Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือนักศึกษา 2563_clone

คู่มือนักศึกษา 2563_clone

Published by sirichaisompang, 2020-07-14 08:34:06

Description: คู่มือนักศึกษา 2563

Search

Read the Text Version

พระราโชวาท สมเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี การตั้งเปาหมาย ใหเหมาะสมกับศักยภาพ คนเราไมควรตัง้ เปาหมายใหส งู เกนิ กวาศกั ยภาพที่มีอยู ตอ เม่อื ใดไดสรางเสรมิ ศักยภาพใหพ ัฒนากาวหนา ขน้ึ แลว จงึ คอ ยตงั้ เปาหมายทส่ี งู ข้ึนเปน ลําดับไป ประการแรก เปา หมายเปน สิ่งทีส่ ามารถปรับใหส ูงข้นึ ไดตามลําดบั ขั้น ประการทส่ี อง ศักยภาพเปน สงิ่ ทีจ่ ําเปนตองไดร บั การพฒั นาใหกา วหนา ยิ่งๆ ขนึ้ ไปโดยไมหยดุ ยง้ั เพือ่ ใหเ ปน พน้ื ฐานและปจ จยั ใหแตล ะคนสามารถตั้งเปา หมายที่สูงขนึ้ ไดต ามลําดบั จงึ ขอใหบ ณั ฑิตพจิ ารณาการตงั้ เปา หมายทั้งในชวี ติ และ ในการงานของตน ใหทราบชัดตามเปนจริง ปรบั เสยี ใหพอดี ขอ สําคัญ จะตอ งหมน่ั สรางเสริมพัฒนาศักยภาพ ของตนใหเพิม่ พนู ข้ึนอยูเสมอ แตล ะคนก็จะมีชวี ติ และกจิ การงานท่ีดีขึน้ เจริญข้ึน อนั เปนผลจากการท่ีไดต ้งั เปา หมาย อยา งถูกตองไว และต้ังใจพัฒนาตนเอง เพื่อใหบรรลุเปา หมายไดจริง ความตอนหนึ่ง จากพระราโชวาทในพธิ ีพระราชทานปริญญาบตั ร แกผูสาํ เรจ็ การศกึ ษาจากมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ประจําปก ารศึกษา ๒๕ ๖๑ เมือ่ วนั ที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕ ๖๒



สารจากอธิการบดี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน ขอแสดงความยินดี และขอต้อนรับนักศึกษาใหม่ ประจ�าปีการศึกษา 2563 “มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน” สถาบันแห่งการเรียนรู้ และการผลิตบัณฑิต นกั ปฏบิ ัติ การเรยี นรทู้ ดี่ ยี อ่ มไมม่ วี นั สน้ิ สดุ เชน่ เดยี วกบั การศกึ ษาทก่ี า� ลงั จะเกดิ ขนึ้ ภายในรวั้ มหาวิทยาลัยแห่งนี้ถือเป็นการศึกษาในระดับที่สูงข้ึนจากความส�าเร็จที่ผ่านมา นักศึกษาจึง ต้องใช้ความเพียร ความพยายามและความใฝ่รู้ใฝ่เรียนเพ่ิมมากข้ึน เพ่ือก้าวให้ทันกับการ เปล่ียนแปลงของโลกในยุคปัจจุบันท่ีเกิดการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว คือผู้เรียนต้องตาม การเปลย่ี นแปลงตา่ งๆ อยา่ งรอบรู้ และเทา่ ทนั พรอ้ มทจ่ี ะเรยี นรสู้ ง่ิ ใหมอ่ ยเู่ สมอ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสรุ ินทร์ เปน็ มหาวทิ ยาลัยท่ีมคี วามโดดเด่นเฉพาะด้าน โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ดา้ นเกษตรกรรม ทง้ั การเกษตรสมยั ใหม่ และการอนรุ กั ษก์ ารเกษตรแบบ ดั้งเดิม อีกท้ังยังมีความโดดเด่นในด้านการจัดการเทคโนโลยี ถือเป็นอัตลักษณ์ที่ส�าคัญยิ่ง จากความรู้และทักษะดังกล่าว ส�าหรับการเรียนรู้ใน มหาวทิ ยาลยั สง่ิ สา� คญั อกี ประการหนง่ึ คอื การเรยี นรแู้ ละ การท�าความเข้าใจกับระบบต่างๆ ให้ชัดเจน “คู่มือ นักศึกษา” เปน็ ส่ิงสา� คัญยิ่งท่ีจะท�าให้นักศกึ ษาใหมท่ ุก คน มคี วามกระจา่ งในระเบยี บ และขน้ั ตอนของทกุ ภาค ส่วนที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ทั้งด้านการเรียนการสอน การด�าเนินชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย หวังเป็นอย่างยิ่งว่า นกั ศกึ ษาทกุ คนจะใชค้ มู่ อื นกั ศกึ ษาเพอ่ื ประโยชนส์ งู สดุ ของ ตนเอง ท้ายนี้ ขออ�านาจคุณพระศรีรัตนตรัย และส่ิงศักด์ิสิทธิ์ท้ังหลาย จงอ�านวยอวยพรให้ นกั ศกึ ษาทกุ คน จงศกึ ษาเลา่ เรยี นและใชช้ วี ติ อยู่ ภายในรั้วมหาวิทยาลัยแห่งน้ี ด้วยความสุข ความเจริญ ประสบความส�าเร็จในการศึกษา เพ่อื ก้าวออกไปเป็นบณั ฑติ ทมี่ ีคณุ ค่าสบื ไป (ผูชว ยศาสตราจารย์ ดร.วิโรจน์ ลิม้ ไขแสง) อธกิ ารบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน

สารจากรองอธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ในนามของคณะผู้บริหาร คณาจารย์ และบุคลากร เจ้าหน้าท่ี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสรุ นิ ทร์ ขอแสดงความยนิ ดแี ละขอตอ้ นรบั นกั ศกึ ษาใหม่ ประจา� ปกี ารศึกษา 2563 ด้วยความยินดยี งิ่ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสรุ ินทร์ เป็นสถาบนั การศกึ ษา ซง่ึ มคี วามพรอ้ มในทกุ ๆ ดา้ นสา� หรบั นกั ศกึ ษา “เปน็ มหาวทิ ยาลยั แหง่ การสรา้ งอาชพี เฉพาะ ทาง ผลติ บณั ฑติ นกั ปฏิบตั ทิ ่มี ีทักษะพรอ้ มปฏบิ ัตงิ าน” โดยมีปรัชญาว่า “คณุ ธรรมนา� หน้า ปัญญา น�าทาง สรรค์สร้างนวัตกรรม”คือ เน้นให้นักศึกษาทุกคนเป็นคนดี มีจิตส�านึกด้าน คุณธรรม จรยิ ธรรม ใฝ่เรยี นรู้ ส่กู ารเปน็ บัณฑติ นักปฏิบตั ทิ มี่ คี วามเชี่ยวชาญ มีความเป็นมือ อาชีพในศาสตร์ของตนเอง มีความสามารถในการปรับตัว เมื่อต้องเผชิญกับปัญหาและ อุปสรรคต่าง ๆ ในชีวิต โดยมีจิตใจท่ีเข้มแข็งและมีความมุ่งมั่นในการพัฒนาตนเอง มหาวทิ ยาลยั มงุ่ เนน้ การผลติ บณั ฑติ นกั ปฏบิ ตั ดิ า้ นวชิ าชพี เชงิ สรา้ งสรรค์ ทม่ี คี วามรทู้ างทฤษฎี และมีความเป็นเลิศด้านทักษะปฏิบัติ รู้จักคิดอย่างมีเหตุผล มีคุณธรรม จริยธรรม ดังนั้น นกั ศกึ ษามัน่ ใจไดว้ า่ การจัดการเรยี นการสอน ตลอดจนกิจกรรมตา่ ง ๆ ทีม่ หาวทิ ยาลัยจดั ขึ้นส�าหรับนักศกึ ษา จะทา� ให้นักศกึ ษาไดพ้ ฒั นาศักยภาพ ของตนเองผา่ นกระบวนการเรยี นรดู้ ว้ ยตวั เอง และการอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ นื่ เพอ่ื ก้าว สู่การเป็นบณั ฑติ ทม่ี ีคณุ ภาพตอ่ ไป การศึกษาในระดับอุดมศึกษาจะแตกต่างจากการศึกษา ในระดบั มธั ยมศกึ ษา นกั ศกึ ษาจะมอี สิ ระมากขนึ้ ตอ้ งเลอื กวชิ าทจ่ี ะ เรยี นเอง และต้องศกึ ษาคน้ ควา้ เพมิ่ เติม นอกเหนือจากการเรยี นรู้ ในหอ้ งเรยี นอยา่ งสมา่� เสมอ นกั ศกึ ษาควรแบง่ เวลา และหาโอกาส รว่ มทา� กจิ กรรมของมหาวทิ ยาลยั ชมรมหรอื ชมุ นมุ ตา่ ง ๆ ดว้ ย เพราะนอกจากจะท�าให้นักศึกษา มีประสบการณ์ในการ ท�างานแล้ว ยังช่วยฝกฝนการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค ตา่ งๆ ซงึ่ จะเปน็ พน้ื ฐานของการทา� งานในอนาคต นอกจากนน้ั ต้องพัฒนาตนเองให้พร้อมรับเทคโนโลยีใหม่ๆ ในโลก ปจั จบุ นั โดยเฉพาะการเขา้ สปู่ ระเทศไทย 4.0 (Thailand 4.0) ยุคทปี่ ระเทศขับเคลอื่ นดว้ ยนวัตกรรม เทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์ โดยเฉพาะการระบาดท่ัวโลก ของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19) ซ่งึ รนุ แรงมาก จนนา� ไปสกู่ ารปรบั ตวั ในรปู แบบใหม่ (New Normal) แนวทางการพฒั นาการเรียนการสอนหลัง โควดิ 19 มหาวิทยาลัยฯ จะด�าเนินการตามมาตรการ

ป้องกันการแพรร่ ะบาดของโควิด 19 มกี ารแจ้งวัตถปุ ระสงค์ก่อนด�ำเนนิ การการเรียนการสอน เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจ ในสถานการณ์ปัจจุบันอาจารย์ผู้สอนมีการก�ำหนดรายวิชาและ แผนการเรียนเพอ่ื ใหส้ อดคล้อง กบั สถานการณป์ จั จุบนั ท้ังน้ี มหาวิทยาลัยฯ จะต้องค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของนักศึกษาอย่างสูงสุดทั้งน้ี นักศึกษาสามารถขอค�ำแนะน�ำจากอาจารย์ท่ีปรึกษา อาจารย์ผู้สอนและจากการเรียนรู้ด้วย ตนเอง จากส่ิงอ�ำนวยความสะดวกต่าง ๆ ท่ีมหาวิทยาลัยจัดให้และยังสามารถแสดงความคิด เห็นต่าง ๆ ผ่านสายตรงรองอธิการบดีประจ�ำวิทยาเขตสุรินทร์หรือตู้รับความคิดเห็น ซ่ึง คณาจารย์ทุกท่านยินดีตอบข้อซักถามดังกล่าว เพื่อช่วยแก้ปัญหาและร่วมกันพัฒนานักศึกษา รว่ มกัน ในนามของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วิทยาเขตสรุ ินทร์ ขอให้นกั ศึกษา ทกุ คนใชส้ ถานศึกษาแห่งนี้ เปน็ ที่เพ่ิมพนู สตปิ ญั ญา ประสบการณ์ชีวติ และเปน็ จดุ เริม่ ตน้ ชีวติ ใหม่ พรอ้ มฝา่ ฟนั อุปสรรค ต่าง ๆ ท่จี ะเกิดข้นึ ดว้ ยความอดทน และมคี วามมานะ บากบ่นั เชอ่ื มั่นว่านกั ศึกษาจะมคี วามสขุ และสนกุ กับการเรียนตลอดระยะเวลา ท่ีศกึ ษาอยู่ในมหาวิทยาลยั แหง่ น้ี และขอใหป้ ฏิบตั ิตนให้เปน็ นกั ศกึ ษาท่ีมี ความสะอาด สภุ าพ สงา่ งาม และใช้ชีวติ อยา่ ง พอเพียง มีความภาคภูมิใจและเริม่ ตน้ ชวี ติ การเป็นนักศึกษาด้วยความมุ่งมั่นตัง้ ใจ เพื่อกา้ วไปสู่ ความสำ� เร็จตอ่ ไป คมู่ อื นกั ศกึ ษาฉบบั นี้ มรี ะเบยี บ ขอ้ บงั คบั และแนวปฏบิ ตั ติ า่ งๆ ทน่ี กั ศกึ ษา ตอ้ งปฏบิ ตั ิ เพือ่ ใหก้ ารศกึ ษาของตนเอง สำ� เรจ็ ตามทตี่ ้ังใจไว้ ให้นกั ศึกษา ไดศ้ ึกษาคู่มอื นกั ศกึ ษาฉบบั นีจ้ น ส�ำเร็จการศึกษา รวมถึงคณาจารย์ และบุคลากร เน่ืองจากระเบียบต่าง ๆ จะใช้กับนักศึกษา เฉพาะปีการศึกษาทเ่ี ขา้ ศกึ ษาเทา่ น้ัน ในโอกาสนี้ ขออาราธนาคณุ พระศรีรตั นตรยั และส่งิ ศกั ด์สิ ิทธ์ิ ในสากลโลก และบารมี ของพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดศี รสี นิ ทร มหาวชริ าลงกรณ พระวชริ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั รัชกาลท่ี 10 และพระบรมวงศานวุ งศ์ทุกพระองค์ โปรดอำ� นวยพรให้นักศึกษาใหมท่ กุ คน จงมี แตค่ วามสขุ ความเจรญิ มกี ำ� ลงั ใจทแี่ ขง็ แกรง่ มสี ตปิ ญั ญาทเ่ี พม่ิ พนู สำ� เรจ็ การศกึ ษา สรา้ งความ ภาคภมู ใิ จให้แกพ่ อ่ แม่ ครู อาจารย์ และตนเอง เป็นบณั ฑิตนักปฏบิ ัติ ท่มี ีความรู้คู่คุณธรรม และ ประสบความสำ� เรจ็ ในอนาคตตามทมี่ ่งุ หวังไวเ้ พอ่ื กา้ วออกไปพัฒนาสังคม และประเทศชาติตอ่ ไป (รองศาสตราจารย์ ดร.สำ� เนาว์ เสาวกูล) รองอธกิ ารบดปี ระจำ� วิทยาเขตสุรินทร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสรุ นิ ทร์

สารจากผู้ชว่ ยอธิการบดี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน วิทยาเขตสุรนิ ทร์ ขอแสดงความยินดแี ละขอต้อนรบั นกั ศกึ ษาใหม่ ประจำ� ปกี ารศึกษา 2563 ทุกคน ด้วยความยินดียิง่ การศกึ ษา ถอื เป็นกา้ วส�ำคัญในการวางรากฐานของชีวติ ขอใหน้ ักศึกษาทกุ คน ใช้เวลาในการเรียนรู้และมีความเพียรพยายามอย่างต่อเน่ือง รู้จักแบ่งเวลาให้เหมาะสม ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนของนักศึกษาเอง โดยหากนักศึกษามีความมุ่งม่ันในการ สั่งสม เสาะแสวงหา พัฒนาความรู้ ท้ังจากการแนะน�ำสั่งสอนจากอาจารย์และจากการ เรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง ก็จะสามารถเกดิ ความเจรญิ งอกงามทางจติ ใจและสตปิ ัญญาได้ และที่ สำ� คญั ควรจะต้องมีความรอบรู้วิชาการ มคี วามเปน็ ผู้นำ� มคี วามรับผิดชอบ มีโลกทศั น์ท่ี กว้างไกล สามารถท�ำงานรว่ มกับผอู้ ื่นได้ ตลอดจนการมจี ิตสาธารณะ ซงึ่ ส่ิงตา่ ง ๆ เหล่า น้ีจะเป็นส่วนส�ำคัญตอ่ การพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาต ิ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสรุ นิ ทร์ มจี ดุ ประสงคแ์ ละ มงุ่ หมายใหน้ กั ศกึ ษาทจ่ี บไปนน้ั เปน็ นกั ปฏบิ ตั ิ ทส่ี ามารถทำ� งานไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และ เป็นบุคลากร ที่มีคุณภาพ เป็นที่ต้องการของเอกชน และยิ่งส�ำคัญมากขึ้น เม่ือความ เปลี่ยนแปลงในสงั คมโลกเป็นไปอย่างรวดเรว็ จึงจ�ำเป็นอยา่ งย่ิงท่ี ตัวเราเองจะต้องเตรียมความพร้อมเพ่ือรองรับความ เปล่ียนแปลงนนั้ ๆ ท้ายน้ี ขอให้นักศึกษาทุกคนต้ังใจศึกษาเล่าเรียน และใหค้ วามสำ� คญั กับการเรียนรู้ ใชเ้ วลาอย่างมีคุณคา่ เพือ่ ให้เป็นบัณฑิตนักปฏิบัติมีทักษะในการด�ำเนินชีวิต จงมุ่งมั่น ศกึ ษาเรยี นรู้ เพอื่ ทุกคนจะไดก้ า้ วไปเปน็ บัณฑติ คุณภาพเปน็ ท่ี ต้องการของตลาดโลก พร้อมสร้างคุณประโยชน์ต่อ มนุษยชาติต่อไป (อาจารยส์ รชยั สขุ พนั ธ์) ผชู้ ่วยอธิการบดีประจ�ำวทิ ยาเขตสรุ ินทร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสุรนิ ทร์

สารจากคณบดีคณะเกษตรศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสรุ ินทร์ ในนาม คณะเกษตรศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ขอแสดงความยินดีและต้อนรับนกั ศกึ ษา ใหม่ ประจา� ปีการศกึ ษา 2563 ทกุ คน และขอแสดงความยนิ ดีอยา่ งยง่ิ กบั กา้ วแรกของการเรยี น รู้ในระดับอุดมศึกษา ท่ีนักศึกษาใหม่ทุกคนก�าลังจะได้รับประสบการณ์ที่ดี ณ สถาบันอันทรง เกยี รตแิ ห่งน้ี นับเป็นโอกาสอันดีที่ทุกคนได้ก้าวเข้าสู่การเรียนในบ้านหลังใหม่ ซึ่งเน้นการผลิต บณั ฑติ ทมี่ ที กั ษะการปฏบิ ตั ิ เพอื่ ใหบ้ ณั ฑติ หรอื นกั ศกึ ษาทจ่ี บออกไป มคี วามพรอ้ มในการทา� งาน ทันที ในสถานการณ์ปัจจุบันท่ีสังคมมีความคาดหวังให้บัณฑิตและผู้จบการศึกษาทุกคน มี คณุ ธรรม นา� หนา้ วชิ าการ มหาวทิ ยาลยั ฯ จา� เปน็ ตอ้ งเพม่ิ กจิ กรรมดา้ นการพฒั นานกั ศกึ ษามาก ขนึ้ โดยมงุ่ หวงั จะพัฒนาใหน้ กั ศกึ ษาเป็นบคุ คลทม่ี คี ุณธรรม จริยธรรม ความเสยี สละ มวี ินัย มี จติ สาธารณะทดี่ ี มีวุฒิภาวะทางอารมณแ์ ละสังคมทีส่ มบรู ณ์ ผมจงึ ขอให้นักศึกษาใหมท่ ุกทา่ น ได้ ตงั้ ใจศกึ ษาเลา่ เรยี นทง้ั ดา้ นวชิ าการ และการเขา้ รว่ มกจิ กรรม เพอื่ ใหน้ กั ศกึ ษามคี วามสมบรู ณ์ พรอ้ มทั้งด้านวชิ าการ อารมณ์ สงั คม ขอใหน้ กั ศกึ ษาทกุ คนใชเ้ วลาในการเรยี นรแู้ ละมคี วามเพยี รพยายามอยา่ ง ต่อเน่ือง รูจ้ กั แบง่ เวลา ให้เหมาะสม ซง่ึ จะเป็นประโยชนต์ ่อการเรียนของนกั ศกึ ษา เอง โดยหากนกั ศึกษามคี วามมงุ่ มนั่ ในการ สงั่ สม เสาะแสวงหา พัฒนา ความรู้ ทง้ั จากการแนะนา� สงั่ สอนจากอาจารยแ์ ละจากการเรยี นรดู้ ว้ ย ตนเอง กจ็ ะสามารถเกดิ ความเจรญิ งอกงามทางจติ ใจและสตปิ ญั ญาได้ และที่ส�าคญั ควรจะต้องมคี วามรอบรวู้ ชิ าการ มคี วามเป็นผ้นู �า มคี วาม รับผิดชอบ มีโลกทศั นท์ ก่ี ว้างไกล สามารถทา� งานรว่ มกับผอู้ ่ืนได้ ตลอด จนการมจี ติ สาธารณะ ซงึ่ สงิ่ ตา่ ง ๆ เหลา่ นจี้ ะเปน็ สว่ นสา� คญั ตอ่ การพฒั นา ตนเอง สังคม และประเทศชาตติ ่อไป สุดท้ายน้ี ขออ�านาจคุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่ง ศกั ด์สิ ทิ ธิ์ทง้ั หลายทีท่ ุกทา่ นเคารพนบั ถือ รวมท้ังบารมขี อง องค์พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวและบรมวงศานุวงศ์ จง คมุ้ ครองภยั และดลบนั ดาลใหท้ กุ ทา่ นมพี ละกา� ลงั ทเี่ ขม้ แขง็ มีกา� ลงั กาย ก�าลังใจทด่ี ี ให้มีสตใิ นการคิด วเิ คราะห์ และ ตดั สนิ ใจในสงิ่ ทด่ี แี ละถกู ตอ้ ง ซงึ่ จะนา� พาความสา� เรจ็ และ ความรุง่ โรจน์มาสู่ทุกทา่ น ทกุ ประการ.... (ผชู ว ยศาสตราจารย์ ดร.วุฒิชยั สทิ ธิวงษ์) คณบดีคณะเกษตรศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสุรนิ ทร์

สารจากคณบดคี ณะเทคโนโลยีการจัดการ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสุรินทร์ ยนิ ดีตอ้ นรบั นักศกึ ษาใหม่ ประจ�าปีการศกึ ษา 2563 สมู่ หาวิทยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสรุ นิ ทร์ สถาบนั อดุ มศกึ ษาของทอ้ งถน่ิ ทม่ี มี าตรฐานระดบั สากล ท่ีพร้อมต่อการผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติท่ีมีคุณธรรม น�าวิชาการ บูรณาการเทคโนโลยีและ นวัตกรรมสู่สงั คมอย่างย่ังยืน เพ่ือให้ วา่ ทบ่ี ัณฑิตทุกคนมีความรู้ ความสามารถ มคี วาม เช่ียวชาญในวิชาชีพ มีทักษะเฉพาะด้านที่ทันสมัย (Up skill & Re skill) และมี ประสบการณ์ท่ีพร้อมต่อการท�างานในยุคความปกติรูปแบบใหม่ (New Normal) ตาม ความตอ้ งการของสถานประกอบการและตลาดแรงงาน แมใ้ นปนี จ้ี ะเปน็ ปที ท่ี ว่ั โลกประสบ ภัยจากการแพร่ระบาดของเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019 ท�าให้บริบททุกด้านของโลกเกิด การเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะดา้ นเศรษฐกจิ และสังคม แต่ทางคณะเทคโนโลยีการจดั การ และมหาวิทยาลัย ก็ได้มีการเตรียมความพร้อมต่อการอ�านวยความสะดวกและบริการ ทางการศึกษา เช่น ด้านคณาจารย์ผู้สอน บุคลกรสายสนับสนุน ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อาคารสถานที่ ส่ือเทคโนโลยี รวมถึง กระบวนการเรยี นการสอนทง้ั แบบออนไลนแ์ ละแบบเปน็ กลมุ่ ขนาด เล็ก ฯลฯ และที่ส�าคัญคือการตระหนักถึงแนวทางการป้องกันการ ตดิ เชอ้ื และการแพรร่ ะบาดเพอื่ สรา้ งความปลอดภยั ในการใชช้ วี ติ ของ นักศึกษาทุกคนท่ีมาเรียน ณ มหาวิทยาลัยแห่งน้ี เพ่ือให้ผู้ ปกครองและนกั ศกึ ษา มคี วามมน่ั ใจ อบอนุ่ ใจ ตอ่ ระบบการ จัดการเรียนการสอนและแนวทางในการดูแลช่วยเหลือ นักศึกษาใหม้ ากท่สี ุดในยคุ แหง่ การสู้ สูค่ วามสา� เร็จและ ความเจรญิ กา้ วหนา้ ของประเทศชาตไิ ปดว้ ยกนั (ดร.ศวิ ธิดา ภมู วิ รมุน)ี รักษาราชการแทนคณบดคี ณะเทคโนโลยกี ารจดั การ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสรุ นิ ทร์

คาํ นาํ คู่มือนักศึกษาเล่มนี้ จัดท�าขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ให้นักศึกษาของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสุรนิ ทร์ ได้ใช้เป็นคูม่ อื ในการศึกษา ทา� ความเขา้ ใจ และ ถอื ปฏบิ ตั ิ ตลอดระยะเวลาของการเปน็ นกั ศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสรุ นิ ทร์ คู่มอื นกั ศึกษา ประกอบดว้ ยขอ้ มูล 4 ส่วน คอื สว่ นท่ี 1 ข้อมลู ทั่วไปของ มหาวทิ ยาลยั สว่ นท่ี 2 ข้อบงั คบั ระเบียบ ประกาศ ส่วนที่ 3 การใหบ้ ริการแกน่ ักศกึ ษา สว่ นท่ี 4 โครงสร้างหลกั สูตรและแผนการเรียน นักศึกษาทุกคนควรศึกษาคู่มือนักศึกษา ท้ังระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง และระดับปริญญาตรี และท�าความเข้าใจเก่ียวกับข้อบังคับ ระเบียบ และประกาศนียบัตร ของมหาวิทยาลยั ฯ เพือ่ นกั ศกึ ษาจะไดป้ ฏิบัติตนไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง และเปน็ ประโยชนส์ า� หรับ นักศึกษา ควบคู่ไปกับการติดตามข่าวสารของมหาวิทยาลัยฯ โดยสื่อต่างๆ หากยังสงสัย ประการใดในระหว่างการศึกษา ขอให้ติดต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพ่ือแก้ไขปัญหา ด้านการ จดั การเรยี นการสอน และดา้ นวชิ าการ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสรุ นิ ทร์ หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ คมู่ อื นกั ศกึ ษาเล่มนี้จะเป็นประโยชนแ์ กน่ กั ศกึ ษา และผู้สนใจโดยท่ัวไป 10 คมู อื นกั ศึกษา 2563 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสุรนิ ทร

สารบญั ส่วนท่ี 1 : ขอ้ มลู ทวั่ ไปของมหาวิทยาลัย 15 - ประวตั ิความเป็นมาของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ - ปณธิ าน วิสยั ทศั น์ พนั ธกจิ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ และเป้าประสงค์ 17 - คุณลกั ษณะบณั ฑิตที่พึงประสงค์ (Graduates Desired) ตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดับอดุ มศกึ ษา 18 อัตลกั ษณบ์ ัณฑติ ค่านยิ ม (Value) พนั ธกิจ (Mission) - ประเด็นยทุ ธศาสตร์ และเป้าประสงค์ 19 - สัญลกั ษณ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน 21 - ตน้ ไมป้ ระจา� มหาวทิ ยาลัย ดอกไมป้ ระจา� วทิ ยาเขตสรุ นิ ทร์ 22 - ท�าเนยี บผู้บรหิ าร 23 - รายชอ่ื อาจารยป์ ระจา� สาขา คณะเกษตรศาสตร์และ เทคโนโลยี 26 - รายชือ่ อาจารย์ประจา� สาขา คณะเทคโนโลยีการจัดการ 33 - ปฏทิ นิ การศกึ ษา ประจา� ปกี ารศึกษา 2563 36 สว่ นท่ี 2 ขอ้ บงั คับ ระเบียบ ประกาศ ขอ้ บงั คับมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน 40 - วา่ ด้วยเครอื่ งแบบ เครอ่ื งหมาย และเคร่อื งแต่งกายนักศกึ ษา พ.ศ. 2549 45 - วา่ ด้วยการศกึ ษาระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชั้นสงู พ.ศ. 2559 65 - ว่าดว้ ยการศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2559 87 - วา่ ดว้ ยการศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2562 124 - วา่ ด้วยการควบคุมความประพฤตขิ องนักศกึ ษา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน พ.ศ. 2549 ประกาศมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน 129 - เรอื่ ง อตั ราคา่ บ�ารงุ การศึกษา ค่าลงทะเบียน และค่าธรรมเนียมการศกึ ษา 132 ในการจดั การศึกษาระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชีพช้นั สูง พ.ศ. 2554 136 - เรอ่ื ง อัตราค่าบ�ารุงการศึกษา ค่าลงทะเบียน และค่าธรรมเนยี มการศึกษา ในการจัดการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2561 - เรอ่ื ง อตั ราคา่ ธรรมเนียมการศึกษา และคา่ ธรรมเนยี มอน่ื ในการจดั การศกึ ษาระดับบัณฑิตศกึ ษา ระเบยี บมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน 141 ว่าดว้ ยการเทียบโอนผลการเรียน พ.ศ. 2562 150 - เรือ่ ง การย้ายสาขาวชิ าไปต่างคณะ ระดบั ปริญญาตรี 152 - เรื่อง กา� หนดใหน้ กั ศึกษาช้นั ปีท่ี 1 เขา้ พกั ในหอพักมหาวิทยาลยั 153 - เรอื่ ง การเขา้ ร่วมกจิ กรรมพัฒนานักศกึ ษาของนกั ศกึ ษา ตามข้อบังคบั มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ว่าด้วย การศกึ ษาระดับประกาศนียบตั รวิชาชพี ช้ันสงู พุทธศักราช 2553 และตามขอ้ บงั คบั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน ว่าด้วย การศึกษาระดับปรญิ ญาตรี พุทธศกั ราช 2553 11คมู อื นักศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน วิทยาเขตสรุ ินทร

- เรื่อง กา� หนดใหน้ กั ศึกษาเขา้ รว่ มกิจกรรมพฒั นานักศึกษา 156 ตามขอ้ บงั คบั มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน ว่าด้วย การศกึ ษาระดับประกาศนียบตั รวิชาชพี ช้นั สงู (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2553 - เรื่อง แนวทางการจดั การเรยี นการสอน ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาด 1 157 ของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา (covid-19) - เร่ือง แนวทางการจัดการเรยี นการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาด 159 ของเชอ้ื ไวรัสโคโรนา (covid-19) (ฉบบั ท่ี ๒) : หยดุ การดา� เนนิ การด้านการเรยี นการสอนทุกรูปแบบ ยกเวน้ การสอนแบบออนไลน์ (online) - เรอ่ื ง แนวทางการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาด 161 ของเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (ฉบับท่ี 3) : แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online) และการประเมินผล - เร่อื ง แนวทางการจัดการเรยี นการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาด 165 ของเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) (ฉบบั ท่ี 4 ) : แนวทางการจัดการเรียนการสอน ภาคการศึกษาท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 - เร่ือง มาตรการให้ความช่วยเหลือนกั ศึกษาทไ่ี ดร้ ับผลกระทบการแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรัส 168 โคโรนา 2019 (COVID-19) - เรอ่ื ง โครงสรา้ งกิจกรรมพฒั นานกั ศึกษา 170 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสรุ ินทร์ สว่ นที่ 3 การให้บริการแกน่ กั ศกึ ษา การใหบ้ รกิ ารแก่นกั ศกึ ษา - การสมคั รเข้าใชง้ านระบบ ESS 181 - การลงทะเบียนเรยี น 182 - การเพ่มิ ถอนรายวิชา 187 - การตรวจสอบค่าใชจ้ า่ ย/การสรา้ งใบแจ้งช�าระเงิน 189 - การสมัครสมาชกิ ระบบจัดการขอ้ มูลและบริการอินเตอรเ์ น็ต 190 ส่วนที่ 4 โครงสร้างหลกั สูตรและแผนการเรยี น โครงสรา้ งหลกั สตู รและแผนการเรยี น คณะเกษตรศาสตรและเทคโนโลยี - ระดับ ปวส. 199 - ระดับ ปรญิ ญาตรี 273 - ระดับ บัณฑติ 407 คณะเทคโนโลยีการจัดการ 426 - ระดบั ปวส. 455 - ระดบั ปรญิ ญาตรี 538 - ระดับบณั ฑิต 12 คมู ือนักศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วิทยาเขตสรุ นิ ทร

ส่วนท่ี 1 ข้อมูลทั่วไปของมหาวทิ ยาลยั 13คมู อื นักศึกษา 2563 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสุรินทร

14 คูมือนักศึกษา 2563 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วิทยาเขตสุรินทร

ประวัติความเปน มาของ มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน ว�ทยาเขตสรุ �นทร์ Rajamangala University of Technology Isan Surin Campus พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระราชปฏิสันถาร กับ อาจารย์ ธรรมนญู สงิ คเสลิต ณ พลับพลาท่ีประทบั ใน “เกาะเสด็จประพาส” โรงเรยี นเกษตรกรรมสรุ นิ ทร์ ในคราวเสด็จพระราชด�าเนนิ เยี่ยมพสกนิกรชาวจงั หวัดสุรนิ ทร์ ๑๙ พฤศจกิ ายน ๒๔๙๘ พ.ศ. 2470 เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี ไดก้ า� หนดใหม้ ณฑล และจงั หวดั จดั ตั้งโรงเรยี นประถมกสิกรรมขึน้ เพอ่ื เปด สอนวิชาชีพทางเกษตร ในสมยั น้ัน พระยาสรุ ิยราชวราภัย (ศริ ิ วิเศษโกสิน) ข้าหลวงประจา� จังหวัดสุรินทร์ และขุนพิสุทธิวรวาท ธรรมการจังหวัดสุรินทร์จึงได้ก�าหนดให้มีการจัดต้ังโรงเรียน “ศรีสรุ นิ ทรก์ สิกรรม” ทบี่ ริเวณทุ่งนาดา้ นทศิ ตะวันออกของก�าแพงเมอื งชนั้ นอกของเมืองสรุ ินทร์ท่ี เรียกวา่ ทงุ่ ยาว (เวยี ลเวง) รวมพื้นท่ีประมาณ 300 ไร่ ซงึ่ ปัจจบุ ันเป็นทต่ี ้งั ของโรงเรียนสุรวทิ ยาคาร โรงเรยี นสริ นิ ธร โรงเรยี นอนบุ าลสรุ นิ ทร์ โรงเรยี นเมอื งสรุ นิ ทร์ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาสรุ นิ ทร์ วทิ ยาลยั เทคนิคสุรินทร์ และโรงพยาบาลสุรินทร์ โรงเรียนศรีสุรินทร์กสิกรรมเป็นโรงเรียนประเภทประถม วสิ ามญั กสกิ รรม สงั กัดกรมวสิ ามญั เปดสอน ทงั้ ระดับประถมสามญั ทงั้ ระดับประถมสามัญ คืออยู่ ในเกณฑบ์ งั คบั เรียน (ประถม 1-3) และประถมวสิ ามัญ (4-6) รวมเรียกว่า ประถมบรบิ รู ณ์ โดยมคี รู ประจา� การและ ครใู หญ่คนแรก เมือ่ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2472 ชอ่ื นายมน่ั เพชรศรีสม และได้เปด รับนกั เรียนเมื่อ 13 มถิ ุนายน พ.ศ. 2473 พ.ศ. 2481 วนั ท่ี 1 พฤษภาคม พ.ศ.2481 ไดแ้ ยกนักเรยี นชั้นประถมวิสามญั กสกิ รรมมาอยู่ทีบ่ ริเวณริมฝัง หว้ ยเสนงฝงั ขวา ดา้ นทศิ ตะวนั ตกของถนนสายสรุ นิ ทร-์ ชอ่ งจอม และไดโ้ อนมาสงั กดั กรมอาชวี ศกึ ษา เปลยี่ นชื่อเป็น “โรงเรยี นเกษตรกรรมสรุ ินทร์” มีครูใหญค่ นแรกช่ือ นายธรรมนูญ สงิ คเสลิต 15คูม ือนักศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วิทยาเขตสุรินทร

พ.ศ. 2483 เกดิ กรณพี พิ าทกบั อนิ โดจนี ฝรงั่ เศส กระทรวงกลาโหมตอ้ งการทด่ี นิ บรเิ วณที่ ต้งั โรงเรียนเป็น ทีต่ ง้ั คา่ ยทหาร จงึ ตกลง ขอต่อกระทรวงศึกษาธิการ ขอให้ย้าย โรงเรียนมาอยู่ที่ฝังตะวันออกของถนน คือ ที่ตั้งปัจจุบัน ในปีเดียวกันน่ันเองได้ เร่ิมบุกเบิกพ้ืนท่ีเป็นเวลา 2 ปี ได้พ้ืนท่ี ท้ังหมด 1,500 ไร่ พ.ศ. 2485 ไดย้ ้ายโรงเรยี นมาอยทู่ ต่ี ง้ั ปัจจุบนั เร่มิ ต้นดว้ ยการมีครู 4 คน นักเรยี น 30 คน และคนงาน 2 คน พ.ศ. 2498 พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช เสดจ็ พระราชดา� เนนิ เยยี่ มโรงเรยี นเกษตรกรรม สรุ นิ ทร์ โรงเรยี นใชบ้ รเิ วณลา� โกดกงเปน็ สถานทีร่ บั เสดจ็ ซึ่งอยทู่ างด้านทศิ ใตข้ องโรงเรยี น โดยจัด สรา้ งศาลาทปี่ ระทบั แบบจตรุ มขุ ทรงโปรง่ ทง้ั 4 ดา้ น และตกแตง่ บรเิ วณโดยรอบใหส้ วยงามดว้ ยพนั ธ์ุ ไมต้ ่างๆ ซง่ึ ต่อมาขนานนามสถานที่แหง่ นี้ว่า “เกาะเสด็จประพาส” พ.ศ. 2508 ไดร้ บั การยกฐานะเปน็ วทิ ยาลยั เกษตรกรรม จนกระทงั่ ปี พ.ศ. 2518 วทิ ยาลยั เกษตรกรรมสรุ นิ ทร์ รวมทงั้ กลุ่มวิทยาลัยเกษตรกรรมและวิทยาลัยอืน่ ๆ หลายแห่งในสังกดั กรมอาชีวศกึ ษาไดร้ วมกันเขา้ เป็นวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา สังกัดกรมวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา กระทรวง ศกึ ษาธกิ าร และไดเ้ ปล่ียนช่อื เปน็ “วิทยาลยั เทคโนโลยีและอาชีวศึกษา วทิ ยาเขตเกษตรสรุ นิ ทร”์ พ.ศ. 2531 พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ไดม้ พี ระ มหากรณุ าธคิ ณุ โปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ ม พระราชทานนาม ใหม่เป็น “สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล” และวิทยาลัย เทคโนโลยแี ละอาชวี ศกึ ษา วทิ ยาเขตเกษตรสรุ นิ ทรก์ ไ็ ดเ้ ปลย่ี น ช่ือเป็น “สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตสุรินทร์” ต้ังแตบ่ ัดน้นั พ.ศ. 2548 ได้ยกฐานะเปน็ “มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสรุ นิ ทร์” ตามประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวนั ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 โดยแบง่ การบรหิ ารงานออกเปน็ 3 สว่ น คือ 1. สา� นกั งานวิทยาเขตสรุ นิ ทร์ 3. คณะเทคโนโลยกี ารจัดการ 2. คณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ตัง้ ระหวา่ ง กิโลเมตรท่ี 2/400-3/200 ดา้ นทศิ ตะวนั ออกของถนนสายสุรินทร-์ ชอ่ งจอม ในเขตพนื้ ท่ีต�าบลนอกเมือง อ�าเภอเมือง จังหวัดสรุ ินทร์ 16 คูม อื นักศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน วิทยาเขตสุรนิ ทร

ปณิธาน ว�สยั ทัศน พันธกิจ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร และเปาประสงค มหาว�ทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ว�ทยาเขตสรุ �นทร อัตลักษณบ์ ณั ฑิตมหาวท� ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน “บณั ฑิตนักปฏบิ ัติทมี่ ีความรบั ผิดชอบ” เอกลกั ษณม์ หาว�ทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน “มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งการสร้างอาชีพเฉพาะทาง” ปณธิ าน (Determination) สร้างคนสู่งาน เชีย่ วชาญเทคโนโลยี ว�สยั ทัศน์ ว�ทยาเขตสุรน� ทร์ (Vision) “มหาวิทยาลยั ท่ีผลติ นักปฏบิ ัตดิ ้านวิชาชพี และสร้างนวัตกรรมสูค่ วามเปนเลศิ ” คุณลกั ษณะของนักศกึ ษามหาว�ทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอสี าน (Student Characteristics) Technology Literacy = มีความรูท้ างเทคโนโลยี Effective Communication = มีทกั ษะการติดตอ่ สือ่ สาร Collaboration = มีความรว่ มมอื กบั สว่ นรวม Ethics and Morality = มีคณุ ธรรม และ จริยธรรม Corporate Social Responsibility = มคี วามรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม Professional skill = มที กั ษะวชิ าชีพ 17คมู ือนักศึกษา 2563 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสุรนิ ทร

คณุ ลักษณะบณั ฑิตท่พี ึงประสงค์ (Graduates Desired) ตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิระดับอุดมศกึ ษา 1. มีวินยั ซอื่ สตั ย์ และรับผิดชอบตอ่ ตนเอง ครอบครัว วิชาชพี สงั คม และประเทศชาติ 2. มีความรู้และประสบการณ์การเรียนรใู้ นสาขาวชิ าท่ศี กึ ษา สามารถปฏบิ ัติงานในสาขาวิชาชีพ ในสถานการณต์ า่ ง ๆ ได้ 3. มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ และริเร่มิ สร้างสรรค์ โดยใชค้ วามรูแ้ ละประสบการณ์ ของตนในการแก้ไขปัญหาการทา� งานได้ 4. มคี วามสามารถในการปรบั ตวั การทา� งานเปน็ ทีม มภี าวะผู้น�า มกี ารวางแผนการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง 5. มีความสามารถในการใช้ภาษาและทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข ตลอดจนสามารถใช้เทคโนโลยี คอมพวิ เตอร์และสารสนเทศในการสอ่ื สาร เพ่ือการศกึ ษาและการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้ อตั ลักษณ์บณั ฑิต - มีความรู้ ทกั ษะ และประสบการณ์ พร้อมปฏบิ ตั งิ านวชิ าชีพ - สามารถพฒั นางานและแก้ปญั หางานเพ่อื บรรลุเปา้ หมายได้ คา่ นิยม (Value) “SAREN” สะเร็น แปลว่า สรุ �นทร์ S = Smart = ภาพรวมที่สวยงาม A = Active = ร่วมแรงรว่ มใจพรอ้ มใหบ้ รกิ าร R = Reputation = ความมชี ื่อเสยี งในการผลติ นกั ปฏิบตั ิ E = Excellence = มุ่งสู่ความเป็นเลิศ N = Network = การสร้างเครือข่ายความรว่ มมือ พนั ธกจิ (Mission) จัดการศึกษาเพอื่ ผลิตบณั ฑิตนักปฏบิ ัตทิ ่มี คี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ สอดคล้อง กับ ความต้องการของผูร้ บั บรกิ าร สร้างงานวิจัย สง่ิ ประดิษฐแ์ ละนวตั กรรมสคู่ วามเปน็ เลศิ บรกิ ารวชิ าการ ถา่ ยทอดเทคโนโลยแี ละการใช้นวตั กรรมส่สู งั คม เพื่อการพฒั นาอย่างยงั่ ยืน ทา� นบุ า� รงุ ศาสนา อนรุ กั ษ์ศิลปวัฒนธรรม และรักษาสง่ิ แวดล้อม สนองโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดา� ริฯ 18 คมู อื นักศึกษา 2563 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรนิ ทร

ประเด็นยุทธศาสตร์ และเปาประสงค์ ประเดน็ ยุทธศาสตร ที่ 1 : ผลิตและพฒั นาบัณฑิตนกั ปฏบิ ัตทิ ่สี อดคล้องกบั ยุทธศาสตรช าติ เปาประสงค 1.1 คุณลักษณะบณั ฑติ ของมหาวทิ ยาลยั ทส่ี ามารถตอบสนอง 10 อตุ สาหกรรมเป้า หมายของประเทศ เปา ประสงค 1.2 นวตั กรรมการศึกษาท่สี รา้ งบณั ฑิตตามคณุ ลกั ษณะบัณฑิตของมหาวทิ ยาลัย เปาประสงค 1.3 ระบบกลไก และกระบวนการทสี่ ง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การสรา้ งนวตั กรรมการศกึ ษา เปา ประสงค 1.4 ทรพั ยากรทสี่ นบั สนนุ การสรา้ งบณั ฑติ นกั ปฏบิ ตั ิ และสนบั สนนุ การสรา้ งนวตั กรรม การศกึ ษา ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท่ี 2 : สร้างความเข้มแข็งของงานวจิ ยั พัฒนา และการต่อยอดสู่นวัตกรรมอย่างมีประสิทธิภาพ เปา ประสงค 2.1 งานวจิ ยั งานสรา้ งสรรค์ นวตั กรรม ทม่ี คี ณุ ภาพ มกี ารขยายตวั อยา่ งตอ่ เนอื่ ง และ ไดร้ บั การยอมรับในระดบั นานาชาติ เปา ประสงค 2.2 งานวิจยั งานสรา้ งสรรค์ นวัตกรรม มศี ักยภาพสามารถตอบโจทย์การพัฒนา 10 อตุ สาหกรรม เปา้ หมายของไทย เปา ประสงค 2.3 ระบบ กลไก และ กระบวนการ ทส่ี ่งเสรมิ และสนบั สนนุ งานวจิ ัย งานสรา้ งสรรค์ นวัตกรรม เปา ประสงค 2.4 ทรัพยากรที่สนับสนุนการสร้างสรรค์งานวิจัย งานสร้างสรรค์ นวัตกรรม และ พัฒนาวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม ประเดน็ ยุทธศาสตร ท่ี 3 : เสริมสร้างชุมชนนวัตกรรม (Communities of Innovation) เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและ รายไดข้ องชมุ ชนในพ้ืนที่ เปาประสงค 3.1 ชุมชนต้นแบบในด้านการสร้างหรือการใช้นวัตกรรม/บริการวิชาการด้วย วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน และสงั คมอยา่ งย่งั ยืน เปาประสงค 3.2 ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการบริการวิชาการและการถ่ายทอดนวัตกรรม ของมหาวทิ ยาลยั เปาประสงค 3.3 ระบบ กลไก และ กระบวนการ ทส่ี ง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การนา� นวตั กรรมสชู่ มุ ชน สงั คม นานาชาติ เปาประสงค 3.4 บคุ ลากรสามารถถา่ ยทอดองค์ความรู้และนวตั กรรม ส่ชู ุมชน สงั คม นานาชาติ 19คูม อื นักศึกษา 2563 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร

ประเดน็ ยุทธศาสตรที่ 4 : ปฏริ ปู ระบบบรหิ ารจัดการมหาวิทยาลัยไปสคู่ วามเปนเลศิ ในยุคดิจทิ ลั เปา ประสงค 4.1 การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาเพอื่ การดา� เนนิ การทเ่ี ปน็ เลศิ /การบรหิ ารจดั การงบ ประมาณและทรัพย์สินให้เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ เปาประสงค 4.2 ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความเช่ือม่ันและความพึงพอใจต่อระบบ คุณภาพการบรหิ ารจดั การของมหาวทิ ยาลยั เปาประสงค 4.3 ระบบกลไก และกระบวนการ ที่ส่งเสริม และสนับสนุนการปฏิรูปการบริหาร จดั การเพือ่ ขับเคลอื่ นยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย เปาประสงค 4.4 ทรัพยากรมนุษย์และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศได้รับการพัฒนาเพ่ือปฏิรูป องค์กรสยู่ ุคดิจิทัล และขบั เคลื่อนคลสั เตอรข์ องมหาวิทยาลยั 20 คมู ือนกั ศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วิทยาเขตสรุ นิ ทร

สญั ลกั ษณม หาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน ตราสญั ลกั ษณม์ หาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ภายในวงกลมเปนรูปดอกบัวบาน 8 กลีบ ล้อมรอบ ดอกบัว บาน 8 กลบี หมายถึง ทางแหง่ ความส�าเรจ็ มรรค 8 และความสดช่ืนเบิกบานก่อให้ เกดิ ปญ ญาแผข่ จรไปทวั่ สารทศิ ภายใตด้ อกบวั เปน ดวงตรา พระราชลญั จกรบรรจอุ ยู่ หมายถงึ สญั ลกั ษณ์ และเครอื่ งหมายประจา� องคพ์ ระมหากษตั รยิ ข์ องรชั กาลที่ 9 ซงึ่ พระองค์เปนผู้พระราชทานนามว่า “มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล” บนตรารปู วงกลมมีพระมหาพิชัยมงกุฎครอบ มีเลข ๙ อย่หู มายถึง รัชกาลที่ 9 ด้านล่างของตราวงกลมท�าพับกรอบโค้งรอบรับ ช่ือ “มหาวิทยาลัย เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน” คน่ั ปด หวั ทา้ ยของกรอบดว้ ยลวดลายดอกไม้ พมิ พป์ ระจา� ยามทงั้ สองข้าง หมายถงึ ความเจรญิ รงุ่ เรอื ง แจ่มใจ เบกิ บาน มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล หมายถงึ มหาวิทยาลยั แห่งพระราชา ต้นไมป้ ระจ�ามหาวิทยาลยั คือ ต้นแคแสด เปน ตน้ ไม้ท่ีมีดอกสีแสดขน้ึ ง่าย โตเรว็ เจริญเติบโตได้ ทุกพื้นที่ ทุกภาค สัญลักษณ์ดอกไมราชมงคลอสี าน (แคแสด) - ออกแบบเปนรูปแคแสดผสมผสานกับรูปตัวอักษร U (university) และ เสน้ สายจากแคน - ดอกแคแสดเปนดอกไม้ประจ�ามหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน - ดอกแคแสดมีกลบี ดอก 5 กลีบ อนั หมายถึง 5 วิทยาเขตทีร่ วมสามคั คีเปน หนึ่งเดยี ว - ตวั อกั ษร U ซ่ึงย่อมาจาก University น้นั ประกอบขน้ึ จากเสน้ สายทง้ั 5 เสน้ ซ่งึ ได้มาจากลกั ษณะของแคนทป่ี ระกอบดว้ ย 5 ลา� เพอื่ สอ่ื ความเปน มหาวทิ ยาลยั แหง่ อสี านและเสน้ เหลา่ นม้ี ที ศิ พงุ่ ขน้ึ ไปในทศิ เดยี วกนั เปรยี บ เสมือนการก้าวไปพร้อมๆ กันท้ัง 5 วิทยาลัย เพื่อน�าพามหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลอสี าน สคู่ วามส�าเร็จรว่ มกนั ทางการศึกษา สีประจ�ามหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอสี าน คอื สีแสด Code CMYK : C = 0, M = 74, Y = 100, K = 0 RGB : R = 254, G = 103, B = 0 สปี ระจา� วิทยาเขตสรุ ินทร์ คือ สีขาว 21คมู อื นักศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสรุ นิ ทร

ตน ไมป ระจา� มหาวทิ ยาลยั ตน้ ไมป้ ระจ�ามหาวิทยาลยั คือ ต้นแคแสด เปน ตน้ ไม้ท่ีมีดอกสแี สด ขน้ึ งา่ ย โตเรว็ เจรญิ เติบโตทุกพื้นท่ี ทกุ ภาค ดอกไมป ระจ�า วิทยาเขตสรุ ินทร์ ชัยพฤกษ์ เปน ไมม้ งคล ตามชอ่ื หมายถงึ ต้นไม้แห่งชยั ชนะ ใบใช้ ประดษิ ฐเ์ ปน พวงมาลยั สวมศรี ษะเพอ่ื เปน เกยี รตยิ ศยง่ิ ใหญ่ แกก่ วแี ละนกั ดนตรี ในสมัยโบราณ ส�าหรับของไทย ช่อชัยพฤกษ์ประดับเปนมงคลหลายที่ เช่น บนอินทรธนูข้าราชการ และประดับประกอบดาวบนอินทรธนูและหมวกของ ทหารและต�ารวจ 22 คมู อื นักศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอสี าน วิทยาเขตสุรินทร

ทาํ เนยี บผูบร�หาร อธิการบดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิโรจน์ ลม้ิ ไขแสง รองอธกิ ารบดปี ระจาํ วิทยาเขตสุรินทร รองศาสตราจารย์ ดร.สาํ เนาว์ เสาวกูล ผูชว ยอธิการบดีประจาํ วิทยาเขตสรุ ินทร อาจารยส์ รชัย สุขพนั ธ์ คณบดีคณะเกษตรศาสตรและเทคโนโลยี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วฒุ ชิ ยั สิทธวิ งษ์ รักษาราชการแทน คณบดคี ณะเทคโนโลยีการจัดการ ดร.ศิวธดิ า ภูมวิ รมุนี 23คมู อื นกั ศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสรุ ินทร

คณะเกษตรศาสตรและเทคโนโลยี ผูชว ยศาสตราจารย์ ดร.วฒุ ชิ ัย สิทธิวงษ์ คณบดีคณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี อาจารยท์ รงยศ กิตตชิ นม์ธวชั อาจารย์ ดร.พงศภ์ ทั ร เกียรติประเสรฐิ รองคณบดีฝายบรหิ าร รองคณบดีฝา ยวชิ าการและวจิ ัย อาจารย์อธปิ ต ย์ ฤทธริ ณ นางสาวภัทรพิชชา พวงสด รองคณบดฝี า ยพฒั นานักศึกษา หวั หน้าสา� นกั งานคณบดี 24 คูมือนกั ศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วิทยาเขตสรุ ินทร

หัวหนา สาขา อาจารย์เกียรติภมู ิ ดวงศรี ผศ.พีรกรู อนุชานรุ ักษ์ หวั หน้าสาขาพชื ศาสตร์ ส่ิงทอ และการออกแบบ หัวหนา้ สาขาสตั วศาสตร์ รศ.ดร.กฤตมิ า เสาวกูล ผศ.ดร.วิไลพร อนิ สุวรรณ หวั หน้าสาขาประมง หวั หนา้ สาขาวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ ผศ.ทนนท์ รัตนรวมการ อาจารย์ ดร.นจุ รี สอนสะอาด หวั หนา้ สาขาเครอื่ งจักรกลเกษตร หวั หนา้ สาขาอตุ สาหกรรมเกษตร อาจารย์ปย ะวฒั น์ ศรีธรรม อาจารย์ปรชั ญา บ�ารุงกลุ หัวหน้าสาขาวศิ วกรรมเคร่อื งกล หวั หนา้ สาขาเทคโนโลยีไฟฟา อาจารย์ ดร.ศักดิ์ชาญ เหลืองมณีโรจน์ หัวหนา้ สาขาเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ 25คูม ือนักศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสรุ ินทร

รายช�อ่ อาจารยประจําสาขา คณะเกษตรศาสตรแ ละเทคโนโลยี สาขาพชื ศาสตร สง่ิ ทอและการออกแบบ ชอื่ - สกลุ เบอรโทรศพั ท ID Line 082-8553714 อาจารยเ์ กยี รติภมู ิ ดวงศรี 082-8553714 089-4243031 080-4829056 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์วิระ ศรีธัญรตั น์ 089-4243031 081-0627359 094-2919826 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชแู สง แพงวังทอง 080-4829056 089-1916679 061-9428819 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยภ์ วู พิ ฒั น์ เกยี รตส์ิ าคเรศ 081-0627359 089-6268854 081-5992679 อาจารยส์ ุริยา ทองคุณ 094-2919826 089-6289879 085-4943922 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สริ นิ าถ สวุ นิ ทรากร 089-1916679 093-4595664 087-7707219 ผู้ชว่ ยศาสตราจารยเ์ ดชชาติ นยิ มตรง 061-9428819 083-1415981 095-7965496 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์สมชญา ศรธี รรม 089-6268854 096-5951426 094-4356614 อาจารยว์ สา วงศ์สุขแสวง 081-5992679 063-7627628 086-6524109 อาจารย์ธรา ราษีนวล 089-6289879 085-3549263 091-5395563 อาจารยพ์ รรณพฤกษา จะระ 085-4943922 084-6980290 088-5954070 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.รัตนจริ า รตั นประเสรฐิ 093-4595664 อาจารย์ ดร.นอิ ร งามฮุย 087-7707219 อาจารย์ ดร.พวงเพชร พมิ พจ์ นั ทร์ 083-1415981 อาจารย์ ดร.ลดั ดาวลั ย์ คา� มะปะนา 095-7965496 อาจารย์ ดร.วันเพญ็ ชลอเจรญิ ย่ิง 096-5951426 อาจารย์ ดร.อาทติ ยา ดวงสุพรรณ์ 094-4356614 อาจารย์ ดร.กาญจนา แขโ่ ส 063-7627628 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นภิ าวรรณ์ จติ โสภากลุ 086-6524109 อาจารย์รตั นเรขา มีพรอ้ ม 085-3549263 อาจารย์ทัศนยี า นลิ ฤทธิ์ 091-5395563 อาจารย์ ดร.เกรยี งศักด์ิ มัน่ เสถยี รสนิ 084-6980290 อาจารย์วนั เฉลมิ จันทรช์ ่วงโชติ 088-5954070 26 คมู อื นกั ศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วิทยาเขตสุรนิ ทร

สาขาประมง เบอรโ ทรศพั ท ID Line ชือ่ - สกุล 0857659595 M_SuriyA 098-623-9415 chutyaobabb อาจารย์ ดร.สุริยา อุดดว้ ง 0955342156 0955342156 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชุตมิ า ถนอมสทิ ธ์ิ 086-2496450 086-2496450 อาจารย์ ดร.ศุภลักษณ์ เกตตุ ากแดด 080-2190419 080-2190419 รองศาสตราจารย์ ดร.กฤติมา เสาวกลู อาจารย์อารมณ์ เพ่มิ งาม สาขาอุตสาหกรรมเกษตร เบอรโทรศพั ท ID Line ชื่อ - สกลุ 085-6137233 085-6137233 095-6138939 095-6138939 อาจารย์ ดร.นุจรี สอนสะอาด 088-1091924 088-1091924 อาจารย์นฤทธ์ิ วาดเขยี น 083-3876779 083-3876779 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรลดั า เจอื จันทร์ 091-4710050 091-4710050 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.กรณุ รตั น์ สกลุ นามรตั น์ 095-6620325 095-6620325 อาจารย์วิภาวดี พันธห์ นองหว้า 080-4655522 080-4655522 อาจารย์ อาจารย์ ดร.นิตยา ภูงาม 081-8787910 kamupsara ผู้ช่วยศาสตราจารย์กติ ตกิ ร จนิ ดาพล 081-4707026 081-4707026 ผ้ชู ่วยศาสตราจารยเ์ ขมจริ า ผดงุ พจน์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์สมาน จงเทพ สาขาสัตวศาสตร ช่ือ - สกุล เบอรโทรศัพท ID Line ผ้ชู ่วยศาสตราจารยพ์ ีรกรู อนุชานุรักษ์ 089-6277487 089-6277487 ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ทรงชยั หนุนชู 094-5261591 094-5261591 อาจารย์ ดร.สุทธิศกั ด์ แกว้ แกมจันทร์ 083-1245657 iampluak รองศาสตราจารยว์ รรณะ ม้าเฉย่ี ว 089-6267894 089-6267894 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จกั รกฤษณ์ เยรมั ย์ 093-3274527 093-3274527 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยน์ .สพ. ดร.สทุ ธดิ ล ปย ะเดชสนุ ทร 081-9991698 piyadeatsoontorn อาจารย์ ดร.อดุ มศกั ด์ นพพบิ ลู ย์ 097-3421707 Noppibool.u อาจารย์ ดร.ชยพล มพี รอ้ ม 087-4539008 087-4539008 อาจารย์ ดร.ทวิ ากร อ�าพาพล 087-2700358 087-2700358 อาจารยส์ ภุ า ศรียงยศ 062-1985895 27111982d อาจารย์ชตุ พิ งศ์ เนตรพระ 080-7335664 chawamza อาจารย์สพ.ญ.ดวงสดุ า ทองจนั ทร์ 098-4976488 Duangsuda51 อาจารยท์ รงยศ กติ ติชนม์ธวชั 081-2712024 081-2712024 27คูมอื นักศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน วิทยาเขตสุรนิ ทร

สาขาวทิ ยาศาสตรแ ละคณติ ศาสตร ชอื่ - สกลุ เบอรโทรศพั ท ID Line ผชู้ ่วยศาสตราจารย์พัชราภรณ์ แสงโยจารย์ 097-9203543 pacharaporn3543 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สขุ ใจ รัตนยวุ กร 093-4949256 sukjai038 อาจารย์ ดร.จรี ภัทร์ จอดนอก 081-9555265 081-9555265 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.จุณจะรา ทยุ ไธสง 088-594 7819 c2625 อาจารย์ศศิธร เลศิ มณีพงศ์ 089-7971265 lineking2519 อาจารย์ ดร.พงศ์ภัทร เกยี รตปิ ระเสรฐิ 097-1810597 paweena-19 อาจารย์ ดร.ปวณี า สาลีทอง 081-5444455 PITAPNIJ อาจารย์จินตภ์ าทิพย์ ศรีเมือง 093-4839878 srihongthong อาจารย์ ดร.เสาวลักษณ์ ศรหี งษท์ อง 089-7147355 joy_supatra2 อาจารย์ ดร.สุภทั รา ขบวนฉลาด 089-8465123 wicky_wi ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.วไิ ลพร อนิ สุวรรณ 081-9994624 dkchaiwat อาจารย์ ดร.อา� นาจ เรอื งชยั วตั ร 083-6654436 089-6301021 อาจารย์พูนศริ ิ หอมจันทร์ 089-6304021 aommoonchaisook อาจารย์ขตั ตยิ า มูลไชยสขุ 089-7163978 yongart อาจารย์สพุ ิน จอดนอก 061-5914095 bookysukrit ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สกุ ฤตา ปุณยอุปพัทธ์ 086-6880234 0800019898 อาจารย์ ดร.สุทธชิ าน์ นิลฤทธิ์ 080-0019898 krataeja8603 อาจารย์ ดร.อุไรลักษณ์ พงษเ์ กษ 061-6693541 penpark_mat อาจารย์ ดร.เพญ็ ภคั ศิริมาก 087-7709398 tomkraisak อาจารยไ์ กรศักด์ิ จันทรโกเมท 085-0286311 043228226 อาจารยพ์ งษพ์ ันธ์ บญุ สรรค์ 081-3800476 ID Line สาขาเคร่ืองจักรกลเกษตร 081-8716674 ชือ่ - สกุล เบอรโทรศัพท 099-2713506 081-6699251 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ทนนท์ รตั นรวมการ 081-8716674 089-1903647 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์วัฒนา ภารัตนวงศ์ 099-2713506 081-6494310 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วริ ัช อนุชานุรักษ์ 081-6699251 083-4676217 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สอนรินทร์ เรืองปรชั ญากลุ 089-1903647 087-6771762 ผูช้ ่วยศาสตราจารยว์ ิลาวลั ย์ บญุ ศรี ประทยั เทพ 081-6494310 083-8749255 อาจารย์ชยั วัฒน์ บญุ น้อย 083-4676217 087-8290051 อาจารย์ ดร.เรวฒั น์ เตมิ กล้า 087-6771762 อาจารย์ ดร.นิรัตศิ กั ดิ์ คงทน 083-8749255 อาจารย์ลกั ขณา พิทักษ์ 087-8290051 28 คูม อื นักศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสุรนิ ทร

สาขาเทคโนโลยีไฟฟา เบอรโทรศัพท ID Line ช่อื - สกุล 086-8795326 Pack.2248 081-6694223 081-6694223 อาจารย์ปรชั ญา บา� รงุ กลุ 083-7984949 Varakorn อาจารยส์ รายุตร์ สวสั ด์ิวงษช์ ยั 081-3935070 081-3935070 อาจารยว์ รากร คิดส�าราญ 083-3753528 083-3753528 ผู้ช่วยศาสตราจารยส์ ันติ สาแกว้ 098-5850633 098-5850633 อาจารยบ์ ญุ ทัน สนั่นน้า� หนัก 095-4247455 095-4247455 อาจารย์ภวู นาท มากแสน 093-5648585 093-5648585 อาจารย์บุญยัง สิงห์เจริญ 090-9744617 090-9744617 อาจารยพ์ ัทธนนั ท์ บญุ สดวก 086-7600998 086-7600998 อาจารยว์ ันทนา ศุขมณี 086-5805811 086-5805811 อาจารยอ์ ดิเทพ จันทับ อาจารยว์ งศกร ลมิ้ ศริ ิ เบอรโ ทรศัพท ID Line สาขาวศิ วกรรมเคร่อื งกล 099-1741533 5770400057 086-5842004/ 0865842004 ชอื่ - สกลุ 095-6095795 086-8677702 rojburiram18 อาจารย์ปย ะวัฒน์ ศรธี รรม 089-6255829 0896255829 ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วฒุ ิชยั สทิ ธิวงษ์ 097-1544156 0971544156 082-5783193 0825783193 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วิโรช ทัศนะ 085-0262343 085-0262343 อาจารย์ ดร.ณัฏฐ์ธนัน กีรตญิ าดาธนภทั ร 063-4945946 ton_sarangkam อาจารย์ ดร.ทศพร แจ่มใส 089-8238738 corsa9999 อาจารย์ ดร.อรรถพล สดี �า 091-9493519 091-9493519 อาจารย์อธริ ชั ลตี้ ระกูล 089-7833410 M12082525 อาจารยเ์ รอื งฤทธ์ิ สารางค�า 086-2657854 0862657854 อาจารย์วิลักษณ์นาม ผลเจรญิ 098-2945462 0982945462 อาจารยว์ ฒุ ินันท์ โนนล�าดวน 093-8527769 arthit06 อาจารย์ประทปี ตุม้ ทอง 092-9894178 kompetme101 อาจารย์ประพนั ธ์พงษ์ สมศิลา 093-8731812 kaweewat.yy อาจารยธ์ นกร หอมจ�าปา อาจารย์อาทิตย์ แสงโสภา อาจารยค์ มเพช็ ร อินลา อาจารย์กววี ฒั น์ ยอดเยี่ยม 29คมู อื นกั ศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วิทยาเขตสรุ นิ ทร

สาขาเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร ชอ่ื - สกุล เบอรโทรศพั ท ID Line อาจารย์ ดร.ศักดชิ์ าญ เหลืองมณีโรจน์ 094-4916445 tsakchan2 อาจารยส์ บิ เอกทองล้วน สิงหน์ นั ท์ 081-9556057 0819556057 อาจารย์อธิปตั ย์ ฤทธริ ณ 091-0167951 091-0167951 ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วีราวรรณ ศรตี ะลานุคค์ 095-2899179 0952899179 อาจารย์ ดร.วิภาสทิ ธิ์ หริ ญั รัตน์ 085-7389275 0857389275 อาจารย์ ดร.ทองมี ละครพล 092-2536564 0922536564 อาจารย์อญั วณี ์ ไชยวชริ ะกมั พล 086-8990880 0868990880 อาจารย์วาทการ มูลไชยสขุ 081-5451237 0815451237 อาจารย์จีรนนั ท์ ตะสนั เทียะ 087-1159828 0871159828 อาจารย์บุญเหลอื นาบ�ารุง 084-377077 084377077 อาจารย์นพิ นธ์ พิมพเ์ บ้าธรรม 088-5809349 0885809349 อาจารย์อตั พล คุณเลศิ 086-2493398 Aaloneap อาจารยน์ ราศกั ดิ์ วงษ์วาสน์ 086-0485764 0860485764 อาจารย์ณัฐพงษ์ ม่ิงพฤกษ์ 087-5688132 nutmumee 30 คูมือนักศึกษา 2563 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วิทยาเขตสรุ ินทร

คณะเทคโนโลยีการจัดการ ดร.ศิวธดิ า ภมู ิวรมนุ ี รักษาราชการแทน คณบดคี ณะเทคโนโลยกี ารจัดการ อาจารยส์ หเทพ ค�่ำสุริยา ผ้ชู ว่ ยศาสตร์ตราจารย์รงุ่ ทิพย์ เกษตรสงิ ห์ รองคณบดีฝา่ ยบริหาร รองคณบดีฝา่ ยวิชาการและวิจยั อาจารย์ทิฆมั พร โครตทัศน์ อาจารย์ทรงพล สัตยซ์ ่อื รองคณบดฝี ่ายแผนและประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา รองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศกึ ษา นางสาวสเุ นตรา ทองจนั ทร์ 31 หัวนา้ สำ� นักงานคณบดี คมู่ อื นกั ศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสรุ นิ ทร์

หวั หนาสาขา ดร.ศิวธดิ า ภูมิวรมุนี ผูชวยศาสตราจารย์ ดร.อารยา องึ ไพบูลย์กจิ หัวหนา้ สาขาการจัดการการทอ่ งเท่ยี วและการโรงแรม หวั หนา้ สาขาการจดั การ ดร.โชตกิ า ฉิมงามเสริฐ ผชู ว ยศาสตราจารย์สันติ ครองยทุ ธ หวั หนา้ สาขาการตลาด หวั หนา้ สาขาศกึ ษาศาสตร์ อาจารย์ภทั รยิ า วาหมงคล อาจารยศ์ ันสนีย์ มีพรอ ม หัวหน้าสาขามนุษยศาสตร์ หวั หน้าสาขาการบัญชี และสงั คมศาสตร์ อาจารย์รตั นา นามปญ ญา อาจารยป์ ย ะ แกว บวั ดี หวั หนา้ สาขาภาษาศาสตร์ หัวหนา้ สาขาเทคโนโลยสี ารสนเทศและมัลติมเี ดยี 32 คมู ือนักศึกษา 2563 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วิทยาเขตสรุ ินทร

รายชอ่� อาจารยป ระจาํ สาขา คณะเทคโนโลยีการจัดการ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและมัลตมิ ีเดยี เทคโนโลยมี ัลติมีเดยี ระบบสารสนเทศ ชอ่ื - สกลุ เบอรโ ทรศัพท ID Line piya_oo อาจารย์ปย ะ แกว้ บัวดี 085 730 8273 Ole3517 อาจารย์สรชยั สุขพันธ์ 091 835 5575 prawit.yo อาจารยธ์ เนษฐ์ โยธาศิริ 063 641 9355 0923132535 อาจารย์วินิต ยืนยง่ิ 092 313 2535 085 019 2011 อาจารยอ์ ุมาพร ไชยสูง 085 019 2011 iamnoonoi อาจารย์รตั นา สุมขนุ ทด 081-9993681 0982452450 อาจารย์สหเทพ ค่�าสุริยา 090 245 2450 0833756322 อาจารย์วราลักษณ์ มาประสม 090 979 8261 0865557161 อาจารยท์ รงพล สัตยซ์ อ่ื 086 555 7161 0933253263 อาจารยจ์ ันทร์ดารา สขุ สาม 086 265 5087 nawat_new อาจารยน์ วฒั กร โพธสิ าร 086 638 2433 comra35745 ส.อ.ถรัฐการ ประชุมวรรณ 094 153 9680 yasaka crayon อาจารย์ปฏวิ ัติ ยะสะกะ 081 061 5793 aeea1979 อาจารย์จกั รกฤช ใจรศั มี 088 357 6038 pachara.t อาจารย์พชรพรรณ ธรุ านุช 080 482 0436 สาขาภาษาศาสตร เบอรโทรศพั ท ID Line 087 259 7475 087 259 7475 ชอ่ื - สกลุ 081 915 9174 Tonyinthebox อาจารย์รตั นา นามปญั ญา 081 549 8539 081 549 8539 อาจารย์ ดร.ศุภรตั น์ วัลกานนท์ 088 595 0089 088 595 0089 ผู้ชว่ ยศาสตราจารยพ์ รรณี แพงวงั ทอง 091 829 5459 091 829 5459 ผู้ช่วยศาสตราจารย์นุชสรา บญุ แสน 095 602 8838 095 602 8838 วา่ ที่ ร.ต.คมกรชิ พยัคฆนันท์ อาจารย์ ดร.พสิ ุทธ์พิ งศ์ เอน็ ดู 33คูมือนกั ศึกษา 2563 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสรุ ินทร

สาขาภาษาศาสตร เบอรโทรศพั ท ID Line ชื่อ - สกลุ 092 687 3587 soraphannantaphumi 083 460 0553 083 460 0553 อาจารย์ ดร.สรพนั ธ์ นนั ตะภมู ิ 088 555 0922 kantating อาจารย์สุภชั ญา สวสั ด์โิ ยธิน 087 530 1666 087 530 1666 อาจารยก์ นั ทนา ระยับศรี 064 841 6701 064 841 6701 อาจารย์ฉายศรี ศรพี รหม 080 404 4572 nu-nhing Miss Namgay Wangmo 095 898 9939 095 898 9939 อาจารย์วราภรณ์ ศรสุรินทร์ 095 814 4814 095 814 4814 อาจารยน์ ภาพฒั น์ ยงิ่ หาญ 082 319 6212 6212sp Mrs.Rose Eden Dominguez อาจารย์ศริ ลิ กั ษณ์ ประสานสขุ ID Line 095 159 0025 สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 095 620 0027 095 621 4526 ชื่อ - สกุล เบอรโทรศัพท 087 452 6693 อาจารยภ์ ัทริยา วาหมงคล 095 159 0025 081 717 3036 อาจารยน์ วพร สายสงิ ห์ 095 620 0027 086 246 3682 อาจารยร์ งั สรรค์ นามวงศ์ 095 621 4526 084 926 6539 อาจารย์กติ ตธิ ร กลางประพันธ์ 087 452 6693 085 368 3721 อาจารยณ์ ฐั พงษ์ วงศว์ รรณ 081 717 3036 อาจารย์ภูสิต ถาดา 086 246 3682 ID Line อาจารย์ศุภฤกษ์ ชงกรานตท์ อง 084 926 6539 092 423 5598 อาจารย์ธรี นุช สุมขนุ ทด 085 368 3721 Aj_ream 088 595 5366 สาขาการบัญชี np2626 dee3008 ช่ือ - สกลุ เบอรโทรศัพท 081 670 9086 098 294 3415 อาจารยศ์ นั สนีย์ มพี ร้อม 092 423 5598 089 622 1636 086 328 7751 อาจารย์ส�าเรียม คมุ โสระ 086 251 4783 อาจารย์ดลใจ ล้ีตระกลู 088 595 5366 อาจารยอ์ นงคร์ กั ษ์ ชนะภยั 081 790 9629 อาจารย์ ดร.สุภาวดี ชอบเสร็จ 097 979 2266 อาจารย์ทฆิ มั พร โคตรทศั น์ 081 670 9086 อาจารยจ์ ดิ าภา เรืองกติ ติญา 098 294 3415 089 622 1636 อาจารย์ทัศวรรณ ศาลาผาย 086 328 7751 34 คมู ือนกั ศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสรุ ินทร

สาขาการบัญชี เบอรโทรศัพท ID Line ชื่อ - สกุล 086 259 7743 086 259 7743 087 501 7214 087 501 7214 อาจารย์มณฑิรา กิจสมั พันธ์วงศ์ 098 113 7649 098 113 7649 อาจารย์วิชชตุ า ชิระกุล 098 154 7495 098 154 7495 อาจารยก์ รวิชญ์ ชมภูราษฎร์ 064 447 1498 da_ad.pp อาจารยก์ ติ ตธิ รา อมรสิน 080 734 4464 080 734 4464 อาจารยว์ ภิ าวรรณ สุขสมยั 082 125 9977 namthi-pp อาจารย์พัชราวรรณ อาจหาญ อาจารย์นนั ท์ตยา สายไทย เบอรโ ทรศพั ท ID Line 081 966 8893 Chokyline สาขาการตลาด 085 491 0050 085 491 0050 ชื่อ - สกลุ 094 152 3569 0941523569 099 043 9895 supa...jeab อาจารย์ ดร.โชตกิ า ฉิมงามเสรฐิ 081 063 9412 wiranp ผูช้ ่วยศาสตราจารย์รุง่ ทิพย์ เกษตรสิงห์ 084 094 3305 mapapron17 อาจารย์ขวัญเรือน ภูษาบญุ 095 602 1316 088 796 8540 อาจารย์สภุ ารดี สวนโสกเชอื ก 085 098 4904 อาจารย์วริ ัลพชั ร มงคลอ�านวย อาจารย์ ดร.นภาพร วงษว์ ิชติ เบอรโ ทรศัพท ID Line สาขาศึกษาศาสตร 090 268 5383 090 268 5383 ชอื่ - สกุล ผชู้ ่วยศาสตราจารย์สนั ติ ครองยุทธ สาขาการจัดการการท่องเท่ยี วและการโรงแรม ชอื่ - สกลุ เบอรโ ทรศพั ท ID Line อาจารย์ ดร.ศิวธิดา ภูมิวรมุนี 089 943 9908 sivathida อาจารย์วีรยา มสี วสั ดิกุล 088 862 2237 nammon_love อาจารยภ์ ญิ ญพัฒน์ เกยี รต์สิ าคเรศ 098 8988055 Deardary อาจารย์วนารตั น์ บญุ ธรรม 080 192 0770 Inkgy อาจารยน์ ขั นลิน อนิ ทนพุ ัฒน์ 081 546 9982 beautylp อาจารยช์ นิสรา เพชรพเิ ศษศกั ดิ์ 062 661 9554 0626619554 อาจารย์อิสระพงษ์ เขยี นปญั ญา 083 457 7788 AIKUNG อาจารยส์ กุ ัญญา ปลายงาม 095 6190465 suganya2525 35คูมอื นักศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสรุ นิ ทร

สาขาการจดั การ ช่ือ - สกุล เบอร์โทรศพั ท์ ID Line 090-9946990 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ดร.อารยา องึ ไพบลู ย์กจิ 090 994 6990 Amporn.Promjitr jojo_lipo ผชู้ ่วยศาสตราจารยอ์ มั พร พร้อมจติ ร 089 625 4510 sanddy_1234 089 786 5672 อาจารยด์ ร.ชตุ ิกร ปรงุ เกยี รติ 085 766 3775 Promchic milk-kamonthip อาจารย์ดร.ภรณี หลาวทอง 081 549 4010 Zriang_surakiat 090-2498727 อาจารย์ดร.เสกสรรค์ นิสยั กล้า 089 786 5672 chaler-sama อาจารยด์ ร.พรหมจริ า เจาลา 091 053 3503 อาจารยด์ ร.กมลทพิ ย์ ใหมช่ ุม 084 966 6255 อาจารยด์ ร.สรุ เกียรติ ปริชาตินนท์ 084 746 6476 อาจารย์รวิฐา ทวีพร้อม 090 249 8727 อาจารย์เฉลมิ เจษฏ์ สมานหุ ตั ถ์ 087 258 2452 ค่มู อื นกั ศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสุรนิ ทร์

»ÃСÒÈÁËÒÇÔ·ÂÒÅÂÑ à·¤â¹âÅÂÃÕ ÒªÁ§¤ÅÍÊÕ Ò¹ ÇÔ·ÂÒࢵÊØÃÔ¹·Ã àÃ×èͧ »¯Ô·¹Ô ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ »ÃШíÒ»¡‚ ÒÃÈÖ¡ÉÒ 2563 เพ่ือให้การจัดการเรียนการสอน ประจ�าปีการศึกษา 2563 ของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์มีกรอบเวลาในการด�าเนินการจัดการเรียนการ สอนทม่ี ีความเหมาะสม ด�าเนนิ การไปด้วยความเรียบรอ้ ย มปี ระสทิ ธิภาพ อาศัยอ�านาจตามความในมาตรา 29 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกอบกบั ขอ้ บังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน วา่ ดว้ ย การศกึ ษา ระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพชน้ั สูง พ.ศ. 2559 ขอ้ บงั คับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลอีสาน ว่าด้วยการศึกษา ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2559 ข้อบังคับมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลอสี าน ว่าดว้ ยการศกึ ษา ระดบั บณั ฑติ ศึกษา พ.ศ. 2562 และค�าสงั่ สภา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ท่ี 003 /2562 เรื่อง ใหข้ ้าราชการพ้นจากตา� แหนง่ และแต่งต้ังข้าราชการให้ด�ารงต�าแหน่งรองอธิการบดีและรองอธิการบดีประจ�าวิทยาเขต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ลงวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2562 จึงออกประกาศ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสรุ นิ ทร์ เรอื่ ง ปฏทิ นิ การศกึ ษา ประจา� ปกี าร ศึกษา 2563 ดังรายละเอียดแนบทา้ ยประกาศน้ี จึงประกาศใหท้ ราบโดยท่ัวกัน ประกาศ ณ วนั ท่ี 10 มิถุนายน พ.ศ. 2563 (รองศาสตราจารย์ ดร.สา� เนาว์ เสาวกลู ) รองอธิการบดปี ระจ�าวทิ ยาเขตสุรินทร์ 36 คูมือนักศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร

รายละเอยี ดแนบท้ายประกาศ เร่ือง ปฏทิ ินการศึกษา ประจําปก ารศึกษา 2563 สําหรบั การจดั การศึกษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรนิ ทร กิจกรรม ภาคการศึกษาท่ี 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2 ภาคการศึกษาฤดรู ้อน วันเปด ภาคการศึกษา 13 กรกฎาคม 2563 23 พฤศจิกายน 2563 19 เมษายน 2564 วนั เปดภาคการศกึ ษา 11 กรกฎาคม 2563 21 พฤศจิกายน 2563 17 เมษายน 2564 นกั ศึกษาภาคสมทบ (เสาร์-อาทิตย)์ วนั เปดภาคการศึกษา 13 กรกฎาคม 2563 23 พฤศจกิ ายน 2563 19 เมษายน 2564 เปด ระบบบริการการศึกษา (ESS) ใหน้ ักศึกษา - ช่วงที่ 1 - ช่วงท่ี 1 - ชว่ งที่ 1 ลงทะเบียนเรียน โดยกา� หนดเป็น 2ช่วงระยะเวลา 6 – 8 กรกฎาคม 2563 16 – 18 พฤศจกิ ายน 2563 12 – 14 เมษายน 2564 -ช่วงที่ 1 ลงทะเบียนเรยี นตามแผนการเรยี น - ชว่ งท่ี 2 - ชว่ งท่ี 2 - ช่วงที่ 2 -ชว่ งที่ 2 ลงทะเบยี นเรียนแบบเลอื กรายวชิ า 9 – 12 กรกฎาคม 2563 19 – 22 พฤศจิกายน 2563 15 – 18 เมษายน 2564 วนั สดุ ทา้ ยของการชา� ระเงินคา่ ลงทะเบียนเรยี น 12 กรกฎาคม 2563 22 พฤศจิกายน 2563 18 เมษายน 2564 ลงทะเบยี นเพ่ิม– ลดรายวชิ า/เปล่ียนกลุ่ม/ยนื่ คา� รอ้ ง 23 พฤศจกิ ายน 2563 19 เมษายน 2564 ของลงทะเบียนล่าชา้ 13 – 24 กรกฎาคม 2563 ถึง 4 ธนั วาคม 2563 ถึง 23 เมษายน 2564 นักศึกษาถอนรายวิชาเรียนโดยผลการถอน 13 – 24 กรกฎาคม 2563 23 พฤศจิกายน 2563 19 เมษายน 2564 รายวิชาไมบ่ นั ทึกลงในใบแสดงผลการศกึ ษา ถึง 4 ธันวาคม 2563 ถงึ 23 เมษายน 2564 นักศึกษาระดับ ปวส. และ ปริญญาตรี ยื่นค�าร้องขอ 13 กรกฎาคม 2563 23 พฤศจิกายน 2563 19 เมษายน 2564 ส�าเรจ็ การศกึ ษา ถงึ 10 กนั ยายน 2563 ถึง 21 มกราคม 2564 ถึง 18 พฤษภาคม 2564 นักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา ยื่นค�าร้องขอส�าเร็จ 13 กรกฎาคม 2563 23 พฤศจกิ ายน 2563 19 เมษายน 2564 การศึกษา ถึง 12 ตลุ าคม 2563 ถึง 22 กมุ ภาพันธ์ 2564 ถึง 10 พฤษภาคม 2564 นักศึกษาย่ืนค�าร้องขอรักษาสภาพการเป็น 13 กรกฎาคม 2563 23 พฤศจิกายน 2563 19 เมษายน 2564 นกั ศึกษา ถงึ 26 สงิ หาคม 2563 ถงึ 6 มกราคม 2564 ถงึ 2 มิถนุ ายน 2564 นกั ศกึ ษาถอนรายวชิ าเรยี นโดยผลการถอนรายวชิ าจะบนั 25 กรกฎาคม 2563 5 ธนั วาคม 2563 19 เมษายน 2564 ทกึ ระดบั คะแนน (W) ลงในใบแสดงผลการศกึ ษา ถึง 2 ตลุ าคม 2563 ถงึ 12 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 ถึง 21 พฤษภาคม 2564 วันสอบกลางภาคการศกึ ษา นกั ศึกษาสมทบ (เสาร-์ อาทิตย์) 5–6 กนั ยายน 2563 16 – 17 มกราคม 2564 กา� หนดโดยอาจารย์ผู้สอน วนั สอบกลางภาค 7 – 11 กันยายน 2563 18 – 22 มกราคม 2564 กา� หนดโดยอาจารย์ผู้สอน วันสอบวัดความรูภ้ าษาอังกฤษ 14 – 16 ตลุ าคม 2563 17 – 19 กมุ ภาพันธ์ 2564 - วันสอบปลายภาคการศึกษา 31 ตลุ าคม 2563 นกั ศึกษาสมทบ (เสาร์-อาทิตย์) ถงึ 1 พฤศจกิ ายน 2563 13 – 14 มนี าคม 2564 ก�าหนดโดยอาจารยผ์ สู้ อน วันสอบปลายภาค 2 – 6 พฤศจิกายน 2563 15 – 19 มนี าคม 2564 7 – 8 มถิ นุ ายน 2564 วันสิน้ ภาคการศึกษา 9 พฤศจิกายน 2563 22 มนี าคม 2564 9 มถิ นุ ายน 2564 อาจารยส์ ง่ ผลการศกึ ษาประจา� ภาคการศกึ ษาใหค้ ณะ 13 พฤศจกิ ายน 2563 26 มีนาคม 2564 11 มิถนุ ายน 2564 คณะ พิจารณาอนุมตั ิผลการศกึ ษา 18 พฤศจกิ ายน 2563 1 เมษายน 2564 16 มิถุนายน 2564 ประกาศผลการศกึ ษา 19 พฤศจิกายน 2563 2 เมษายน 2564 17 มิถนุ ายน 2564 นกั ศึกษาย่นื ค�ารอ้ งเพ่อื ขอแกไ้ ขระดับคะแนน มส.(I) 18 พฤศจกิ ายน 2563 1 เมษายน 2564 16 มิถนุ ายน 2564 ถงึ 2 ธันวาคม 2563 ถึง 15 เมษายน 2564 ถงึ 30 มิถุนายน 2564 อาจารย์ส่งผลการแก้ไขระดับคะแนน มส.(I) 4 มกราคม 2564 17 พฤษภาคม 2564 30 กรกฎาคม 2564 คณะพจิ ารณาอนุมตั ผิ ลการศึกษา รอบเปล่ยี น ค่าระดับคะแนน มส.(I) 11 มกราคม 2564 24 พฤษภาคม 2564 3 สงิ หาคม 2564 หมายเหตุ ภาคการศึกษาฤดูรอ้ น มหาวทิ ยาลยั ฯ จัดการศกึ ษา 7 สัปดาห์ ใหค้ ณะจดั เวลาศึกษา โดยเพ่มิ ชั่วโมงแตล่ ะรายวิชา ใหเ้ ท่ากบั ภาคการศึกษาปกตเิ พอื่ ให้ครบตามท่หี ลักสูตรกา� หนดไว้ 37คูมอื นักศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน วิทยาเขตสุรินทร

38 คูมือนักศึกษา 2563 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วิทยาเขตสุรินทร

ส่วนที่ 2 ข้อบงั คบั ระเบยี บ ประกาศ 39คมู อื นกั ศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วิทยาเขตสรุ ินทร

¢ÍŒ º§Ñ ¤ºÑ ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÂÑ à·¤â¹âÅÂÕÃÒªÁ§¤ÅÍÕÊÒ¹ Ç‹Ò´ÇŒ Âà¤ÃÍ×è §áºº à¤Ãè×ͧËÁÒ áÅÐà¤Ã×èͧᵧ‹ ¡Ò¹¡Ñ ÈÖ¡ÉÒ ¾.È. 2549 โดยที่เป็นการสมควรก�าหนดเครื่องแบบ เคร่ืองหมายและเคร่ืองแต่งกาย นกั ศกึ ษา ฉะน้นั อาศยั อ�านาจตามความในมาตรา 17(2) และมาตรา 60 แหง่ พระราช บัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงล พ.ศ. 2548 และโดยมติสภามหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ในการประชมุ คร้งั ท่ี 2/2549 เม่อื วันท่ี 21 กุมภาพันธ์ 2549 จึงออกข้อบังคบั ไว้ ดังตอ่ ไปน้ี ขอ้ 1 ข้อบังคบั น้ี เรยี กว่า “ข้อบังคบั มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วา่ ดว้ ยเครือ่ งแบบ เครือ่ งหมาย และเคร่ืองแต่งกายนกั ศึกษา พ.ศ. 2549” ขอ้ 2 ขอ้ บงั คบั นใี้ หใ้ ชบ้ งั คบั ตง้ั แตว่ นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เปน็ ต้นไป ข้อ 3 ในข้อบังคับนี้ “มหาวทิ ยาลัย” หมายถึง มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน “อธิการบด”ี หมายถึง อธกิ ารบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน “นักศึกษา” หมายถงึ นกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน “สว่ นราชการ” หมายถึง คณะ สถาบัน วิทยาลยั หรือส่วนราชการท่ี เรียกช่ืออย่างอ่ืนท่ีมีฐานะเทียบเท่าคณะ ที่มีหน้าท่ีจัดการเรียนการสอน และให้หมาย รวมถึงวทิ ยาเขตทีม่ อี ยใู่ นวันที่ พระราชบัญญตั มิ หาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2548 ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา ข้อ 4 เครือ่ งแบบ เครอ่ื งหมาย และเครอื่ งแต่งกายนักศกึ ษา ตามข้อบังคับน้ี ให้ใช้แต่ได้เฉพาะผู้มีสถานภาพเป็นนักศึกษาปัจจุบัน ส�าหรับนักศึกษาปริญญาตรีภาค 40 คมู ือนักศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสุรนิ ทร

สมทบ หรือภาคพิเศษ และนักศึกษาระดับสูงกว่าปริญญาตรี ให้ใช้เครื่องแบบ หรือ เคร่อื งแตง่ กายแบบปกติ ตามข้อบงั คบั น้ี หรอื แต่งกายสภุ าพได้ ข้อ 5 เครอ่ื งแตง่ กาย แบบปกติ ก นักศกึ ษาชาย ให้มลี ักษณะดังน้ี (1) เสื้อเช้ิตสีขาวแขนส้ันเพียงข้อศอก ปลายแขนปล่อยตรงไม่ผ่าปลาย แขน หรอื แขนยาวถงึ ขอ้ มอื ไมพ่ บั ปลายแขนไมร่ ดั รปู และไมห่ ลวมเกนิ ไป ไมม่ ลี วดลาย ไมบ่ างเกนิ สมควร ผา่ อกตรงโดยตลอด ติดกระดุม 5 เมด็ มกี ระเปาขนาดพอเหมาะที่ อกเส้ือเบ้ืองซา้ ย ตวั เสื้อมคี วามยาวเพียงพอส�าหรบั ให้กางเกงทับได้ เวลาสวมให้สอด ชายเส้ือไวใ้ นกางเกงใหเ้ รียบรอ้ ย (2) กางเกงขายาว แบบสากลทรงสภุ าพ ไมร่ ดั รปู มหี เู ขม็ ขดั เยบ็ ดว้ ย ผา้ สเี ดยี วกบั กางเกง ไมพ่ บั ปลายขา ผา้ เนอ้ื เรยี บไมม่ ลี วดลาย สกี รมทา่ สดี า� หรอื สเี ทาเขม้ (3) เข็มขัดหนังสีด�า หัวเข็มขัดสีเงิน มีลายดุนนูนตราสัญลักษณ์ มหาวทิ ยาลยั มปี ลอก สเี ดียวกบั เขม็ ขดั ส�าหรบสอดปลายเขม็ ขัด (4) ถงุ เท้าสีดา� หรอื สีที่กลมกลืนกับรองเท้า ไมม่ ลี วดลาย (5) รองเทา้ หนังหุ้มส้นสีดา� ไม่มลี วดลาย ทรงสุภาพ ข นกั ศกึ ษาหญิง ใหม้ ลี กั ษณะดังน้ี (1) เส้ือเช้ิตสีขาว ไมร่ ดั รปู และไม่หลวมเกินไป ไม่มลี วดลาย ไมบ่ าง เกนิ สมควร ผา่ อกตรงโดยตลอด แขนสนั้ เพยี งขอ้ ศอก ปลายแขนปลอ่ ยตรง ไมผ่ า่ ปลาย แขน ติดกระดุมสีเงินลายดุนนูนตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัย ตัวเส้ือมีความยาวเพียง พอส�าหรับใหก้ ระโปรงทับได้ เวลาสวมใหส้ อดชายเสื้อไวใ้ นกระโปรงให้เรยี บรอ้ ย (2) เขม็ กลดั เสอ้ื ตราสญั ลกั ษณม์ หาวทิ ยาลยั กลดั บนอกเสอ้ื เบอ้ื งซา้ ย (3) กระโปรงทรงตรง เอวสงู ดา้ นหลงั ผา่ ปา้ ยแบบสภุ าพ ไมร่ ดั รปู ยาว เสมอเข่า ผา้ เน้อื เรียบ ไมม่ ีลวดลาย สกี รมท่า สดี า� หรือสเี ทาเข้ม (4) เข็มขัดหนังสีด�า หรือสีน้�าตาล หัวเข็มขัดสีเงิน มีลายดุนนูนตรา สญั ลกั ษณม์ หาวิทยาลยั มีปลอกสีเดยี วกบั เขม็ ขดั สา� หรบั สอดปลายเขม็ ขัด (5) รองเทา้ หนงั หุ้มส้นสดี า� ไมม่ ลี วดลาย ทรงสุภาพ ข้อ 6 เครอื่ งแตง่ กายชดุ ปฏบิ ตั กิ ารหรอื ชดุ กฬี า ใหเ้ ปน็ ไปตามทสี่ ว่ นราชการกา� หนด 41คมู ือนักศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสรุ นิ ทร

ข้อ 7 เครอื่ งแต่งกายในงานพธิ ี ก นกั ศึกษาชาย ให้มีลักษณะดงั น้ี (1) เสือ้ เช้ติ สขี าวแขนยาวถงึ ขอ้ มอื ไม่พบั ปลายแขน ไมร่ ัดรปู และไม่ หลวมเกนิ ไป ไม่มีลวดลาย ผา่ อกตรงโดยตลอด ติดกระดมุ 5 เมด็ มีกระเปา ขนาดพอ เหมาะทอ่ี กเสอ้ื เบ้อื งซ้าย ตัวเสอื้ มคี วามยาวเพยี งพอสา� หรบั ให้กางเกงทับได้ โดยเวลา สวมให้สอดชายเสือ้ ไว้ในกางเกงให้เรียบรอ้ ย (2) เนคไทสีน้�าเงิน หรือสีตามที่มหาวิทยาลัยก�าหนด กลัดเข็มตรา สัญลกั ษณม์ หาวทิ ยาลยั (3) กางเกงขายาวแบบสากลทรงสุภาพ สีกรมท่า หรือสีตามที่ส่วน ราชการกา� หนดเชน่ เดยี วกับเคร่อื งแตง่ กายปกติ (4) เข็มขัดหนังสีด�า หัวเข็มขัดสีเงินมีลายดุนนูนตราสัญลักษณ์ มหาวทิ ยาลัย มีปลอก สเี ดียวกบั เขม็ ขัดสา� หรบั สอดปลายเขม็ ขัด (5) ถงุ เท้าสีด�า ไม่มลี วดลาย (6) รองเทา้ หนงั หุ้มสน้ สดี า� ไมม่ ลี วดลาย ทรงสุภาพ ข นักศึกษาหญิง ให้มีลกั ษณะดงั น้ี (1) เส้อื เชต้ิ สีขาว ไมร่ ัดรูปและไม่หลวมเกินไป ไมม่ ลี วดลาย ไม่บาง เกนิ สมควร ผา่ อกตรงโดยตลอด แขนสน้ั เพยี งขอ้ ศอก ปลายแขนปลอ่ ยตรง ไมผ่ า่ ปลาย แขน ติดกระดุมสีเงินลายดุนนูนตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัย และกลัดกระดุมคอเสื้อ ตัวเสื้อมีความยาวเพียงพอส�าหรับให้กระโปรงทับได้ เวลาสวมให้สอดชายเส้ือไว้ใน กระโปรงใหเ้ รียบรอ้ ย (2) เขม็ กลดั เสอื้ ตราสญั ลกั ษณม์ หาวทิ ยาลยั กลดั บนอกเสอื้ เบอ้ื งซา้ ย (3) กระโปรงทรงตรง เชน่ เดียวกบั เครอื่ งแตง่ กายแบบปกติ สกี รมทา่ สดี า� หรอื สเี ทาเขม้ (4) เข็มขัดหนังสีด�า หัวเข็มขัดสีเงิน มีลายดุนนูนตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลยั มีปลอกสเี ดยี วกับเข็มขัด ส�าหรับสอดปลายเขม็ ขดั (5) ถงุ นอ่ งสเี น้ือ ไมม่ ลี วดลาย (6) รองเทา้ หนังหุ้มส้นสีดา� ไมม่ ลี วดลาย ทรงสุภาพ ขอ้ 8 เครอ่ื งแตง่ กายในงานพธิ ีพระราชทานปรญิ ญาบตั ร (1) บณั ฑิตท่เี ป็นขา้ ราชการ หรอื พนกั งานของรัฐ 42 คูมือนักศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสรุ ินทร

(1.1) แต่งกายชุดเคร่ืองแบบข้าราชการ ปกติขาว หรือเครื่องแบบ พนกั งานของรัฐ (1.2) บณั ฑติ ทร่ี ับราชการทหาร ตา� รวจ ให้แตง่ กายตามที่ตน้ สังกดั กา� หนด (1.3) สวมครุยปรญิ ญาทบั เครือ่ งแต่งกาย (2) บัณฑติ ชายทไี่ มไ่ ดเ้ ป็นข้าราชการ หรือพนักงานของรัฐ (2.1) เส้อื ราชปะแตนสีขาว (2.2) กางเกงขายาวสขี าว แบบสากลทรงสภุ าพ (2.3) มแี ผงคอ ตามแบบทกี่ า� หนด ประดบั เขม็ ตราสญั ลกั ษณม์ หาวทิ ยาลยั สีเงิน สูง 3.5 เซนตเิ มตร ทบั บนแผงคอท้งั สองข้าง (2.4) กระดุมเสื้อสีเงินลายดุนนนู ตราสัญลกั ษณม์ หาวทิ ยาลยั (2.5) ถุงเท้าสดี �า ไม่มีลวดลาย (2.6) รองเท้าหนังหุ้มสน้ สดี �า ไมม่ ีลวดลาย ทรงสุภาพ (2.7) สวมครุยปรญิ ญาทบั เคร่ืองแตง่ กาย (3) บัณฑิตหญิงที่ไมไ่ ดเ้ ป็นขา้ ราชการ (3.1) ให้แตง่ กายเช่นเดียวกับการแตง่ กายในงานพิธี (3.2) สวมครยุ ปริญญาทับเคร่อื งแตง่ กาย (4) บณั ฑติ หญงิ มคี รรภ์ (4.1) เสอื้ สขี าวเกลย้ี ง ไมบ่ างเกนิ สมควร ผา่ อกตลอด ตวั เสอื้ ยาวคลมุ ทอ้ ง แขน ปลอ่ ยธรรมดาแบบแขนเชิ้ต เวลาสวมให้ปล่อยชายเสื้อไว้นอกกระโปรง (4.2) กระโปรงแบบสภุ าพ สกี รมทา่ ไมม่ ลี วดลาย ไมร่ ดั รปู ความยาว ต�่ากว่าเข่า 3 น้วิ ชายเสมอกนั (4.3) ถงุ นอ่ งสเี นอื้ ไมม่ ลี วดลาย (4.4) รองเท้าหนงั หุ้มสน้ สดี า� ไมม่ ลี วดลาย ทรงสภุ าพ (4.5) สวมครุยปรญิ ญาทบั เครือ่ งแต่งกาย ขอ้ 9 ตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยให้เป็นไปตามที่ก�าหนดในข้อบังคับ มหาวิทยาลัยวา่ ดว้ ยตราสัญลักษณ์ ขอ้ 10 ให้ใช้ตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัย ประกอบเครื่องแต่งกายนักศึกษาท้ัง ชาย และหญิงดงั ต่อไปนี้ 43คูมือนกั ศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอสี าน วิทยาเขตสุรินทร

(1) เขม็ ตราสญั ลกั ษณม์ หาวทิ ยาลยั นกั ศกึ ษาหญงิ ใชก้ ลดั บนอกเสอ้ื เบอ้ื ง ซ้าย ให้มีขนาดและสดี ังนี้ - ความสูงของตราสญั ลกั ษณ์ 3.5 เซนตเิ มตร - ตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัย ท�าด้วยโลหะลายดุนนูนชุบสี ทอง สว่ นพน้ื ของพระราชลญั จกร และดอกบวั ลงยาสนี า�้ เงนิ สว่ นพนื้ ของชอื่ มหาวทิ ยาลยั ลงยาสขี าว (2) เข็มกลัดเนคไทตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยท�าด้วยโลหะลายดุนนูน ชบุ สีทอง ขนาดเส้นผ่าศนู ยก์ ลาง 1.9 เซนตเิ มตร (3) หัวเข็มขัดตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัย ท�าด้วยโลหะชุดสีเงินเป็นรูป สเ่ี หลยี่ มผืนผา้ ขนาดกวา้ ง 4.5 เซนติเมตร ยาว 4.8 เซนตเิ มตร ภายในสเ่ี หลยี่ มเป็นตรา สัญลกั ษณม์ หาวิทยาลยั ลายดนุ นูน (4) กระดุมเส้ือนักศึกษาหญิง ท�าด้วยโลหะชุบสีเงิน ขนาดเส้นผ่า ศูนย์กลาง 1.8 เซนติเมตร มีลักษณะกลมมน ขอบเกลี้ยง ภายในเป็นตราสัญลักษณ์ มหาวทิ ยาลยั ลายดุนนูน (5) แผงคอบณั ฑติ ชาย มลี กั ษณะเปน็ รปู สเ่ี หลย่ี มผนื ผา้ ปลายแหลม พน้ื แผงท�าด้วยผ้าสกหลาดสีตามท่ีมหาวิทยาลัยก�าหนด กว้าง 4 เซนติเมตร ตรงกลางผ้า สักหลาดมีแถบทองกว้าง 1 เซนติเมตร ท่ีริมแถบทองท้ังสองขาง มีเส้นไหมกลม สีตามคณะ กว้าง 0.3 เซนติเมตร ประดับเข็มตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยชุบสีเงิน สงู 3.5 เซนติเมตร ทบั บนแผงคอท้ังสองขา้ ง ขอ้ 11 การแต่งกายที่มิได้ก�าหนดไว้ในข้อบังคับนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของ อธิการบดี โดยท�าเป็นประกาศมหาวิทยาลัย ขอ้ 12 ใหอ้ ธิการบดเี ปน็ ผูร้ ักษาการตามข้อบงั คบั นี้ ประกาศ ณ วนั ท่ี 13 มีนาคม พ.ศ. 2549 (คุณหญงิ กษมา วรวรรณ ณ อยธุ ยา) ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ นายกสภามหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน 44 คูมือนกั ศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วิทยาเขตสุรนิ ทร

¢ŒÍºÑ§¤ºÑ ÁËÒÇ·Ô ÂÒÅÑÂà·¤â¹âÅÂÕÃÒªÁ§¤ÅÍÕÊÒ¹ Ç‹Ò´ŒÇ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒÃдѺ»ÃСÒȹÕºµÑ ÃÇÔªÒª¾Õ ªéѹʧ٠¾.È. 2559 โดยที่เป็นการสมควรให้มีการปรับปรุงข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล อีสาน ว่าด้วยการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ให้มีความ เหมาะสมมากย่ิงข้ึน และเพ่ือให้การศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงของ มหาวิทยาลัยเป็นไปด้วยความเรียบร้อยสอดคล้องตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง กรอบมาตรฐาน คุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2556 และมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษา ระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชีพช้ันสงู พ.ศ. 2556 อาศยั อา� นาจตามความในมาตรา 17(2) แหง่ พระราชบญั ญตั มิ หาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคล พ.ศ. 2548 ประกอบกับมติสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ในการ ประชุมครง้ั ท่ี 6/2559 เมื่อวันที่ 27 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2559 จึงออกข้อบังคบั ไวด้ งั น้ี ข้อ 1 ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ว่าดว้ ยการศกึ ษาระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชัน้ สงู พ.ศ. 2559” ขอ้ 2 ขอ้ บังคับนีใ้ ห้ใชบ้ งั คบั ตง้ั แตว่ นั ถัดจากวันประกาศเป็นตน้ ไป ขอ้ 3 ใหย้ กเลิก (1) ขอ้ บงั คบั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วา่ ดว้ ยการศกึ ษาระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชัน้ สงู พ.ศ. 2551 (2) ขอ้ บงั คบั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วา่ ดว้ ยการศกึ ษาระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพช้ันสูง (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2553 (3) ขอ้ บงั คบั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วา่ ดว้ ยการศกึ ษาระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชัน้ สงู (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2555 ขอ้ 4 บรรดาระเบยี บ ข้อบงั คับ ประกาศ มติ หรือคา� สั่งอื่นใด ในส่วนทก่ี า� หนดไว้ แลว้ ในขอ้ บังคบั นี้ ซง่ึ ขดั หรอื แย้งกบั ขอ้ บังคบั น้ี ใหใ้ ชข้ ้อบงั คับนแ้ี ทน ข้อ 5 ในขอ้ บงั คับน้ี “มหาวทิ ยาลยั ” หมายความวา่ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน 45คมู ือนักศึกษา 2563 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอสี าน วิทยาเขตสุรินทร

“สภามหาวทิ ยาลัย” หมายความวา่ สภามหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน “วิทยาเขต” หมายความว่า เขตการศึกษาของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน ประกอบดว้ ยวิทยาเขตภาคตะวนั ออก เฉียงเหนือ จงั หวดั นครราชสีมา วทิ ยาเขตสุรินทร์ วทิ ยาเขตขอนแก่น และวทิ ยาเขตสกลนคร “อธิการบดี” หมายความว่า อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคลอีสาน “คณะ” หมายความว่า คณะในสังกัดมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคลอสี าน หรอื ส่วนราชการ ทเ่ี รยี กชือ่ อย่างอื่นทมี่ ฐี านะเทียบเท่า คณะ และใหห้ มายความรวมถึง สว่ นงานภายในของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอสี าน ที่มฐี านะ เทยี บเทา่ คณะ ซงึ่ ทา� หนา้ ทจ่ี ดั การเรยี น การสอนด้วย “คณบดี” หมายความวา่ คณบดขี องคณะในมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน หรอื หวั หนา้ สว่ นราชการทเี่ รยี กชอ่ื อยา่ งอนื่ ทม่ี ฐี านะ เทียบเท่าคณะ และให้หมายความ รวมถงึ หวั หนา้ สว่ นงานภายในของ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน ท่มี ีฐานะเทยี บเท่าคณะ ซึง่ ทา� หนา้ ท่ี จัดการเรียนการสอนด้วย “คณะกรรมการประจ�าคณะ” หมายความว่า คณะกรรมการประจา� คณะใน สงั กดั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล อีสาน หรือคณะกรรมการประจา� ส่วน ราชการที่เรียกชอื่ อย่างอ่นื ทีม่ ฐี านะ 46 คูมอื นักศึกษา 2563 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสรุ นิ ทร

เทียบเทา่ คณะ และให้หมายความ รวมถงึ คณะกรรมการประจ�าสว่ นงาน ภายในของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคลอสี านทม่ี ฐี านะเทยี บเทา่ คณะ ซึง่ ท�าหน้าท่ีจัดการเรียนการสอนดว้ ย “สาขาวชิ า” หมายความว่า สาขาวชิ าทจี่ ัดการเรียนการสอนของ คณะในมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคลอีสาน “หวั หนา้ สาขาวิชา” หมายความวา่ หวั หนา้ สาขาวชิ าทรี่ บั ผดิ ชอบงานสาขา วชิ าของคณะในมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคลอีสาน “อาจารยท์ ่ีปรกึ ษา” หมายความว่า อาจารยท์ ีค่ ณะในมหาวิทยาลยั แตง่ ต้ัง ใหเ้ ปน็ ทป่ี รกึ ษาเกย่ี วกบั การศกึ ษาของ นักศกึ ษา “อาจารยผ์ ้สู อน” หมายความว่า อาจารยผ์ ้ทู า� หน้าที่สอนรายวิชาที่ นกั ศกึ ษาลงทะเบยี นเรียน “นักศึกษา” หมายความวา่ ผทู้ ่ีเข้าศกึ ษาระดับประกาศนยี บตั ร วชิ าชพี ชนั้ สงู ในมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคลอีสาน “แผนการเรียน” หมายความว่า แผนการจัดการเรียนในแต่ละภาคการ ศึกษาของแต่ละหลักสูตร ข้อ 6 ขอ้ บงั คบั นใ้ี หใ้ ชบ้ งั คบั กบั นกั ศกึ ษาทเ่ี ขา้ ศกึ ษาตง้ั แตภ่ าคการศกึ ษาที่ 1 ปกี าร ศึกษา 2556 เปน็ ต้นไป ข้อ 7 ให้อธิการบดีรักษาการตามข้อบังคับนี้ และให้มีอ�านาจออกประกาศที่ เก่ยี วข้องกบั การปฏิบตั ิตามขอ้ บงั คบั นี้ ในกรณีที่มีปัญหาเก่ียวกับการปฏิบัติตามข้อบังคับน้ี ให้อธิการบดีเป็นผู้มีอ�านาจ วินิจฉัย คา� วินจิ ฉัยของอธิการบดีใหเ้ ปน็ ทีส่ ดุ 47คูม ือนักศึกษา 2563 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสุรินทร

ËÁÇ´ 1 ¡ÒÃÃºÑ à¢ŒÒÈÖ¡ÉÒ ข้อ 8 คณุ สมบัติผเู้ ข้าศึกษา ผู้ที่จะเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) คุณสมบตั ิ (ก) ส�าเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (ม.6) หรอื เทยี บเทา่ จากสถาบนั การศกึ ษาทก่ี ระทรวงศกึ ษาธกิ ารรบั รอง (ข) มีคุณสมบัติอย่างหนึ่งอย่างใดเป็นการเฉพาะตามที่ก�าหนดไว้ใน หลกั สตู ร (ค) มีคุณสมบตั พิ เิ ศษตามทม่ี หาวิทยาลัย/วทิ ยาเขตกา� หนด (2) ลกั ษณะต้องหา้ ม (ก) เปน็ คนวกิ ลจรติ หรอื โรคตดิ ตอ่ รา้ ยแรง หรอื โรคทส่ี งั คมรงั เกยี จ หรอื โรคที่เป็นอุปสรรคตอ่ การศึกษา (ข) เป็นผู้มีความประพฤตเิ สอ่ื มเสียร้ายแรง ขอ้ 9 การรบั เขา้ ศกึ ษา ใหเ้ ปน็ ไปตามทม่ี หาวทิ ยาลัย หรือวิทยาเขต ก�าหนด ขอ้ 10 การข้ึนทะเบียนเป็นนักศกึ ษา ให้ผู้ท่ีผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษาต้องด�าเนินการข้ึนทะเบียนเป็นนักศึกษา ตามวัน เวลา และสถานที่ท่ีมหาวิทยาลัยก�าหนด พร้อมทั้งช�าระค่าธรรมเนียมต่างๆ ตาม ประกาศของมหาวิทยาลยั ถึงจะมสี ภาพเปน็ นกั ศกึ ษาหากผ้ทู ผ่ี า่ นการคัดเลือกเข้าศกึ ษาไม่ข้ึน ทะเบียนเป็นนกั ศกึ ษา เปน็ อันหมดสทิ ธิเข้าศกึ ษา เวน้ แตจ่ ะไดร้ บั อนมุ ัตจิ าก อธิการบดี หรือ รองอธกิ ารบดปี ระจา� วิทยาเขตเป็นกรณพี เิ ศษ ËÁÇ´ 2 Ãкº¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ ขอ้ 11 ระบบการจัดการศึกษา มหาวิทยาลัยจัดการศึกษาด้วยวิธีประสานด้านวิชาการระหว่างคณะหรือ สาขาวชิ าใด มหี นา้ ทเี่ กยี่ วกบั วชิ าการดา้ นใด กใ็ หจ้ ดั การศกึ ษาในวชิ าการดา้ นนน้ั แกน่ กั ศกึ ษา ทุกคนทงั้ มหาวิทยาลยั 48 คูม ือนกั ศึกษา 2563 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสุรินทร

มหาวทิ ยาลยั ใชร้ ะบบการจดั การศกึ ษาแบบทวิภาค โดย 1 ปกี ารศึกษาแบ่งออกเปน็ 2 ภาคการศกึ ษาปกติ ซ่งึ เป็นภาคการศึกษาบังคบั คือภาคการศกึ ษาที่ 1 และภาคการศึกษาท่ี 2 โดยกา� หนดให้ในภาคการศึกษาหนงึ่ ๆ มรี ะยะเวลาศึกษาไม่นอ้ ยกว่า 18 สปั ดาห์ มหาวทิ ยาลยั อาจจดั ใหม้ ภี าคการศกึ ษาฤดรู อ้ น ซงึ่ เปน็ ภาคการศกึ ษาไมบ่ งั คบั มีระยะเวลาศึกษา 6-9 สัปดาห์ โดยเพ่ิมช่ัวโมงการศึกษาในแต่ละรายวิชาให้เท่ากับภาคการ ศึกษาปกติ ปีการศกึ ษาและปฏิทินการศกึ ษา ให้เปน็ ไปตามประกาศมหาวทิ ยาลัย ข้อ 12 การกา� หนดหน่วยกติ ใหม้ หาวทิ ยาลยั จดั การศกึ ษาเปน็ รายวชิ า โดยแตล่ ะรายวชิ ากา� หนดปรมิ าณ การศึกษาเปน็ จ�านวน “หนว่ ยกิต” การก�าหนดหนว่ ยกิตเป็นดังนี้ (1) รายวชิ าทฤษฎี ทใี่ ชเ้ วลาบรรยายหรอื อภปิ รายไมน่ อ้ ยกวา่ 18 ชวั่ โมง ให้ มคี ่าเท่ากบั 1 หนว่ ยกิต (2) รายวชิ าปฏิบัติ ทใ่ี ชเ้ วลาในการทดลองหรือฝกปฏิบัติในห้องปฏบิ ัตกิ าร ไมน่ อ้ ยกวา่ 36 ชัว่ โมง ให้มคี า่ เทา่ กบั 1 หนว่ ยกติ (3) รายวชิ าปฏบิ ตั ิ ทใ่ี ชเ้ วลาในการฝก ปฏบิ ตั ใิ นโรงฝก งานหรอื ภาคสนาม ไม่ นอ้ ยกว่า 54 ชว่ั โมง ใหม้ คี า่ เทา่ กับ 1 หนว่ ยกิต (4) การฝกอาชีพในการศกึ ษาระบบทวิภาคี ไมน่ ้อยกวา่ 54 ช่ัวโมง ให้มีคา่ เท่ากบั 1 หน่วยกิต (5) การท�าโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 54 ช่ัวโมง ให้มีค่า เทา่ กับ 1 หนว่ ยกิต มหาวทิ ยาลยั อาจกา� หนดเงอื่ นไขใหน้ กั ศกึ ษารายวชิ าใดวชิ าหนง่ึ เพม่ิ เตมิ กไ็ ด้ โดยใหอ้ ธกิ ารบดี หรอื ผทู้ อี่ ธกิ ารบดมี อบหมายประสานกบั คณะหรอื สาขาวชิ าเพอื่ จดั การเรยี น การสอนให้แกน่ กั ศึกษาตามที่คณะหรือสาขาวชิ านน้ั รับผดิ ชอบ ข้อ 13 จา� นวนหนว่ ยกติ และระยะเวลาการศึกษา (1) มีจา� นวนหนว่ ยกติ รวมระหว่าง 78 ถงึ 90 หน่วยกติ (2) หลักสตู ร 2 ปี ระยะเวลาท่ใี ชใ้ นการศึกษาไม่เกิน 4 ปกี ารศกึ ษา และ สา� เรจ็ การศกึ ษาได้ไมก่ ่อน 4 ภาคการศึกษาปกติ สา� หรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา หรอื ใช้ เวลาไม่เกนิ 6 ปีการศกึ ษา และสา� เรจ็ การศกึ ษาไดไ้ มก่ ่อน 8 ภาคการศึกษาปกติ ส�าหรบั การ ลงทะเบยี นไม่เต็มเวลา ทัง้ น้ี ให้นับเวลาจากวันที่เปด ภาคการศึกษาท่ีนกั ศึกษาไดข้ ้ึนทะเบยี นเปน็ นกั ศึกษา 49คูม อื นักศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน วิทยาเขตสุรนิ ทร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook