Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการสอนวิชาคณิตศาสตร์ ระดับ ป.3 และ ป.4

โครงการสอนวิชาคณิตศาสตร์ ระดับ ป.3 และ ป.4

Published by jira5725, 2020-04-08 03:33:36

Description: โครงการสอนวิชาคณิตศาสตร์ ระดับ ป.3 และ ป.4

Search

Read the Text Version

โรงเรยี นวดั พืชนมิ ิต (คาสวสั ดร์ิ าษฎรบ์ ารงุ ) โครงการสอนปีการศึกษา ๒๕๖๒ รายวิชา คณิตศาสตร์ รหสั ค๑๓๑๐๑ ชั้น ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ เวลาเรียน ๕ ชั่วโมง/สปั ดาห์ ครูผสู้ อน นางสาวจริ ะพนั ธุ์ ปากวิเศษ สัปดาห์ คาบท่ี หน่วยการเรียนรู้/เรือ่ ง มฐ/ตัวชี้วดั ๑-๔ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๑ จานวนนบั ไม่เกนิ ๑๐๐,๐๐๐ ค ๑.๑ ป.๓/๒ ๑-๒ เขยี นและอา่ นตัวเลขฮินดูอารบิกตวั เลขไทยและตัวหนงั สือ ๔-๑๐ ๓-๕ เvขvยี อนตัวเลขแสดงจานวนในรูปกระจาย ค ๑.๒ ป.๓/๒ ๑๐-๑๑ ๖-๗ เปรยี บเทียบและเรียงลาดับจานวนนบั ไมเ่ กิน ๑๐๐,๐๐๐ ค ๑.๒ ป.๓/๒ ๑๒-๑๕ ๘-๑๒ บอกจานวนและความสัมพนั ธ์ในแบบรูปของจานวน ค ๓.๑ ป.๓/๒ ๑๖-๑๘ ๑๓-๑๘ บวกจานวนและความสัมพันธ์ในแบบรูปของจานวนท่ี หนว่ ยการเลรดยี ลนงรทู้ท่ี ๒ การบวก และลบจานวนทีม่ ผี ลบวกไมเ่ กิน ค ๒.๑ ป.๓/๑,ป.๓/๕ ๑๑๐-๑๐๐,๐๐๐บวกและลบระคนของจานวนนบั ไมเ่ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ ค ๒.๒ ป.๓/๑ ๑๑-๑๗ วเิ คราะห์และแสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปญั หา ๑๘-๓๗ สรา้ งโจทยป์ ญั หาจากสถานการณ์ทก่ี าหนด หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๓ แผนภูมิรปู ภาพและแผนภมู ิแท่ง ไม๑่เก-๓ิน ๑๐ร๐ว,บ๐ร๐ว๐มและจาแนกขอ้ มูล ๔-๗ อ่านข้อมลู จากแผนภูมิรปู ภาพและแผนภูมิแทง่ อย่างง่าย หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ การวดั ความยาว ๑-๕ วัดความยาวและบอกความยาวเป็นเมตร เซนตเิ มตร ๖-๗ เลือกเคร่ืองมือวดั ความยาวทเี่ หมาะสม ๘-๑๒ บอกความสัมพนั ธ์ของหนว่ ยการวดั ความยาว ๑๓-๑๕ เปรียบเทียบความยาว ๑๖-๑๙ แก้ปัญหาเก่ียวกบั การวัดความยาว หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๕ เวลาไม่เกนิ ๑๐๐,๐๐๐ ๑-๓ บอกเวลาบนหน้าปัดนาฬกิ าช่วง ๔-๖ อา่ นและเขยี นบอกเวลาโดยใชจ้ ุด ๗-๑๑ เขียนบนั ทกึ กจิ กรรมหรือเหตุการณท์ ่ีระบเุ วลา

สัปดาห์ คาบท่ี หนว่ ยการเรียนร/ู้ เรอื่ ง มฐ/ตัวช้ีวดั ๑๙-๒๔ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๖ การช่ังการตวง ค ๒.๑ ป.๓/๔,ป.๓/๕ ๑-๓ ชั่งและบอกน้าหนักเป็นกโิ ลกรมั กรัมและขีด ค ๒.๒ ป.๓/๓ ๒๕-๒๘ ๔-๕ เลือกเครื่องชั่งท่ีเหมาะสม ๖-๘ บอกความสัมพนั ธ์ของหน่วยน้าหนัก ค ๒.๑ ป.๓/๒,ป.๓/๕ ๒๙-๓๑ ๙-๑๒ เปรยี บเทียบน้าหนกั ค ๒.๒ ป.๓/๑ ๓๒-๓๓ ๑๓-๑๖ แก้ปัญหาเกี่ยวกบั การชงั่ ๑๗-๑๘ ตวงและบอกปรมิ าตรความจเุ ปน็ ลติ รเป็นมลิ ลลิ ิตร ค ๒.๑ ป.๓/๓ ๓๔ ค ๒.๒ ป.๓/๑ ๑๙ เลอื กเครื่องตวงท่ีเหมาะสม ค ๑.๒ ป.๓/๑,ป.๓/๒ ๒๐-๒๒ เปรียบเทยี บปรมิ าตรและความจใุ นหน่วยเดียวกนั ๒๓-๒๙ แก้ปญั หาเก่ียวกับการตวง ค ๑.๒ ป.๓/๑,ป.๓/ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๗ การคูณ ๒ ไม๑่เก-๕นิ ๑๐ค๐ณู ,๐จ๐าน๐วนหน่ึงหลกั กบั จานวนไม่เกนิ 4 หลกั ๕-๘ คูณจานวนสองหลกั กับจานวนสองหลัก ๙-๑๒ วิเคราะห์และแสดงวิธหี าคาตอบของโจทยป์ ัญหา ๑๓-๑๙ สร้างโจทย์ปญั หาจากสถานการณท์ ก่ี าหนด หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๘ การหาร ๑-๓ หารจานวนไม่เกนิ สหี่ ลกั กบั จานวนหนงึ่ หลกั ๔-๙ วิเคราะห์และแสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์ปัญหา ๑๐-๑๔ สรา้ งโจทยป์ ัญหาจากสถานการณ์ทีก่ าหนด หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๙ เงินและการบันทึกรายรับรายจ่าย ไม๑่เก-๒ิน ๑๐อ๐่า,น๐แ๐ล๐ะเขียนจานวนเงนิ โดยใชจ้ ุด ๓-๕ แกป้ ญั หาเกย่ี วกับเงิน ๖-๑๐ อ่านและเขยี นเป็นบันทึกรายรับรายจ่าย หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๑๐ จดุ เส้นตรง รังสี สว่ นของเส้นตรง มุม ๑-๒ เขยี นชื่อจุดเส้นตรงรังสีสว่ นของเสน้ ตรงมุม ๓-๔ เขียนสญั ลกั ษณ์

สปั ดาห์ คาบท่ี หน่วยการเรยี นรู้/เร่ือง มฐ/ตัวช้วี ดั ๓๕-๓๖ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑๑ รูปเรขาคณิต ค ๒.๑ ป.๓/๒ ไม่เ๑กนิ ๑๐บ๐อ,๐ก๐ชน๐ิดของรปู เรขาคณติ สองมติ ิ ค ๒.๒ ป.๓/๒ ๓๖-๔๐ ๒ เขียนรปู เรขาคณติ สองมติ ิที่กาหนดให้ในแบบตา่ งๆ ค ๓.๑ ป.๓/๓ ๔๐ ๓ ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติทม่ี ีแกนสมมาตร ค ๓.๒ ป.๓/๒ ๔-๕ บอกรปู เรขาคณิตตา่ งๆท่อี ยู่ในสง่ิ แวดล้อมรอบตวั ๖-๙ ความสมั พันธใ์ นแบบรูปของรูปทีม่ รี ูปรา่ งขนาดสัมพันธ์กนั หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑๒ การบวกลบคูณหารระคน ๑-๘ บวกลบคูณหารระคนของจานวนนบั ไมเ่ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ ๙-๑๕ วเิ คราะหแ์ ละแสดงวิธหี าคาตอบของโจทยป์ ัญหาระคน ๑๖-๒๓ สร้างโจทยป์ ญั หาจากสถานการณท์ ่กี าหนด สอบปลายภาค ๑ ทบทวนบทเรยี น ๒ ทบทวนบทเรียน ๓ สอบปลายภาค ๔ สอบปลายภาค เทคนคิ /กระบวนการ/ วิธีการสอน การจดั การเรียนรแู้ บบค้นพบ (Discovery Method) แนวคิด เป็นกระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นให้ผู้เรียนค้นหาคาตอบ หรือความรู้ด้วยตนเอง โดยผู้สอนจะเป็น ผู้สร้างสถานการณ์ในลักษณะท่ีผู้เรียนจะเผชิญกับปัญหา ซึ่งในการแก้ปัญหาน้ัน ผู้เรียนจะใช้กระบวนการท่ี ตรงกับธรรมชาติของวิชาหรือปัญหานั้น เช่นผู้เรียนจะศึกษาปัญหาทางชีววิทยา ก็จะใช้วิธีเดียวกันกับนัก ชีววิทยาศึกษา หรือผุ้เรียนจะศึกษาปัญหาประวัติศาสตร์ ก็จะใช้วิธีการเช่นเดียวกับนักประวัติศาสตร์ศึกษา ดังนนั้ จงึ เปน็ วธิ จี ัดการเรียนรู้ท่ีเน้นกระบวนการ เหมาะสาหรับวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ แต่ก็สามารถใช้ กับวิธีอ่ืน ๆ ได้ ในการแก้ปัญหานั้น ผู้เรียนจะต้องนาข้อมูลทาการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปเพื่อให้ได้ข้อ ค้นพบใหม่หรอื เกิดความคดิ รวบยอดในเรื่องน้นั

การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบเน้นให้ผู้เรียนค้นหาคาตอบหรือความรู้ด้วยตนเอง ซ่ึงผู้เรียนจะใช้ วิธีการหรือกระบวนการต่าง ๆ ท่ีเห็นว่ามีประสิทธิภาพและตรงกับธรรมชาติของวิชา หรือปัญหา ดังน้ันจึงมีผู้ นาเสนอวิธีการการจัดการเรียนรู้ไวหลากหลาย เช่น การแนะให้ผู้เรียนพบหลักการทางคณิตศาสตร์ด้วย ตนเองโดยวิธีอุปนัย การท่ีผู้เรียนใช้กระบวนการแก้ปัญหาแล้วนาไปสู่การค้นพบ มีการกาหนด ปัญหา ตั้งสมมติฐานและรวบรวมข้อมูล ทดสอบสมมติฐานและสรุปข้อค้นพบ ซ่ึงอาจใช้วิธีการเก็บข้อมูล จากการทดลองด้วย การที่ผู้สอนจัดโปรแกรมไว้ให้ผู้เรียนใช้การคิดแบบอุปนัยและนิรนัยในเรื่องต่างๆ ก็ สามารถได้ข้อค้นพบด้วยตนเอง ผู้สอนจะเป็นผู้ให้คาปรึกษา แนะนาหรือกระตุ้นให้ผู้เรียนใช้วิธีหรือ กระบวนการทีเ่ หมาะสม จากเหตุผลดงั กล่าว ขนั้ ตอนการเรียนรู้จงึ ปรับเปลยี่ นไปตามวธิ หี รอื กรอบกระบวนการต่างๆที่ ใช้ แต่ในทน่ี ีจ้ ะเสนอผลการพบความรู้ ขอ้ สรปุ ใหม่ ด้วยการคิดแบบอุปนยั และนิรนยั การจดั การเรยี นรูแ้ บบค้นพบมีขั้นตอนสาคัญดังตอ่ ไปน้ี 1. ขั้นนาเข้าสบู่ ทเรียน ผูส้ อนกระตุ้นและเร้าความสนใจของผู้เรยี นใหส้ นใจท่ีจะศกึ ษาบทเรียน 2. ขั้นเรียนรู้ เรียนรู้โดยอาศยั เทคนิคการซักถาม โตต้ อบ หรอื อภิปรายเพอ่ื เป็นแนวทางในการคน้ พบ 3. ขนั้ สรุป/นาไปใช้ ผูเ้ รียนนาเสนอแนวทางการนาขอ้ คน้ พบที่ได้ไปใช้ในการแกป้ ญั หา อาจใชว้ ธิ กี ารใหท้ าแบบฝกึ หดั หรอื แบบทดสอบหลังเรียน เพ่อื ประเมนิ ผลว่าผเู้ รียนเกดิ การเรียนรู้จรงิ หรือไม่ ประโยชน์ 1. ช่วยให้ผู้เรียนคดิ อย่างมเี หตุผล 2. ช่วยให้ผูเ้ รียนคน้ พบสง่ิ ทีค่ ้นพบได้นานและเข้าใจอยา่ งแจ่มแจ้ง 3. ผู้เรยี นมีความม่ันใจ เพราะไดเ้ รยี นร้สู ่งิ ใหม่อยา่ งเข้าใจจรงิ

ประโยชน์ (ต่อ) 4. ชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นมีพัฒนาการทางด้านความคดิ 5. ปลกู ฝงั นิสัยรักการอ่าน คน้ คว้าเพ่อื หาคาตอบด้วยตนเอง 6. ก่อใหเ้ กดิ แรงจูงใจ ความพึงพอใจในตนเองต่อการเรยี นสูง 7. ผเู้ รยี นรู้วิธสี รา้ งความรดู้ ้วยตนเอง เช่น การหาข้อมลู การวเิ คราะห์และสรุปข้อความรู้ 8. เหมาะสมกบั ผู้เรียนที่ฉลาด มคี วามเชื่อมน่ั ในตนเองและมแี รงจูงใจสูง การวัดและประเมินผล คะแนนระหวา่ งภาค : ปลายภาค = ๗๐ : ๓๐ โดยแบง่ ดังนี้ วธิ ีการเก็บคะแนน เร่อื งทเี่ กบ็ คะแนน คร้ังท่ี คะแนน ประเภทเคร่ืองมือ ๑.คะแนนเกบ็ กอ่ นกลางปี ๒๕ ๑.๑ ผลงานนักเรยี น ๑๕ สมดุ ,แบบฝึกหดั .ใบงาน,ชนิ้ งาน ๑.๒ ทดสอบหลงั เรียน ๑๐ แบบทดสอบหลงั เรยี น ๒. สอบกลางปี ๒๐ แบบทดสอบ ๓.คะแนนหลังกลางปี ๒๕ ๓.๑ ผลงานนกั เรยี น ๑๕ สมุด,แบบฝกึ หดั .ใบงาน,ชิน้ งาน ๓.๒ ทดสอบหลงั เรยี น ๑๐ แบบทดสอบหลงั เรยี น ๔.สอบปลายปี ๓๐ ๑๐๐ รวม ส่ือ/แหล่งเรยี นรู้ ………สื่อประจาหนว่ ยการจัดการเรยี นรู้………………………………………………………… แบบเรียน …………หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ สสวท…………………………………………………………..

โรงเรยี นวัดพืชนมิ ิต (คาสวัสดริ์ าษฎร์บารุง) โครงการสอนปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ รายวชิ า คณติ ศาสตร์ รหสั ค๑๔๑๐๑ ชั้น ประถมศึกษาปีท่ี ๔ เวลาเรยี น ๔ ชั่วโมง/สัปดาห์ ครูผู้สอน นางสาวจริ ะพันธ์ุ ปากวิเศษ สัปดาห์ คาบท่ี หนว่ ยการเรยี นร/ู้ เร่ือง มฐ/ตัวช้ีวดั หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑ จานวนนับท่ีมากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ ค ๑.๑ ป.๔/๑ ๑ ๑-๓ -เขยี นและอา่ นเป็นตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ ป.๔/๒ ๑-๒ ๔-๖ -เขเขยี ยี นนแตสาดมงคจา่าขนอวงนเลในขรโูปดดกใรนะแจตาย่ละหลกั เปรยี บเทียบจานวนทเี่ ท่ากนั มากกวา่ หรือน้อยกวา่ และเรียงลาดับจานวนจากมากไปน้อย และ จากนอ้ ยไปมาก ๒-๓ ๗-๑๐ -หาค่าประมาณเป็นจานวนเต็มสิบ เตม็ ร้อย เตม็ พัน เต็มหม่นื เต็มแสน และเตม็ ลา้ น หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๒ การบวกและการลบจานวนนบั ที่มากกวา่ ๑๐๐,๐๐๐ ค ๑.๑ และ ๐ ป. ๔/๗ ๑-๔ -การบวกและการลบจานวน มวี ิธีการ ป. ๔ป/๘. ๔/๘ ๓-๔ ที่หลากหลายและใช้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรใ์ นการหา ป. ๔/๑ป๑. ๔/๑๑ คาตอบ ๔-๕ ๔-๘ -การหาตัวไมท่ ราบค่าในประโยคสญั ลักษณ์ตอ้ งใช้ความ สมั พันธข์ อง ป. ๔ป/.๑๔๒/๑๒ การบวกและการลบหรอื ใช้ความสมั พนั ธ์แบบส่วนยอ่ ย-ส่วนรวม ๕-๖ ๙-๑๔ -การประมาณผลลัพธ์ของการบวกและการลบ ตรวจสอบความถกู ต้อง ของคาตอบ ๖-๗ ๑๕- -การแก้โจทยป์ ญั หาการบวกและการลบ ต้องวิเคราะหโ์ จทย์ และ ๑๗ แสดงวิธีทาเพอื่ หาคาตอบ รวมทงั้ ตรวจสอบความสมเหตสุ มผลของ คาตอบ ค ๑.๑ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๓ การคณู ๑-๖ -การคณู จานวนมวี ิธีการที่หลากหลายและใช้ทักษะกระบวนการทาง ป. ๔/๗ ๗-๙ ป. ๔/๗ ๙-๑๐ คณติ ศาสตร์ในการหาคาตอบ ปป.. ๔๔//๙๑๑ ๗-๑๔ - การหาตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยคสัญลักษณต์ ้องใชค้ วามสัมพนั ธข์ อง การคณู และการหาร ป. ๔/๑๒ ๑๑-๑๒ ๑๕- -การประมาณผลลพั ธ์ของการคูณ ตรวจสอบความถกู ต้องของ ๒๐ คาตอบ ส่วนการแกโ้ จทยป์ ัญหาการคณู ต้องวิเคราะหโ์ จทย์ และ แสดงวิธที าเพ่อื หาคาตอบ รวมทงั้ ต้องตรวจสอบความสมเหตุสมผล ของคาตอบ

สัปดาห์ คาบที่ หน่วยการเรยี นร/ู้ เรื่อง มฐ/ตัวชว้ี ดั ๑๓-๑๔ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๔ การหาร ค ๑.๑ ป.๔/๗ ๑๔-๑๗ ๑-๗ -การหารจานวนมีวิธกี ารทห่ี ลากหลายและใชท้ ักษะกระบวนการทาง ป.๔/๙ ป. ๔/๑๑ คณติ ศาสตร์ในการหาคาตอบ การหาตัวไมท่ ราบคา่ ในประโยค ป. ๔/๑๒ สัญลักษณ์ต้องใชค้ วามสมั พันธข์ องการคูณและการหาร ๘-๑๔ -การประมาณผลลัพธ์ของการคณู ตรวจสอบความถูกตอ้ งของคาตอบ - และการแกโ้ จทยป์ ญั หาการหาร ต้องวิเคราะหโ์ จทย์ และแสดงวธิ ที า เพอื่ หาคาตอบ รวมท้งั ต้องตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคาตอบ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๕ แบบรปู ของจานวน ๑๘-๑๙ ๑-๖ -แบบรปู ของจานวนทีม่ คี วามสมั พนั ธแ์ บบเพ่ิมขน้ึ และลดลงทเ่ี กิด จากการคูณหรือการหารด้วยจานวนเดยี วกนั หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๖ รูปเรขาคณิต ค ๒.๑ ป. ๔/๒ ๑๙ ๑-๓ -ระนาบเป็นพ้ืนทผี่ วิ แบนและเรยี บที่แผข่ ยายออกไปอย่างไม่มที ่ี ค ๒.๒ ป. ๔/๑ สน้ิ สดุ ๒๐ ๔-๗ -การใช้จดุ ใช้แสดงตาแหน่ง เส้นตรง ส่วนของเสน้ ตรง มีลกั ษณะตรง เสน้ ตรง และรงั สี มีความยาวไมส่ น้ิ สุด รังสสี องเสน้ ท่ีมจี ุดปลายเป็น จุดเดียวกันทาใหเ้ กิดมุม มุมชนดิ ต่าง ๆ ๒๑ ๘-๑๐ -การใชโ้ พรแทรกเตอร์วัดหาขนาดของมมุ และสรา้ งมมุ ตามที่ ต้องการได้ ค ๒.๑ ป. ๔/๓ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๗ รปู ส่เี หล่ยี มมุมฉาก ๒๒ ๑-๓ -รูปส่เี หล่ยี มจัตรุ สั และรปู สเี่ หลยี่ มผืนผา้ ค ๒.๒ ป. ๔/๒ ๒๒-๒๓ ๔-๖ -การสร้างรปู สเี่ หล่ียมมุมฉากอาจใช้ไม้ฉากหรือโพรแทรกเตอรส์ รา้ ง ๒๔ ๗-๙ -การหาพื้นที่ของรปู ส่เี หลีย่ มมุมฉากหาได้จากสตู รความกวา้ งคูณ ๒๔-๒๕ ความยาว ส่วนความยาวรอบรูปใหน้ าความยาวของดา้ นทง้ั สด่ี ้านมา บวกกัน ๑๐- -การแกโ้ จทย์ปัญหาเกยี่ วกับพื้นที่และความยาวรอบรปู ของรปู ๑๓ สี่เหลีย่ มมุมฉาก สามารถทาไดห้ ลายวิธี เลอื กวิธแี กป้ ัญหาที่ เหมาะสม

สปั ดาห์ คาบที่ หนว่ ยการเรียนรู/้ เรอื่ ง มฐ/ตัวชว้ี ัด หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๘ เศษส่วน ค ๑.๑ ป.๔/๑๓ ๒๕ ๑-๒ -เศษสว่ นแท้ เศษเกนิ และจานวนคละ สามารถเขียนและอ่านโดยใช้ ป.๔/๑๔ ภาษาและสัญลกั ษณ์ทางคณิตศาสตร์ ๒๖ ๓-๔ -เศษเกิน สามารถเขียนในรปู ของจานวนคละ และจานวนคละ สามารถเขยี นในรูปเศษเกินได้ ๒๒๒๖ ๕-๗ -การหาเศษส่วนที่เทา่ กนั เศษสว่ นอย่างตา่ และเศษสว่ นทเี่ ทา่ กบั จานวนนับ ๒๗ ๘-๑๐ -สามารถทาไดโ้ ดยใชก้ ารคูณหรือการหารจานวน และเศษสว่ น สามารถเปรยี บเทยี บและเรยี งลาดับจากมากไปน้อย และจากน้อยไป มาก หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๙ การบวกและการลบเศษส่วน ๒๘ ๑-๔ -การบวก การลบเศษสว่ นและจานวนคละที่ตวั ส่วนตัวหนงึ่ เปน็ พหุคูณของตวั ส่วนอกี ตวั หน่ึง และตรวจสอบความสมเหตสุ มผลของ คาตอบ ๒๙ ๕-๙ -การแกโ้ จทย์ปัญหาการบวก การลบเศษส่วน และจานวนคละ และ แสดงวิธที าเพื่อหาคาตอบ รวมท้ังตรวจสอบความสมเหตสุ มผลของ คาตอบ ค ๑.๑ ป. ๔/๕ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑๐ ทศนยิ ม ๓๐-๓๑ ๑-๕ -การเขยี น การอ่าน การเปรียบเทยี บ และการเรียงลาดับทศนิยมไม่ ป. ๔/๖ เกินสามตาแหน่ง พจิ ารณาจากคา่ ของเลขโดดหน้าจุดทศนิยมและ หลงั จุดทศนยิ ม ๓๑-๓๒ ๖-๑๐ -การเขียนแสดงทศนิยมในรปู กระจายให้เขยี นตามคา่ ของเลขโดดใน แต่ละหลัก และทศนยิ มสามารถเปรยี บเทยี บและเรยี งลาดับจากมาก ไปนอ้ ย และจากน้อยไปมาก ค ๑.๑ หน่วยการเรียนรูท้ ่ี ๑๑ การบวกและการลบทศนิยมไมเ่ กนิ สามตาแหน่ง ๓๓ ๑-๔ -การบวกและการลบทศนยิ มไม่เกนิ สามตาแหนง่ และตรวจสอบ ป. ๔/๑๕ ความสมเหตสุ มผลของคาตอบ ป. ๔/๑๖ ๓๔ ๕-๙ -การแกโ้ จทยป์ ญั หาการบวกและการลบทศนิยมไมเ่ กินสามตาแหนง่ ตอ้ งวิเคราะห์โจทย์ และแสดงวธิ ีทาเพ่อื หาคาตอบ รวมทั้งตรวจสอบ ความสมเหตุสมผลของคาตอบ

สปั ดาห์ คาบท่ี หนว่ ยการเรียนรู/้ เรือ่ ง มฐ/ตัวชีว้ ัด หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑๒ ขอ้ มลู และการนาเสนอข้อมูล ค ๓.๑ ป.๔/๑ ๓๕ ๑-๓ -แผนภมู ิแท่ง แผนภูมิแท่งเปรยี บเทียบ และตารางสองทาง ๓๕ ๔-๖ -การอา่ นข้อมูล สว่ นการอา่ นข้อมูลจากแผนภูมิแท่ง ๓๓๖ ๗-๙ -เปรยี บเทียบ และตารางสองทาง เปน็ การอา่ นข้อมูล สามารถนาไป ปรบั ใช้ในชีวติ ประจาวัน หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑๓ เวลา ๓๖-๓๗ ๑-๖ -การบอกระยะเวลา ตอ้ งใช้ความสัมพันธ์ของหน่วยเวลาและการ ดาเนินการของจานวน ตารางเวลา ๓๗-๓๘ ๗-๑๒ -แก้ปัญหาเกี่ยวกับเวลา หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑๔ การบวก ลบ คูณ หารระคน ค ๑.๑ ๓๙-๔๐ ๑-๑๑ -การบวก ลบ คูณ หารระคน เปน็ การดาเนินการท่ีมากกว่าหน่ึงข้ันตอน ป. ๔/๑๐ ๔๐ และการแก้ปัญหาการบวก ลบ คณู หารระคน และตรวจสอบความ ป. ๔/๑๑ ป. ๔/๑๒ สมเหตุสมผลของคาตอบ สอบปลายภาค ๑ ทบทวนบทเรยี น ๒ ทบทวนบทเรยี น ๓ สอบปลายภาค ๔ สอบปลายภาค

เทคนคิ /กระบวนการ/ วิธีการสอน การจดั การเรียนรูแ้ บบคน้ พบ (Discovery Method) แนวคดิ เป็นกระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นให้ผู้เรียนค้นหาคาตอบ หรือความรู้ด้วยตนเอง โดยผู้สอนจะเป็น ผู้สร้างสถานการณ์ในลักษณะท่ีผู้เรียนจะเผชิญกับปัญหา ซ่ึงในการแก้ปัญหานั้น ผู้เรียนจะใช้กระบวนการท่ี ตรงกับธรรมชาติของวิชาหรือปัญหาน้ัน เช่นผู้เรียนจะศึกษาปัญหาทางชีววิทยา ก็จะใช้วิธีเดียวกันกับนัก ชีววิทยาศึกษา หรือผุ้เรียนจะศึกษาปัญหาประวัติศาสตร์ ก็จะใช้วิธีการเช่นเดียวกับนักประวัติศาสตร์ศึกษา ดงั นั้น จงึ เปน็ วิธีจดั การเรยี นรทู้ ่ีเน้นกระบวนการ เหมาะสาหรับวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ แต่ก็สามารถใช้ กับวิธีอ่ืน ๆ ได้ ในการแก้ปัญหาน้ัน ผู้เรียนจะต้องนาข้อมูลทาการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปเพ่ือให้ได้ข้อ ค้นพบใหม่หรือเกิดความคิดรวบยอดในเรื่องนั้น การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบเน้นให้ผู้เรียนค้นหาคาตอบหรือความรู้ด้วยตนเอง ซึ่งผู้เรียนจะใช้ วิธีการหรือกระบวนการต่าง ๆ ท่ีเห็นว่ามีประสิทธิภาพและตรงกับธรรมชาติของวิชา หรือปัญหา ดังน้ันจึงมีผู้ นาเสนอวิธีการการจัดการเรียนรู้ไวหลากหลาย เช่น การแนะให้ผู้เรียนพบหลักการทางคณิตศาสตร์ด้วย ตนเองโดยวิธีอุปนัย การท่ีผู้เรียนใช้กระบวนการแก้ปัญหาแล้วนาไปสู่การค้นพบ มีการกาหนด ปัญหา ตั้งสมมติฐานและรวบรวมข้อมูล ทดสอบสมมติฐานและสรุปข้อค้นพบ ซ่ึงอาจใช้วิธีการเก็บข้อมูล จากการทดลองด้วย การที่ผู้สอนจัดโปรแกรมไว้ให้ผู้เรียนใช้การคิดแบบอุปนัยและนิรนัยในเร่ืองต่างๆ ก็ สามารถได้ข้อค้นพบด้วยตนเอง ผู้สอนจะเป็นผู้ให้คาปรึกษา แนะนาหรือกระตุ้นให้ผู้เรียนใช้วิธีหรือ กระบวนการทีเ่ หมาะสม จากเหตุผลดงั กลา่ ว ขั้นตอนการเรียนรูจ้ งึ ปรับเปลีย่ นไปตามวธิ หี รอื กรอบกระบวนการต่างๆท่ี ใช้ แต่ในทน่ี ้ีจะเสนอผลการพบความรู้ ขอ้ สรปุ ใหม่ ด้วยการคิดแบบอปุ นัยและนริ นัย

การจดั การเรียนรู้แบบค้นพบมีขนั้ ตอนสาคัญดังต่อไปน้ี 1. ข้ันนาเขา้ สู่บทเรียน ผู้สอนกระต้นุ และเรา้ ความสนใจของผู้เรียนใหส้ นใจท่ีจะศกึ ษาบทเรยี น 2. ขน้ั เรียนรู้ เรยี นร้โู ดยอาศัยเทคนิคการซักถาม โตต้ อบ หรอื อภิปรายเพื่อเปน็ แนวทางในการค้นพบ 3. ขน้ั สรปุ /นาไปใช้ ผู้เรียนนาเสนอแนวทางการนาข้อค้นพบทไี่ ด้ไปใช้ในการแก้ปัญหา อาจใช้วิธีการใหท้ าแบบฝกึ หัด หรอื แบบทดสอบหลงั เรียน เพอื่ ประเมินผลวา่ ผเู้ รียนเกิดการเรียนรู้จรงิ หรือไม่ ประโยชน์ 1. ชว่ ยใหผ้ ูเ้ รียนคดิ อย่างมเี หตุผล 2. ชว่ ยใหผ้ เู้ รียนคน้ พบสิ่งท่ีคน้ พบไดน้ านและเขา้ ใจอยา่ งแจ่มแจ้ง 3. ผเู้ รียนมคี วามมั่นใจ เพราะไดเ้ รียนรสู้ ิง่ ใหม่อย่างเขา้ ใจจริง 4. ชว่ ยให้ผ้เู รยี นมพี ัฒนาการทางด้านความคดิ 5. ปลูกฝงั นิสยั รกั การอา่ น ค้นคว้าเพ่ือหาคาตอบด้วยตนเอง 6. กอ่ ให้เกดิ แรงจงู ใจ ความพงึ พอใจในตนเองต่อการเรยี นสูง 7. ผู้เรียนรู้วิธสี ร้างความร้ดู ้วยตนเอง เชน่ การหาข้อมลู การวเิ คราะหแ์ ละสรปุ ขอ้ ความรู้ 8. เหมาะสมกับผ้เู รียนทีฉ่ ลาด มคี วามเชื่อม่ันในตนเองและมีแรงจูงใจสงู

การวัดและประเมินผล คะแนนระหว่างภาค : ปลายภาค = ๗๐ : ๓๐ โดยแบง่ ดังน้ี วธิ ีการเก็บคะแนน เรอ่ื งท่ีเกบ็ คะแนน ครง้ั ที่ คะแนน ประเภทเคร่ืองมือ ๑.คะแนนเก็บก่อนกลางปี ๒๕ ๑.๑ ผลงานนักเรียน ๑๕ สมุด,แบบฝกึ หดั .ใบงาน,ชน้ิ งาน ๑.๒ ทดสอบหลังเรยี น ๑๐ แบบทดสอบหลงั เรยี น ๒. สอบกลางปี ๒๐ แบบทดสอบ ๓.คะแนนหลังกลางปี ๒๕ ๓.๑ ผลงานนกั เรยี น ๑๕ สมดุ ,แบบฝึกหดั .ใบงาน,ชิ้นงาน ๓.๒ ทดสอบหลังเรียน ๑๐ แบบทดสอบหลังเรียน ๔.สอบปลายปี ๓๐ ๑๐๐ รวม สื่อ/แหล่งเรยี นรู้ ………สอื่ ประจาหนว่ ยการจัดการเรียนรู้………………………………………………………… แบบเรียน …………หนงั สอื เรียนคณิตศาสตร์ สสวท…………………………………………………………..


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook