Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิทย์ ม.3

วิทย์ ม.3

Published by วศินี บรรจโรจน์, 2019-11-14 22:38:56

Description: มาเรียนกันจ้าาา

Search

Read the Text Version

เอกสารสรปุ เนื้อหาที่ตอ้ งรู้ รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ รหสั พว21001 หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร ห้ามจาหนา่ ย หนงั สอื เรียนนจ้ี ัดพิมพด์ ้วยเงนิ งบประมาณแผ่นดนิ เพื่อการศึกษาตลอดชวี ิตสาหรับประชาชน ลขิ สทิ ธเิ์ ป็นของสานกั งาน กศน. สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร



ข สารบญั หน้า คานา........................................................................................................................................... ก สารบัญ .............................................................................................................................ข คาแนะนาการใช้เอกสารสรปุ เน้ือหาทีต่ อ้ งรู้........................................................................ง บทท่ี 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี......................................................1 เร่ืองที่ 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี1 เรือ่ งท่ี 2 โครงงานวิทยาศาสตร์ ............................................................................. 9 แบบฝกึ หัดที่ 1 .........................................................................................................13 แบบฝกึ หัดที่ 2 .........................................................................................................16 บทท่ี 2 ส่งิ มีชีวติ และสิ่งแวดลอ้ ม..................................................................................18 เรื่องท่ี 1 เซลล์ ......................................................................................................18 เรอ่ื งท่ี 2 กระบวนการดารงชีวติ ของพืชและสตั ว์...................................................21 เร่อื งท่ี 3 ระบบนิเวศ..............................................................................................31 เรื่องที่ 4 โลก บรรยากาศ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ้ ม และทรพั ยากรธรรมชาติ .........................................................................39 แบบฝกึ หดั ที่ 1 .........................................................................................................62 แบบฝึกหัดที่ 2 .........................................................................................................67 บทที่ 3 สารเพือ่ ชวี ติ ....................................................................................................71 เรื่องท่ี 1 สารและการจาแนกสาร ..........................................................................71 เร่อื งท่ี 2 ธาตแุ ละสารประกอบ..............................................................................76 เรอ่ื งท่ี 3 สารละลาย...............................................................................................84 เรื่องที่ 4 สารและผลิตภณั ฑ์ในชีวิต ........................................................................96 แบบฝกึ หัดท่ี 1 .......................................................................................................105 แบบฝึกหดั ท่ี 2 .......................................................................................................109

ค สารบัญ (ตอ่ ) หน้า บทที่ 4 แรงและพลังงานเพอ่ื ชวี ิต ..............................................................................119 เรื่องท่ี 1 แรงและการใช้ประโยชน์ ...................................................................... 119 เรอื่ งท่ี 2 งานและพลงั งาน................................................................................... 128 แบบฝึกหัดที่ 1....................................................................................................... 140 แบบฝึกหัดที่ 2....................................................................................................... 143 บทท่ี 5 ดาราศาสตรเ์ พ่ือชวี ิต .....................................................................................142 เร่อื งที่ 1 กาเนิดดวงดาว...................................................................................... 142 เรอ่ื งท่ี 2 กลมุ่ ดาวจักรราศี................................................................................... 144 เรื่องที่ 3 วิธีการหาดาวเหนือ............................................................................... 147 เรอ่ื งที่ 4 แผนท่ดี าว............................................................................................. 149 เรื่องท่ี 5 ประโยชนจ์ ากกลุ่มดาวฤกษต์ อ่ การดาเนินชวี ติ ประจาวนั ..................... 150 แบบฝึกหัดที่ 1....................................................................................................... 151 แบบฝกึ หัดที่ 2....................................................................................................... 152 บทที่ 6 อาชีพช่างไฟฟ้า.............................................................................................155 เรอ่ื งท่ี 1 ความหมายของอาชพี ชา่ งไฟฟา้ ............................................................ 155 เรอื่ งท่ี 2 ศัพทค์ วรรู้ทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั การประกอบอาชีพช่างไฟฟ้า......................... 155 เร่ืองท่ี 3 การออกแบบเดนิ สายไฟฟา้ ในบา้ น....................................................... 158 เร่อื งที่ 4 สญั ญาณอนั ตรายและขอ้ ควรระวังเก่ียวกบั การตอ่ สายไฟฟา้ และการใช้ไฟฟ้าในบ้าน........................................................................ 158 เรื่องท่ี 5 อปุ กรณใ์ นการประกอบอาชีพช่างไฟฟ้า............................................... 159 เรื่องที่ 6 การนาความรู้อาชพี ช่างไฟฟา้ ไปใช้ประโยชน์....................................... 161 แบบฝึกหดั ที่ 1....................................................................................................... 162 แบบฝกึ หดั ท่ี 2....................................................................................................... 163 เฉลยแบบฝกึ หัด ............................................................................................................164 บรรณานุกรม.................................................................................................................194 คณะผู้จัดทา ..................................................................................................................197

ง คาแนะนาการใช้เอกสารสรุปเนื้อหาทตี่ ้องรู้ หนังสือสรุปเนื้อหาที่ต้องรู้หนังสือเรียนรายวิชา วิทยาศาสตร์ เล่มน้ี เป็นการสรุป เนื้อหาจากหนังสือเรียนรายวิชาบังคับ สาระความรู้พ้ืนฐาน รายวิชาวิทยาศาสตร์ พว21001 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) เพ่ือให้นักศึกษาได้เรียนรู้และทาความเข้าใจในเน้ือหาสาระ ของรายวิชา วิทยาศาสตร์ พว21001 ท่ีสาคัญ ๆ ได้สะดวกและสามารถเข้าใจยิ่งขึ้น ในการ ศึกษาหนังสือสรุปเนื้อหาที่ต้องรู้หนังสือเรียนรายวิชา วิทยาศาสตร์ เล่มน้ี นักศึกษาควรปฏิบัติ ดงั นี้ 1. ศึกษาหนังสือเรียนรายวิชา วิทยาศาสตร์ พว21001 สาระความรู้พื้นฐาน หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ใหเ้ ขา้ ใจก่อน 2. ศึกษาเน้ือหาสาระของหนังสือสรุปเน้ือหาท่ีต้องรู้หนังสือเรียนรายวิชา วิทยาศาสตร์ พว21001 ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ พร้อมทั้งทาแบบฝึกหัดท้ายบททีละบท และ ตรวจคาตอบจากเฉลยแบบฝกึ หัดท้ายเล่มใหค้ รบ 6 บท 3. หากนักศึกษาต้องการศึกษารายละเอียดเน้ือหาสาระรายวิชา วิทยาศาสตร์ พว21001 เพิ่มเติมสามารถศึกษาค้นคว้าได้จากส่ืออ่ืน ๆ ในห้องสมุดประชาชน อินเทอร์เน็ต หรือครูผสู้ อน

บทที่ 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรอ่ื งท่ี 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1.1 ธรรมชาตแิ ละความสาคญั ของวทิ ยาศาสตร์ 1.1.1 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เป็นความรู้ท่ีได้จากการศึกษาปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนในธรรมชาติ ซ่ึงความรู้ทางวิทยาศาสตร์ได้แบ่งออกอย่างกว้าง ๆ เป็น 2 ประเภท ตามจดุ ประสงคข์ องการแสวงหาความรู้ คือ 1) วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ (Pure Science) หรือวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ คือ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่บรรยายถึงความเป็นไปของปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในธรรมชาติ อันประกอบไปด้วย ข้อเท็จจริง หลักการ ทฤษฏี กฎ และสูตรต่าง ๆ เป็นความรู้ พื้นฐานของนักวิทยาศาสตร์ ซ่ึงได้มาเพื่อสนองความต้องการอยากรู้อยากเห็น สามารถแบ่ง ออกเป็นกลมุ่ ย่อยไดอ้ ีก 3 แขนง คือ 1.1) วิทยาศาสตร์กายภาพ (Physical Science) คือ วิทยาศาสตร์ ที่ว่าด้วยเรื่องราวต่าง ๆ ของส่ิงไม่มีชีวิต เช่น เคมี ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์ รวมถึง อุตนุ ยิ มวิทยา และธรณีวทิ ยา เปน็ ต้น 1.2) วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ชี ว ภ า พ ( Biological Science) คื อ วิทยาศาสตร์ท่ีว่าด้วยเรื่องราวต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต เช่น สัตว์วิทยา พฤกษศาสตร์ จุลชีววิทยา เปน็ ต้น 1.3) วิทยาศาสตร์สังคม เป็นวิทยาศาสตร์ท่ีศึกษาหาความรู้ เพ่ือจัดระบบให้มนุษย์มีการดารงชีวิตอยู่ด้วยกัน อย่างมีแบบแผน เพื่อความสงบสุขของสังคม ประกอบดว้ ย วิชาจิตวิทยา วิชาการศกึ ษา วิชารฐั ศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เป็นต้น 2) วิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Applied Science) วิทยาศาสตร์ ประยุกต์ คือ วิทยาศาสตร์ท่ีว่าด้วยเรื่องราวต่าง ๆ ท่ีมุ่งประโยชน์ในทางปฏิบัติยิ่งกว่าทฤษฏี วิทยาศาสตร์ประยุกต์เป็นวิทยาศาสตร์ท่ีนาเอาความรู้จากวิทยาศาสตร์บริสุทธ์ิ มาประยุกต์ เพ่อื ใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ สังคมสนองความต้องการของมนษุ ยใ์ นด้านตา่ ง ๆ

2 1.1.2 ความสาคัญของวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีบทบาทสาคัญที่สุดในโลกปัจจุบัน และอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นรากฐานสาคัญในการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ วิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือท่ีช่วยให้มนุษย์ มีความสะดวกสบาย มคี วามสขุ มีคุณภาพชวี ติ ที่ดขี ึน้ วทิ ยาศาสตรท์ าให้มนุษยไ์ ด้พฒั นาวิธีคิด เป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะท่ีสาคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ และวิทยาศาสตร์ยังพัฒนาด้านการศึกษา เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะในการศึกษาหาความรู้และแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ด้วยตนเอง โดยใชว้ ิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ 1.2 กระบวนการและทักษะทางวิทยาศาสตร์ 1.2.1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เป็นแนวทางการดาเนินการโดยใช้ทักษะวิทยาศาสตร์ในการจัดการ มลี าดบั ขั้นตอน 5 ขน้ั ตอน ดังนี้ 1) การกาหนดปัญหา คอื การกาหนดหวั เร่อื งท่ีจะศกึ ษาหรือปฏิบัติการ ทดลองแก้ไขปัญหาทไ่ี ดม้ ากจาการสงั เกตหรอื ข้อสงสัยในปรากฏการณ์ที่พบเห็น 2) การต้ังสมมติฐาน คือ การกาหนดหรือคาดคะเนคาตอบของปัญหาไว้ ล่วงหนา้ อย่างมเี หตุผล โดยอาศยั ขอ้ มูลจากการสังเกต การศกึ ษาเอกสารที่เกย่ี วข้อง 3) การทดลองและรวบรวมข้อมูล คือ การปฏิบัติการทดลองค้นคว้าหา ความจรงิ ของปญั หาหรือปรากฏการณเ์ พื่อหาคาตอบใหส้ อดคลอ้ งกบั สมติฐานที่ตงั้ ไว้ 4) การวิเคราะหข์ ้อมูล คอื การนาข้อมลู ที่รวบรวมจากข้ันการทดลองมา วิเคราะหห์ าความสมั พันธ์ของข้อเท็จจริงเพ่อื นามาตรวจสอบกับสมมตฐิ านทตี่ งั้ ไว้ 5) การสรุปผล คือ การสรุปผลการทดลองโดยอาศัยข้อมูลท่ีได้จากการ วเิ คราะห์เพ่อื อธิบายสาเหตุของปัญหาหรอื ปรากฏการณ์ 1.2.2 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย 13 ทักษะ โดย แบง่ เป็น 2 กลมุ่ ดังน้ี 1) กลุ่มทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน มี 8 ทักษะ ไดแ้ ก่

3 1.1) ทกั ษะการสงั เกต (Observing) 1.2) ทักษะการวัด (Measuring) 1.3) ทกั ษะการจาแนกหรือทักษะการจดั ประเภทสิ่งของ (Classifying) 1.4) ทกั ษะการใชค้ วามสัมพนั ธ์ระหวา่ งสเปสกับเวลา (Using Space/Relationship) 1.5) ทกั ษะการคานวณและการใชจ้ านวน (Using Numbers) 1.6) ทกั ษะการจัดกระทาและสอ่ื ความหมายขอ้ มูล (Communication) 1.7) ทกั ษะการลงความเหน็ จากข้อมูล (Inferring) 1.8) ทักษะการพยากรณ์ (Predicting) 2) กลมุ่ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข์ ้นั สูงหรือทักษะขัน้ ผสม มี 5 ทักษะ ได้แก่ 1.1) ทักษะการตง้ั สมมตุ ฐิ าน (Formulating Hypothesis) 1.2) ทักษะการควบคุมตวั แปร (Controlling Variables) 1.3) ทกั ษะการตคี วามและลงข้อสรปุ (Interpreting data) 1.4) ทกั ษะการกาหนดนิยามเชิงปฏิบัตกิ าร (Defining Operationally) 1.5) ทักษะการทดลอง (Experimenting) 1.2.3 คุณลักษณะของบคุ คลทมี่ ีเจตคตทิ างวิทยาศาสตร์ 1) เป็นบุคคลที่มีเหตุผล คือ เป็นบุคคลที่เช่ือในความสาคัญของเหตุผล ค้นหาสาเหตุของปัญหาหรือเหตุการณ์ ความสัมพันธ์ของสาเหตุกับผล และค้นหาคาตอบของ ปัญหาหรือเหตกุ ารณ์ 2) เป็นบุคคลท่ีมีความอยากรู้อยากเห็น คือ เป็นบุคคลท่ีพยายาม แสวงหาความรู้ใหม่ๆ หาข้อมูลเพิ่มเติม ชอบซักถาม คน้ หาความรูโ้ ดยวิธกี ารใหม่ ๆ อยู่เสมอ 3) เป็นบุคคลท่ีมีใจกว้าง คือ เป็นบุคคลที่ยอมรับความคิดเห็นใหม่ ๆ ยอมรบั การวิพากษ์วจิ ารณจ์ ากบุคคลอ่นื ขอ้ จากัดของความรู้ทคี่ ้นพบ และยอมรับความรใู้ หม่ ๆ ทค่ี ้นพบ

4 4) เปน็ บุคคลทีม่ ีความซื่อสตั ย์และมีใจเปน็ กลาง คือ เป็นบุคคลทม่ี ีความ ซอ่ื ตรง อดทน ยุตธิ รรม มัน่ คงหนกั แน่น และละเอยี ดรอบคอบ 5) เป็นบุคคลที่มีความเพียรพยายาม คือ ทางานท่ีได้รับมอบหมายให้ เสรจ็ สมบรู ณ์ ไมท่ อ้ ถอย ตั้งใจแนว่ แนต่ อ่ การค้นหาความรู้ 6) เป็นบุคคลท่มี คี วามละเอียดรอบคอบ คอื เปน็ บคุ คลท่ีใช้วิจารณญาณ ก่อนการตัดสินใจ ไมเ่ ชอื่ ส่งิ ใดโดยง่ายก่อนทจี่ ะมีการพิสูจน์ทดลอง SC201001 ความสาคัญและกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1.3 การนาความรไู้ ปเลอื กใช้เทคโนโลยไี ด้อย่างเหมาะสม 1.3.1 ความหมายของเทคโนโลยี เทคโนโลยี หมายถึง ความรู้ วิชาการ วิธีการและความชานาญท่ี สามารถนาไปปฏิบัติให้เกิดประโยชน์สูงสุด สนองความต้องการของมนุษย์ เพ่ือช่วยใน การทางานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ เช่น อุปกรณ์ เครื่องมือ เคร่ืองจักร วัสดุ และระบบหรือ กระบวนการทางานต่าง ๆ 1.3.2 ประเภทของเทคโนโลยี 1) เทคโนโลยีในการประกอบอาชพี 1.1) เทคโนโลยีกับการพัฒนาอุตสาหกรรม การนาเทคโนโลยีมาใช้ ในการผลิต ทาให้ประสิทธิภาพในการผลิตเพ่ิมข้ึน ประหยัดแรงงาน ลดต้นทุน และรักษา สภาพแวดล้อม เทคโนโลยีท่ีมีบทบาทในการ พัฒนา อุตสาหกรรมในประเทศไทย เช่น คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนกิ ส์

5 1.2) เทคโนโลยีกับการพัฒนาด้านการเกษตร ใช้เทคโนโลยีใน การเพิ่มผลผลิต ปรับปรุงพันธ์ุ การผลิตพืชพันธุ์ดีให้ได้ปริมาณมาก ๆ ในระยะเวลาอันส้ัน (Micropropaagation) การผสมพันธ์ุสัตว์และการปรับปรุงพันธ์ุสัตว์ ( Breeding and Upgrading of Livestocks) การควบคุมศัตรูพืช โดยชีววิธี (Biological pest control) และ จุลินทรยี ท์ ่ชี ่วยรักษาสภาพแวดล้อม 2) เทคโนโลยีที่ใชใ้ นชีวิตประจาวนั ก า ร น า เ ท ค โ น โ ล ยี ม า ใ ช้ ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ า วั น ข อ ง ม นุ ษ ย์ มี ม า ก ม า ย เนื่องจากการได้รับการพัฒนา ทางด้านเทคโนโลยี อย่างกว้างขวาง เช่น การส่งจดหมายผ่าน ทางอินเทอร์เน็ต การหาความรู้ผ่านอินเทอร์เน็ต การพูดคุยและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน การอ่านหนังสือผ่านอินเทอร์เน็ต ล้วนแต่เป็น เทคโนโลยีที่มีความก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เปน็ การประหยดั เวลาและสามารถหาความรู้ตา่ ง ๆ ได้รวดเรว็ ยิ่งข้นึ 3) เทคโนโลยีทเี่ หมาะสม เทคโนโลยีที่เหมาะสม หมายถึง เทคโนโลยีท่ีมีความเหมาะสมต่อ สภาพเศรษฐกิจ สังคม และความต้องการของประเทศ เทคโนโลยีบางเรื่องเหมาะสมกับบาง ประเทศ สอดคล้องกับความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ สภาพแวดล้อม วัฒนธรรม สง่ิ แวดลอ้ ม และกาลงั เศรษฐกิจของคนท่ัวไป SC201002 การเลอื กใช้เทคโนโลยใี นชีวิตประจาวนั

6 1.4 การเลอื กใช้อปุ กรณท์ างวิทยาศาสตร์ 1.4.1 ความหมายของอุปกรณท์ างวิทยาศาสตร์ อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง เคร่ืองมือท่ีใช้ท้ังภายในและ ภายนอกหอ้ งปฏิบัตกิ ารเพ่ือใช้ ทดลองและหาคาตอบต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์ 1.4.2 ประเภทของอุปกรณ์ทางวทิ ยาศาสตร์ 1) ประเภททั่วไป เช่น บีกเกอร์ หลอดทดสอบ ไพเพท บิวเรต กระบอก ตวง หลอดหยดสาร แท่งแก้วคนสาร ซึ่งอุปกรณ์เหล่านี้ผลิตขึ้นจากวัสดุที่เป็นแก้ว เนื่องจาก ป้องกันการทาปฏิกิริยากับสารเคมี นอกจากนี้ยังมี เครื่องชั่งแบบต่าง ๆ กล้องจุลทรรศน์ ตะเกียงแอลกอฮอล์ เปน็ ต้น 2) ประเภทเครื่องมือช่าง เป็นอุปกรณ์ท่ีใช้ได้ท้ังภายในห้องปฏิบัติการ และภายนอก ห้องปฏิบตั ิการ เช่น เวอรเ์ นยี คมี และแปรง เปน็ ตน้ 3) ประเภทส้ินเปลือง และสารเคมี เป็นอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้ แล้วหมดไปไม่สามารถนากลับมาใช้ได้อีก เช่น กระดาษกรอง กระดาษลิตมัส และสารเคมี เปน็ ต้น 1.4.3 การเลือกใชอ้ ุปกรณ์ทางวทิ ยาศาสตร์ 1) การใชง้ านอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ประเภททั่วไป 1.1) บีกเกอร์ (BEAKER) บีกเกอร์มีหลายขนาดและมีความจุต่างกัน มีลักษณะแบบสูง แบบเต้ีย และแบบรูปทรงกรวย มีความจุตั้งแต่ 5 มิลลิลิตร จนถึงหลาย ๆ ลิตร ใช้สาหรับต้มสารละลายท่ีมีปริมาณมาก การเตรียมสารละลายต่าง ๆ สาหรับตกตะกอน และใช้ระเหยของเหลวท่ีมฤี ทธเ์ิ ป็นกรดน้อย 1.2) หลอดทดสอบ (TEST TUBE) หลอดทดสอบมีหลายชนิดและ หลายขนาด ชนิดที่มีปากและไม่มีปาก ชนิดธรรมดาและชนิดทนไฟ ขนาดของหลอดทดสอบ ระบุได้ 2 แบบ คือ ความยาวกับเส้นผ่าศูนย์กลางริมนอกหรือขนาดความจุเป็นปริมาตร ใช้สาหรับทดลองปฏิกิริยาเคมีระหว่างสารต่าง ๆ ที่เป็นสารละลาย ใช้ต้มของเหลวท่ีมีปริมาตร น้อย ๆ โดยมี test tube holder จับกันร้อนมือและหลอดทดสอบแบบทนไฟจะมีขนาดใหญ่ และหนากว่าหลอดธรรมดา ใช้สาหรบั เผาสารตา่ งๆ ด้วยเปลวไฟโดยตรงในอุณหภูมทิ ่ีสงู 1.3) ไพเพท (PIPETTE) ไพเพท เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดปริมาตร ได้อย่างใกล้เคียง มีอยู่หลาย ชนิด แต่โดยท่ัวไปที่มีใช้อยู่ในห้องปฏิบัติการมีอยู่ 2 แบบ คือ

7 Volumetric pipette หรือ Transfer pipette และ Measuring pipette Transfer pipette มีหลายขนาดตั้งแต่ 1 มิลลิลิตร ถึง 100 มิลลิลิตร Transfer pipette ใช้สาหรับส่งผ่านของ สารละลายที่มปี รมิ าตรตามขนาดของไพเพท 1.4) บิวเรท (BURETTE) บิวเรท เป็นอุปกรณ์วัดปริมาตรที่มีขีดบอก ปริมาตรต่าง ๆ และมีก็อกสาหรับเปิด-ปิด เพื่อบังคับการไหลของของเหลว บิวเรทเป็นอุปกรณ์ ท่ีใช้ในการวิเคราะห์ มีขนาดต้ังแต่ 10 มิลลิลิตร จนถึง 100 มิลลิลิตร บิวเรท สามารถวัด ปริมาตรได้อย่างใกล้เคยี งความจริงมากทสี่ ดุ 1.5) เคร่ืองชั่ง (BALANCE) โดยทั่วไปจะมี 2 แบบ คอื แบบ triple- beam และแบบ equal-arm แบบ Triple-Beam เปน็ เครื่องช่ังชนิด Mechanical balance อีกชนิด หน่ึงท่ีมีราคาถูกและใช้ง่าย แต่มีความไวน้อย เครื่องชั่งชนิดนี้มีแขนข้างขวาอยู่ 3 แขน และในแต่ละแขนจะมีขีดบอกน้าหนักไว้ เช่น 0-1.0 กรัม 0-10 กรัม 0-100 กรัม และยังมีตุ้ม น้าหนักสาหรับเลื่อนไปมาได้อกี ด้วย แขนท้ัง 3 นต้ี ดิ กับเขม็ ช้ีอันเดยี วกัน แบบ Equal-Arm เป็นเคร่ืองชั่งท่ีมีแขน 2 ข้างยาวเท่ากันเมื่อ วัดระยะจากจุดหมุนซ่ึงเป็นสันมีด ขณะท่ีแขนของเคร่ืองช่ังอยู่ในสมดุล เม่ือต้องการหาน้าหนัก ของสารหรือวตั ถใุ ห้วางสารน้ันบนจานดา้ นหนึ่งของเคร่ืองช่ังตอนน้ีแขนของเคร่ืองช่ังจะไม่อยู่ใน ภาวะทส่ี มดลุ จึงต้องใสต่ ้มุ นา้ หนกั เพอ่ื ปรบั ให้แขนเคร่ืองช่ังอยูใ่ นสมดุล 2) การใชง้ านอุปกรณว์ ทิ ยาศาสตรป์ ระเภทเครื่องมอื ชา่ ง 1.1) เวอร์เนีย (VERNIER ) เป็นเครื่องมือท่ีใช้วัดความยาวของวัตถุ ทงั้ ภายใน และภายนอกของช้ินงาน 1.2) คีม (TONG) คมี มอี ยู่หลายชนิด คมี ท่ีใชก้ ับขวดปรมิ าตรเรียกว่า flask tong คีมท่ีใช้กับบีกเกอร์เรียกว่า Beaker tong และคีมท่ีใช้กับเบ้าเคลือบเรียกว่า Crucible tong ซ่ึงทาด้วยนิเกิ้ลหรือโลหะเจือเหล็กที่ไม่เป็นสนิม แต่อย่านา Crucible tong ไปใชจ้ บั บีกเกอรห์ รือขวดปรมิ าตรเพราะจะทาให้ลื่นตกแตกได้ 3) การใชง้ านอปุ กรณ์วทิ ยาศาสตร์ประเภทส้ินเปลอื งและสารเคมี 1.1) กระดาษกรอง (FILTER PAPER) เป็นกระดาษท่ีกรองสารท่ี อนุภาคใหญอ่ อกจากของเหลวซึ่ง มขี นาดของอนุภาคที่เล็กกว่า

8 1.2) กระดาษลิตมัส (LITMUS) เป็นกระดาษที่ใช้ทดสอบสมบัติ ความเป็นกรด เบสของของเหลว กระดาษลิตมัสมีสองสีคือสีแดงหรือสีชมพู และสีน้าเงินหรือ สีฟ้า วิธีใช้คือการสัมผัสของเหลวลงบนกระดาษ ถ้าหากของเหลวมีสภาพเป็นกรด (pH < 4.5) กระดาษจะเปลี่ยนจากสีน้าเงิน เป็นสีแดง และในทางกลับกันถ้าของเหลวมีสภาพเป็นเบส (pH > 8.3) กระดาษจะเปลี่ยนจากสีแดงเป็นสีน้าเงินถ้าหากเป็นกลาง (4.5 ≤ pH ≤ 8.3) กระดาษทั้งสองจะไมเ่ ปลี่ยนสี 1.3) สารเคมี หมายถึง สารที่ประกอบด้วยธาตุเดียวกันหรือ สารประกอบจากธาตตุ ่าง ๆ รวมกันดว้ ย พนั ธะเคมีซ่ึงในห้องปฏบิ ตั กิ ารจะมีสารเคมีมากมาย SC201003 อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์

9 เรอื่ งท่ี 2 โครงงานวทิ ยาศาสตร์ 2.1 ความหมายของโครงงานวทิ ยาศาสตร์ โครงงานวิทยาศาสตร์ หมายถึง การศึกษาค้นคว้าเรื่องใดเร่ืองหนึ่งเกี่ยวกับ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีซ่ึงผู้เรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติและศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองเป็น รายบุคคลหรือเป็นกลุ่มโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ภายใต้การให้คาปรึกษาและการดูแลของ ครหู รือผ้เู ชยี่ วชาญในเร่อื งน้ัน ๆ 2.2 ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ การแบง่ ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ สามารถแบง่ ได้ ดังน้ี 2.2.1 โครงงานวิทยาศาสตร์ท่ีแบ่งตามลักษณะของกิจกรรม แบ่งได้ 4 ประเภท ได้แก่ 1) โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทการสารวจ เป็นการศึกษาเชิงสารวจ ข้อมูล รวบรวมข้อมูลและนาเสนอขอ้ มูลในรปู แบบตา่ ง ๆ 2) โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทการทดลอง เป็นการศึกษาที่มี การออกแบบการทดลองเพอ่ื หาคาตอบของปญั หา 3) โครงงานวทิ ยาศาสตร์ประเภทส่ิงประดิษฐ์ เปน็ การประยุกตใ์ ช้ความรู้ หลกั การทางวทิ ยาศาสตร์เพ่อื ประดษิ ฐ์เครื่องมอื เครื่องใชห้ รืออุปกรณ์เพื่อประโยชนใ์ ช้สอย 4) โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททฤษฎี เป็นการศึกษาแนวคิดหลักการ ทฤษฏีใหม่ ๆ อยา่ งมีหลักการทางวทิ ยาศาสตร์ 2.2.2 โครงงานวทิ ยาศาสตร์ท่ีแบ่งตามแหล่งทม่ี า แบ่งได้ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) โครงงานวิทยาศาสตร์ตามสาระการเรียนรู้ เช่น โครงงานทางเคมี ชีววิทยา ฟิสกิ ส์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ เปน็ ต้น 2) โครงงานวิทยาศาสตร์ตามความสนใจ เช่น โครงงานวิทยาศาสตร์ การเกษตร โดยลักษณะของโครงงานจะเกย่ี วกับเกษตรทั้งสน้ิ 2.2.3 โครงงานวิทยาศาสตร์ท่ีแบ่งโดยใช้แบบแผนของโครงงาน แบ่งได้ 2 รูปแบบ คอื 1) โครงงานท่ีไม่เป็นแบบแผน เป็นโครงงานที่ไม่จาเป็นต้องเขียน โครงงานเพยี งแตด่ าเนนิ การตามทกี่ าหนดไว้ อาจเปน็ ใบงาน หรอื ช้ินงานก็ได้

10 2) โครงงานตามแบบแผน เป็นโครงงานที่จัดทาเป็นลายลักษณ์อักษร มีระเบยี บวธิ จี ดั ทาเป็นขั้นตอนอยา่ งชดั เจน SC202001 ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ 2.3 แนวทางและการวางแผนข้ันตอนการทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ การทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ มี 7 ขัน้ ตอน ดังน้ี 1) ขัน้ สารวจและตดั สนิ ใจเลือกเร่ืองที่จะทาโครงงาน คือ การเรมิ่ ต้นจากปัญหา หรือความสนใจใคร่รู้ของผูเ้ รียนซึง่ จะตอ้ งสารวจตนเองว่ามีความสงสัย และอยากค้นหาคาตอบ เก่ยี วกับเรอ่ื งใด แลว้ นาปัญหานัน้ มากาหนดเป็นหัวขอ้ เรื่องทจ่ี ะทาโครงงาน 2) ข้ันศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง คือ ศึกษาค้นคว้าเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องหรือ ผทู้ มี่ ีความรคู้ วามสามารถให้คาปรึกษา เพอ่ื ใชเ้ ป็นแนวทางในการออกแบบโครงงาน 3) ขั้นการวางแผนการทาโครงงาน คือ การวางแผนการดาเนินงานโครงงาน วทิ ยาศาสตร์อยา่ งระเอียด รอบคอบ มกี ารกาหนดขัน้ ตอนการดาเนนิ งานอย่างชดั เจน 4) ข้ันเขียนเค้าโครงงานวิทยาศาสตร์ คือ การเขียนเค้าโครงงานวิทยาศาสตร์ มีองค์ประกอบ ดังน้ี ชื่อเร่ืองโครงงาน ช่ือผู้ทาโครงงาน ช่ือท่ีปรึกษาโครงงาน ที่มาและ ความสาคัญของโครงงาน วัตถุประสงค์โครงงาน สมมติฐานโครงงาน วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ วิธีการ ดาเนินงาน แผนปฏบิ ัตงิ าน ผลท่คี าดว่าจะได้รบั เอกสารอา้ งอิง 5) ข้ันลงมือปฏิบัติ คือ การลงมือปฏิบัติการทาโครงงานตามแผนท่ีได้กาหนดไว้ ในเคา้ โครงของโครงงาน

11 6) ขั้นการเขียนรายงานโครงงาน คือ การเขียนรายงานผลการดาเนินงาน โครงงานวิทยาศาสตร์ ต้องเขียนให้ชัดเจน เข้าใจง่าย ครอบคลุมประเด็นสาคัญท้ังหมดตาม เคา้ โครงของโครงงาน 7) ข้ันการนาเสนอผลการดาเนินงานโครงงานวิทยาศาสตร์ คือ การนาเสนอผล การทาโครงงาน อาจทาได้หลายรปู แบบ เช่น นิทรรศการ ประชมุ วิชาการ เปน็ ตน้ SC202002 การวางแผนทาโครงงาน 2.4 การนาเสนอโครงงานวทิ ยาศาสตร์ เป็นการแสดงผลงานของการทาโครงงานซ่ึงเป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทา โครงงานวิทยาศาสตร์ การแสดงผลการทาโครงงานทาได้หลายรูปแบบ เช่น การแสดงใน รูปแบบนิทรรศการ การอธิบายดว้ ยการพูดนาเสนอ การประชมุ วิชาการ โดยมีการจดั ทารปู เล่ม รายงานผลการทาโครงงานประกอบด้วยให้ครอบคลุมประเด็นสาคัญตามเค้าโครงของโครงงาน วทิ ยาศาสตร์ การนาเสนอผลโครงงานแบบนิทรรศการ

12 การนาเสนอผลโครงงานด้วยการพดู ปากเปล่า การนาเสนอโครงงานแบบประชมุ วิชาการ SC202003 แนวทางการนาผลจากโครงงานไปใช้ประโยชน์

13 แบบฝึกหัดท่ี 1 คาชแ้ี จง : ใหผ้ เู้ รยี นเลอื กคาตอบที่ถูกตอ้ งที่สุดเพยี งข้อเดียว 1. ความรทู้ างวิทยาศาสตรท์ ี่บรรยายถึงความเปน็ ไปของปรากฏการณต์ ่าง ๆ ในธรรมชาติ คอื ข้อใด ก. วทิ ยาศาสตรบ์ ริสุทธิ์ ข. วทิ ยาศาสตร์สังคม ค. วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ ง. วิทยาศาสตรป์ ระยุกต์ 2. การกาหนดหรอื คาดคะเนคาตอบของปญั หาไวล้ ่วงหน้าอยา่ งมีเหตผุ ล เปน็ กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ตามขอ้ ใด ก. การกาหนดวัตถปุ ระสงค์ ข. การตั้งสมมตฐิ าน ค. การกาหนดปญั หา ง. การสรุปผล 3. บุคคลตามขอ้ ใดเลอื กใชเ้ ทคโนโลยไี ด้สอดคล้องกนั ทส่ี ดุ ก. สมศักด์ใิ ชร้ ถแทรกเตอรใ์ นการปลูกยางพารา ข. สมชายใช้ระบบคอมพิวเตอร์เพอื่ เพมิ่ ผลผลิตสินคา้ ค. สมหมายใชร้ ถแทรกเตอรใ์ นการทานาปลกู ขา้ ว ง. สมศรียังใช้ระบบโทรเลขส่งจดหมายในปัจจุบนั 4. แกว้ ตาต้องการทดลองปฏิกิรยิ าเคมีระหว่างสารตา่ งๆ ท่ีเป็นสารละลาย แก้วตาควรเลือกใช้ อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ ตามขอ้ ใด ก. บกี เกอร์ (Beaker) ข. ไพเพท (Pipette) ค. บิวเรท (Burette) ง. หลอดทดสอบ (Test Tube)

14 5. อุปกรณท์ างวิทยาศาสตร์ที่ใช้วดั ปริมาตรท่ีมขี นาดตั้งแต่ 10 มิลลิลติ ร จนถงึ 100 มิลลิลติ ร และสามารถวัดปริมาตรไดอ้ ย่างใกล้เคยี งความจริงมากท่ีสุด คืออปุ กรณท์ างวิทยาศาสตร์ ตามขอ้ ใด ก. บกี เกอร์ (Beaker) ข. ไพเพท (Pipette) ค. บิวเรท (Burette) ง. หลอดทดสอบ (Test Tube) 6. ธงชัยเลือกทาโครงงานการผลิตเคร่ืองปอกเปลอื กผลไม้ สง่ ครูท่ีปรกึ ษา คอื การทาโครงงาน ทางวิทยาศาสตร์ประเภทใด ก. โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทการสารวจ ข. โครงงานวทิ ยาศาสตร์ประเภทการทดลอง ค. โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทการทฤษฏี ง. โครงงานวทิ ยาศาสตร์ประเภทส่ิงประดษิ ฐ์ 7. การทาโครงงานทม่ี กี ารออกแบบลงมือปฏบิ ัตเิ พ่ือหาคาตอบของปัญหา คือการทาโครงงาน ทางวิทยาศาสตร์ประเภทใด ก. โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทการสารวจ ข. โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทการทดลอง ค. โครงงานวทิ ยาศาสตร์ประเภทการทฤษฏี ง. โครงงานวทิ ยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์ 8. การเริม่ ต้นจากปัญหาหรอื ความสนใจใครร่ ขู้ องผ้เู รียน และอยากค้นหาคาตอบเกย่ี วกบั เร่อื งใด แลว้ นาปัญหานั้นมากาหนดเป็นหัวขอ้ เร่อื งที่จะทาโครงงาน คอื ขนั้ ตอนใดของการ ทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ก. ขัน้ สารวจเลือกเรอ่ื งโครงงาน ข. ขั้นศกึ ษาข้อมลู ท่เี กีย่ วข้องโครงงาน ค. ขั้นลงมอื ปฏบิ ตั ิดาเนินงานโครงงาน ง. ขั้นรายงานผลการดาเนินงานโครงงาน

15 9. การนาขอ้ มูลที่ได้จากทาโครงงานมาจัดทาเปน็ นิทรรศการ หรอื ประชมุ วชิ าการ คือข้นั ตอนใดของการ ทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ก. ขั้นสารวจเลือกเรอื่ งโครงงาน ข. ขน้ั ศกึ ษาข้อมลู ท่เี ก่ยี วข้องโครงงาน ค. ขั้นลงมือปฏบิ ตั ิดาเนินงานโครงงาน ง. ขั้นนาเสนอผลการดาเนนิ งานโครงงาน 10. สมปองต้องการนาเสนอผลของโครงงานโดยนาเสนอในรูปแบบทผี่ ู้ชมสามารถเดนิ ชม ผลงานโครงงานได้อย่างใกล้ชดิ และเห็นภาพชัดเจน สมปองควรเลือกนาเสนอผล ของโครงงาน ตามขอ้ ใด ก. การนาเสนออธิบายหน้าชั้นเรียน ข. การนาเสนอเวทีประชมุ วชิ าการ ค. การนาเสนอรูปแบบนิทรรศการ ง. การนาเสนอแบบปดิ ป้ายประชาสัมพันธ์ -------------------------------

16 แบบฝกึ หดั ที่ 2 คาชแี้ จง : ใหผ้ เู้ รยี นตอบคาถามต่อไปนี้ 1. ผู้เรยี นอธบิ ายกระบวนการทางวิทยาศาสตร์แต่ละขั้นตอนมาให้ถูกต้อง ……………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ผเู้ รยี นบอกทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ันพ้นื ฐานทจ่ี าเป็นมา จานวน 5 ขอ้ ……………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ผู้เรยี นบอกวธิ ีการใชอ้ ุปกรณท์ างวทิ ยาศาสตร์ ดงั ตอ่ ไปน้ีใหถ้ กู ตอ้ ง 3.1 บกี เกอร์ (BEAKER) ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………..…………… 3.2 หลอดทดสอบ ( TEST TUBE ) ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….....……………………… 3.3 บิวเรท (BURETTE) ..…………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………….…………………………………… 3.4 ไพเพท (PIPETTE) ……………………………………………..……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………….……………………………………

17 4. ผเู้ รียนอธบิ ายประเภทโครงงานวทิ ยาศาสตร์ท่ีแบง่ ตามลักษณะของกิจกรรม ให้ถกู ต้อง ……………………………………………………………………………………………..……………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. ผ้เู รยี นบอกขัน้ ตอนการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ……………………………………………………………..……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………

18 บทท่ี 2 สงิ่ มีชวี ิตและส่งิ แวดลอ้ ม เรอ่ื งท่ี 1 เซลล์ 1.1 ความหมาย ลกั ษณะโครงสรา้ ง องคป์ ระกอบและหน้าทีข่ องเซลล์ 1.1.1 ความหมายของเซลล์ เซลล์ (Cell) คือ หน่วยที่เล็กท่ีสุดของส่ิงมีชีวิต เป็นหน่วยเริ่มต้นหรือ หนว่ ยพน้ื ฐานของทกุ ชวี ติ 1.1.2 รปู รา่ งและขนาดของเซลล์ เซลล์ส่วนใหญ่มีขนาดเล็ก และไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ต้องใช้กล้องจุลทรรศน์ส่อง แต่ก็มีเซลล์บางชนิดที่มีขนาดใหญ่ สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจน เช่น เซลล์ไข่ รูปร่างของเซลล์แต่ละชนิดจะแตกต่างกันไปตามชนิด หน้าที่ และตาแหน่งที่อยู่ ของเซลล์ 1.1.3 โครงสร้าง องคป์ ระกอบและหน้าทีข่ องเซลล์ โครงสร้างพน้ื ฐานของเซลลแ์ บง่ ออกไดเ้ ปน็ 3 ส่วนใหญ่ ๆ คอื 1.1.3.1 ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์เซลล์ ที่ทาหน้าท่ีห่อหุ้มองค์ประกอบ ภายในเซลล์ใหค้ งรปู อยู่ได้ ประกอบดว้ ย 1) เย่ือหุ้มเซลล์ (Cell Membrane) ทาหน้าที่ควบคุมปริมาณ และชนิดของสารท่ีผ่านเข้าออกจากเซลล์ด้วย มีสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน (Differentially Permeable Membrane) 2) ผนังเซลล์ (Cell Wall) พบได้ในเซลล์พืชทุกชนิด และใน เซลล์ของส่ิงมีชีวิตเซลล์เดียว ราและแบคทีเรียบางชนิด โดยจะห่อหุ้มเยื่อหุ้มเซลล์ไว้อีกช้ันหน่งึ ทาหน้าที่เพิ่มความแข็งแรงและป้องกันอันตรายให้แก่เซลล์ ผนังเซลล์ยอมให้สารเกือบทุกชนิด ผ่านเข้าออกได้ 1.1.3.2 นิวเคลียส (Nucleus) เป็นศูนย์กลางควบคุมการทางานของเซลล์ มีความสาคัญต่อกระบวนการแบ่งเซลล์และการสืบพันธุ์ของเซลล์เป็นอย่างมาก ในเซลล์ของ สิ่งมีชีวิตท่ัวไปจะมีเพียงหน่ึงนิวเคลียส แต่เซลล์บางชนิด เช่น เซลล์เม็ดเลือดแดง เม่ือเจริญเต็มที่ แลว้ จะไมม่ ีนวิ เคลยี ส

19 1.1.3.3 ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) คือ สิ่งท่ีอยู่ภายในเย่ือหุ้มเซลล์ ท้ังหมดยกเว้นนิวเคลียส ซึ่งเป็นของเหลวที่มีโครงสร้างเล็ก ๆ คือ ออร์แกเนลล์ (Organelle) กระจายอยู่ทัว่ ไป ประกอบด้วยหน่วยเลก็ ๆ ทีส่ าคัญหลายชนิด ดงั นี้ 1) ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria) เป็นโครงสร้างที่มีลักษณะ ยาวรีเปน็ แหลง่ ผลติ สารท่ีมีพลงั งานสงู ให้แกเ่ ซลล์ 2) คลอโรพลาสต์ (Chloroplast) เป็นโครงสร้างพบเฉพาะใน เซลลพ์ ืชมีสารพวกคลอโรฟลิ ล์ เปน็ สารสาคญั ทีใ่ ช้ในกระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง 3) ไรโบโซม (Ribosome) เป็นโครงสร้างที่มีขนาดเล็กเป็น แหล่งท่ีมกี ารสงั เคราะหโ์ ปรตีนเพือ่ สง่ ออกไปใชน้ อกเซลล์ 4) กอลจิคอมเพลกซ์ (Golgi Complex) เป็นโครงสร้างท่ีเป็นถุง แบนๆ คล้ายจานซ้อนกนั เป็นชั้น ๆ หลายช้ัน ทาหน้าท่ีสร้างสารคาร์โบไฮเดรตที่รวมกับโปรตีนแล้ว สง่ ออกไปใชภ้ ายในเซลล์ 5) เซนตรโิ อล (Centriole) พบเฉพาะในเซลล์สตั ว์และโพรติสต์ บางชนดิ มีหนา้ ท่เี กี่ยวกบั การแบ่งเซลล์ 6) แวคิวโอล (Vacuole) เป็นโครงสร้างท่ีมีช่องว่างขนาดใหญ่ มากในเซลล์พืชภายในมสี ารพวกน้ามนั ยาง และกา๊ ซตา่ ง ๆ SC203001 ลักษณะโครงสรา้ ง องคป์ ระกอบ และหน้าทข่ี องเซลล์

20 1.2 ความแตกตา่ งระหว่างเซลล์พชื และเซลล์สตั ว์ เซลลพ์ ชื และเซลล์สตั วม์ รี ปู รา่ งเหมือนและต่างกัน ดงั ภาพ เซลล์พืชและเซลลส์ ตั ว์มีความแตกต่างกนั ดงั ตาราง เซลลพ์ ชื เซลลส์ ตั ว์ 1. เซลล์พชื มรี ปู ร่างเปน็ เหลย่ี ม 1. เซลลส์ ตั วม์ ีรูปรา่ งกลม หรือรี 2. มผี นงั เซลล์อยู่ดา้ นนอก 2. ไมม่ ผี นังเซลล์ แต่มีสารเคลอื บเซลล์ อยูด่ า้ นนอก 3. มีคลอโรพลาสต์ภายในเซลล์ 3. ไม่มคี ลอโรพลาสต์ 4. ไม่มีเซนทริโอล 4. มเี ซนทริโอลใชใ้ นการแบง่ เซลล์ 5. แวคควิ โอลมขี นาดใหญ่ มองเหน็ ได้ชดั เจน 5. แวคควิ โอลมขี นาดเล็ก มองเหน็ ได้ ไม่ชัดเจน 6. ไม่มไี ลโซโซม 6. มีไลโซโซม จะเห็นได้ว่า ไม่มีเซลล์ของส่ิงมีชีวิตใด จะมีองค์ประกอบครบทุกชนิด เซลล์พืช และ เซลล์สัตว์ จะมีองค์ประกอบต่าง ๆ มากกว่าเซลล์แบคทีเรีย ซ่ึงอาจเป็นเพราะว่า สัตว์และพืช ประกอบไปด้วยเซลล์หลายชนิด ซ่ึงเซลล์เหล่าน้ีจะต้องทาหน้าท่ีประสานงานกัน เพ่ือทาให้สัตว์ ท้ังตัวหรอื พืชทง้ั ตัวดารงชวี ิตอย่ไู ด้

21 SC203002 ความแตกตา่ งระหวา่ งเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ เรื่องที่ 2 กระบวนการดารงชีวติ ของพืชและสัตว์ 2.1 กระบวนการแพรแ่ ละออสโมซิส การลาเลยี งสารเข้าสู่เซลล์ มี 2 รปู แบบ คอื 2.1.1 การแพร่ (Diffusion) เป็นการเคล่ือนที่ของโมเลกุลจากจุดที่มีความ เข้มข้นสูงกว่าไปยังจุดที่มีความเข้มข้นต่ากว่า การเคลื่อนที่นี้เป็นไปในลักษณะทุกทิศทุกทาง โดยไม่มีทศิ ทางทแี่ น่นอน ปจั จัยทม่ี ีผลตอ่ การแพร่ 1) ความเข้มข้นของสารที่แพร่ สารท่ีมีความเข้มข้นมากจะสามารถ แพรไ่ ดเ้ รว็ กวา่ สารทีม่ ีความเข้มขน้ น้อย 2) อุณหภูมิ และความดัน การเพ่ิมอุณหภูมิและความดัน เป็นการเพิ่ม พลังงานจลนใ์ หแ้ กอ่ นุภาคของสารทจี่ ะแพร่ จงึ มีผลทาใหก้ ารแพร่เกดิ ขึ้นไดร้ วดเร็วข้นึ 3) ขนาดและน้าหนักของอนุภาคของสาร สารท่ีมีขนาดอนุภาคเล็ก และเบาจะแพรไ่ ดร้ วดเร็วกวา่ สารท่ีมีอนุภาคใหญแ่ ละน้าหนกั มาก รูปแสดงกระบวนการแพร่ของสาร ท่ีมา : https://goo.gl/mKX37c

22 2.1.2 ออสโมซิส (Osmosis) เป็นการแพร่ของน้าจะแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์จาก ด้านที่มีความเข้มข้นของสารละลายต่า (น้ามาก) ไปยังด้านที่มีความเข้มข้นของสารละลาย สูงกว่า (น้าน้อย) ปกติการแพร่ของน้าจะเกิดท้ังสองทิศทางคือท้ังบริเวณท่ีมีความเข้มข้นของ สารละลายต่าและบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารละลายสูง ดังนั้น ออสโมซิสเป็นการแพร่ของ น้าจากบรเิ วณทีม่ ีน้ามากเขา้ สู่บริเวณทมี่ ีน้าน้อยกว่าโดยผา่ นเยื่อหมุ้ เซลล์ ปัจจัยทม่ี ผี ลต่อการออสโมซสิ 1) ความแตกต่างของความเข้มข้นของโมเลกลุ ของสารในที่ 2 แห่ง 2) ขนาดของโมเลกุลของสาร 3) สมบัติของเยอื่ กนั้ ทจ่ี ะยอมหรือไมย่ อมให้โมเลกุลของสารผา่ นได้ รปู แสดงกระบวนการออสโมซิส ทม่ี า : https://goo.gl/fQuYdo 2.2 โครงสรา้ งและการทางานของระบบลาเลยี งพืช โครงสร้างที่ใช้ในการลาเลียงของพืชประกอบด้วย 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ ท่อลาเลียง นา้ และแร่ธาตุ (Xylem) กบั ท่อลาเลยี งอาหาร (Phloem) 2.2.1 ท่อลาเลยี งน้าและแรธ่ าตุ (Xylem) เมือ่ พชื ดูดนา้ และแรธ่ าตใุ นดินผ่าน ทางขนรากแล้ว น้าและแร่ธาตจุ ะถกู ลาเลียงต่อไปยังลาต้นทางท่อลาเลียงน้าหรอื ไซเลม และส่ง ตอ่ ไปยงั กิง่ กา้ นและใบ เพื่อไปใช้ในกระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยของพืชตอ่ ไป 2.2.2 ท่อลาเลยี งอาหาร (Phloem) เมอ่ื พืชสงั เคราะห์ดว้ ยแสงท่บี ริเวณใบจะ ได้ น้าตาล น้า และกา๊ ซออกซิเจนน้าตาลทจี่ ะอยูใ่ นรูปของแป้งซึ่งเปน็ อาหารของพืช แตพ่ ืชจะมี การลาเลียงอาหารโดยการเปล่ียนแป้งให้เป็นน้าตาล แล้วส่งผ่านไปตามกลุ่มเซลล์ท่ีทาหน้าท่ี ลาเลียงอาหาร โดยวิธีการแพร่ไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช เพ่ือใช้เป็นพลังงานในกระบวนการ

23 ต่าง ๆ หรือเก็บสะสมไว้เป็นแหล่งอาหารซ่ึงอยู่ในรูปของแป้งหรือน้าตาล ที่มีอยู่บริเวณลาต้น ราก หรอื ผล รปู แสดงทอ่ ลาเลียงนา้ และอาหาร ทมี า : https://goo.gl/RbyBfK SC204001 โครงสรา้ งในการลาเลียงอาหารของพชื

24 2.3 ความสาคญั และปจั จัยท่จี าเป็นสาหรับกระบวนการสังเคราะห์แสง 2.3.1 ความสาคญั ของกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง 2.3.1.1 เป็นแหล่งอาหารและแหล่งพลังงานท่ีสาคัญของส่ิงมีชีวิต ทุกชนิด เนื่องจากพืชสีเขียวได้ดูดน้า รับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และดูดพลังงานแสงจากดวง อาทิตย์ไปสร้างสารอาหารพวกน้าตาลและสารอาหารน้ีสามารถเปล่ียนแปลงไปเป็นสารอาหาร อ่ืน ๆ ได้ เช่น แป้ง โปรตีน ไขมัน ซ่ึงส่ิงมีชีวิตได้นาไปใช้ประโยชน์ในกระบวนการต่าง ๆ ของ ชวี ิต จึงถอื วา่ สารอาหารเหลา่ นี้เป็นแหลง่ พลังงานทีส่ าคญั ของสงิ่ มีชีวติ ทุกชนิด 2.3.1.2 เป็นแหล่งผลิตก๊าซออกซิเจนที่สาคัญของระบบนิเวศ โดย ก๊าซออกซิเจนเป็นผลที่เกิดจากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ซึ่งก๊าซออกซิเจนเป็น ก๊าซท่ีสิ่งมีชีวติ ทุกชนดิ ตอ้ งนาไปใช้ในการสลายอาหาร เพ่ือสร้างพลังงานหรือใช้ในกระบวนการ หายใจน่ันเอง 2.3.1.3 ช่วยลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ เพราะพืชตอ้ งใชก้ ๊าซน้เี ปน็ วัตถุดิบในการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง โดยปกติก๊าซชนดิ นเ้ี ปน็ กา๊ ซท่ไี มม่ ีสี ไม่มีกลิ่น มีอยู่ในบรรยากาศประมาณ 0.03% เท่านั้น แต่เนื่องจากในปัจจุบันการเผาไหม้ เชื้อเพลิงเพ่ือการอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์มีมากข้ึน จึงทาให้มีก๊าซชนิดนี้เพ่ิมมากข้ึนด้วย สัดส่วนของอากาศที่หายใจจึงเสียไป ทาให้ได้รับก๊าซออกซิเจนน้อยลง จึงเกิดอาการอ่อนเพลีย และก๊าซชนิดนี้ยังทาให้โลกของเรามีอุณหภูมิสูงข้ึนเร่ือย ๆ เรียกว่า ปรากฏการณ์เรือนกระจก (Green House Effect) ดังนั้นจึงควรช่วยกันปลูกพืช และไม่ตัดไม้ทาลายป่า เพื่อลดปริมาณ กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซด์ในบรรยากาศ SC204002 กระบวนการดารงชีวติ ของพชื

25 2.3.2 ปัจจัยท่ีจาเปน็ สาหรบั กระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง ปจั จัยท่ีจาเป็นสาหรบั กระบวนการสงั เคราะหด์ ้วยแสง ประกอบดว้ ย 2.3.2.1 แสงสว่าง มีความสาคัญต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช เพราะเป็นผู้ให้พลังงานสาหรับการเกิดปฏิกิริยาระหว่างน้ากับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซ่ึงเป็น วตั ถดุ ิบสาคัญในการสร้างน้าตาลกลูโคส ผลพลอยไดก้ ็คือน้ากบั กา๊ ซออกซเิ จน 2.3.2.2 คลอโรฟีลล์ เป็นสารประกอบท่ีมีรงควัตถุท่ีมีสีเขียวอยู่ภายใน เม็ดคลอร์โรพลาสต์ (Chloroplast) พบมากที่ใบและส่วนตา่ ง ๆ ท่ีมสี ีเขียวท่วั ไป คลอโรฟลี ล์ทา หน้าทร่ี บั พลังงานแสงเพือ่ ใช้ในการสร้างอาหาร 2.3.2.3 ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นวัตถุดิบสาหรับการสร้างอาหาร ของพืช โดยจะทาปฏิกิริยากับไฮโดรเจน (จากน้า) ได้สารอาหารพวกคาร์โบไฮเดรต (น้าตาลกลูโคส) โดยพืชจะรบั ก๊าซคาร์บอนไดออกไซดเ์ ข้ามาทางปากใบ 2.3.2.4 น้า เป็นวัตถุดิบสาหรับการสร้างอาหารของพืชโดยเป็นสารที่ให้ กา๊ ซไฮโดรเจน (H) เพ่อื นาไปทาปฏกิ ริ ิยากับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ภายในเม็ดคลอโรพลาสต์ รูปแสดงกระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง ท่ีมา : https://goo.gl/lqcdLo

26 SC204003 น้ามีผลตอ่ การเจริญเตบิ โตของพืช 2.4 โครงสร้างและการทางานของระบบสบื พันธ์ขุ องพชื 2.4.1 รูปแบบการสืบพันธข์ุ องพชื การสบื พนั ธ์ุของพืชแบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ 2.4.1.1 การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ เป็นวิธีการสืบพันธ์ุโดยไม่ต้อง มกี ารสรา้ งและการผสมระหว่างเซลล์สบื พนั ธ์ุ การสบื พนั ธแุ์ บบไมอ่ าศัยเพศมีอยู่หลายแบบ เช่น การแบ่งตัว การแตกหน่อ การงอกใหม่ การสร้างสปอร์ และการใช้ส่วนต่าง ๆ ของพืชมา ขยายพันธุ์ 2.4.1.2 การสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศ เป็นวิธีการสืบพันธ์ุของพืชดอก โดยส่วนของพืชท่ีทาหน้าทีส่ รา้ งเซลล์สืบพันธ์ุ คือ ดอก รปู แสดงส่วนประกอบของดอกไม้

27 2.4.2 การสร้างเซลลส์ บื พนั ธ์ขุ องพชื การสรา้ งเซลล์สบื พนั ธจ์ุ ะพบในพืชดอก โดยมีขั้นตอน ดงั น้ี การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ของพืชดอกจะเกิดขึ้นภายใน อับเรณู (anther) โดยมไี มโครสปอรม์ าเทอรเ์ ซลล์ (Microspore Mother Cell) แบ่งเซลล์แบบไมโอซิส ได้ 4 ไมโครสปอร์ (Microspore) แต่ละเซลล์มีโครโมโซมเท่ากับ n หลังจากน้ันนิวเคลียสของ ไมโครสปอร์จะแบ่งแบบไมโทซิส ได้ 2 นิวเคลียส คือ เจเนอเรทิฟนิวเคลียส (Generative Nucleus) และทิวบ์นิวเคลียส (Tube Nucleus) เรียกเซลล์ในระยะน้ีว่า ละอองเรณู (Pollen Grain) หรือแกมีโทไฟต์เพศผู้ (Male Gametophyte) ละอองเรณูจะมีผนังหนา ผนังช้ันนอก อาจมีผิวเรียบ หรือเป็นหนามเล็ก ๆ แตกต่างกันออกไปตามแต่ละชนิดของพืช เมื่อละอองเรณู แก่เต็มท่ีอับเรณูจะแตกออกทาให้ละอองเรณูกระจายออกไปพร้อมที่จะผสมพนั ธตุ์ ่อไปได้ การสร้างเซลล์สืบพันธ์ุเพศเมียของพืชดอกเกิดข้ึนภายในรังไข่ ภายในรังไข่อาจมีหนึ่ง ออวุล (Ovule) หรือหลายออวุล ภายในออวุลมีหลายเซลล์ แต่จะมีเซลล์หนึ่งที่มีขนาดใหญ่ เรียกว่า เมกะสปอร์มาเทอร์เซลล์ (Megaspore Mother Cell) มีจานวนโครโมโซม 2n ต่อมา จะแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสได้ 4 เซลล์ สลายไป 3 เซลล์ เหลือ 1 เซลล์ เรียกว่า เมกะสปอร์ (Megaspore) หลังจากนั้นนิวเคลียสของเมกะสปอร์จะแบ่งแบบไมโทซิส 3 คร้ัง ได้ 8 นิวเคลียส และมีไซโทพลาซึมล้อมรอบ เป็น 7 เซลล์ 3 เซลล์ อยู่ตรงข้ามกับไมโครไพล์ (Micropyle) เรียกวา่ แอนติแดล (Antipodals) ตรงกลาง 1 เซลล์มี 2 นิวเคลยี สเรียก เซลล์โพ ลาร์นิวคลีไอ (Polar Nuclei Cell) ด้านไมโครไพล์มี 3 เซลล์ ตรงกลางเป็นเซลล์ไข่ (Egg Cell) และ2 ขา้ งเรยี ก ซนิ เนอรจ์ ิดส์ (Synergids) ในระยะน้ี 1 เมกะสปอร์ไดพ้ ัฒนามาเป็นแกมโี ทไฟต์ ท่ีเรียกวา่ ถงุ เอม็ บริโอ (Embryo Sac) หรือแกมโี ทไฟต์เพศเมยี (Female Gametophyte) 2.4.3 การปฏิสนธใิ นพืชดอก การปฏสิ นธใิ นพชื ดอกเกิดขึ้นได้จาก พืชดอกแต่ละชนิดมลี ะอองเรณูและ รังไข่ท่ีมีรูปร่างลักษณะ และจานวนท่ีแตกต่างกันเม่ืออับเรณูแก่เต็มท่ีผนังของอับเรณูจะแตก ออกละอองเรณูจะกระจายออกไปตกบนยอดเกสรตัวเมียโดยอาศัยส่ือต่าง ๆ พาไป เช่น ลม นา้ แมลง สัตว์ รวมทั้งมนุษย์ เป็นต้น ปรากฏการณ์ที่ละอองเรณูตกลงสู่ยอดเกสรตัวเมีย เรียกว่า การถ่ายละอองเรณู (Pollination) เม่ือละอองเรณูตกลงบนยอดเกสรเพศเมีย ทิวบ์นิวเคลียส ของละอองเรณูแต่ละอันจะสร้างหลอดละอองเรณูด้วยการงอกหลอดลงไปตามก้านเกสรเพศ เมียผ่านทางรูไมโครไพล์ของออวุล ระยะน้ีเจเนอเรทิฟนิวเคลียสจะแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิส

28 ได้ 2 สเปิร์มนิวเคลียส (Sperm Nucleus) สเปิร์มนิวเคลียสหน่ึงจะผสมกับเซลล์ไข่ได้ไซโกต ส่วนอีกสเปิร์มนิวเคลยี สจะเข้าผสมกับเซลล์โพลาร์นิวเคลียสไอได้ เอนโดสเปิร์ม (Endosperm) เรียกการผสม 2 ครั้ง ของสเปิรม์ นวิ เคลียสน้ีว่า การปฏิสนธซิ ้อน (Double Fertilization) SC204004 โครงสร้างและการทางานของระบบสืบพนั ธุ์พืช 2.5 โครงสรา้ งและการทางานของระบบตา่ ง ๆ ในสตั ว์ สัตวม์ โี ครงสร้างและการทางานของระบบตา่ ง ๆ ประกอบดว้ ย 2.5.1 ระบบย่อยอาหาร ทาหน้าที่นาสารอาหารต่าง ๆ เข้าสู่ร่างกาย เพื่อเป็น วัตถดุ บิ สาคัญในการเจรญิ เตบิ โต การยอ่ ยอาหารของสตั ว์แบง่ ไดเ้ ป็น 2 แบบ คือ 2.5.1.1 การย่อยอาหารในสัตว์มีกระดูกสันหลัง สัตว์มีกระดูกสันหลัง ทุกชนิดจะมีระบบทางเดินอาหารสมบูรณ์ ซ่ึงทางเดินอาหารของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ประกอบด้วย ปาก  หลอดอาหาร  กระเพาะอาหาร  ลาไส้เล็ก  ทวารหนัก 2.5.1.2 การย่อยอาหารในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังน้ี 1) การย่อยอาหารในสัตว์ท่ีไม่มีกระดูกสันหลังท่ีมีทางเดิน อาหารไม่สมบูรณ์ - ฟองน้า มีเซลลพ์ เิ ศษอย่ผู นงั ด้านในของฟองน้า เรยี กว่า เซลลป์ ลอกคอ (Collar Cell) ทาหนา้ ทจี่ บั อาหาร แล้วสร้าง แวควิ โอลอาหาร (Food Vacuole) เพือ่ ย่อยอาหาร

29 - ไฮดรา แมงกะพรุน ซีแอนนีโมนี อาหารจะผ่านบริเวณ ปากเข้าไปในช่องลาตัวที่เรียกว่า ช่องแกสโตราสคิวลาร์ (Gastro vascular Cavity) ซึ่งจะย่อย อาหารท่บี ริเวณช่องนี้ และกากอาหารจะถูกขบั ออกทางเดิม คอื ปาก - หนอนตัวแบน เช่น พลานาเรีย พยาธิใบไม้ อาหารจะ เขา้ ทางปาก และยอ่ ยในทางเดนิ อาหาร แล้วขับกากอาหารออกทางเดิมคอื ทางปาก 2) การย่อยอาหารในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่มีทางเดิน อาหารสมบรู ณ์ - หนอนตัวกลม เช่น พยาธิ ไส้เดือน พยาธิเส้นด้าย เป็น พวกแรกที่มีทางเดนิ อาหารสมบูรณ์ คือ มชี อ่ งปากและช่องทวารหนักแยกออกจากกนั - หนอนตัวกลมมีปล้อง เช่น ไส้เดือนดิน ปลิงน้าจืด และ แมลงโครงสรา้ งทางเดนิ อาหารทมี่ ีลักษณะเฉพาะแตล่ ะสว่ นมากขน้ึ 2.5.2 ระบบหมุนเวียนเลือด ทาหน้าที่หมุนเวียนเลือด นาสารต่าง ๆ ท่ีมี ประโยชน์ไปยังเซลล์ทวั่ ร่างกาย และนาสารท่ีเซลล์ไม่ต้องการไปยังอวัยวะขบั ถา่ ยเพอื่ กาจัดออก นอกร่างกาย ในสัตว์ชั้นสูงมีระบบหมุนเวียนเลือด ซึ่งประกอบด้วยหัวใจเป็นอวัยวะสาคัญ ทา หนา้ ที่สบู ฉดี เลอื ดไปยงั ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย และมีหลอดเลอื ดเปน็ ทางลาเลียงเลือดไปท่ัวทุก เซลลข์ องรา่ งกาย แต่ในสตั วบ์ างชนดิ ใช้ช่องว่างระหวา่ งอวยั วะเปน็ ทางผา่ นของเลือด 2.5.3 ระบบหายใจ ทาหน้าท่ี นาก๊าซท่ีเซลล์ต้องการเข้าสู่ร่างกายและกาจัด ก๊าซท่ีเซลล์ไม่ต้องการออกนอกร่างกาย นอกจากน้ียังทาหน้าท่ีสร้างพลังงานให้แก่เซลล์ ทาให้ เซลล์สามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ สัตว์ จะแลกเปล่ียนก๊าซกับส่ิงแวดล้อมโดยกระบวนการ แพร่ (Diffusion) โดยสัตว์แต่ละชนิดจะมีโครงสร้างท่ีใช้ในการแลกเปล่ียนก๊าซที่เหมาะสมกับ การดารงชวี ติ และสิง่ แวดลอ้ มตา่ งกัน 2.5.4 ระบบขับถ่าย ในเซลล์หรือในร่างกายของสัตว์ต่าง ๆ จะมีปฏิกิริยาเคมี จานวนมากเกิดข้ึนตลอดเวลา และผลจากการเกิดปฏิกริ ิยาเคมีเหล่าน้ี จะทาให้เกิดผลิตภัณฑท์ ี่ มีประโยชน์ตอ่ ส่ิงมชี ีวิตและของเสียท่ีตอ้ งกาจัดออกด้วยการขับถ่าย สัตว์แตล่ ะชนดิ จะมีอวัยวะ และกระบวนการกาจัดของเสียออกนอกร่างกายแตกต่างกันออกไป สัตว์ชั้นต่าท่ีมีโครงสร้าง ง่าย ๆ เซลล์ที่ทาหน้าที่กาจัดของเสียจะสัมผัสกับส่ิงแวดล้อมโดยตรง ส่วนสัตว์ช้ันสูงท่ีมี โครงสร้างซับซอ้ น การกาจัดของเสยี จะมีอวัยวะที่ทาหนา้ ทเี่ ฉพาะ

30 2.5.5 ระบบประสาท เป็นระบบท่ีทาหน้าที่เก่ียวกับการส่ังงาน การติดต่อ เชื่อมโยงกับส่ิงแวดล้อมการรับคาสั่ง และการปรับระบบต่าง ๆ ในร่างกายให้ทากิจกรรมได้ ถูกต้องเม่ืออยู่ในสภาพแวดล้อมที่แตกตา่ งกัน โดยสัตว์แต่ละชนิดจะมีโครงสร้างและการทางาน ของระบบประสาททแี่ ตกตา่ งกนั 2.5.6 ระบบโครงกระดูก ถ้ามีโครงร่างแข็งท่ีอยู่ภายนอกร่างกาย จะช่วย ป้องกันอันตรายภายในไม่ให้ได้รับอันตราย แต่ถ้ามีโครงร่างแข็งท่ีอยู่ภายใน จะช่วยในการ เคลื่อนไหวหรอื เคล่ือนท่ี โดยแบง่ ไดเ้ ป็น 2 ชนดิ คอื 2.5.6.1 โครงร่างแข็งที่อยู่ภายนอกร่างกาย (Exoskeleton) มีหน้าท่ี ปอ้ งกันอันตรายท่ีอาจเกิดข้ึนกับอวัยวะทอ่ี ย่ภู ายใน 2.5.6.2 โครงร่างแข็งที่อยู่ภายในร่างกาย (Endoskeleton) โครง กระดูกของสตั ว์ที่มีกระดกู สันหลัง 2.5.7 ระบบสืบพันธุ์ เมื่อสัตว์เจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยก็พร้อมที่สะสืบพันธ์ุ เพื่อทจ่ี ะเพมิ่ ลูกหลาน ทาให้สัตว์แตล่ ะชนิดสามารถดารงเผ่าพันธ์ไุ วไ้ ด้ แบง่ ออกได้เป็น 2 แบบ คอื 2.5.7.1 การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual Reproduction) เป็นการสบื พันธุโ์ ดยการผลติ หน่วยสิ่งมชี ีวติ จากหนว่ ยส่ิงมีชีวติ เดิมด้วยวิธีการต่าง ๆ ทีไ่ มใ่ ช่จาก การใช้เซลล์สืบพันธ์ุ ไดแ้ ก่ การแตกหน่อ การงอกใหม่ การขาดออกเปน็ ท่อน และพาร์ธโี นเจเนซิส 2.5.7.2 การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual Reproduction) เป็น การสืบพันธุ์ที่เกิดจากการผสมพันธ์ุระหว่างเซลล์สืบพันธ์ุเพศผู้ และเซลล์สืบพันธ์ุเพศเมีย เกิด เป็นส่ิงมีชีวิตใหม่ ได้แก่ การสืบพันธุ์ของสัตว์ช้ันต่าบางพวก และสัตว์ชั้นสูงทุกชนิด สัตว์บาง ชนิดสามารถสืบพันธ์ุท้ังแบบอาศัยเพศ และแบบไม่อาศัยเพศ เช่น ไฮดรา การสืบพันธ์ุแบบไม่ อาศัยเพศของไฮดราจะใชว้ ิธกี ารแตกหนอ่ SC204005 โครงสรา้ งและการทางานของระบบต่าง ๆ ของสัตว์

31 เรอื่ งท่ี 3 ระบบนเิ วศ 2.1 ความสมั พันธ์ของสิ่งมชี ีวติ ต่าง ๆ ในระบบนเิ วศ ระบบนิเวศ (Ecosystem) คือ ระบบของความสัมพันธก์ ันของกลุ่มส่ิงมีชีวิตและ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสง่ิ มีชีวิตกับส่ิงแวดล้อม ในบริเวณใดบริเวณหน่งึ 2.1.1 องค์ประกอบของระบบนิเวศ 1) องค์ประกอบทไี่ มม่ ีชีวติ (Abiotic Component) ได้แก่ - สารประกอบอนิ ทรีย์ (Organic Compound) เชน่ โปรตีน ไขมนั คารโ์ บไฮเดรต วิตามิน - สารประกอบอนินทรีย์ ( Inorganic compound) เช่น น้า คาร์บอนไดออกไซด์ ฯลฯ - สภาพแวดล้อมทางกายภาพ (Abiotic environment) เช่น อุณหภูมิ แสงสว่าง ความกดอากาศ ความเค็ม ความเป็นกรด-เบส พลังงานต่างๆ สสาร สภาพ พ้นื ท่ี และสภาพสงิ่ แวดล้อม 2) องคป์ ระกอบที่มีชีวติ (Biotic components) แบง่ ตามหนา้ ทไ่ี ด้ ดังน้ี - ผผู้ ลิต (Producer) ไดแ้ ก่ พชื สเี ขียว - ผู้บริโภค (Consumer) ได้แก่ สัตว์กินพืช สัตว์กินสัตว์ สัตว์กินทั้ง พชื และสตั ว์ สตั วก์ นิ ซาก - ผยู้ อ่ ยสลาย (decomposer) ได้แก่ แบคทเี รีย เห็ด รา ภาพ : เหด็

32 2.1.2 ความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวติ ในระบบนเิ วศ เราใช้สัญลกั ษณ์ แสดงถงึ ความสัมพันธ์ของสิ่งมชี ีวติ 3 ลกั ษณะ ดงั น้ี * สิ่งมีชวี ิตท่ไี ดร้ บั ประโยชน์ แทนดว้ ยเคร่ืองหมายบวก (+) * สิ่งมชี วี ิตทเ่ี สียประโยชน์ แทนดว้ ยเครอื่ งหมายลบ (-) * สิ่งมชี ีวิตที่ไม่ไดร้ ับและไมเ่ สียประโยชน์ แทนดว้ ยเลขศูนย์ (0) โดยความสมั พันธข์ องสิ่งมีชีวิตตา่ ง ๆ ในระบบนิเวศ มรี ปู แบบ ดังนี้ - ภาวะการล่าเหย่ือ (Predation; +/-) เป็นความสัมพันธ์ท่ีมีฝ่ายหนึ่ง เป็นผู้ได้รับประโยชน์เพียงฝ่ายเดียว เรียกสิ่งมีชีวิตที่เป็นผู้ได้รับประโยชน์ว่าผู้ล่า (Predator) และเรียกส่ิงมีชีวิตอีกชนิดที่เป็นผู้เสียประโยชน์ว่า ผู้ถูกล่า หรือ เหย่ือ (Prey) เช่น นกกินแมลง เสอื กนิ กวาง และปลาฉลามกินปลา เปน็ ตน้ - ภาวะการแขง่ ขนั (Competition; -/-) เป็นความสมั พนั ธ์ของสงิ่ มชี วี ิต ที่อาศัยอยู่ร่วมกันในพ้ืนท่ีเดียวกัน อาจเป็นส่ิงมีชีวิตชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกันโดยส่ิงมีชีวิต ทั้งสองมีความต้องการใช้ปัจจัยในการดารงชีวิตท่ีเหมือนกัน จึงต้องแก่งแย่งหรือแข่งขันกัน ทาให้สิ่งมีชีวิตท้ังคู่เสียประโยชน์ เช่น การแย่งตาแหน่งจ่าฝูงของหมาป่า การแย่งกันล่าเหยื่อ ของสุนขั จ้ิงจอกกบั เสือ เปน็ ต้น - ภาวะการได้รับประโยชน์ร่วมกัน (Protocooperation; +/+) เป็น ความสัมพันธ์ของสงิ่ มีชวี ิตท่ีได้รบั ประโยชน์ท้ังสองชนิด อาจเป็นการอยู่ร่วมกันตลอดเวลา หรือ อยู่ร่วมกันเพียงช่ัวขณะหนึ่งกไ็ ด้ และเมื่อส่ิงมีชีวิตท้ังสองชนิดแยกจากกัน ก็จะยังสามารถดารง ชีพไดต้ ามปกติ ตวั อย่างเช่น นกเอยี้ งบนหลังควาย ปลาการต์ ูนกับดอกไมท้ ะเล ภาพ : ภาวะการไดร้ บั ประโยชน์รว่ มกนั (ปลาการต์ ูน+/ดอกไม้ทะเล+)

33 - ภาวะพ่ึงพากัน (Mutualism; +/+) เป็นความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิต ท่ีอาศัยอยู่ร่วมกันโดยท่ีสิ่งมีชีวิตท้ังสองฝ่ายจะได้รับประโยชน์ท้ังคู่ โดยท่ีสิ่งมีชีวิตท้ังคู่ต้องอยู่ ร่วมกันตลอดไป ไม่สามารถแยกจากกันได้ เช่น ไลเคน (lichen) ซึ่งเป็นการอยู่ร่วมกันระหว่าง รากับสาหร่าย โปรโตซวั ในลาไส้ปลวก - ภาวะอิงอาศัย (Commensalism; +/0) เป็นความสัมพันธ์ของ ส่ิงมีชีวิตท่ีอาศัยอยู่ร่วมกันโดยมีฝ่ายท่ีได้รับประโยชน์เพียงฝ่ายเดียว ส่วนอีกฝ่ายหน่ึงจะไม่ได้ และไมเ่ สียประโยชน์ เชน่ ปลาเหาฉลามกับปลาฉลาม กลว้ ยไมก้ บั ต้นไมใ้ หญ่ - ภาวะปรสิต (Parasitism; +/-) เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตท่ี ได้รับและเสียประโยชน์ โดยมีฝ่ายที่ได้รับประโยชน์ เรียกว่า ผู้อาศัย หรือ ปรสิต (Parasite) ผู้เสียประโยชน์ เรียกว่าผู้ถูกอาศัย หรือเจ้าบ้าน (Host) เช่น พยาธิชนิดต่าง ๆ ในร่างกายของ สตั ว์ เห็บ เหา หมัด เป็นต้น ภาพ : ภาวะปรสิต (เหบ็ +/สนุ ัข-) SC205001 ระบบนเิ วศ

34 2.2 การถ่ายทอดพลังงาน 2.2.1 ความหมายของการถา่ ยทอดพลงั งาน ในระบบนิเวศทุกระบบ มีการถ่ายทอดพลังงานในรูปแบบต่าง ๆ จาก สิ่งไม่มีชีวิต ไปสู่สิ่งมีชีวิต และถ่ายทอดจากสิ่งมีชีวิตสู่สิ่งมีชีวิตด้วยกันเอง รวมท้ังถ่ายทอด สสู่ ่ิงแวดล้อมดว้ ย การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ เริ่มต้นจากดวงอาทิตย์ซ่ึงเป็นแหล่ง พลังงานสาคญั ของส่ิงมีชีวิต โดยกลมุ่ สง่ิ มชี วี ติ ที่เป็นผู้ผลิตจะเปลย่ี นพลังงานแสงจากดวงอาทิตย์ ให้เป็นพลังงานท่ีสะสมไว้ในโมเลกุลของสารอาหาร โดยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่งไดผ้ ลผลิต คอื น้าตาลกลูโคส และแป้ง สะสมไว้ พลังงานในโมเลกุลของสารอาหารท่ีสะสมไว้ จะถูกถ่ายทอดจากผู้ผลิต ไปสู่ผู้บริโภคลาดับต่าง ๆ จนถึงผู้ย่อยสลายอินทรีย์สาร ซ่ึงพลังงานท่ีถ่ายทอดน้ันจะมีค่าลดลง ตามลาดับ เพราะส่วนหน่ึงถูกใช้ในการผลิตพลังงานให้แก่ร่างกายโดยกระบวนการหายใจ อกี สว่ นหนึ่งสญู เสยี ไปในรปู ของพลงั งานความรอ้ น การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ ไม่ได้ถ่ายทอดเฉพาะสารอาหาร เท่าน้ัน แต่มีการถ่ายทอดสารทุกชนิด ทั้งที่เป็นประโยชน์ และเป็นโทษท่ีปนเปื้อนอยู่ในระบบ นิเวศ ก็จะถูกถ่ายทอดไปในห่วงโซ่อาหารด้วย เช่น การใช้สารเคมีในการเกษตร กสิกรรม การถ่ายเทของเสียจากที่อยู่อาศัยและกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ ทาให้มีของเสียปล่อยออกสู่ สิ่งแวดล้อม ซึ่งของเสียและสารต่าง ๆ จะตกค้างในผู้ผลิต และถ่ายทอดและไปสู่ผู้บริโภค ตามลาดับในห่วงโซ่อาหารแต่จะเพ่ิมความเข้มข้นข้ึนเรื่อย ๆ ในลาดับชั้นที่สูงข้ึน ๆ รวมถึง กลับมาสู่ตวั มนษุ ย์ด้วย 2.2.2 พรี ะมดิ การถ่ายทอดพลงั งาน (Food Pyramid) พีระมิดการถา่ ยทอดพลังงาน (Food Pyramid ) มี 3 แบบ ดงั นี้ 1) พีระมิดจานวน (Pyramid of Number ) เป็นพีระมิดท่ีแสดง ใหเ้ หน็ จานวนของสง่ิ มีชวี ติ ในแตล่ ะลาดบั ข้นั ของหว่ งโซ่อาหารตอ่ หน่วยพ้นื ที่หรือปรมิ าตร - ในกรณีผู้ผลิตมีขนาดเล็ก ฐานของพีระมิดจะกว้าง และ ยอดสุดของพรี ะมดิ จะแคบ - ในกรณีผู้ผลิตมีขนาดใหญ่ ฐานของพีระมิดจะแคบ และ ยอดสุดของพรี ะมดิ จะกว้าง

35 2) พีระมิดมวลชีวภาพ (Pyramid of Biomass) เป็นพีระมิดท่ี แสดงขนาดของปริมาณ หรือมวลชวี ภาพ ของสง่ิ มีชีวิตในแตล่ ะลาดับขน้ั ของหว่ งโซ่อาหาร 3) พีระมิดพลังงาน (Pyramid of Energy) เป็นพีระมิดที่แสดง คา่ พลงั งานในส่ิงมชี วี ิตแตล่ ะหนว่ ย โดยมหี น่วยเป็นกิโลแคลอรีต่อตารางเมตรตอ่ ปี ภาพ : พรี ะมิดพลังงาน 2.3 สายใยอาหาร (Food Web) สายใยอาหาร (Food Web) คือ ห่วงโซ่อาหารหลาย ๆ ห่วงโซ่ที่มีความสัมพันธ์ กนั อยา่ งซับซ้อน ในธรรมชาติเราจะพบการถ่ายทอดพลังงานในรูปแบบของสายใยอาหาร มากกว่าหว่ งโซอ่ าหารเด่ยี ว ๆ เนอื่ งจากสง่ิ มีชีวติ ชนดิ หนึ่ง ๆ กนิ อาหารได้หลายชนดิ จงึ ทาใหเ้ กิดความสัมพันธ์ เก่ียวข้องกับห่วงโซ่อาหารอื่น ๆ อีก จนเกิดความสลับซบั ซอ้ นเป็น สายใยอาหาร (Food Web) น่ันเอง เช่น พืชที่เป็นผู้ผลิตในระบบนิเวศน้ัน ถูกสัตว์หลายประเภทบริโภคได้ คือ มีทั้ง หนอน

36 ตั๊กแตน ผ้ึง และไก่ ซึ่งสัตว์ที่เป็นผู้บริโภคลาดับท่ี 1 เหล่านี้ ก็จะเป็นได้ทั้งเหยื่อ และเป็น ผู้บริโภคสัตว์อ่ืนเช่นกัน เช่น ไก่ นอกจากบริโภคพืชแล้วยังสามารถบริโภคต๊ักแตนได้ และใน ขณะเดียวกันไก่ก็มีโอกาสที่จะถูกงู หรือเหยี่ยวบริโภคได้เช่นกัน ดังน้ันผู้บริโภคในห่วงโซ่หน่ึง อาจเป็นเหยือ่ ในอกี หว่ งโซ่หนง่ึ ได้ SC205002 สายใยอาหารและห่วงโซอ่ าหาร

37 2.4 วฎั จักรของนา้ (Water Cycle) วัฎจักรของน้า (Water Cycle) เป็นปรากฏการณ์ท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เกดิ จากการเปลี่ยนสถานะของน้า จนเป็นวงจร สามารถแยกได้ 4 ประเภท คือ 1) การระเหยเป็นไอ (Evaporation) เป็นการเปลี่ยนแปลงสถานะของน้าบนพ้ืนผิว ไปสู่บรรยากาศ ทั้งการระเหยเป็นไอ (Evaporation) โดยตรง และจากการคายน้าของพืช (Transpiration) ซึง่ เรียกว่า “Evapotranspiration” 2) หยาดน้าฟ้า (Precipitation) เป็นการตกลงมาของน้าในบรรยากาศสู่พ้ืน ผิวโลก โดยละอองน้า ในบรรยากาศจะรวมตัวกันเป็นก้อนเมฆ และในท่ีสุดกลั่นตัวเป็นฝนตกลงสู่ผิวโลก รวมถงึ หิมะ และลกู เห็บ 3) การซึม (Infiltration) จากน้าบนพ้ืน ผิวลงสู่ดินเป็นน้าใต้ดิน อัตราการซึมจะ ข้ึนอยู่กับประเภทของดิน หิน และปัจจัยประกอบอ่ืน ๆ น้าใต้ดินนั้นจะเคล่ือนตัวช้า และอาจไหล กลับข้ึนบนผิวดิน หรืออาจถูก กักอยู่ภายใต้ช้ันหินเป็นเวลาหลายพันปี โดยปกติแล้วน้าใต้ดินจะ กลับเป็นนา้ ทผ่ี วิ ดนิ บนพน้ื ที่ท่ีอยู่ระดับต่ากว่ายกเว้นในกรณีของบ่อน้าบาดาล 4) น้าท่า (Runoff) หรือ น้าไหลผ่าน เป็นการไหลของน้าบนผิวดินไปสู่มหาสมุทร นา้ ไหลลงสู่แม่น้าและไหลไปสู่มหาสมุทร ซึ่งอาจจะถูกกักช่ัวคราวตาม บึง หรอื ทะเลสาบ ก่อนไหล ลงสมู่ หาสมุทร นา้ บางสว่ นกลบั กลายเป็นไอก่อนจะไหลกลับลงสู่มหาสมุทร ภาพ : วัฎจักรของอทุ กวทิ ยา

38 2.5 วฏั จักรของคารบ์ อน (Carbon Cycle) วัฏจักรของคาร์บอน (Carbon Cycle) เริ่มจากผู้ผลิตส่วนใหญ่ได้แก่พืช จะใช้ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ และ ในรูปของไบคาร์บอเนตในน้า ในกระบวนการ สงั เคราะหด์ ว้ ยแสง และเก็บธาตุคาร์บอนไว้ในรปู ของสารอินทรีย์ แลว้ ถา่ ยทอดสู่ผูบ้ รโิ ภคตา่ ง ๆ ผ่านห่วงโซ่อาหาร แลว้ ปลอ่ ยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์กลับส่บู รรยากาศหรือน้าโดยกระบวนการ หายใจ สัตวต์ า่ ง ๆ จะได้รบั ธาตคุ าร์บอนจากอาหาร และปล่อยกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ ออกสู่อากาศโดยกระบวนการหายใจ เมื่อพืชและสัตว์ตาย ผู้ย่อยสลายจะย่อยซากและปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สู่อากาศเช่นกัน ทั้งน้ียังมีธาตุคาร์บอนสะสมอยู่ในซากส่วนที่ไม่ย่อย สลายเมื่อสะสมและทับถมกันนาน ๆ หลายร้อยล้านปี ซากเหล่านี้จะกลายเปล่ียนเป็นสารที่ให้ พลังงาน เช่น ถ่านหิน น้ามัน และก๊าซ เม่ือมนุษย์นามาใช้เป็นเชื้อเพลิง ก็จะเกิดก๊าซคาร์บอน ไดออกไซดแ์ ละถกู ปล่อยเข้าสูบ่ รรยากาศก๊าซคารบ์ อนไดออกไซดท์ ถ่ี ูกปล่อยเขา้ สู่บรรยากาศจะถูก ผ้ผู ลิตนามาใชห้ มุนเวียนจนเปน็ วงจร SC205003 วัฏจกั รของน้าและคาร์บอน

39 เรอื่ งที่ 4 โลก บรรยากาศ ปรากฏการณท์ างธรรมชาติ สงิ่ แวดล้อม และทรพั ยากรธรรมชาติ 4.1 โลก 4.1.1 สว่ นประกอบของโลก 1) ส่วนทเี่ ปน็ พืน้ นา้ ประกอบดว้ ย ห้วยหนอง คลองบึง ทะเล มหาสมุทร น้าใตด้ ิน นา้ แข็งขวั้ โลก 2) ส่วนท่ีเป็นพ้ืนดิน คือส่วนที่มีลักษณะแข็งห่อหุ้มโลก โดยที่เปลือกท่ี อยู่ใต้ทะเลมีความหนา 5 กิโลเมตร และส่วนเปลือกที่มีความหนาคือ ส่วนท่ีเป็นภูเขาหนา ประมาณ 70 กิโลเมตร 3) ชั้นบรรยากาศ เป็นชั้นท่ีสาคัญ เพราะทาให้เกิดปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทางธรรมชาติ เช่น วฏั จักรนา้ ออิ อน ท่ีจาเป็นตอ่ การติดตอ่ สือ่ สาร เปน็ ต้น 4) ชนั้ สิ่งมชี ีวติ 4.1.2 โครงสรา้ งภายในโลก ภาพ : โครงสรา้ งภายในโลก ทมี่ า : https://goo.gl/HZuEAK

40 1) เปลือกโลก (Crust) เป็นช้ันนอกสุดของโลกท่ีมีความหนา ประมาณ 60-70 กิโลเมตร ซึ่งถือว่าเป็นชั้นที่บางท่ีสุดเม่ือเปรียบกับช้ันอ่ืน ๆ เสมือนเปลือก ไข่ไก่หรือเปลือกหัวหอม เปลือกโลกประกอบไปด้วยแผ่นดินและแผ่นน้า ซึ่งเปลือกโลกส่วนท่ี บางท่ีสุดคือส่วนท่ีอยู่ใต้มหาสมุทร ส่วนเปลือกโลกที่หนาที่สุดคือเปลือกโลกส่วนท่ีรองรับทวีป ทมี่ ีเทอื กเขาทส่ี งู ท่สี ุดอยดู่ ว้ ย นอกจากนเี้ ปลอื กโลกยังสามารถแบ่งออกเปน็ 2 ชั้น คอื ภาพ : สว่ นประกอบของโลก ที่มา : https://goo.gl/wAQmfq - ชั้นท่ีหน่ึง : ชั้นหินไซอัล (Sial) เป็นเปลือกโลกช้ันบนสุด ประกอบด้วยแร่ซิลิกาและอะลูมินาซึ่งเป็นหินแกรนิตชนิดหนึ่ง สาหรับบริเวณผิวของช้ันน้ีจะ เป็นหินตะกอน ช้ันหินไซอัลนี้มีเฉพาะเปลือกโลกส่วนที่เป็นทวีปเท่าน้ัน ส่วนเปลือกโลกท่ีอยู่ใต้ ทะเลและมหาสมุทรจะไม่มหี นิ ชั้นนี้ - ช้ันท่สี อง : ชนั้ หินไซมา (Sima) เป็นชั้นทอ่ี ยู่ใตห้ ินชน้ั ไซอัล ลงไป ส่วนใหญ่เป็นหินบะซอลต์ประกอบดว้ ยแร่ซิลิกา เหล็กออกไซด์และแมกนีเซียม ช้ันหินไซ มาน้ีห่อหุ้มทั่วท้ังพื้นโลกอยู่ในทะเลและมหาสมุทร ซ่ึงต่างจากหินชั้นไซอัลท่ีปกคลุมเฉพาะสว่ น ทเี่ ปน็ ทวีป และยังมีความหนาแน่นมากกวา่ ช้นั หินไซอลั 2) แมนเทิล (Mantle หรือ Earth's Mantle) เป็นชั้นท่ีอยู่ระหว่าง เปลือกโลกและแก่นโลก มีความหนาประมาณ 3,000 กิโลเมตร บางส่วนของหินอยู่ในสถานะ หลอมเหลวเรียกวา่ หนิ หนดื (Magma) ทาให้ช้ันแมนเทิลมีความร้อนสูงมาก เนื่องจากหินหนืดมี อุณหภูมิประมาณ 800 – 4300 °C ซ่ึงประกอบด้วยหนิ อัคนีเป็นสว่ นใหญ่ เช่น หินอัลตราเบสิก หนิ เพรโิ ดไลต์ เป็นต้น

41 3) แก่นโลก (Core) ความหนาแน่นของโลกโดยเฉลี่ยคือ 5,515 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร ทาให้โลกเป็นดาวเคราะห์ที่หนาแน่นที่สุดในระบบสุริยะ แต่ถ้าวัด เฉพาะความหนาแน่นเฉลี่ยของพื้นผิวโลกแล้ววัดได้เพียงแค่ 3,000 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร เท่าน้ัน ซ่ึงแก่นโลกมีองค์ประกอบเป็นธาตุเหล็กถึง 80% รวมถึงนิกเกิลและธาตุที่มีน้าหนักที่ เบากว่าอน่ื ๆ เชน่ ตะกัว่ และยเู รเนยี ม เป็นต้น แกน่ โลกสามารถแบ่งออกเป็น 2 ชัน้ ไดแ้ ก่ - แก่นโลกช้ันนอก (Outer core) มีความหนาจากผิวโลก ประมาณ 2,900 - 5,000 กิโลเมตร ประกอบด้วยธาตุเหล็กและนิกเกิลในสภาพหลอมละลาย และมีความร้อนสงู มีอุณหภูมิประมาณ 6200 - 6400 มีความหนาแน่นสัมพัทธ์ 12.0 และส่วน นี้มสี ถานะเปน็ ของเหลว - แกน่ โลกช้นั ใน (Inner core) เป็นสว่ นที่อยู่ใจกลางโลกพอดี มีรัศมีประมาณ 1,000 กิโลเมตร มีอุณหภูมิประมาณ 4,300 - 6,200 และมีความกดดัน มหาศาล ทาให้ส่วนนี้จึงมีสถานะเป็นของแข็ง ประกอบด้วยธาตุเหล็กและนิกเกิลท่ีอยู่ในสภาพ เป็นของแข็ง มีความหนาแน่นสัมพทั ธ์ 17.0 4.1.3 การเคล่อื นทขี่ องแผ่นเปลอื กโลก การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก มีสาเหตุมาจากการรวมตัวและแตก ออกของทวีป เม่ือผ่านช่วงเวลาหนึ่ง ๆ รวมถึงการรวมตัวของมหาทวีปในบางครั้ง ซึ่งได้รวม ทุกทวีปเข้าด้วยกัน มหาทวีปโรดิเนีย (Rodinia) น้ันคาดว่าก่อตัวขึ้นเม่ือหน่ึงพันล้านปีท่ีผ่านมา และได้ครอบคลุมผืนดินส่วนใหญ่บนโลก จากน้ันจึงเกิดการแตกตัวไปเป็นแปดทวีปเม่ือ 600 ล้านปีท่ีแล้ว ทวีปทั้ง 8 นี้ ต่อมาเข้ามาร่วมตัวกันเป็นมหาทวีปอีกคร้ัง โดยมีช่ือว่าแพนเจีย (Pangaea) และในที่สุด แพนเจียก็แตกออกไปเป็นทวีปลอเรเซีย (Laurasia) ซึ่งกลายมาเป็น ทวีปอเมริกาเหนือและยูเรเซีย และทวีปกอนด์วานา (Gondwana) โดยในปัจจุบันแผ่นเปลือก โลกทม่ี ขี นาดใหญ่ ไดแ้ ก่

42 ภาพ : แผ่นเปลือกโลกขนาดใหญ่ ท่ีมา : https://goo.gl/Pu0eg0 1) แผน่ แอฟรกิ ัน : ครอบคลุมทวีปแอฟรกิ า เปน็ แผน่ ทวปี 2) แผ่นแอนตารค์ ติก : ครอบคลมุ ทวีปแอนตารค์ ตกิ เป็นแผ่นทวีป 3) แผ่นออสเตรเลียน : ครอบคลุมออสเตรเลีย (เคยเชื่อมกับแผ่น อินเดยี นเม่ือประมาณ 50-55 ลา้ นปกี อ่ น) เปน็ แผ่นทวีป 4) แผน่ ยเู รเซยี น : ครอบคลุมทวีปเอเชียและยโุ รป เปน็ แผน่ ทวีป 5) แผ่นอเมริกาเหนอื : ครอบคลมุ ทวปี อเมรกิ าเหนือและทางตะวันออก เฉยี งเหนือของไซบเี รยี เปน็ แผน่ ทวปี 6) แผ่นอเมริกาใต้ : ครอบคลมุ ทวปี อเมรกิ าใต้ เป็นแผ่นทวีป 7) แผ่นแปซิฟิก : ครอบคลมุ มหาสมทุ รแปซิฟิก เปน็ แผ่นมหาสมุทร นอกจากน้ี ยังมีแผ่นเปลือกโลกที่มีขนาดเล็กกว่า ได้แก่ แผ่นอินเดยี น แผ่นอาระเบียน แผ่นแคริเบียน แผ่นฮวนเดฟกู า แผน่ นาซคา แผ่นฟิลิปปนิ สแ์ ละแผน่ สโกเทยี

43 โดยปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาต่างๆ ที่เกิดจากการเคล่ือนท่ีของแผ่น เปลือกโลก ได้แก่ แผ่นดินไหว ภูเขาไฟปะทุ การก่อตัวข้ึนของภูเขา และการเกิดขึ้นของเหวใน มหาสมุทร เป็นตน้ SC206001 โลก 4.2 บรรยากาศ บรรยากาศ คือ อากาศท่ีห่มหุ้มโลกเราอยู่โดยรอบ โดยมีขอบเขตนับจาก ระดับน้าทะเลขึ้นไปประมาณ 1,000 กิโลเมตร บริเวณใกล้พื้นดินอากาศจะมีความหนาแน่น มากและจะลดลงเมื่ออยู่สูงขึ้นไปจากระดับพื้นดินบริเวณใกล้พื้นดิน โลกมีอุณหภูมิ 15 องศา เซลเซยี ส โดยเฉล่ยี 4.2.1 ชนั้ บรรยากาศ สภาพอากาศของโลก คือ การถูกห่อหุ้มด้วยช้ันบรรยากาศ ซ่ึงมีท้ังหมด 5 ชนั้ ได้แก่ 1) โทรโพสเฟยี ร์ เรม่ิ ตั้งแต่ 0-10 กโิ ลเมตร จากผวิ โลก บรรยากาศมีไอ น้า เมฆ หมอก ซงึ่ มีความหนาแนน่ มาก และมีการแปรปรวนของอากาศอยู่ตลอดเวลา 2) สตราโตสเฟียร์ เริ่มตั้งแต่ 10-35 กิโลเมตร จากผิวโลก บรรยากาศ ชั้นนแ้ี ถบจะไมเ่ ปลยี่ นแปลงจากโทรโพสเฟียร์ แตม่ ผี งฝุน่ เพิม่ มาเล็กนอ้ ย 3) เมโสสเฟียร์ เร่ิมต้ังแต่ 35-80 กิโลเมตร จากผิวโลก บรรยากาศ มกี ๊าซโอโซนอยู่มาก ซ่งึ จะช่วยสกดั แสงอลั ตรา้ ไวโอเรต (UV) จากดวงอาทติ ยไ์ ม่ให้มาถงึ พื้นโลก มากเกนิ ไป

44 4) ไอโอโนสเฟียร์ เริ่มต้ังแต่ 80-600 กิโลเมตร จากผิวโลก บรรยากาศ มอี อกซิเจนจางมากไม่เหมาะกับมนุษย์ 5) เอกโซสเฟียร์ เร่มิ ตั้งแต่ 600 กโิ ลเมตรขน้ึ ไป จากผิวโลก บรรยากาศ มีออกซเิ จนจางมาก ๆ และมีก๊าซฮเี ลียม และไฮโดรเจนอย่เู ปน็ ส่วนมาก โดยเป็นที่ชั้นติดต่อกับ อวกาศ ภาพ : ช้นั บรรยากาศของโลก ที่มา : https://goo.gl/vJdXA1 4.2.2 ความสาคญั ของบรรยากาศ 1) ช่วยปรบั อณุ หภมู บิ นผิวโลกไมใ่ ห้สูงหรอื ตา่ เกนิ ไป 2) ช่วยป้องกันอันตรายจากรังสีและอนุภาคต่าง ๆ ท่ีมาจากภายนอก โลก เช่น ช่วยดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตไม่ให้ส่องผ่านมายังผิวโลกมากเกินไป ช่วยทาให้วัตถุ จากภายนอกโลกท่ีถูกแรงดึงดูดของโลกดึงเข้ามาเกิดการลุกไหม้หรือมีขนาดเล็กลงก่อนตกถึง พื้นโลก 4.2.3 องค์ประกอบของบรรยากาศ บรรยากาศ จัดเป็นของผสม ประกอบด้วยก๊าซต่าง ๆ เช่น ก๊าซไนโตน เจน (N2) ก๊าซออกซิเจน (O2) กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) กา๊ ซอาร์กอน (Ar) ฝุน่ ละออง และ ก๊าซอ่ืน ๆ เปน็ ตน้ โดยก๊าซท่ีเก่ียวกับชน้ั บรรยากาศทีค่ วามสาคญั มี 2 ก๊าซ คอื


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook