ีผิด การตามใจลูกเพราะเห็นแก ความสุขสบายของลูกนั้น ไมใช ความรกั ทแ่ี ทจรงิ การตามใจลกู เรอื่ งการใชจ า ยจะทาํ ใหล กู มนี สิ ยั ใชจ ายส้ินเปลือง สรุ ุยสรุ าย เปน เหตุใหในอนาคตลูกตองลําบาก ขัดสน) คูมือครู 71

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Engage Explore Evaluate อธบิ ายความรู (ยอ จากฉบบั นกั เรียน 20%) ใหนกั เรียนอานพระบรมราโชวาท พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั จงึ เปน็ ทง้ั คา� สงั่ และคา� สอนของ มาลว งหนา แลว สรปุ ใจความสําคญั บดิ าทหี่ วั ใจเตม็ เปยี มไปดว้ ยความรกั ความกรณุ าและเมตตา ซงึ่ คา� สง่ั และคา� สอนทง้ั หมดผอู้ า่ นสามารถ เปน ขอๆ บันทกึ ลงสมุด น�าไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจา� วนั ได้ (แนวตอบ ๔ เรื่องย่อ 1. รูจักวางตนใหเหมาะสม 2. รูจกั ใชสอยอยา งประหยัด พระบรมราโชวาท มีเนื้อความที่แสดงถึงความรักและความผูกพันของพระบาทสมเด็จพระ- 3. ต้ังใจเลาเรยี น จลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทที่ รงมตี อ่ พระเจา้ ลกู ยาเธอทง้ั ๔ พระองค ์ ในฐานะ “บดิ า” ทต่ี อ้ งการเหน็ “บตุ ร” 4. รจู กั รกั ษาช่อื เสียงวงศต ระกูล ได้เติบโตเป็นคนดีพร้อมด้วยสติปัญญา ความรู้ คุณธรรมและได้น�าประโยชน์จากการศึกษาเล่าเรียน 5. ใชภาษาอื่นใหค ลอ ง และ มาพัฒนาประเทศชาติ พระบรมราโชวาทมเี น้อื ความส่งั สอนในด้านต่างๆ ดงั น้ี ใชภาษาไทยใหเ ชี่ยวชาญ) ๑. การวางตน ๒. การรจู้ กั ใช้สอยพระราชทรัพย์ ขยายความเขา ใจ ๓. การรจู้ ักอตุ สาหะเลา่ เรียนเพือ่ กลับมาทา� คุณประโยชน์แกบ่ า้ นเมอื ง ๔. การรู้จักรกั ษาชื่อเสียงของวงศต์ ระกูล 1. จากการสรปุ ใจความสําคัญจาก ๕. ความส�าคัญของการเรียนรูภ้ าษาอ่ืน โดยไมล่ ะทิง้ ภาษาไทย เรือ่ งยอพระบรมราโชวาทเปน ขอๆ พระบรมราโชวาท แม้จะทรงพระราชนิพนธข์ ึน้ เปน็ เวลาร้อยปแี ล้ว แตแ่ นวพระราชด�ารยิ งั คง • ขอใดบา งทนี่ กั เรยี นสามารถนาํ ทันสมัยเหมาะสมที่บิดามารดาจะน�าไปอบรมบุตรหลานของตน และในขณะเดียวกันบุคคลท่ีก�าลังอยู่ ไปปรบั ใชใ นชีวติ ประจาํ วันได ในวัยศึกษาเลา่ เรยี นก็ควรนอ้ มน�ามาปฏิบตั ิ นอกจากนพ้ี ระบรมราโชวาทบางประการยังสามารถนา� ไป เพราะเหตุใด ปรบั ใชไ้ ดก้ บั บคุ คลในชว่ งวยั ตา่ งๆ เชน่ ความประหยดั การวางตน เปน็ ตน้ แตท่ งั้ นกี้ ารนอ้ มนา� พระบรม- ราโชวาทมาปฏิบัติย่อมข้นึ อย่กู ับวัยและประสบการณข์ องแต่ละบุคคล 2. ใหนกั เรียนบนั ทกึ ลงสมุด 3. ใหนักเรียนหาพระบรมราโชวาท พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงฉายพระรปู รว่ มกับพระราชโอรส ฉบับอนื่ มารวมกันพิจารณา 72 • ลักษณะเน้ือหาพระบรม- ราโชวาทฉบับอ่นื สะทอน แนวพระราชดาํ ริอยา งไร • สาํ นวนโวหารแตกตางไปจาก พระบรมราโชวาทฉบับที่ พระราชทานพระเจา ลูกยาเธอ ท้ัง 4 พระองคห รอื ไม อยางไร (แนวตอบ มีพระบรมราโชวาทที่ ทรงพระราชนพิ นธเ มอ่ื พ.ศ. 2436 พระราชทานสมเด็จพระบรม- โอรสาธิราชเจาฟามหาวชิราวุธ สยามมกฎุ ราชกุมารทีน่ าํ มา พิจารณาได) @ มมุ IT ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับพระบรม- ราโชวาทรัชกาลท่ี 5 เพ่มิ เติม ไดท ี่ http://www.oknation.net/blog/ patijjachon/2008/07/27/entry-1 72 คมู ือครู

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Expand Evaluate ๕ เนอ้ื เรื่อง กระตุน ความสนใจ พระบรมราโชวาท ครชู วนนกั เรยี นดพู ระบรมราโชวาท ของพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา - ในพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว เจาอยหู วั และใหน กั เรยี นแสดงความ ทรงพระราชนิพนธเ์ มื่อ พ.ศ. ๒๔๒๘ คดิ เหน็ ขอจดหมายค�าสั่งตามความประสงค์ให้แก่ลูก บรรดาซ่ึงจะให้ออกไปเรียนหนังสือในประเทศ • พระบรมราโชวาทมคี วามสาํ คญั ยุโรป จงประพฤติตามโอวาทที่จะกล่าวตอ่ ไปนี้ อยา งไร ๑. การซึ่งจะให้ออกไปเรียนคร้ังนี้ มีความประสงค์มุ่งหมายแต่จะให้ได้วิชาความรู้อย่างเดียว • พระบรมราโชวาทพระราชทาน ไม่มั่นหมายจะให้เป็นเกียรติยศชื่อเสียงอย่างหน่ึงอย่างใดในชั้นซึ่งยังเป็นผู้เรียนวิชาอยู่นี้เลย เพราะ แกผ ใู ดบาง ฉะนนั้ ทจ่ี ะไปครงั้ น้ี อยา่ ใหไ้ วย้ ศวา่ เปน็ เจา้ ใหถ้ อื เอาบรรดาศกั ดเิ์ สมอลกู ผมู้ ตี ระกลู ในกรงุ สยาม คอื อยา่ ใหใ้ ชฮ้ สิ รอแยลไฮเนสปรนิ ซน์ �าหนา้ ชอื่ ใหใ้ ชแ้ ตช่ อ่ื เดมิ ของตวั เฉยๆ เมอ่ื ผอู้ นื่ เขาจะเตมิ หนา้ ชอื่ หรอื จะ สํารวจคน หา เตมิ ทา้ ยชอ่ื ตามธรรมเนยี มองั กฤษ เปน็ มสิ เตอรห์ รอื เอสไควรก์ ต็ ามทเี ถดิ อยา่ คดั คา้ นเขาเลย แตไ่ มต่ อ้ ง ใชค้ า� วา่ นายตามอยา่ งไทย ซง่ึ เปน็ คา� นา� ของชอื่ ลกู ขนุ นางทเี่ คยใชแ้ ทนมสิ เตอร์ เมอ่ื เรยี กชอื่ ไทยในภาษา ใหนักเรยี นคนควาเนือ้ เรื่อง อังกฤษบอ่ ยๆ เพราะว่าเป็นภาษาไทยซึง่ จะทา� ใหเ้ ป็นที่ฟงั ขดั ๆ หไู ป พระบรมราโชวาทในรัชกาลที่ 5 ขออธิบายความประสงค์ข้อนี้ให้ชัดว่า เหตุใดจึงได้ไม่ให้ไปเป็นยศเจ้าเหมือนอาของตัวที่เคย อธบิ ายความรู ไปแต่ก่อน ความประสงค์ข้อนี้ ใช่ว่าจะเกิดขึ้นเพราะไม่มีความเมตตากรุณา หรือจะปิดบังซ่อนเร้น ไม่ใหร้ วู้ า่ เปน็ ลกู อย่างน้ันเลย พ่อคงรบั วา่ เป็นลกู และมคี วามเมตตากรุณาตามธรรมดาท่บี ดิ าจะกรณุ า 1. ใหน ักเรยี นจดั กลุมอภิปราย ต่อบุตร แตเ่ ห็นวา่ ซง่ึ จะเป็นยศเจ้าไปน้นั ไม่เปน็ ประโยชนอ์ นั ใดแกต่ ัวนกั ด้วยธรรมดาเจา้ นายฝา่ ยเขา พระบรมราโชวาทในรชั กาลที่ 5 มีนอ้ ย เจ้านายฝา่ ยเรามีมาก ข้างฝ่ายเขามนี อ้ ยตวั ก็ยกยอ่ งท�านุบา� รุงกนั ใหญโ่ ตมาก กวา่ เรา ฝ่ายเรา ท่ีศึกษาคน หามากลุมละ 1 ขอ จะไปมียศเสมออยู่กับเขา แต่ความบริบูรณ์และยศศักดิ์ไม่เต็มที่เหมือน อย่างเขาก็จะเป็นท่ีน้อยหน้า และเหน็ เปน็ เจา้ นายเมอื งไทยเลวไป และถา้ เปน็ เจา้ นายแลว้ ตอ้ งรกั ษายศศกั ดใิ์ นกจิ การทง้ั ปวงทจ่ี ะทา� 2. สงตวั แทนนําเสนอหนา ชัน้ เรียน ทุกอย่างเป็นเครื่องล่อตาล่อหูคนทั้งปวงท่ีจะให้พอใจดูพอใจฟัง จะท�าอันใดก็ต้องระวังตัวไปทุกอย่าง แลวบนั ทกึ ความรูลงสมดุ ทสี่ ุดจนจะซื้อจ่ายอันใดกแ็ พง กว่าคนสามญั เพราะเขาถือว่าม่ังมี เป็นการเปลอื งทรัพย์ในทไี่ มค่ วรจะ เปลือง เพราะเหตวุ ่าถึงจะเปน็ เจา้ กด็ เี ป็นไพรก่ ด็ ี เมือ่ อยู่ในประเทศมใิ ชบ่ า้ นเมอื งของตัว กไ็ มม่ ีอา� นาจ นักเรยี นควรรู ทจ่ี ะท�าฤทธเิ์ ดชอันใดไปผิดกับคนสามญั ได้ จะมปี ระโยชนอ์ ยนู่ ดิ หน่ึงแต่เพยี งเข้าทีป่ ระชุมสูงๆ ได้ แต่ ถ้าเป็นลูกผู้มีตระกูลก็จะเข้าท่ีประชุมสูงๆ ได้เท่ากันกับเป็นเจ้านั่นเอง เพราะฉะนั้นจึงขอห้ามเสียว่า นอยหนา หมายถงึ ไมเ ทียมหนา อยา่ ใหไ้ ปอวดอา้ งเอง หรืออย่าใหค้ นใช้สอยอวดอา้ งว่าเปน็ เจ้านายอนั ใด จงประพฤติให้ถกู ตามคา� สงั่ นี้ มีความภาคภูมใิ จไมเทา กับผอู นื่ ๒. เงินค่าท่ีจะใช้สอยในการเล่าเรียนกินอยู่นุ่งห่มทั้งปวงน้ัน จะใช้เงินพระคลังข้างที่คือเงิน นกั เรยี นควรรู ทเ่ี ปน็ ส่วนสิทธ์ขิ าดแกต่ วั พอ่ เอง ไม่ใช้เงนิ ท่ีสา� หรบั จ่ายราชการแผน่ ดิน เงนิ รายนี้ไดฝ้ ากไว้ท่ีแบงก์ ซึ่ง เงินพระคลังขางท่ี หมายถึง เงิน 73 แผนดินสวนท่ีถวายพระมหากษัตริย เพื่อทรงใชในพระราชกิจตางๆ คมู ือครู 73

กระตนุ ความสนใจ สํารวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Engage Explore Expand Evaluate อธิบายความรู (ยอ จากฉบับนกั เรยี น 20%) ครูแบงกลุมนักเรียนศึกษาโวหาร จะไดม้ ีคา� สัง่ ใหร้ าชทูตจา่ ยเปน็ เงินสา� หรับเรียนวชิ าชัน้ ต้น ๕ ปี ปลี ะ ๓๒๐ ปอนด์ เงนิ ๑,๖๐๐ ปอนด์ ที่ปรากฏในเร่ือง พรอมยกตัวอยาง สา� หรบั เรยี นวชิ าชน้ั หลงั อกี ๕ ปี ปลี ะ ๔๐๐ ปอนด์ เงนิ ๒,๐๐๐ ปอนด์ รวมเปน็ คนละ ๓,๖๐๐ ปอนด์ ประกอบใหเห็นชัดเจน แลวนําเสนอ จะไดร้ วู้ ชิ าเสรจ็ สน้ิ อยา่ งชา้ ใน ๑๐ ปี แตเ่ งนิ นฝ้ี ากไวใ้ นแบงกค์ งจะมดี อกเบยี้ มากขนึ้ เหลอื การเลา่ เรยี น หนาชั้นเรียน แลว้ จะได้ใชป้ ระโยชน์ของตัวเองตามชอบใจ เป็นส่วนยกให้ เงนิ ส่วนของใครจะให้ลงช่ือเป็นของผนู้ ั้น ฝากเอง แต่ในกา� หนดยงั ไม่ถึงอายุ ๒๑ ปเี ตม็ จะเรยี กเอาเงนิ คา่ ใชส้ อยเองมิได้ จะตง้ั ผจู้ ัดการแทนไว้ (แนวตอบ โวหารที่พบ เชน อุปมา ทนี่ อก ใหเ้ ปน็ ผชู้ ว่ ยจดั การฝากเงนิ ไวแ้ หง่ ใดเทา่ ใด และผใู้ ดเปน็ ผจู้ ดั การจะไดท้ า� หนงั สอื มอบใหอ้ กี ฉบบั โวหาร “อีกประการหน่ึงชีวิตสังขาร หนงึ่ สา� หรับท่ีจะได้ไปทวงเอาในเวลาตอ้ งการได้ ของมนุษยไมย่ังยืนยืดยาวเหมือน เหล็กเหมือนศลิ า” สาธกโวหาร “กลับ การซ่ึงใช้เงินพระคลังข้างท่ีไม่ใช้เงินแผ่นดินอย่างเช่นเคยจ่ายให้เจ้านายและบุตรข้าราชการ เหน็ เปน การเกก ารกอ๋ี ยา งเชน นกั เรยี น ไปเล่าเรียนแต่ก่อนน้ัน เพราะเห็นว่าพ่อมีลูกมากด้วยกัน การซ่ึงให้มีโอกาสและให้ทุนทรัพย์ซ่ึงจะได้ บางคนมักจะเห็นผิดไปดังนั้น แตท่ี เล่าเรียนวิชานี้ เป็นทรัพย์มรดกอันประเสริฐดีกว่าทรัพย์สินเงินทองอื่นๆ ด้วยเป็นของติดตัวอยู่ได้ จริงเปนการเสียที่ควรจะติเตียนแทที ไม่มีอันตรายที่จะเส่ือมสูญ ลูกคนใดท่ีมีสติปัญญาเฉลียวฉลาดก็ดีหรือไม่มีสติปัญญาเฉลียวฉลาดก็ดี เดียว”) กจ็ ะตอ้ งสง่ ไปเรยี นวชิ าทกุ คนตลอดโอกาสทจ่ี ะเปน็ ไปไดเ้ หมอื นหนง่ึ ไดแ้ บง่ ทรพั ยม์ รดกใหแ้ กล่ กู เสมอๆ กนั ทุกคน ก็ถ้าจะใช้เงินแผ่นดนิ ส�าหรบั ใหไ้ ปเลา่ เรยี นแก่ผซู้ ึง่ มีสติปญั ญาเฉลียวฉลาด กลับมาไม่ได้ท�า เกรด็ แนะครู ราชการคุม้ กับเงนิ แผน่ ดินทีล่ งไปกจ็ ะเป็นทตี่ เิ ตยี นของคนบางจา� พวกว่ามีลูกมากเกนิ ไป จนตอ้ งใช้เงิน แผน่ ดินเปน็ คา่ เล่าเรียนมากมายเหลอื เกิน แลว้ ซ้า� ไม่เลอื กฟ้นั เอาแต่ทีเ่ ฉลยี วฉลาดจะได้ราชการ คนโง่ โวหาร คือ การใชถอยคํา สํานวน คนเง่าก็เอาไปเล่าเรียนให้เปลืองเงิน เพราะค่าที่เป็นลูกของพ่อ ไม่อยากจะให้มีมลทินที่จะพูดติเตียน และช้ันเชิงการประพันธของกวี ชวย เก่ยี วขอ้ งกบั ความปรารถนาซึ่งจะสงเคราะหแ์ กล่ ูกให้ท่วั ถงึ โดยเทยี่ งธรรมน้ี จงึ มไิ ด้ใช้เงนิ แผ่นดนิ ใหผูอานเกิดความเขาใจและเกิด จนิ ตภาพตามทผ่ี เู ขยี นตอ งการไดง า ย อกี ประการหนงึ่ เลา่ ถงึ ว่าเงนิ พระคลงั ข้างท่ีนน้ั เองกเ็ ปน็ สว่ นหน่งึ ในแผน่ ดินเหมือนกัน เวน้ แต่ ขึ้น ครูแนะความรูเรื่องโวหารตางๆ เปน็ สว่ นทย่ี กให้แก่พอ่ ใชส้ อยในการสว่ นตัว มีทา� การกุศลและสงเคราะห์บุตรภรรยา เปน็ ตน้ เหน็ วา่ ดงั นี้ การสงเคราะห์ดว้ ยการเลา่ เรียนดงั นเ้ี ป็นดกี ว่าอยา่ งอนื่ ๆ จงึ ได้เอาเงนิ รายนใ้ี ชเ้ ปน็ การมคี ุณต่อแผน่ ดิน ที่ไม่ตอ้ งแบง่ เงินแผน่ ดนิ มาใช้เป็นคา่ เล่าเรียนข้นึ อีกส่วนหนึง่ และพน้ จากค�าคดั คา้ นตา่ งๆ เพราะเหตุ 1. พรรณนาโวหาร คอื การสื่อสารที่ ที่พ่อได้เอาเงินส่วนท่ีพ่อจะได้ใช้เองนั้นออกให้เล่าเรียนด้วยเงินรายนี้ ไม่มีผู้หน่ึงผู้ใดที่จะแทรกแซงว่า ใหรายละเอียดอยางถ่ีถวน ไมมี ควรใชอ้ ยา่ งนัน้ ไมค่ วรใชอ้ ย่างนัน้ ได้เลย การดาํ เนนิ เรอ่ื ง เนน การพรรณนา ใหเกดิ จินตภาพตาม ๓. จงรู้สึกตัวเป็นนิจเถิดว่า เกิดมาเป็นเจ้านายมียศบรรดาศักด์ิมากจริงอยู่ แต่ไม่เป็นการ จ�าเป็นเลยที่ผู้ใดเป็นเจ้าแผ่นดินขึ้น จะต้องใช้ราชการอันเป็นช่องท่ีจะหาเกียรติยศชื่อเสียงและทรัพย์ 2. บรรยายโวหาร คือ กระบวนการ สมบัติ ถา้ จะว่าตามการซึ่งเปน็ มาแตก่ อ่ น เจา้ นายซ่ึงจะหาช่องท�าราชการได้ยากกวา่ ลูกขนุ นางเพราะ อธิบายท่ีมีเน้ือเรื่อง ลําดับความ เหตุทเี่ ป็นผู้มวี าสนาบรรดาศกั ด์ิมาก จะรับราชการในต�าแหน่งตา่� ๆ ซง่ึ เปน็ กระไดขน้ั แรก คือเป็นนาย มงุ อธบิ ายใหเหน็ เร่อื งราวชดั เจน รองหุม้ แพรมหาดเลก็ เปน็ ตน้ กไ็ มไ่ ด้เสียแลว้ จะไปแตง่ ต้งั ให้ว่าการใหญ่โตสมแกย่ ศศักด์ิ เม่อื ไมม่ ีวชิ า ความรู้และสตปิ ญั ญาพอทีจ่ ะทา� การในตา� แหนง่ นัน้ ไปได้ก็เปน็ ไปไม่ได้ เพราะฉะน้นั เจา้ นายจะเปน็ ผู้ได้ 3. เทศนาโวหาร เปนโวหารที่เกี่ยว ของกับการสง่ั สอน ช้ีแจงเหตผุ ล 74 เปนคติสอนใจ 4. สาธกโวหาร เปนโวหารที่แสดง การยกตัวอยางหรืออุทาหรณ ประกอบขอความ เพื่อใหเขาใจ แจมชัดมากข้ึน 5. อปุ มาโวหาร เปน โวหารแสดงการ เปรียบเทียบสิ่งสองสิ่ง เพ่ือให เกดิ ภาพความคดิ ในใจและเขา ใจ ไดก ระจา งมากขึ้น 74 คูม ือครู

กระตนุ ความสนใจ สํารวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Engage Explore Evaluate ท�าราชการมชี ่อื เสยี งดี ก็อาศัยไดแ้ ต่สติปัญญาความรแู้ ละความเพยี รของตัว เพราะฉะนน้ั จงอตุ สาหะ อธบิ ายความรู เล่าเรยี นโดยความเพยี รอย่างยิง่ เพอ่ื จะไดม้ ีโอกาสทจ่ี ะท�าการให้เป็นคุณแกบ่ า้ นเมอื งของตน และโลก ท่ีตัวได้มาเกิด ถ้าจะถือว่าเกิดมาเป็นเจ้านายแล้วนิ่งๆ อยู่จนตลอดชีวิตก็เป็นสบายดังน้ัน จะไม่ผิด ใหนักเรียนศกึ ษาความรูเรื่อง อนั ใดกบั สตั วด์ ริ จั ฉานอยา่ งเลวนกั สตั วด์ ริ จั ฉานมนั เกดิ มากนิ ๆ นอนๆ แลว้ กต็ าย แตส่ ตั วบ์ างอยา่ งยงั มี คําซอน พรอมยกตวั อยา งประกอบ หนงั มเี ขามกี ระดกู เปน็ ประโยชนไ์ ดบ้ า้ ง แตถ่ า้ คนประพฤตอิ ยา่ งเชน่ สตั วด์ ริ จั ฉานแลว้ จะไมม่ ปี ระโยชน์ จากเรอ่ื ง แลวนาํ เสนอหนาชั้นเรียน อนั ใดยิง่ กว่าสัตวด์ ริ ัจฉานบางพวกไปอกี เพราะฉะนัน้ จงอุตสาหะทจี่ ะเรยี นวชิ าเขา้ มาเปน็ กา� ลังที่จะทา� ตวั ใหด้ กี วา่ สตั วด์ ริ จั ฉานใหจ้ งได้ จงึ จะนบั วา่ เปน็ การไดส้ นองคณุ พอ่ ซง่ึ ไดค้ ดิ ทา� นบุ า� รงุ เพอ่ื จะใหด้ ตี ง้ั แต่ (แนวตอบ คําซอนเปนคําประเภท เกิดมา หนึ่งที่เกิดจากการนําคําสองคํามา ซอนกัน เดิมมักใชคําที่มีความหมาย ๔. อยา่ ได้ถอื ตัววา่ ตวั เป็นลกู เจา้ แผ่นดิน พอ่ มอี า� นาจยง่ิ ใหญ่อยู่ในบ้านเมอื ง ถงึ จะเกะกะไม่ เหมือนกันหรือคลายกัน เชน บาน กลัวเกรงคุมเหงผู้ใด เขาก็คงจะมีความเกรงใจพ่อ ไม่ต่อสู้หรือไม่อาจฟ้องร้องว่ากล่าว การซึ่งเช่ือใจ เรือน ทรัพยสิน เปนตน ตอมาจึง ดังนั้นเป็นการผิดแท้ทีเดียว เพราะความปรารถนาของพ่อไม่อยากจะให้ลูกมีอ�านาจท่ีจะเกะกะ นําคําท่ีมีความหมายตรงขามกัน อยา่ งนนั้ เลย เพราะรเู้ ปน็ แนว่ า่ เมื่อรกั ลกู เกนิ ไป ปล่อยใหไ้ มก่ ลัวใครและประพฤตกิ ารชัว่ เช่นน้นั คงจะ มาซอนกัน เชน หนาหลัง ดําขาว เป็นโทษแก่ตัวลูกน้ันเองท้ังในปัจจุบันและอนาคต เพราะฉะน้ันจงรู้เถิดว่าถ้าเม่ือได้ท�าความผิดเม่ือใด ผดิ ชอบ ชัว่ ดี เปน ตน คาํ ซอ นแบงออก จะได้รับโทษโดยทันที การท่ีมีพ่อเป็นเจ้าแผ่นดินนั้นจะไม่เป็นการช่วยเหลืออุดหนุนแก้ไขอันใดได้เลย เปน 2 ชนิด คือ คําซอนเพ่ือความ อีกประการหน่ึง ชีวิตสังขารของมนุษย์ไม่ยั่งยืนยืดยาวเหมือนเหล็กเหมือนศิลา ถึงโดยว่าจะมีพ่ออยู่ หมาย และคําซอนเพ่ือเสียง คําซอน ในขณะหน่ึง ก็คงจะมีเวลาท่ีไม่มีได้ขณะหน่ึงเป็นแน่แท้ ถ้าประพฤติความช่ัวเสียแต่ในเวลามีพ่ออยู่ เพ่อื เสียง เชน เกะกะ เปนตน คําซอ น แลว้ โดยจะปดิ บงั ซอ่ นเร้นอยูไ่ ด้ด้วยอยา่ งหน่งึ อยา่ งใด เวลาไมม่ พี อ่ ความช่ัวนัน้ คงจะปรากฏเปน็ โทษ เพื่อความหมาย เชน กลัวเกรง ยง่ั ยืน ตดิ ตวั เหมอื นเงาตามหลงั อยไู่ มข่ าด เพราะฉะนนั้ จงเปน็ คนออ่ นนอ้ ม วา่ งา่ ยสอนงา่ ยอยา่ ใหเ้ ปน็ ทฐิ มิ านะ ยดื ยาว เปน ตน) ไปในทางที่ผิด จงประพฤติตัวหันมาทางท่ีชอบที่ถูกอยู่เสมอเป็นนิจเถิด จงละเว้นเวลาท่ีช่ัวซ่ึงรู้ได้เอง แก่ตัวหรอื มผี ูต้ กั เตือนแนะนา� ให้รูแ้ ลว้ อย่าใหล้ ว่ งให้เปน็ ไปได้เลยเปน็ อันขาด ขยายความเขาใจ ๕. เงินทองที่จะใช้สอยในค่ากินอยู่ นุ่งห่มหรือใช้สอยเบ็ดเสร็จท้ังปวงจงเขม็ดแขม่ใช้แต่เพียง ใหนักเรียนนาํ คาํ ซอนจากเร่ือง พอที่อนุญาตให้ใช้ อย่าท�าใจโตมือโตสุรุ่ยสุร่ายโดยถือตัวว่าเป็นเจ้านายม่ังมีมาก หรือถือว่าพ่อเป็น พระบรมราโชวาทมาสรางประโยค เจ้าแผ่นดนิ มีเงินทองถมไป ขอบอกเสียใหร้ ู้แต่ตน้ มือว่าถ้าผใู้ ดไปเปน็ หน้มี าจะไม่ยอมใชห้ น้ใี ห้เลย หรือ 3 ประโยค ถ้าเป็นการจ�าเป็นต้องใช้ จะไม่ใช้เปล่าโดยไม่มีโทษแก่ตัวเลย พึงรู้เถิดว่าต้องใช้หนี้เม่ือใด ก็จะต้อง รบั โทษเมอ่ื นน้ั พรอ้ มกนั อยา่ เชอ่ื ถอ้ ยค�าผใู้ ด หรอื อยา่ หมายใจวา่ โดยจะใชส้ รุ ยุ่ สรุ า่ ยไปเหมอื นอยา่ งเชน่ เกรด็ แนะครู คนเขาไปแต่ก่อนๆ แต่พ่อเขาเป็นขุนนางเขายังใช้กันได้ไม่ว่าไรกัน ถ้าคิดดังนั้นคาดดังน้ันเป็นผิดแท้ ทเี ดยี ว พอ่ รกั ลกู จริง แต่ไมร่ กั ลกู อย่างชนิดนัน้ เลย เพราะร้เู ปน็ แนว่ ่าถา้ จะรักอยา่ งน้ันตามใจอยา่ งนนั้ ครูเพ่มิ เติมความรเู กย่ี วกบั จะไม่เป็นการมีคุณอันใดแก่ตัวลูกผู้ได้รับความรักน้ันเลย เพราะจะเป็นผู้ไม่ได้วิชาที่ปรารถนาจะให้ได้ คาํ ประสมอืน่ ๆ ทข่ี น้ึ ตนดว ยคําวา จะไปไดแ้ ตว่ ชิ าทจ่ี ะทา� ใหเ้ สยี ชอื่ เสยี งและไดค้ วามรอ้ นใจอยเู่ ปน็ นจิ จงนกึ ไวใ้ หเ้ สมอวา่ เงนิ ทองทแ่ี ลเหน็ “ตน” เชน ตน ข้ัว ตน คิด ตนฉบบั ตน ตอ ตนทาง ตน แบบ ตนทนุ ตน น้าํ 75 ตนเสยี ง ตน หอ ง ตนเรือ่ ง เปน ตน นักเรียนควรรู ตน มอื หมายถงึ ตั้งแตแรก เรมิ่ แรก ตนมือ เปนการสรา งคําโดยวธิ ปี ระสม คาํ นอกจากนยี้ งั มคี าํ ประสมอกี หลาย คําทข่ี ึ้นตนดว ยคาํ วา “ตน” คมู อื ครู 75

กระตนุ ความสนใจ สํารวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Engage Explore Evaluate อธิบายความรู (ยอ จากฉบบั นักเรียน 20%) จากที่นักเรยี นอานพระบรม- มากๆ ไม่ได้เป็นของหามาได้โดยง่ายเหมือนเวลาที่จ่ายไปง่ายนั้นเลย เงินที่ส่วนตัวได้รับเบ้ียหวัดหรือ ราโชวาทและสรุปใจความสําคญั แลว เงนิ กลางปีอยู่เสมอน้นั กด็ ้วยอาศัยเปน็ ลกู พอ่ ส่วนเงินทพี่ อ่ ไดห้ รอื ลกู ได้เพราะพอ่ นน้ั ก็เพราะอาศยั ที่ พ่อเป็นผทู้ �านบุ �ารุงรักษาบา้ นเมอื ง และราษฎรผู้เจ้าของทรพั ย์น้นั ก็เฉล่ียเรีย่ ไรกนั มาให้ เพือ่ จะใหเ้ ปน็ • ในพระบรมราโชวาทขอที่ 5 นี้ กา� ลงั ทจ่ี ะหาความสขุ คมุ้ กบั คา่ ทเ่ี หนด็ เหนอ่ื ย ทต่ี อ้ งรบั การในตา� แหนง่ อนั สงู คอื เปน็ ผรู้ กั ษาความสขุ ของ ทรงเนน เรอ่ื งใด เขาทั้งปวง เงินนั้นไม่ควรจะน�ามาจ�าหน่ายในการที่ไม่เป็นประโยชน์ไม่เป็นเร่ือง และเป็นการไม่มีคุณ (แนวตอบ ใชจายอยา งประหยดั กลบั ให้โทษแก่ตวั ต้องใช้แต่ในการจา� เปน็ ที่จะต้องใช้ ซงึ่ จะเปน็ การมีคุณประโยชน์แก่ตนและผูอ้ ื่นใน อยาฟุมเฟอ ยจนเปน หน)ี้ ทางชอบธรรม ซึ่งจะเอาไปกอบโกยใช้หน้ีให้แก่ลูกผู้ท�าความชั่วจนเสียทรัพย์ไปนั้นสมควรอยู่หรือ เพราะฉะนั้นจึงต้องว่าไม่ยอมที่จะใช้หนี้ให้ โดยว่าจะต้องใช้ให้ก็จะต้องมีโทษเป็นประกัน ม่ันใจว่าจะ ขยายความเขา ใจ ไมต่ อ้ งใชอ้ กี เพราะจะเขด็ หลาบในโทษทที่ า� นนั้ จงึ จะยอมใชใ้ หไ้ ด้ ใชใ้ หเ้ พราะจะไมใ่ หท้ รพั ยผ์ อู้ นื่ สญู เสยี เท่านัน้ ใชจ่ ะใช้ให้โดยความรกั ใครอ่ ยา่ งบิดาให้บุตรเมื่อมีความยนิ ดตี ่อความประพฤตขิ องบุตรน้ันเลย นกั เรียนชว ยกันระดมความคิด เพราะฉะน้ันจงจ�าไว้ ตั้งใจอยู่ให้เสมอว่าตัวเป็นคนจน มีเงินใช้เฉพาะแต่ท่ีจะรักษาความสุขของตัว • นกั เรยี นคดิ วา จะนําพระบรม- พอสมควรเทา่ นั้น ไม่มงั่ มีเหมอื นใครๆ อื่น และไมเ่ หมอื นกบั ผ้ดู ฝี รง่ั เลย ผูด้ ีฝร่ังเขาม่ังมสี ืบตระกูลกัน มาดว้ ยไดด้ อกเบี้ย ค่าเชา่ ต่างๆ ตัวเองเป็นผู้ได้เงนิ จากราษฎรเลี้ยง พอสมควรท่จี ะเลี้ยงชีวติ และรกั ษา ราโชวาทขอ ที่ 5 ไปใชใ นชวี ติ เกยี รติยศเท่านัน้ อย่าไปอวดมง่ั อวดมีทา� เทยี บเทียมเขาให้ฟงุ้ ซา่ นไปเปน็ อันขาด ประจาํ วันไดอยา งไร (แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย เชน อีกอย่างหนึ่ง จะนึกเอาเองว่าถึงโดยเป็นหนี้สินลงอย่างไร พ่อจะไม่ใช้หรือจะให้ใช้ก็กลัวต้อง การรูจักประหยดั เปน ตน ) ท�าโทษ คิดว่าเงินทองของตัวที่ได้ปีหน่ึงๆ มีอยู่ท้ังเบ้ียหวัดและเงินกลางปี เวลาออกไปเรียนไม่ได้ใช้ เงนิ รายนีเ้ ก็บรวมอย่เู ปลา่ ๆ จะเอาเงินรายนใ้ี ชห้ นี้เสยี ต่อไปกค็ งไดท้ กุ ปี ซ่ึงจะคิดอยา่ งนแ้ี ลว้ และจบั นักเรยี นควรรู จ่ายเงินทองจนต้องเป็นหนี้กลบั เขา้ มาน้ัน กเ็ ปน็ การไมถ่ กู เหมือนกัน เพราะวา่ ผลประโยชนอ์ นั ใดท่จี ะ ไดอ้ ย่ใู นเวลามพี อ่ กบั เวลาไมม่ พี อ่ นัน้ จะถอื เอาเปน็ แนว่ า่ จะคงทอ่ี ยู่นัน้ ไม่ได้ และย่ิงเป็นผู้ใหญ่ขน้ึ กจ็ ะ เบี้ยหวัด คือเงินท่ีพระมหากษัตริย มีบา้ นเรอื นบุตรภรรยามากขนึ้ คงตอ้ งใชม้ ากขึ้น เงินท่จี ะไดน้ ้นั บางทกี จ็ ะไม่พอ จะเช่ือว่าวชิ าทต่ี วั ไป พระราชทานเปน งวดๆ ใหแ กเจานาย เรียนจะเป็นเหตุให้ได้ท�าราชการได้ผลประโยชน์ทันใช้หน้ีก็เชื่อไม่ได้ เพราะเหตุท่ีตัวเป็นเจ้านาย ถ้า หรือผูทร่ี ับราชการสนองพระเดช บางทีจะเป็นเวลากีดขัดข้องเพราะเป็นเจ้านายนั้นก็จะท�าอะไรไม่ได้เลย ถ้าจะหันไปข้างท�ามาหากิน พระคณุ ซ่งึ เปน็ การยากทีจ่ ะทา� เพราะเป็นเจา้ เหมือนกัน คือไปรับจ้างเขาเปน็ เสมยี นไมไ่ ด้ เปน็ ตน้ เมอื่ ทนุ รอน ทม่ี เี อาไปใชห้ นเี้ สยี หมดแลว้ จะเอาอนั ใดเปน็ ทนุ รอนทา� มาหากนิ เลา่ เพราะฉะนนั้ จงึ วา่ ถา้ จะคดิ ใชอ้ ยา่ ง นกั เรียนควรรู เช่นน้ซี ่ึงตวั จะคดิ เหน็ วา่ เปน็ อันไม่ต้องกวนพอ่ แล้วนน้ั กย็ งั เปน็ การเสียประโยชนภ์ ายหนา้ มาก ไม่ควร จะกอ่ ให้มีให้เป็นขนึ้ เงนิ กลางป คอื เบยี้ หวัดที่จา ยกลางป ๖. วชิ าทจี่ ะออกไปเรยี นนน้ั กค็ งตอ้ งเรยี นภาษาและหนงั สอื ในสามภาษา คอื องั กฤษ ฝรง่ั เศส เยอรมัน ใหไ้ ด้แม่นยา� ชดั เจนคล่องแคลว่ จนถงึ แตง่ หนังสอื ไดส้ องภาษาเปน็ อย่างนอ้ ย เป็นวชิ าหนังสือ อยา่ งหน่งึ กบั วชิ าเลขให้เรียนรู้คิดใช้ไดใ้ นการต่างๆ อีกอย่างหนง่ึ น้ีเป็นต้น วิชาสองอย่างท่ีจา� เป็นจะ 76 76 คมู ือครู

กระตุนความสนใจ สํารวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Engage Explore Evaluate ตอ้ งเรยี นใหร้ ใู้ หไ้ ดจ้ รงิ ๆ เปน็ ชน้ั ตน้ แตว่ ชิ าอนื่ ๆ ทจี่ ะเรยี นตอ่ ไป ใหเ้ ปน็ วชิ าชา� นาญวเิ ศษในกจิ การขา้ ง อธบิ ายความรู วชิ านน้ั จะตดั สนิ เปน็ แนน่ อนวา่ ใหเ้ รยี นสง่ิ ใดในเวลานกี้ ย็ งั ไมค่ วร จะตอ้ งไวเ้ ปน็ คา� สง่ั ตอ่ ภายหลงั เมอื่ รู้ นักเรียนรวมกันอธิบายจากเน้ือ ความที่วา “...ขอบังคับวาใหเขียน วิชาชั้นตน้ พอสมควรแลว้ แตบ่ ัดนจ้ี ะขอตกั เตือนอยา่ งหนึ่งก่อนว่า ซงึ่ ใหอ้ อกไปเรียนภาษาวชิ าการใน หนังสือถึงพอทุกคนอยางนอยเดือน ละฉบบั ...ใหเ ขยี นภาษาอน่ื นน้ั มาฉบบั ประเทศยโุ รปนน้ั ใชว่ า่ จะตอ้ งการเอามาใชแ้ ตเ่ ฉพาะภาษาฝรงั่ หรอื อยา่ งฝรง่ั นนั้ อยา่ งเดยี ว ภาษาไทยและ หนงึ่ ใหเ ขยี นคาํ แปลเปน ภาษาไทยอกี ฉบบั หน่ึงตดิ กันอยา ใหขาด” หนงั สอื ไทยซง่ึ เปน็ ภาษาของตวั หนงั สอื ของตวั คงจะตอ้ งใชอ้ ยเู่ ปน็ นจิ จงเขา้ ใจวา่ ภาษาตา่ งประเทศนนั้ • เพราะเหตใุ ด ร.5 จงึ ทรงสั่งสอน เปน็ แตพ่ นื้ ของความรู้ เพราะวชิ าความรใู้ นหนงั สอื ไทยทม่ี ผี แู้ ตง่ ไวน้ น้ั เปน็ แตข่ องเกา่ ๆ มนี อ้ ย เพราะมไิ ด้ พระเจาลูกยาเธอดังขอ ความท่ี ยกมา สมาคมกับชาติอื่นช้านานเหมือนวิชาการในประเทศยุโรปท่ีได้สอบสวนซ่ึงกันและกันจนเจริญรุ่งเรือง (แนวตอบ เพราะพระองคม ี พระประสงคใหเรียนวิชาอื่นให มากแล้วนั้น ฝ่ายหนังสือไทยจึงไม่พอท่ีจะเล่าเรียน จึงต้องไปเรียนภาษาอื่นเพ่ือจะได้เรียนวิชาให้ กวางขวางแลวสามารถแปลมา ใชเปนภาษาไทย ใหเปนแหลง กว้างขวางออก แล้วจะเอากลับลงมาใช้เป็นภาษาไทยท้ังสิ้น เพราะฉะน้ันจะท้ิงภาษาของตัวให้ลืม ศึกษาความรู ดวยวิชาการของ ไทยเรายงั ไมพ อสาํ หรบั เลา เรยี น) ถ้อยคา� ที่จะพดู ใหส้ มควรเสยี หรอื จะลืมวิธเี ขียนหนังสือไทยที่ตวั ไดฝ้ ก หัดแล้วเสียนั้นไม่ได้เลย ถา้ รู้แต่ ขยายความเขาใจ ภาษาตา่ งประเทศ ไมร่ เู้ ขยี นอา่ นแปลลงเปน็ ภาษาไทยไดก้ ไ็ มเ่ ปน็ ประโยชนอ์ นั ใด ถา้ อยา่ งนน้ั หาจา้ งแต่ นักเรยี นแสดงความคิดเห็น ฝร่ังมาใช้เทา่ ไรๆ กไ็ ด้ ทีต่ ้องการนน้ั ต้องให้กลับแปลภาษาต่างประเทศลงเปน็ ภาษาไทยได้ แปลภาษา • เม่ือนกั เรยี นอานพระบรมราโชวาท ไทย ออกเป็นภาษาต่างประเทศได้จึงจะนับว่าเป็นประโยชน์ อย่าต่ืนตัวเองว่าได้ไปร่�าเรียนภาษาฝรั่ง ขอ 6 แลว นักเรยี นมีวิธีการ อนุรกั ษภาษาไทยอยางไร แลว้ ลมื ภาษาไทย กลับเห็นเป็นการเกการก๋ี อยา่ งเช่นนักเรียนบางคนมกั จะเห็นผดิ ไปดังน้นั แตท่ จ่ี รงิ (แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย เชน การใชภ าษาไทยใหถ กู หลกั การพดู เป็นการเสียที่ควรจะติเตียนแท้ทีเดียว เพราะเหตุฉะนั้นในเวลาที่ออกไปเรียนวิชาอยู่ ขอบังคับว่าให้ ใหเ หมาะสมกับโอกาส เปน ตน ) เขยี นหนงั สือถึงพอ่ ทกุ คน อยา่ งนอ้ ยเดือนละฉบับ เม่อื เวลายงั เขียนหนังสือองั กฤษไมไ่ ด้ กใ็ ห้เขียนมา นกั เรียนควรรู เปน็ หนงั สอื ไทย ถา้ เขยี นหนงั สอื องั กฤษหรอื ภาษา เปนการเกการก๋ี หมายถงึ เปน เรอื่ ง โกทันสมยั หน่ึงภาษาใดได้ ให้เขยี นภาษาอ่ืนนั้นมาฉบบั หนึ่ง ใหเ้ ขียนค�าแปลเป็นภาษาไทยอกี ฉบบั หน่ึง ตดิ กนั มาอยา่ ใหข้ าด เพราะเหตทุ ลี่ กู ยงั เปน็ เดก็ ไมไ่ ดเ้ รยี น ภาษาไทยแนน่ อนมนั่ คง กใ็ หอ้ าศยั ไตถ่ ามครไู ทยที่ ออกไปอยดู่ ว้ ยหรอื คน้ ดตู ามหนงั สอื ภาษาไทยซงึ่ ได้ จัดออกไปใหด้ ้วย คงจะพอหาถอ้ ยคา� ท่จี ะใชแ้ ปล ออกเปน็ ภาษาไทยได้ แตห่ นงั สอื ไทยทจี่ ะเปน็ กา� ลงั ช่วยอย่างน้ียังมีน้อยจริง เม่ือเขียนเข้ามาค�าใด ผิด จะติเตียนออกไปแล้วจงจ�าไว้ใช้ให้ถูกต่อไป ภายหน้า อย่าให้มีความกลัวความกระดากว่าจะ กรมหมนื่ เทวะวงศว์ โรปการ ผทู้ า� หนา้ ทเ่ี ปน็ ธรุ ะจดั การดแู ล ผิด ให้ท�าตามท่ีเต็มความอุตสาหะความแน่ใจว่า การศกึ ษาในตา่ งประเทศของพระราชโอรสในรชั กาลที่ ๕ เปน็ ถกู แลว้ เมื่อผิดก็แก้ไปไม่เสยี หายอนั ใด 77 คูมอื ครู 77

กระตุนความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Expand Engage Evaluate สาํ รวจคน หา (ยอจากฉบบั นกั เรียน 20%) ใหนักเรียนคนควาคํายืมที่ทับศัพท ท่ีปรากฏในพระบรมราโชวาท แลว บันทึกลงสมุด (ครูแนะนําใหนักเรียน ๗. จงรวู้ า่ การเลา่ เรยี นของลกู ทง้ั ปวงนน้ั อาของเจา้ กรมหมนื่ เทวะวงศว์ โรปการ ไดร้ บั ปฏญิ าณ บนั ทกึ ความรูใ นรปู แบบตาราง) ต่อพ่อว่า จะต้ังใจอุตสาหะเป็นธุระในการเล่าเรียนของลูกท้ังปวงท้ังในปัจจุบันและภายหน้า พ่อได้ (แนวตอบ ตัวอยาง) มีความวางใจมอบธุระสิทธ์ิขาดแก่กรมหม่ืนเทวะวงศ์วโรปการเป็นธุระทุกส่ิงทุกอย่างอยู่ในกรุงเทพฯ เมอื่ มธี รุ ะขดั ขอ้ งประการใด ใหม้ หี นงั สอื มาถงึ กรมหมนื่ เทวะวงศ์ฯ กจ็ ะรตู้ ลอดไดถ้ งึ พอ่ และกรมหมนื่ - คาํ ที่ปรากฏ คาํ ภาษา คําปจ จบุ นั เทวะวงศ์ฯ นั้น คงจะเอาธุระท�านุบ�ารุงทุกส่ิงทุกอย่างให้ส�าเร็จตลอดไปได้ ส่วนที่ในประเทศยุโรปน้ัน ในเรื่อง อังกฤษ ถา้ ไปอยใู่ นประเทศใดทม่ี รี าชทตู ของเราอยู่ ราชทตู คงจะเอาเปน็ ธรุ ะดแู ลทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ ง เมอ่ื มกี ารขดั ขอ้ ง ลา� บากประการใดจงชแ้ี จงแจง้ ความใหท้ า่ นราชทตู ทราบ คงจะจดั การไดต้ ลอดไป เมอื่ ไปอยใู่ นโรงเรยี น แบงก bank ธนาคาร แหง่ ใด จงประพฤติการใหเ้ รียบรอ้ ยตามแบบอย่างซ่งึ เขาต้ังลงไว้ อยา่ เกะกะว่นุ วายเช่อื ตวั เชอ่ื ฤทธไ์ิ ป ตา่ งๆ จงอตุ สาหะพากเพียรเรยี นวิชาให้รมู้ า ได้ช่วยก�าลงั พ่อเป็นที่ชนื่ ชมยินดีสมกับที่มคี วามรกั นัน้ เถดิ มิสเตอร Mister นาย อธิบายความรู ๖ คÓศพั ท์ ความหมาย ใหน ักเรียนอธบิ ายคาํ ทับศพั ทแ ละ ค�าศพั ท์ การทา� ทา่ ทีวา่ งามเขา้ ท ี ตรงกบั ค�าว่า โก้เก๋ การบญั ญตั ศิ พั ท การเกก๋ ารกี๋ ใช้จ่ายอยา่ งระมดั ระวัง เพราะเกรงวา่ จะไม่พอใช้ เขมด็ แขม่ เบ้ยี หวัดทจี่ า่ ยกลางปี • คาํ ทบั ศพั ทท ปี่ รากฏในพระบรม- เงนิ กลางปี เงนิ แผน่ ดินส่วนที่ถวายพระมหากษัตรยิ ์เพือ่ ทรงใช้ในพระราชกิจตา่ งๆ ราโชวาทยังมีใชในปจจุบันหรือ เงินพระคลังข้างท่ี มีใจกว้างเกินประมาณ ใช้จา่ ยมากเกินสมควรหรอื เกินความจ�าเป็น ไมอยา งไร ใจโตมอื โต ม่นั ใจในตนเอง (แนวตอบ มี เพราะคําทับศัพทใน เชอ่ื ตวั มั่นใจในอา� นาจ สมัยกอนเปนคําที่คนไทยใชจน เชอื่ ฤทธ์ิ สตั วเ์ ว้นจากมนษุ ย์ ทม่ี รี า่ งกายเจริญเตบิ โตโดยขวาง ติดปากในปจจุบันจึงยังมีการใช ดริ ัจฉาน ก�าหนดไว้ คําทับศัพทเหมอื นสมัยกอน) ต้งั ลงไว้ ความเหน็ ความพยายาม ทิฐมิ านะ ยุตธิ รรม ตัง้ ตรงดว้ ยความเป็นธรรม • ใหน กั เรียนชวยกนั วเิ คราะหวา เท่ยี งธรรม ฐานะที่พระราชทานแก่ข้าราชการหรือบุคคลท่ัวไปก่อนการเปลี่ยนแปลงการ ในการบัญญัตคิ ําทับศพั ทน ้ันมี บรรดาศักดิ์ ปกครอง แบ่งออกเป็น เจา้ พระยา พระยา พระ หลวง ขุน หม่นื พันและ หลกั การอยา งไร ทนาย โดยมีราชทินนามต่อท้าย เช่น เจ้าพระยายมราช เจ้าพระยาพลเทพ (แนวตอบ การบัญญัติคําศัพทจะ 78 ผู้มีบรรดาศักดิ์จัดว่าเปน็ ผู้มตี ระกูล หาคําไทยท่ีมีความหมายตรง ตามคาํ ศัพทน น้ั หากไมมคี ําไทย ทใ่ี หค วามหมายไดก จ็ ะใชค าํ บาลี สนั สกฤตมาบญั ญตั ศิ พั ทแ ทน) ขยายความเขา ใจ ใหนักเรียนนําคําทับศัพทท่ีปรากฏ ในชวี ติ ประจาํ วนั เชน เพลง ภาพยนตร ละคร นิตยสาร เปนตน มาอธิบาย ความหมาย คนละ 3 คํา พรอมทั้ง ระบุแหลงท่ีมาของคําศัพทเหลาน้ัน ดวย โดยพิจารณาวาคําทับศัพทน้ัน มีการบัญญัติศัพทใชหรือไม ถามีคือ คําใด บันทึกลงสมดุ 78 คมู ือครู

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Engage Explore Evaluate คา� ศัพท์ ความหมาย อธิบายความรู เบ้ยี หวดั เงินทมี่ กี �าหนดจ่ายเปน็ รายปีให้แก่พระบรมวงศานวุ งศ์หรอื ข้าราชบรพิ าร จาก ใหน กั เรยี นรว มกันแสดงความ แบงก์ เงินงบประมาณรายจ่ายหมวดเงินอุดหนุนของส�านักพระราชวัง ในท่ีนี้ คดิ เห็นเก่ยี วกับการใชคําทบั ศพั ท ปฏญิ าณ หมายถึง เงินที่พระราชทานเป็นงวดให้แก่เจ้านายหรือผู้ที่รับราชการสนอง ปอนด์ พระเดชพระคณุ • เหตใุ ดจงึ ปรากฏการใชคํายมื เปน็ ธุระ มาจากคา� วา่ Bank หมายถึงธนาคาร ภาษาอังกฤษในพระบรม- พระคลงั ขา้ งที่ ให้คา� ม่นั สัญญา โดยมากมกั เป็นไปตามแบบพิธี ราโชวาท และหากปรากฏการใช ช่อื หนว่ ยเงนิ ตราของอังกฤษเท่ากับ ๑๐๐ เพนซ ์ หรือเรียกว่า ปอนดส์ เตอร์ลิง จะสง ผลตอ ภาษาไทยอยา งไรบา ง ฟ้งุ ซา่ น ถือเป็นเร่ืองท่ีตนควรทา� ให้ (แนวตอบ เพราะไทยตดิ ตอกับ ส่วนราชการซ่ึงมีหน้าท่ีดูแลทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์และพระบรมวง- ชาตติ ะวนั ตก และไทยไดรบั มลทิน ศานุวงศ์ตามที่ไดร้ ับมอบหมาย อทิ ธิพลมาหลายดา น โดยเฉพาะ มสิ เตอร์ ในทน่ี หี้ มายความวา่ มากเกินไป ในความว่า “อย่าท�าอวดม่ังอวดมีท�า ดานการศึกษา ความรูซ่ึงเปน รับปฏญิ าณ เทยี บเทยี มเขาให้ฟุ้งซา่ น” วทิ ยาการใหมๆ ทนี่ าํ มาใชพ ฒั นา ราชทตู ความมัวหมอง ความด่างพรอ้ ย ความไมบ่ ริสุทธ์ิ ประเทศ ดงั นั้นจงึ ปรากฏ มาจากค�าวา่ Mister ใชเ้ ปน็ คา� นา� หน้าบุรุษ คาํ ภาษาองั กฤษ ซ่งึ สงผลใหเกดิ เลอื กฟั้น รบั ปาก การเปล่ียนแปลงภาษาภายนอก วิชาหนงั สือ ผนู้ า� พระราชสาส์นไปประเทศอนื่ ผ้แู ทนชาติในประเทศอืน่ ตา� แหนง่ ผแู้ ทนรัฐ คืออิทธิพลจากตางประเทศ สงั ขาร ถดั จากอคั รราชทตู ทําใหคําที่ใชในภาษาไทยเพ่ิม สรุ ่ยุ สรุ ่าย เลือกเฟน้ หมายความวา่ คัดเอาแตท่ ดี่ ี ข้ึน และตอมาจึงไดพยายาม อาของเจา้ วิชาดา้ นภาษา บัญญัติคําภาษาอังกฤษน้ีใหเปน เอสไควร์ ร่างกาย ตวั ตน ส่ิงท่ปี ระกอบข้ึนเป็นรา่ งกาย คําภาษาไทย หรอื ใชทบั ศัพท) จับจ่ายโดยไมค่ �านงึ ถงึ ความสนิ้ เปลือง ฮิสรอแยลไฮเนสปรนิ ซ์ กรมหม่ืนเทวะวงศ์วโรปการ (พระอนชุ าในรัชกาลที ่ ๕) ขยายความเขา ใจ มาจากค�าว่า Esquire เป็นค�าใช้เขียนหลังชื่อผู้ชายอังกฤษ แสดงว่าเป็นผู้มี อนั จะกนิ หรือผ้อู ยใู่ นตระกูลคหบดี 1. ครูใหนกั เรยี นรวบรวมคําศัพท มาจาก His Royal Highness Prince เปน็ ค�าน�าหน้าเจ้านายในพระราชวงศ ์ จากเรอื่ งเพม่ิ เตมิ แลวอธบิ าย องั กฤษ คอื พระราชโอรสและพระราชนดั ดา (ถา้ เปน็ พระราชธดิ าใช ้ Her Royal ความหมาย บันทึกความรูลงสมุด Highness Princess) และยังใช้น�าหน้าพระนามพระราชโอรสองค์ใหญ่ของ รัชทายาท 2. ครนู ําคําศพั ทท นี่ กั เรยี นรวบรวมมา ทาํ สลากใหน กั เรยี นจบั เมอื่ นกั เรยี น 79 จบั ไดค าํ ใดแลว ใหน ักเรียนแตง ประโยคจากคําศัพท พรอมอธิบาย ความหมาย เกร็ดแนะครู ครูแนะนักเรียนทํากิจกรรม โดยให นักเรียนยกตัวอยางคําทับศัพทที่เปน คําวิชาการแขนงตางๆ เชน แขนง ดาราศาสตร ไดแกคําวา กาแล็กซ่ี เนปจูน แขนงชีววิทยา ไดแกคําวา เซลล โครโมโซม เปนตน คูมือครู 79

กระตนุ ความสนใจ สํารวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Engage Explore Evaluate อธบิ ายความรู (ยอ จากฉบบั นกั เรียน 20%) ครใู หน กั เรยี นอภปิ ราย หากนกั เรยี น ๗ บทวิเคราะห์ เปน พอ ทมี่ ลี กู เรยี นอยตู า งประเทศหรอื ตางจังหวดั ๗.๑ คณุ คา่ ดา้ นเนอื้ หา • นกั เรยี นจะสอนลูกอยา งไร พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สามารถน�าไปใช้ได้กับบุคคล (แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย ครู ทว่ั ไปในยคุ ปจั จบุ นั เนอ่ื งดว้ ยพระราชประสงคข์ องพระองคท์ รงกระทา� ในฐานะ “บดิ า” ทต่ี อ้ งการอบรม แนะเพ่ิมวา ในพระบรมราโชวาท สงั่ สอน “บตุ ร” ดว้ ยความรกั ทถ่ี กู ตอ้ ง เปน็ ธรรมดาของบคุ คลทอี่ ยใู่ นฐานะพอ่ แม ่ ไมว่ า่ จะเปน็ พระเจา้ - เปนคําสอนทมี่ ปี ระโยชนเหมาะ แผ่นดินหรือบุคคลธรรมดา ความรักที่มีให้แก่ลูกย่อมบริสุทธ์ิและย่ิงใหญ่ แต่จุดท่ีน่าคิดคือพระบาท- สําหรับพอจะสอนลกู ) สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงอยู่ในฐานะพระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ แต่พระองค์ไม่ทรงใช้พระราชอ�านาจที่มีส่งเสริมพระราชโอรสให้ส�าคัญพระองค์ผิด ประพฤติพระองค์ • นกั เรียนเห็นดวยหรือไม อยา งไร เหนอื บคุ คลอน่ื ทง้ั ทรงเขม้ งวดมากเปน็ พเิ ศษในเรอื่ งการใชส้ อย ดงั นนั้ พระบรมราโชวาทจงึ เปน็ เสมอื น กับวิธีการสอนและเร่ืองที่รัชกาล แบบอย่างท่ผี ูป้ กครองทกุ คนควรศึกษาและน�าไปใชอ้ บรมบตุ รหลาน ส่วนผู้ทอ่ี ยู่ในวัยเรยี นก็ควรจะได้ ท่ี 5 ทรงสอนพระราชโอรส ศกึ ษาเพื่อใชเ้ ตอื นใจตนเอง (แนวตอบ เห็นดวยทั้งวิธีการสอน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงได้รับการศึกษาเล่าเรียนอย่างดีและทันสมัย และเรอื่ งทท่ี รงสอนพระราชโอรส ที่สุดในเวลานั้น ทรงเตรียมพระองค์ส�าหรับการเป็นพระมหากษัตริย์ท่ีเหมาะสม ด้วยเหตุท่ีพระองค์ ทั้งท่ีทรงมีวิธีการสอนแบบช้ีให ทรงครองราชสมบตั ติ ง้ั แตพ่ ระชนมพรรษายงั นอ้ ยเพยี ง ๑๕ พรรษา และประเทศกา� ลงั เผชญิ ภาวะรมุ เรา้ เห็นโทษหากประพฤติตัวไมดี ทั้งปัญหาจากภายนอกเมอ่ื ชาติมหาอ�านาจตะวนั ตก คือ องั กฤษและฝรัง่ เศสเข้ามารุกราน และปัญหา และประโยชนจากการประพฤติ ภายในท่ีเกิดความตึงเครียดในการรักษาพระราชอ�านาจจากสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ซึ่ง ตวั ดี และเรอ่ื งทสี่ อนนนั้ กม็ คี วาม เปน็ ผสู้ า� เร็จราชการแผน่ ดินจนกวา่ จะทรงบรรลนุ ิตภิ าวะ ๒๐ พรรษา ซงึ่ นับวา่ พระองค์ทรงมวี ุฒิภาวะ เหมาะสมในฐานะทเี่ ปน พระราช- เกนิ กวา่ วัย ทรงมีพระอัจฉรยิ ภาพและวสิ ัยทศั น์กวา้ งไกล โอรสและเปน ลกู เหมาะกบั โอกาส ในพระบรมราโชวาทจะเห็นว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเป็นแบบอย่าง ที่ตองไปเรยี นตา งประเทศ ในการวางพระองคอ์ ยา่ งเหมาะสม ทรงปรบั พระองคใ์ หเ้ ขา้ กบั สถานการณต์ า่ งๆ ไดเ้ ปน็ อยา่ งด ี ในฐานะ พระบรมราโชวาทจงึ มปี ระโยชน ทท่ี รงเป็นผูป้ กครองประเทศทรงกา� ชับพระราชโอรสให้ตงั้ ใจศึกษานา� ความรู้มาพฒั นาประเทศ และให้ ในการปฏบิ ัตติ ัวอยางแทจ ริง) ใชจ้ า่ ยพระราชทรพั ยอ์ ยา่ งประหยดั อยา่ ฟมุ่ เฟอื ย โดยใหค้ า� นงึ วา่ เงนิ ทใี่ ชน้ น้ั มาจากการเรยี่ ไรของราษฎร เนอ่ื งดว้ ยพระองคท์ รงเปน็ ผทู้ า� นบุ า� รงุ บา้ นเมอื ง และในฐานะพอ่ พระองคท์ รงมคี วามรกั ความหว่ งใยลกู ขยายความเขาใจ ดังจะเห็นได้จากการท่ีไม่ให้ลูกใช้ “ฮิสรอแยลไฮเนสปรินซ์” ซึ่งเป็นค�าบอกยศถาบรรดาศักดิ์ ท้ังน้ี เพราะความรักลกู ไมอ่ ยากใหร้ สู้ กึ อึดอดั ล�าบากใจ และจะไดไ้ มถ่ กู ตฉิ นิ นนิ ทาหากน�ายศไปอวดอ้างและ ใหนักเรียนยกตัวอยางวรรณคดี ทา� ไมด่ ี นอกจากจะทรงมพี ระวสิ ยั ทศั นก์ วา้ งไกลแลว้ ยงั ทรงละเอยี ดรอบคอบ ทรงวเิ คราะหส์ ถานการณ์ หรือวรรณกรรมไทยเร่ืองใดตอนใด โดยค�านงึ ถงึ ผลดผี ลเสยี กอ่ นปฏบิ ตั เิ สมอ จงึ กลา่ วโดยสรปุ ไดว้ า่ พระองคท์ รงปลกู ฝงั ใหซ้ อื่ สตั ยต์ อ่ หนา้ ท่ี ก็ไดที่มีเน้ือหาสอดคลองกับคําสอน ให้ท�าหน้าท่ีของตนให้ดีที่สดุ ไมว่ ่าจะอย่ทู ีไ่ หนหรือเป็นใคร จะตอ้ งระลึกอยู่เสมอวา่ กา� ลงั ทา� อะไรและ ในพระบรมราโชวาท จงทา� ให้สา� เรจ็ ตามเป้าหมายเพอ่ื ประเทศชาตเิ ปน็ ส�าคัญ (แนวตอบ เชน “...แตสัตวบางอยาง 80 ยงั มหี นงั มเี ขา มกี ระดกู เปน ประโยชน บา ง...” สอดคลอ งกบั โคลงโลกนติ ทิ ว่ี า โคควายวายชีพได เขาหนัง เปน สง่ิ เปน อนั ยงั อยไู ซร คนเดด็ ดบั สญู สงั - ขารรา ง เปน ชื่อเปนเสียงได แตรา ยกับด)ี 80 คูมือครู

กระตุนความสนใจ สาํ รวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Engage Explore Evaluate ๗.๒ คณุ คา่ ดา้ นวรรณศลิ ป์ อธบิ ายความรู พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือวรรณกรรมค�าสอนที่ ใหน กั เรยี นรว มกนั อภปิ รายขอ ดขี อง สามารถอา่ นเพอ่ื รบั รสู้ ารไดโ้ ดยงา่ ย เนอ่ื งดว้ ยพระองคท์ รงใชภ้ าษาทเี่ ขา้ ใจ งา่ ยเพอื่ การถา่ ยทอดความคดิ การใชภาษาแสดงความเปนเหตุเปน และความรู้สึกของพ่อท่ีมตี ่อลูก ต้องการใหล้ กู เช่ือฟงั และปฏิบัตติ ามค�าสอน คุณค่าดา้ นวรรณศลิ ปใ์ น ผลชดั เจน ในเรื่องพระบรมราโชวาท พระบรมราโชวาทปรากฏ ดงั น้ี (แนวตอบ ทาํ ใหผอู า นเขาใจเน้อื หา ๑) การใช้ถ้อยค�าท่ีแตกต่างจากปัจจุบัน สะท้อนให้เห็นลักษณะการใช้ภาษาใน ไดเปน อยา งดี และลําดบั ความคิด สมยั นนั้ เชน่ ตามเรื่องราวได ทาํ ใหก ารสงั่ สอน เร่อื งสาํ คัญตางๆ เปน เร่อื งเขา ใจงาย การเกก๋ ารก ๋ี ปัจจุบันใช้ โกเ้ ก ๋ (มาจากภาษาฝรง่ั เศสวา่ โกแก็ต) และจาํ ไปปฏบิ ัตไิ ดจ ริงๆ) เขม็ดแขม่ ปจั จบุ นั ใช้ กระเหมด็ กระแหม่ ใจโตมอื โต ปจั จบุ ันใช ้ หนา้ ใหญ่ใจโต ขยายความเขา ใจ วา่ ง่ายสอนง่าย ปจั จบุ ันใช้ วา่ นอนสอนง่าย 1. ครูใหนักเรียนเขียนความเรียงเรื่อง ๒) การใชค้ า� ซอ้ น พระบรมราโชวาทในรชั กาลท ี่ ๕ ไดป้ รากฏการใชค้ า� ซอ้ นในลกั ษณะ ที่นาสนใจคนละ 10 บรรทัด โดยใช ตา่ งๆ ท่สี ะท้อนการพดู ส่อื สารของคนสมยั น้ันที่นิยมใช้คา� คล้องจองในการสนทนา เช่น ค�าซอ้ นที่เกิด ภาษาแสดงความเปนเหตุเปนผล จากการน�าค�าท่มี ีความหมายเหมอื นกนั มาซ้อนเข้าคู่กัน ทา� ให้ความหมายเดน่ ชัดยิง่ ข้นึ การลาํ ดบั เร่ืองราวเขาใจงาย 2. ครสู มุ ใหน กั เรียน 3 คน มานําเสนอ หนาชั้นเรียน ทรัพยส์ ินเงินทอง ปิดบงั ซอ่ นเร้น ฟ้องรอ้ งวา่ กลา่ ว ฤทธิเ์ ดช บา้ นเรือน ๓) การใชภ้ าษาแสดงความเปน็ เหตเุ ปน็ ผลชดั เจน พระบรมราโชวาทเปน็ พระราช- นิพนธ์ท่ีใช้ภาษาและลีลาการเขียนท่ีท�าให้ผู้อ่านเข้าใจในความรู้ ความคิดเร่ืองต่างๆ ได้กระจ่างแจ้ง เหมาะสา� หรบั ผทู้ ี่อยใู่ นวัยเรียนจะปฏิบตั ิตาม “...ขออธิบายความประสงค์ข้อนี้ให้ชัดว่า เหตุใดจึงไดไ้ มใ่ หไ้ ปเป็นยศเจา้ เหมอื นอา ของตัวท่ีเคยไปแต่ก่อน ความประสงค์ข้อนี้ ใช่ว่าจะเกิดขึ้นเพราะไม่มีความเมตตากรุณา... ด้วยธรรมดาเจ้านายฝ่ายเขามีน้อย เจ้านายฝ่ายเรามีมาก ข้างฝ่ายเขามีน้อยตัวก็ยกย่อง ท�านุบา� รงุ กนั ใหญ่โตมากกวา่ เรา...” จะเหน็ วา่ ขอ้ ความตอนนที้ รงพยายามอธบิ ายความอยา่ งเปน็ เหตเุ ปน็ ผล เพอื่ ไมใ่ หผ้ อู้ า่ น คือพระราชโอรสต้องรู้สึกน้อยพระทัยท่ีห้ามไม่ให้ทรงแสดงยศศักด์ิ การใช้ภาษาในพระบรมราโชวาท 81 คูมือครู 81

กระตุนความสนใจ สาํ รวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Engage Explore Evaluate อธิบายความรู (ยอจากฉบับนกั เรียน 20%) ใหนกั เรียนอธบิ ายการใชภาษา มีลักษณะตรงไปตรงมาชัดเจน แต่ในบางตอนจะสังเกตได้ว่าในฐานะพ่อพระองค์ทรงห่วงใยความรู้สึก • การใชภ าษาเพอื่ ส่ืออารมณ ของลกู ยงิ่ นกั ถา้ เปน็ เรอื่ งทสี่ ง่ ผลตอ่ อารมณค์ วามรสู้ กึ ของลกู แลว้ พระองคจ์ ะทรงใชถ้ อ้ ยคา� ภาษาอธบิ าย เหตุผลอย่างละเอียดเพ่อื ไมใ่ ห้ล�าบากพระทยั ทจ่ี ะปฏบิ ัติตาม ความรูส ึกทางจดหมายมีความ เหมาะสมกบั เนื้อเรอ่ื งอยา งไร ๔) การใช้ภาษาเพ่อื ส่อื อารมณค์ วามร้สู ึก พระบรมราโชวาทในรัชกาลที ่ ๕ แสดง (แนวตอบ การเขียนจดหมาย ให้เห็นถึงอารมณ์ความรู้สึกของบิดาที่มีต่อบุตรโดยผ่านกระบวนการการใช้ภาษาท่ีละเมียดละไม สามารถถา ยทอดความรูส ึกนึกคดิ ดังขอ้ ความ ของผเู ขียนไดเปน อยางดี เพราะ ในระหวางท่เี ขยี น ผเู ขยี นไมตอง “...พอ่ รกั ลกู จรงิ แตไ่ มร่ กั ลกู อยา่ งชนดิ นน้ั เลย เพราะรเู้ ปน็ แนว่ า่ ถา้ จะรกั อยา่ งนน้ั ตามใจ กงั วลกับสหี นา หรอื น้าํ เสยี งของ อย่างน้ัน จะไมเ่ ปน็ การมีคณุ อนั ใดแกต่ วั ลกู ผูไ้ ด้รบั ความรกั นน้ั เลย...” ผูอ าน ผูเขยี นสามารถถา ยทอด อารมณความรสู กึ ไดอยางเต็มที่) “...จงอุตสาหะพากเพียรเรียนวิชาให้รู้มา ได้ช่วยก�าลังพ่อเป็นที่ชื่นชมยินดีสมกับท่ีมี ความรักน้นั เถิด” ขยายความเขา ใจ จากข้อความดังกล่าว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีความรักและ นักเรียนวิเคราะหวิจารณเปรียบ- เมตตาพระราชโอรสในพระองค์เป็นอย่างมาก ทรงสอนให้ลูกรู้ว่าความรักของพระองค์คือการ “ให้” เทยี บการเขยี นจดหมายกบั การสอ่ื สาร ลูกทกุ คนมีความรูแ้ ละมคี วามประพฤตทิ ด่ี งี าม ชอ งทางอนื่ เชน โทรศพั ท อนิ เทอรเ นต็ เปนตน วามีขอดีขอเสียดานการใช “...ซงึ่ จะไดม้ คี �าสงั่ ใหร้ าชทตู จา่ ยเปน็ เงนิ ส�าหรบั เรยี นวชิ าชนั้ ตน้ ๕ ปี ปลี ะ ๓๒๐ ปอนด์ ภาษาแตกตา งกันอยา งไร เงนิ ๑,๖๐๐ ปอนด์ สา� หรบั เรยี นวชิ าชน้ั หลงั อกี ๕ ปี ปลี ะ ๔๐๐ ปอนด์ เงนิ ๒,๐๐๐ ปอนด์ รวมเปน็ คนละ ๓,๖๐๐ ปอนด์ จะไดร้ ู้วิชาเสรจ็ สิ้นอย่างช้าใน ๑๐ ปี แต่เงนิ นี้ฝากไว้ในแบงก์ (แนวตอบ ปจจุบันการใชโทรศัพท คงจะมี ดอกเบ้ียมากข้ึน เหลือการเล่าเรียนแล้วจะได้ใช้ประโยชน์ของตัวเองตามชอบใจ และอินเทอรเน็ตทําใหการติดตอกัน เปน็ ส่วนยกให.้ ..” เปนไปอยางรวดเร็วทันใจ สามารถ โตตอบกันไดทันที ภาษาท่ีใชมักพบ จากขอ้ ความน ้ี พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงมคี วามรกั ในพระราชโอรส คาํ สแลง เพราะความเรง ดว น สะดวก โดยทรงใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์สนับสนุนการศึกษา นอกจากจะพระราชทานเงินส�าหรับ ปากสะดวกคํา ในขณะที่การเขียน คา่ เลา่ เรยี นโดยฝากไวใ้ หท้ ธี่ นาคารเพอ่ื ความมน่ั คงและไดร้ บั ดอกเบย้ี แลว้ ยงั ทรงยกสว่ นทเี่ ปน็ ดอกเบยี้ จดหมายแมจ ะตดิ ตอ สอื่ สารไดช า กวา จากธนาคารให้แก่พระราชโอรสอีกด้วย จึงแสดงถึงความรอบคอบในการใช้จ่ายพระราชทรัพย์อย่าง แตมีคุณคาทางภาษามากกวา กลาว ระมัดระวงั และพระราชโอรสต้องใชพ้ ระราชทรพั ย์นใี้ หเ้ กิดประโยชน์สงู สุดในการศกึ ษาเลา่ เรียน เพ่อื คือภาษาท่ีใชในจดหมายผานการ กลบั มาท�าประโยชน์แก่ประเทศชาติ กล่ันกรองเลือกสรรคํา จึงมีท้ังคุณคา ทางความคิดและจิตใจ) 82 82 คูมอื ครู

กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Engage Explore Evaluate ๕) การใช้ภาษาเพื่อสื่อความอย่างตรงไปตรงมา พระบรมราโชวาทในพระบาท- อธิบายความรู สมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงมพี ระราชประสงคเ์ พอ่ื ใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมอื สา� หรบั อบรมพระราชโอรส ทเี่ สด็จไปทรงศึกษาตา่ งประเทศ แต่พระองคม์ ไิ ดท้ รงใชค้ า� ราชาศัพท์หรอื ศัพท์สงู ท่ียากเกนิ ไป ทรงใช้ ใหนักเรียนแสดงความคิดเหน็ วา ถ้อยค�าและภาษาท่ีธรรมดา สือ่ ความอย่างตรงไปตรงมาเหมอื นบดิ าสนทนากบั บุตร ดงั ข้อความ • การใชภ าษาในเรอื่ งพระบรม- “...การซึ่งใช้เงินพระคลังข้างท่ีไม่ใช้เงินแผ่นดินอย่างเช่นเคยจ่ายให้เจ้านายและบุตร ราโชวาทมีลกั ษณะอยางไร ข้าราชการไปเล่าเรยี นแต่ก่อนนน้ั เพราะเหน็ ว่าพอ่ มีลูกมากดว้ ยกัน การซึ่งใหม้ โี อกาสและให้ (แนวตอบ การใชภาษามคี วาม ทุนทรัพย์ซึ่งจะได้เล่าเรียนวิชานี้ เป็นทรัพย์มรดกอันประเสริฐดีกว่าทรัพย์สินเงินทองอื่นๆ เหมาะสม เพราะพระบรมราโชวาท ด้วยเป็นของติดตัวอยู่ได้ ไม่มีอันตรายที่จะเสื่อมสูญ ลูกคนใดที่มีสติปัญญาเฉลียวฉลาดก็ดี เปน การใหโ อวาททผี่ อู า นประชาชน หรอื ไม่มสี ติปญั ญาเฉลียวฉลาดกด็ ี ก็จะต้องส่งไปเรียนวชิ าทุกคนตลอดโอกาสท่ีจะเปน็ ไปได้ ทุกระดบั ชัน้ สามารถนําไปปฏบิ ัติ เหมือนหนึง่ ไดแ้ บ่งทรัพย์มรดกใหแ้ กล่ ูกเสมอๆ กนั ทกุ คน...” ใชได แมจุดประสงคของพระบรม- ราโชวาทนมี้ ไี วส าํ หรบั พระราชโอรส จากข้อความข้างต้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงใช้ภาษาเรียบง่าย แตเนือ้ เร่อื งมีประโยชนกับทุกคน ส่ือความอย่างตรงไปตรงมาว่าพระองค์มีพระราชโอรสมาก การสนับสนุนด้านการศึกษานับเป็นการ เพราะภาษาเขาใจงา ยตรงไป ให้ทรพั ยม์ รดกแกล่ ูก ไมว่ า่ ผูน้ น้ั จะเฉลียวฉลาดหรอื ไม่กต็ าม พระองค์จะทรงใหก้ ารสนบั สนนุ ใหโ้ อกาส ตรงมา) ทางการศึกษาอยา่ งเท่าเทยี มกัน ขยายความเขา ใจ “...สว่ นเงนิ ทพี่ อ่ ไดห้ รอื ลกู ไดเ้ พราะพอ่ นน้ั กเ็ พราะอาศยั ทพ่ี อ่ เปน็ ผทู้ า� นุบา� รงุ รกั ษาบา้ น เมอื ง และราษฎรผเู้ จา้ ของทรพั ยน์ น้ั กเ็ ฉลยี่ เรยี่ ไรกนั มาให้ เพอื่ จะใหเ้ ปน็ กา� ลงั ทจี่ ะหาความสขุ ใหน กั เรียนเชื่อมโยงความคดิ คมุ้ กบั คา่ ทเ่ี หนด็ เหนือ่ ย ทต่ี อ้ งรบั การในตา� แหนง่ อนั สงู คอื เปน็ ผรู้ กั ษาความสขุ ของเขาทงั้ ปวง เก่ียวกบั การใชภ าษาเพอ่ื สือ่ ความ เงนิ นน้ั ไมค่ วรจะนา� มาจา� หนา่ ยในการทไี่ มเ่ ปน็ ประโยชนไ์ มเ่ ปน็ เรอ่ื ง และเปน็ การไมม่ คี ณุ กลบั อยา งตรงไปตรงมา โดยยกตวั อยางที่ ให้โทษแกต่ วั ต้องใช้แตใ่ นการจา� เป็นทจี่ ะต้องใช้ ซึง่ จะเปน็ การมคี ุณประโยชนแ์ ก่ตนและผู้อื่น นกั เรยี นเคยพบในชวี ติ ประจาํ วนั ในทางชอบธรรม...” มาคนละ 1 ตัวอยา ง จากขอ้ ความดงั กลา่ ว พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงใชถ้ อ้ ยคา� อยา่ งถอ่ ม (แนวตอบ เชน การใชภ าษาในการ พระองคว์ า่ “พระราชทรัพย”์ ของพระองค์นั้นไดม้ าจาก “ราษฎรผู้เปน็ เจา้ ของทรัพย์นั้นก็เฉล่ยี เรี่ยไร อานขาว ซึ่งจะแตกตา งจากการ กันมาให”้ เพ่ือตอบแทนทพ่ี ระองคท์ รงเปน็ “ผ้รู ักษาความสุขของเขาท้ังปวง” ด้วยเหตนุ จี้ งึ ทรงสอน เลาขา ว คอื ไปช้นี ําความคดิ ของ พระราชโอรสว่า “เงนิ น้นั ไมค่ วรจะนา� มาจ�าหนา่ ยในการที่ไม่เปน็ ประโยชนไ์ มเ่ ป็นเร่อื ง” แม้จะเปน็ เงิน ผูฟ ง ในขณะท่ีการอา นขาวจะบอก ทเ่ี ปน็ สิทธิ์ขาดของพระองค์แล้วก็ตาม รายละเอยี ดขอ เทจ็ จรงิ อยางตรงไป ตรงมา) 83 คูมอื ครู 83

กระตนุ ความสนใจ สํารวจคน หา อธิบายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Expand Engage Explore Explain Evaluate ขยายความเขาใจ (ยอจากฉบบั นักเรยี น 20%) ใหน กั เรียนเปรียบเทียบการใช ๖) การใช้โวหาร ทา� ให้เกิดจินตภาพ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรง โวหารอุปมาอุปไมยท่ปี รากฏใน มพี ระอจั ฉรยิ ภาพในการใช้ภาษาเพอ่ื สื่อความ ทรงใช้ภาษาเปรยี บเทียบสงิ่ หนึง่ กบั อีกสงิ่ หน่ึงเพื่อความ เรอ่ื ง พระบรมราโชวาท แลว รวมกนั ชดั เจนแกเ่ นือ้ หาสาระข้อความหรอื สารท่ตี ้องการส่อื สารไปยงั ผอู้ า่ น ผ้ฟู ัง ซ่ึงในท่นี ี้คอื พระราชโอรส อภิปรายวา ของพระองค ์ ดังขอ้ ความ • โวหารที่พบมีความสําคญั ตอ “...อีกประการหนึง่ ชวี ิตสังขารของมนุษย์ไม่ย่งั ยืนยดื ยาวเหมอื นเหลก็ เหมือนศิลา ถงึ การดําเนนิ ชีวิตหรือไม อยางไร โดยว่าจะมพี อ่ อยูใ่ นขณะหนึ่ง กค็ งจะมีเวลาท่ีไม่มไี ด้ขณะหนึ่งเปน็ แน่แท้ ถ้าประพฤตคิ วามชั่ว (แนวตอบการใชโ วหารทปี่ รากฏใน เสียแต่ในเวลามีพ่ออยู่แล้ว โดยจะปิดบังซ่อนเร้นอยู่ได้ด้วยอย่างหนึ่งอย่างใด เวลาไม่มีพ่อ เรื่อง ชวยใหผูอานเกิดจินตภาพ ความชั่วน้นั คงจะปรากฏเป็นโทษติดตัวเหมือนเงาตามหลังอย่ไู มข่ าด...” ตามไดงาย โดยที่ผูเขียนไมตอง อธิบายความใหยืดยาว รวมท้ัง จากขอ้ ความดงั กลา่ ว พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงใชภ้ าษาเปรยี บเทยี บ ชวยกระตุนเราความรูสึกใหทํา ให้เหน็ ภาพชดั เจน โดยพระองคม์ พี ระราชประสงค์เพ่ืออบรมพระราชโอรส ไมใ่ หท้ รงคิดว่าจะทา� สิง่ ใด ตามทผ่ี เู ขยี นตอ งการไดด ว ย เชน ย่อมได้เพราะยงั มีพระราชบดิ าอย่ ู แต่ถ้าหากวนั ใดส้นิ พระราชบดิ า ความไมด่ ที เ่ี คยท�าไวจ้ ะปรากฏขึ้น การใชโวหารเปรียบเทียบวา ในภายหลัง โดยพระองค์ทรงเปรียบเทียบให้เห็นว่า สังขารของมนุษย์ไม่เท่ียงแท้ ไม่มั่นคงยืดยาว “...แตสัตวบางอยางยังมีหนัง เหมอื นกบั ศลิ าหรอื หนิ ชวี ติ ของพระองคย์ อ่ มดบั สญู ไปในสกั วนั และเมอื่ ถงึ วนั นน้ั ความประพฤตไิ มด่ ที ี่ มีเขา มีกระดูกเปนประโยชน พระราชโอรสทรงกระทา� ไวจ้ ะปรากฏขนึ้ เหมอื นเงาตดิ ตามผเู้ ปน็ เจา้ ของ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ พระอจั ฉรยิ ภาพ บาง...” ทําใหผูอานรูสึกวาตอง ทางการใชภ้ าษาของพระองคท์ า� ใหผ้ อู้ า่ นเกดิ จนิ ตภาพและสามารถเขา้ ใจเนอ้ื ความไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ลกึ ซง้ึ กระทําตนใหดีมีคุณคามากกวา พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระราชนพิ นธเ์ พอ่ื สัตว) อบรมและสง่ั สอนพระราชโอรส ภาษาท่ีใช้ในการสอนของพระองคน์ อกจากจะสอนอย่างตรงไปตรงมา แล้ว ในบางเร่ืองพระองค์ทรงใช้การเปรียบเทียบเพ่ือให้กระทบอารมณ์และความรู้สึกของผู้อ่าน ให้ นกั เรียนควรรู ตระหนักและเห็นความส�าคัญของเร่ืองที่จะกล่าวส่ังสอน ดงั ข้อความ ปดบังซอนเรน เปนคําซอนเพอ่ื “...ถ้าจะถือว่าเกดิ มาเป็นเจา้ นายแลว้ น่ิงๆ อยจู่ นตลอดชวี ิตก็เป็นสบายดงั นั้น จะไม่ผดิ ความหมายท่ีนําเอาคําซอนสี่พยางค อันใดกบั สตั ว์ดิรจั ฉานอย่างเลวนัก สตั ว์ดริ ัจฉานมนั เกิดมากนิ ๆ นอนๆ แลว้ กต็ าย แตส่ ตั ว์ มาซอ นกนั คือ ปด + บัง + ซอน + เรน บางอยา่ งยงั มหี นงั มเี ขามกี ระดกู เปน็ ประโยชนไ์ ดบ้ า้ ง แตถ่ า้ คนประพฤตอิ ยา่ งเชน่ สตั วด์ ริ จั ฉาน แล้ว จะไม่มีประโยชน์อันใดยิ่งกว่าสัตว์ดิรัจฉานบางพวกไปอีก เพราะฉะนั้นจงอุตสาหะท่ี จะเรียนวิชาเข้ามาเป็นก�าลังที่จะท�าตัวให้ดีกว่าสัตว์ดิรัจฉานให้จงได้ จึงจะนับว่าเป็นการได้ สนองคุณพอ่ ซ่งึ ไดค้ ดิ ทา� นุบา� รงุ เพื่อจะให้ดีต้งั แตเ่ กดิ มา...” 84 84 คมู ือครู

กระตนุ ความสนใจ สํารวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Expand Engage Explore Explain Evaluate จากข้อความดังกล่าว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงใช้ภาษาท่ี ขยายความเขา ใจ เหมาะสมกับการสั่งสอนพระราชโอรสในเร่ืองการท�าตนให้เป็นประโยชน์ โดยทรงกล่าวให้เห็นชัดเจน ว่า สัตว์บางจ�าพวกเกิดมาแล้วตาย แต่ยังมีสัตว์บางจ�าพวกที่เม่ือตายไปแล้วยังทิ้งบางส่วนไว้เพ่ือยัง ใหนักเรยี นอภิปรายวา การสง ประโยชน์ให้เกิดแก่มนุษย์ ตัวอย่างที่พระองค์ทรงชี้แจงให้เห็นเป็นสัจธรรมของชีวิต เมื่อได้อ่าน พระราชโอรสในรัชกาลท่ี 5 เสด็จไป จะรู้สึกถูกกระตุ้นเตือนและหันกลับมาส�ารวจตนเองว่าได้เคยท�าประโยชน์ให้เกิดแล้วบ้างหรือยัง และ ทรงศกึ ษา ณ ตางประเทศ หรอื การสง ถ้ายังไม่ได้ท�าเช่นนั้น ตนเองจะไม่ต่างอะไรจากสัตว์เดรัจฉานบางจ�าพวกที่ตายแล้วไม่มีประโยชน์ นักเรียนไทยไปศึกษาตางประเทศมี อันใดนับเป็นการใช้ภาษาเพ่ือสั่งสอนได้กระชับ ชัดเจน ทรงใช้การเปรียบเทียบเพ่ือให้เข้าใจสัจธรรม ผลอยา งไรตอ การพฒั นาประเทศไทย ทีเ่ ป็นนามธรรมใหเ้ หน็ เปน็ รปู ธรรมทีช่ ดั เจนได้ทันทีและตระหนกั ในคา� สอนย่งิ ข้ึน คา นยิ มและวฒั นธรรมไทยในยคุ ตอ ๆ มา ๗.๓ คณุ คา่ ดา้ นสงั คมและสะทอ้ นวถิ ไี ทย (แนวตอบ มีความสําคัญตอการ วรรณคดีและวรรณกรรมทกุ เรือ่ งเมอ่ื เกิดข้ึนในสมัยใดย่อมมสี ่วนในการสะท้อนสภาพสงั คม ณ พัฒนาประเทศในหลายดาน ท้ังการ ช่วงเวลาน้ัน พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สะท้อนสภาพสังคมใน สาธารณูปโภค การศึกษา การเมือง สมยั รชั กาลที ่ ๕ ดังตอ่ ไปนี้ การปกครอง และสง ผลใหเกดิ การรับ วัฒนธรรมตะวันตก เชน การเตนรํา ๑) ระบบบริหารราชการแผ่นดินในส่วนที่เกี่ยวข้องกับพระราชส�านัก ก�าหนด การเลิกกินหมาก การแตงกายตาม ให้ม ี “เงินพระคลังขา้ งท”ี่ ซึง่ เป็นเงินใช้สอยส่วนพระองคข์ องพระมหากษัตรยิ ์ ดงั ข้อความ ตะวันตก เปนตน) “...อกี ประการหนึง่ เล่า ถึงวา่ เงนิ พระคลงั ขา้ งทน่ี ัน้ เองก็เปน็ สว่ นหนึง่ ในแผ่นดินเหมอื น นักเรียนควรรู กนั เวน้ แตเ่ ปน็ สว่ นทย่ี กใหแ้ กพ่ อ่ ใชส้ อยในการสว่ นตวั มที า� การกศุ ลและสงเคราะหบ์ ตุ รภรรยา เป็นต้น...” แตย งั มสี ตั วบ างจาํ พวกทเี่ มอ่ื ตายไป แลวยังทิ้งบางสวนไวเพ่ือยังประโยชน ๒) ค่านิยมการสง่ บตุ รหลานไปศึกษาตา่ งประเทศ ในสมัยรชั กาลท ่ี ๕ เปน็ สมัยที่ ใหเกิดขึ้นแกมนุษย เปนแนวคําสอน ประเทศไทยตนื่ ตวั ในการตดิ ตอ่ กบั ชาวตา่ งชาต ิ โดยเฉพาะกบั ยโุ รปซง่ึ มคี วามเจรญิ ในทกุ ดา้ น บรรดาผมู้ ี ที่ตรงกับคําประพันธในโคลงโลกนิติ ฐานะหรอื ขุนนางจึงนิยมส่งบุตรหลานไปเล่าเรียนยงั ตา่ งประเทศ ท่ีวา “โคควายวายชีพได เขาหนัง “...เพราะวิชาความรู้ในหนังสือไทยท่ีมีผู้แต่งไว้นั้นเป็นแต่ของเก่าๆ มีน้อย เพราะมิได้ เปนส่งิ เปนอันยงั อยไู ซร สมาคมกับชาติอ่ืนช้านานเหมือนวิชาการในประเทศยุโรปท่ีได้สอบสวนซ่ึงกันและกันจนเจริญ คนเด็ดดบั สูญสัง- ขารรา ง รุ่งเรืองมากแลว้ นน้ั ฝ่ายหนงั สือไทยจึงไม่พอทจ่ี ะเลา่ เรยี น จงึ ตอ้ งไปเรยี นภาษาอ่นื เพอื่ จะได้ เปนช่ือเปน เสยี งได แตรายกับด”ี เรียนวิชาให้กว้างขวางออก...” จากขอ้ ความสะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงมวี สิ ยั ทศั น์ กว้างไกล จงึ ทรงสง่ พระราชโอรสไปศึกษาศิลปวทิ ยาจากประเทศในยุโรป เพอ่ื นา� ความรู้กลบั มาพัฒนา ประเทศไทย 85 คมู อื ครู 85

กระตนุ ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Expand Engage Explore Explain Evaluate ขยายความเขาใจ (ยอจากฉบบั นกั เรยี น 20%) เนือ้ หาของพระบรมราโชวาทมี ๓) ความสัมพันธก์ ับตา่ งประเทศ ในสมัยรัชกาลท่ ี ๕ เป็นชว่ งเวลาทคี่ วามเจรญิ จาก ลกั ษณะเปนคําสอนของพระมหา- ชนชาติตะวันตกได้แผ่ขยายมายังประเทศไทย ประเทศต่างๆ จึงเจริญสัมพันธไมตรีต่อกันโดยการ กษตั ริยท ่มี ีตอ พระราชโอรส ซึ่งบคุ คล สรา้ งสมั พนั ธท์ างการทตู และมสี ถานเอกอคั รราชทตู ไวเ้ พอ่ื แสดงความสมั พนั ธอ์ นั ด ี และคอยชว่ ยเหลอื ทว่ั ไปสามารถนาํ มาปรบั ใชได คนไทยในประเทศนน้ั ๆ ดังข้อความน้ี • วรรณกรรมเร่ืองใดบางทมี่ ี “...ส่วนที่ในประเทศยโุ รปน้นั ถ้าไปอยใู่ นประเทศใดท่ีมรี าชทูตของเราอยู่ ราชทูตคงจะ ลกั ษณะอบรมสัง่ สอนลกู เอาเป็นธุระดแู ลทกุ สิ่งทุกอยา่ ง เม่ือมีการขัดข้องล�าบากประการใดจงช้แี จงแจง้ ความใหท้ ่าน (แนวตอบ เร่อื งจดหมายจางวาง ราชทตู ทราบ คงจะจดั การไดต้ ลอดไป...” หร่าํ ของ น.ม.ส. และพอ สอนลูก ของทวี บณุ ยเกตุ) ๗.๔ ขอ้ คดิ ทส่ี ามารถนา� ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจา� วนั พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชประสงค์เพื่อใช้ สั่งสอน อบรม แนะน�าและตกั เตือน ดงั นน้ั ผอู้ ่านจะสามารถค้นพบข้อคดิ ท่แี ฝงอย่ใู นเนอื้ หาและนา� ไป ประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจ�าวันไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ดงั นี้ ๑) การวางตน ไม่ว่าจะอยใู่ นสังคมใดไม่ควรยกตนเหนือผู้อ่นื ดังขอ้ ความ “...แตเ่ หน็ วา่ ซง่ึ จะเปน็ ยศเจา้ ไปนนั้ ไมเ่ ปน็ ประโยชนอ์ นั ใดแกต่ วั นกั ดว้ ยธรรมดาเจา้ นาย ฝา่ ยเขามีน้อย เจา้ นายฝา่ ยเรามมี าก ขา้ งฝ่ายเขามนี ้อยตัวกย็ กยอ่ งทา� นุบา� รงุ กนั ใหญ่โตมาก กวา่ เรา ฝ่ายเราจะไปมยี ศเสมออยกู่ บั เขา แต่ความบริบูรณ์และยศศักดไิ์ ม่เตม็ ทเ่ี หมือนอยา่ ง เขาก็จะเป็นท่ีน้อยหน้าและเห็นเป็นเจ้านายเมืองไทยเลวไป และถ้าเป็นเจ้านายแล้ว ต้อง รักษายศศักดิ์ในกิจการทั้งปวงท่ีจะท�าทุกอย่างเป็นเครื่องล่อตาล่อหูคนท้ังปวงที่จะให้พอใจดู พอใจฟงั จะท�าอนั ใดก็ตอ้ งระวงั ตวั ไปทกุ อย่าง ที่สดุ จนจะซ้ือจา่ ยอนั ใดก็แพง กว่าคนสามัญ เพราะเขาถอื วา่ มง่ั มี เปน็ การเปลอื งทรพั ยใ์ นทไี่ มค่ วรจะเปลอื ง เพราะเหตวุ า่ ถงึ จะเปน็ เจา้ กด็ ี เป็นไพรก่ ด็ ี เมอื่ อยู่ในประเทศมิใช่บา้ นเมืองของตัว กไ็ มม่ อี �านาจท่จี ะท�าฤทธเิ์ ดชอนั ใดไปผิด กับคนสามญั ได.้ ..” จากข้อความน้ี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงอบรมพระราชโอรส ของพระองค์ให้ทรงวางพระองค์อย่างเหมาะสม ไม่อวดอ้างความเป็นเจ้า เพราะย่อมเป็นดาบสองคม ถา้ ผู้เป็นลูกวางตนเหมาะสมยอ่ มได้รบั คา� ชม แต่ถ้าวางตนไม่เหมาะสมยอ่ มเสอ่ื มเสียถงึ วงศ์ตระกลู 86 86 คมู ือครู

กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Engage Explore Evaluate อธบิ ายความรู ๒) การร้จู กั ใชจ้ ่ายเงิน ใช้จา่ ยเงินในเรอ่ื งท่เี ปน็ ประโยชน ์ ไม่ใช้เงินเกนิ ความจ�าเปน็ 1. ใหน ักเรียนอภิปรายขอความทว่ี า จนก่อให้เกดิ หนีส้ นิ สรา้ งความเดือดรอ้ นให้คนอนื่ “...จะรับราชการในตาํ แหนง ตํ่าๆ ซึ่งเปนกระไดขนั้ แรก คอื เปนนาย “...เงนิ นน้ั ไมค่ วรจะนา� มาจา� หนา่ ยในการทไ่ี มเ่ ปน็ ประโยชนไ์ มเ่ ปน็ เรอ่ื ง และเปน็ การไมม่ ี รองหุมแพรมหาดเล็กเปน ตน กไ็ ม คณุ กลบั ให้โทษแก่ตัว ตอ้ งใชแ้ ต่ในการจ�าเปน็ ท่จี ะตอ้ งใช้ ซึ่งจะเป็นการมคี ณุ ประโยชนแ์ ก่ตน ไดเ สยี แลว ...” และผู้อ่ืนในทางชอบธรรม ซึ่งจะเอาไปกอบโกยใช้หนี้ให้แก่ลูกผู้ท�าความชั่วจนเสียทรัพย์ไป • ขอความน้ีสะทอ นใหเหน็ นั้นสมควรอยู่หรือ เพราะฉะน้ันจึงต้องว่าไม่ยอมที่จะใช้หนี้ให้ โดยว่าจะต้องใช้ให้ก็จะต้อง ทศั นคติของผูเขียนอยางไร มีโทษเป็นประกัน ม่ันใจว่าจะไม่ต้องใช้อีก เพราะจะเข็ดหลาบในโทษท่ีท�านั้นจึงจะยอมใช้ (แนวตอบ ครแู นะนํานกั เรียนวา ให้ได้ ใช้ให้เพราะจะไม่ให้ทรัพย์ผู้อ่ืนสูญเสียเท่าน้ัน ใช่จะใช้ให้โดยความรักใคร่อย่างบิดา การทาํ งานใดๆ ก็ตามตองเกดิ ให้บุตรเม่ือมีความยินดีต่อความประพฤติของบุตรนั้นเลย เพราะฉะนั้นจงจ�าไว้ ตั้งใจอยู่ให้ การเรยี นรูง านขนั้ ทตี่ ํ่าทสี่ ุดกอ น เสมอวา่ ตวั เปน็ คนจน มีเงินใช้เฉพาะแต่ทจี่ ะรกั ษาความสขุ ของตวั พอสมควรเทา่ นั้น ไมม่ ง่ั มี เพ่อื เปน การสรา งความเขาใจ เหมือนใครๆ อนื่ ...” หากเปนลกู เจาลกู นายก็ไมอาจ ทํางานตาํ แหนงตํา่ ซ่ึงถือวา จากข้อความสะท้อนให้เห็นว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตั้ง เปนการสรางพืน้ ฐานได เมือ่ ไป พระราชหฤทัยที่จะสั่งสอนให้พระราชโอรสของพระองค์ใช้จ่ายพระราชทรัพย์อย่างประหยัดและ รับตาํ แหนงสูงก็อาจทาํ งานได รคู้ ณุ ค่า ให้ใชช้ วี ติ อยา่ งพอเพียงตามก�าลังทรัพยข์ องตนเอง ไม่ฟุง้ เฟอ้ สุรยุ่ สุร่าย ไมด เี ทาท่ีควรเพราะขาดพืน้ ฐาน นัน่ เอง) ๓) การมคี วามมานะอตุ สาหะตง้ั ใจใหป้ ระสบความส�าเรจ็ ในหนา้ ทก่ี ารงาน ควร กระทา� ดว้ ยความรค ู้ วามสามารถของตนเอง ไมอ่ าศยั ความชว่ ยเหลอื จากผอู้ ่ืน หรอื ใช้ยศถาบรรดาศักดิ ์ 2. ใหน กั เรยี นอภปิ รายวา เพราะเหตใุ ด เพอ่ื ให้ประสบความส�าเร็จในหนา้ ท่กี ารงาน ดังข้อความ รัชกาลที่ 5 จึงทรงมีพระบรม- ราโชวาทวา “...จงเขม็ดแขมใชแต “...จงรู้สึกตัวเป็นนิจเถิดว่า เกิดมาเป็นเจ้านายมียศบรรดาศักด์ิมากจริงอยู่ แต่ไม่ เพียงพอที่อนุญาตใหใช อยาทําใจ เป็นการจ�าเป็นเลยท่ีผู้ใดเป็นเจ้าแผ่นดินขึ้น จะต้องใช้ราชการอันเป็นช่องที่จะหาเกียรติยศ โตมอื โตสรุ ยุ สรุ า ย โดยถอื ตวั วา เปน ชือ่ เสียงและทรพั ยส์ มบตั ิ ถ้าจะวา่ ตามการซ่ึงเปน็ มาแต่กอ่ น เจา้ นายซ่งึ จะหาช่องท�าราชการ เจามัง่ มีมาก...” ไดย้ ากกวา่ ลกู ขนุ นางเพราะเหตทุ เี่ ปน็ ผมู้ วี าสนาบรรดาศกั ดมิ์ าก จะรบั ราชการในตา� แหนง่ ตา�่ ๆ (แนวตอบ ครูแนะนํานักเรียนวา ซ่งึ เป็นกระไดข้นั แรก คือเปน็ นายรองหมุ้ แพรมหาดเลก็ เป็นตน้ ก็ไม่ไดเ้ สียแลว้ จะไปแต่งต้งั รัชกาลท่ี 5 ทรงมีพระราชประสงค ใหว้ า่ การใหญโ่ ตสมแกย่ ศศกั ดิ์ เมอ่ื ไมม่ วี ชิ าความรแู้ ละสตปิ ญั ญาพอทจี่ ะทา� การในตา� แหนง่ นน้ั ใหพระราชโอรสทรงรูจักประหยัด ไปได้ก็เป็นไปไม่ได้ เพราะฉะน้ันเจ้านายจะเป็นผู้ได้ท�าราชการมีช่ือเสียงดี ก็อาศัยได้แต่สติ เหน็ คา ของเงินจนเปน นสิ ยั แมกลับ ปญั ญาความรแู้ ละความเพยี รของตวั เพราะฉะนน้ั จงอตุ สาหะเลา่ เรยี นโดยความเพยี รอยา่ งยง่ิ มาบริหารราชการบานเมืองแลวก็ เพ่อื จะได้มโี อกาสทจี่ ะทา� การให้เปน็ คุณแก่บ้านเมืองของตน และโลกทีต่ ัวได้มาเกดิ ...” ตอ งใชจ า ยเงินหลวงอยางรอบคอบ ไมส รุ ุยสรุ า ยเชนกัน) ขยายความเขา ใจ ใหน ักเรยี นแสดงความคิดเหน็ วา • การรบั ราชการหรอื การทํางาน 87 ในตาํ แหนงหนาทต่ี างๆ ในอดีต สะทอนใหเ หน็ คานิยมหรือ วัฒนธรรมใด (แนวตอบ การทาํ งานตา งๆ หรอื การรบั ราชการมกั มาจาก การฝากเขาทํางาน หรือการใชเสนสาย สะทอนใหเห็น คานิยมเร่ืองระบบอุปถัมภ การชวยเหลือพวกพองของ ตนเองมากกวา การพิจารณาความรูความสามารถ) คมู อื ครู 87

กระตุน ความสนใจ สํารวจคน หา อธิบายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Expand Engage Explore Explain Evaluate ขยายความเขาใจ (ยอจากฉบับนักเรยี น 20%) จากการศกึ ษาพระบรมราโชวาท จากข้อความสะท้อนให้เห็นข้อคิดท่ีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง 1. ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิด อบรมพระราชโอรส คือ ให้มีความมานะอุตสาหะพยายามในการแสวงหาความรูค ้ วามสามารถ เพ่อื นา� ไปใชร้ บั ราชการและเปน็ การไมส่ มควรทจ่ี ะใชย้ ศตา� แหนง่ ความเปน็ เจา้ มาดา� รงตา� แหนง่ ทางราชการทง้ั ๆ เห็นวา ในปจจบุ ันนกั เรียนมีวธิ ีการ ทไี่ มม่ ีความรู ้ความสามารถ ใดที่จะตอบแทนบุญคุณแผนดิน และทําประโยชนใหแ กส งั คม ๔) รจู้ ักตอบแทนคณุ แผ่นดนิ และท�าประโยชน์ให้แก่สังคม ดังขอ้ ความน้ี 2. ใหนกั เรียนรว มกนั บันทกึ เปนหวั ขอ แลวนํามาเขียนเปนคําขวัญติด “...ถา้ จะถอื ว่าเกดิ มาเปน็ เจา้ นายแล้วน่ิงๆ อยจู่ นตลอดชวี ติ กเ็ ป็นสบายดงั นัน้ จะไมผ่ ดิ รณรงคภายในโรงเรียน อะไรกบั สตั วด์ ริ จั ฉานอยา่ งเลวนกั สตั วด์ ริ จั ฉานมนั เกดิ มากนิ ๆ นอนๆ แลว้ กต็ าย แตส่ ตั วบ์ าง 3. ครูใหนกั เรยี นทําความเขา ใจใน อยา่ งยงั มหี นงั มเี ขามกี ระดกู เปน็ ประโยชนไ์ ดบ้ า้ ง แตถ่ า้ คนประพฤตอิ ยา่ งเชน่ สตั วด์ ริ จั ฉานแลว้ ขอคดิ จากเรื่องทส่ี ามารถนําไป จะไมม่ ปี ระโยชนอ์ ันใดยง่ิ กวา่ สัตวด์ ริ ัจฉานบางพวกไปอกี ...” ประยกุ ตใชในชีวติ ประจาํ วนั แลว ใหน กั เรียนหาขอ คิดเพ่มิ เติม จากข้อความสะท้อนให้เห็นว่า พระองค์ทรงระลึกอยู่เสมอว่า การเกิดมาเป็นคนต้อง จากแหลงการเรยี นรูอ่นื ๆ หรอื ตอบแทนบญุ คุณของแผน่ ดิน ถ้าไม่ทา� ประโยชน์บคุ คลผ้นู ้นั ก็ไมต่ ่างอะไรจากสตั ว์เดรจั ฉานทว่ั ไป จากคาํ สอนผปู กครองของนักเรยี น ใหส อดคลอ งกบั เน้ือหาในเรอื่ ง ๕) การระมัดระวังเรื่องความประพฤติ ไม่น�าชื่อเสียงของผู้เป็นพ่อไปข่มเหงรังแก “พระบรมราโชวาท” คนอน่ื เพราะเมอื่ ผเู้ ปน็ พอ่ หมดบารม ี ยอ่ มไมม่ ใี ครกลวั เกรงและความชว่ั ตา่ งๆ กจ็ ะปรากฏ ดงั ขอ้ ความ เกร็ดแนะครู “...อย่าได้ถือตัวว่า ตัวเป็นลูกเจ้าแผ่นดิน พ่อมีอ�านาจย่ิงใหญ่อยู่ในบ้านเมือง ถึงจะ เกะกะไมก่ ลวั เกรงคมุ เหงผใู้ ด เขากค็ งจะมคี วามเกรงใจพอ่ ไมต่ อ่ สหู้ รอื ไมอ่ าจฟอ้ งรอ้ งวา่ กลา่ ว ครูแนะใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ การซึ่งเชื่อใจดังนั้นเป็นการผิดแท้ทีเดียว เพราะความปรารถนาของพ่อไม่อยากจะให้ลูกมี แสดงใหเห็นการรูจักตอบแทนคุณ อ�านาจที่จะเกะกะอย่างนั้นเลย เพราะรู้เป็นแน่ว่าเม่ือรักลูกเกินไป ปล่อยให้ไม่กลัวใครและ แผน ดิน และทาํ ประโยชนใ หแกส งั คม ประพฤตกิ ารช่ัวเชน่ นั้น คงจะเป็นโทษแกต่ ัวลูกน้นั เองท้ังในปัจจบุ นั และอนาคต เพราะฉะนั้น ดังที่เปนขอคิดจากเร่ืองพระบรม- จงรเู้ ถดิ วา่ ถา้ เมอ่ื ไดท้ า� ความผดิ เมอ่ื ใดจะไดร้ บั โทษทนั ที การทมี่ พี อ่ เปน็ เจา้ แผน่ ดนิ นน้ั จะไมเ่ ปน็ ราโชวาท โดยใหนักเรียนจดบันทึก การชว่ ยเหลอื อดุ หนุนแกไ้ ขอนั ใดได้เลย...” การทํากิจกรรมที่นักเรียนเห็นวา เปนการตอบแทนคุณแผนดินและ จากข้อความสะท้อนให้เห็นว่า พระองค์พระราชทานข้อคิดแก่พระราชโอรสในเรื่อง ทําประโยชนใหแกสังคม ครูรวบรวม การระมดั ระวังความประพฤต ิ ไมใ่ ห้ไปอวดอ้างวา่ เปน็ ลูกของพระเจา้ แผ่นดินแลว้ ใชอ้ า� นาจในทางทไ่ี ม่ บนั ทกึ จดั ใหม กี ารอภปิ รายแลกเปลย่ี น ถูกต้อง เพราะเมื่อถึงระยะเวลาหนึ่งที่อ�านาจวาสนาหมดส้ินไป ผลของการกระท�าช่ัวน้ันย่อมปรากฏ ความคิดความรูสึกระหวางนักเรียน ใหค้ นได้เหน็ ได้ยนิ ทัว่ กนั และไม่มีสง่ิ ใดจะค้มุ ครองได้ ท่ีรวมทํากิจกรรมวากอใหเกิดความ ภูมิใจหรือเปนแนวทางในการพัฒนา ตนเองอยา งไร 88 88 คมู ือครู

กระตุนความสนใจ สาํ รวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Expand Engage Explore Explain Evaluate ๖) ใหร้ จู้ ักอ่อนน้อมตอ่ บุคคลทัว่ ไป และไมป่ ระพฤตชิ ั่ว เม่อื มผี ตู้ กั เตือนให้หยุดคดิ ขยายความเขา ใจ ทบทวน ไม่หลงทะนงตนว่าเกง่ หรอื มีอา� นาจ ใหนกั เรียนแสดงความคิดเห็นวา “...เพราะฉะน้ันจงเป็นคนอ่อนน้อม ว่าง่ายสอนง่ายอย่าให้เป็นทิฐิมานะไปในทางที่ผิด • การเรียนภาษาตา งประเทศและ จงประพฤติตัวหันมาทางท่ีชอบที่ถูกอยู่เสมอเป็นนิจเถิด จงละเว้นเวลาท่ีชั่วซึ่งรู้ได้เองแก่ตัว หรือมผี ู้ตักเตือนแนะน�าให้รู้แลว้ อย่าใหล้ ว่ งใหเ้ ป็นไปได้เลยเปน็ อนั ขาด...” ตองใชภ าษาไทยควบคกู ันให ถูกตองดงั ที่ปรากฏในพระบรม- จากข้อความน้ี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานข้อคิด ซ่ึง ราโชวาท มคี วามสาํ คัญตอ การ สามารถน�ามาปรับใชก้ ับชีวติ ประจ�าวันได ้ เพราะสังคมไทยเป็นสังคมระบบอาวโุ ส ผ้นู ้อยต้องใหค้ วาม ศกึ ษาและการพัฒนาวิทยาการ เคารพเชอื่ ฟงั และมีสมั มาคารวะต่อผใู้ หญ ่ ถ้านักเรยี นสามารถปฏบิ ตั ติ ามขอ้ คิดดังกล่าวได ้ ย่อม อยู่ใน ในประเทศไทยอยางไร สังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ (แนวตอบ ในอดตี วทิ ยาการตา งๆ ใน กลมุ ประเทศตะวนั ตกมคี วามเจรญิ ๗) ให้เห็นความส�าคัญของการเรียนภาษา ต้องรู้ภาษาต่างประเทศอย่างน้อย กา วหนา มาก ตาํ ราความรตู า งๆ จงึ สามภาษา โดยที่ไม่ทอดท้ิงหรือละเลยภาษาไทย พระองค์ทรงตระหนักว่าการรู้ภาษาของตะวันตก เปน ภาษาของประเทศทางตะวนั ตก จะเป็นประโยชน์ คือช่วยในการศึกษาวิทยาการและน�ามาใช้ในการพัฒนาประเทศ แต่พระองค์ทรง การทพี่ ระราชโอรสมคี วามรอบรทู งั้ กา� ชับให้ใชภ้ าษาไทย อยู่เสมอไมล่ มื หรือเห็นความส�าคญั ของภาษาอนื่ มากก ว่าภาษาไทย ดงั ขอ้ ความ ภาษาตะวนั ตกและภาษาไทยอยา ง ดแี ลว เมือ่ เสดจ็ กลบั มาพฒั นาบาน “...ภาษาไทยและหนงั สอื ไทยซง่ึ เปน็ ภาษาของตวั หนงั สอื ของตวั คงจะตอ้ งใชอ้ ยเู่ ปน็ นจิ เมืองก็จะทรงถายทอดความรูท่ี จงเข้าใจว่าภาษาต่างประเทศนั้นเป็นแต่พ้ืนของความรู้ เพราะวิชาความรู้ในหนังสือไทยที่มี พระองคทรงศึกษาแกคนไทยให ผู้แต่งไว้นั้นเป็นแต่ของเก่าๆ มีน้อย เพราะมิได้สมาคมกับชาติอื่นช้านานเหมือนวิชาการใน เขาใจไดโดยงาย ไมเกิดการเขาใจ ประเทศยโุ รปทไี่ ดส้ อบสวนซง่ึ กนั และกนั จนเจรญิ รงุ่ เรอื งมากแลว้ นน้ั ฝา่ ยหนงั สอื ไทยจงึ ไมพ่ อ ผิด รวมท้ังทําใหพระราชโอรสทรง ทจ่ี ะเลา่ เรยี น จงึ ตอ้ งไปเรยี นภาษาอน่ื เพอ่ื จะไดเ้ รยี นวชิ าใหก้ วา้ งขวางออก แลว้ จะเอากลบั ลง ไมล มื ภาษาไทยซงึ่ เปน ภาษาแมข อง มาใช้เป็นภาษาไทยทัง้ สิน้ เพราะฉะนนั้ จะทง้ิ ภาษาของตวั ให้ลืมถอ้ ยคา� ท่ีจะพูดให้สมควรเสีย พระองคดวย) หรือจะลืมวิธีเขียนหนังสือไทยที่ตัวได้ฝึกหัดแล้วเสียน้ันไม่ได้เลย ถ้ารู้แต่ภาษาต่างประเทศ ไม่รูเ้ ขยี นอา่ นแปลลงเป็นภาษาไทยไดก้ ไ็ ม่เป็นประโยชน์อันใด...” จากข้อความจะเห็นได้ว่า พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักถึง ความส�าคัญของการศึกษาภาษาของตะวันตกและภาษาไทย คือรู้ภาษาตะวันตกเพื่อศึกษาศิลปวิทยา มาพัฒนาประเทศ และติดตอ่ กบั ต่างชาติได้ในอนาคต รวมท้ังตอ้ งรูภ้ าษาไทยเพือ่ จะสามารถนา� ความรู้ ท่ีได้ศึกษาจากตะวันตกมาถ่ายทอดให้ข้าราชการไทยได้อย่างเข้าใจตรงกัน เพื่อพัฒนาประเทศจาก วทิ ยาการทพ่ี ระราชโอรสทรงเรียนรู้ 89 คูมอื ครู 89

กระตุนความสนใจ สํารวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Expand Evaluate Engage Explore Explain ขยายความเขา ใจ (ยอ จากฉบบั นักเรียน 20%) ครูแบงกลุมนักเรียนศึกษาและ พระบรมราโชวาท แสดงให้เห็นน้ÓพระราชหฤทัยและพระราชดÓริในพระบาท- สืบคนพระบรมราโชวาทในรัชกาลที่ สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวท่ีมีต่อพระราชโอรสในฐานะพระราชบิดาท่ีทรงเป็นห่วง 9 ที่มีเนื้อหาสอดคลองกับพระบรม- ในอนาคตของพระราชโอรส จึงทรงกÓชับมิให้ประพฤติพระองค์เส่ือมเสีย พระบรม- ราโชวาทในรชั กาลที่ 5 พรอ มวเิ คราะห ราโชวาทน้ีจึงทันสมัยอยู่เสมอ สมควรท่ีผู้อยู่ในวัยศึกษาเล่าเรียนจะน้อมนÓมาปฏิบัติ วา เพราะเหตใุ ดทงั้ สองพระองคจ งึ ทรง และเปน็ ประโยชนต์ อ่ บดิ ามารดาทจ่ี ะนÓไปใชอ้ บรมบตุ รหลานใหเ้ หน็ คณุ คา่ ของการศกึ ษา มีพระบรมราโชวาทสอดคลองกัน การใช้เงินและการรู้จักประพฤติตนให้เหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปลูกฝังแนวคิด ทางการศกึ ษาว่าสÓคญั ท่ีสดุ คือการนÓความร้ทู ่ไี ดม้ าใช้พฒั นาประเทศชาติ (แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย เชน “...การศกึ ษาเปน ปจจัยสาํ คัญในการ บอกเล่าเก้าสบิ สรา งและพัฒนาความรู ความคิด ความประพฤติ และคุณธรรมของ พระเจ้าลูกยาเธอท้งั ๔ พระองค์ บคุ คล สงั คม และบานเมืองใดใหก าร ศึกษาที่ดีแกเยาวชนไดอ ยา งครบถว น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทาน ลวนพอเหมาะกบั ทกุ ๆ ดาน สังคม พระบรมราโชวาทครงั้ น้ีใหแ้ ก่ และบา นเมอื งนัน้ กจ็ ะมพี ลเมอื ง มน่ั คงของประเทศชาตไิ ว และพฒั นา กรมพระจนั ทบรุ นี ฤนาถ ทรงเปน็ ตน้ ราชสกลุ “กติ ยิ ากร” ทรงกลบั มาดา� รงตา� แหนง่ เสนาบดี ใหกาวหนา ไปตลอด...” พระบรม- กระทรวงพระคลงั มหาสมบตั ิ เป็นผูว้ างรากฐานระเบียบงานการคลงั พื้นฐานที่ใชใ้ นปัจจบุ ัน ราโชวาทในรชั กาลท่ี 9 พระราชทาน กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ทรงเป็นต้นราชสกุล “รพีพัฒน์” ทรงกลับมาวางรากฐานด้าน แกครแู ละนกั เรยี นทไี่ ดรับรางวลั กฎหมาย ปรับปรุงกฎหมายไทยให้ทันสมัย ทรงได้รับการยกย่องจากนักกฎหมายให้เป็น พระราชทานวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. พระบิดาแห่งกฎหมายไทย ทรงเคยด�ารงต�าแหน่งเสนาบดีกระทรวงยุติธรรมและเสนาบดี 2528 ตรงกับพระบรมราโชวาทของ กระทรวงเกษตราธิการ รัชกาลที่ 5 เรื่องการศึกษาท้ังสอง กรมหลวงปราจิณกิติบดี ทรงเป็นต้นราชสกุล “ประวิตร” ทรงกลับมาเป็นราชเลขาธิการ พระองคทรงเล็งเห็นความสําคัญของ ในพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยูห่ ัว การศึกษาวา เปนพนื้ ฐานการพฒั นา กรมหลวงนครไชยศรสี รุ เดช ทรงเปน็ ตน้ ราชกลุ “จริ ประวตั ”ิ ทรงกลบั มาวางรากฐานวชิ าทหาร ประเทศ) แบบใหม่ ทรงเคยดา� รงตา� แหน่งผู้บญั ชาการทหารบกและเสนาบดีกระทรวงกลาโหม ตรวจสอบผล 90 1. นักเรยี นสรุปสาระสําคัญใน พระบรมราโชวาท เปนความเรยี ง ดวยสํานวนของนกั เรียน 2. นกั เรียนเปรียบเทยี บเน้ือเรือ่ ง พระบรมราโชวาทในรชั กาลท่ี 5 กับวรรณคดเี รอ่ื งอน่ื 3. นักเรียนยกขอคิดในพระบรม- ราโชวาท 2-3 ขอ ท่ีสามารถนํามา ปรับใชก ับสงั คมยุคปจ จุบันได 4. นกั เรียนตอบคําถามประจําหนว ย การเรยี นรู 90 คมู ือครู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook