Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนการสอน วิชาคณิตศาสตร์

แผนการจัดการเรียนการสอน วิชาคณิตศาสตร์

Published by jira5725, 2021-09-13 07:44:27

Description: รหัสวิชา ค13101
บทที่ 7 เรื่องเศษส่วน
นางสาวจิระพันธุ์ ปากวิเศษ
โรงเรียนวัดพืชนิมิต (คำสวัสดิ์ราษฎร์บำรุง)

Search

Read the Text Version

บันทึกขอ้ ความ ส่วนราชการ โรงเรียนวัดพืชนมิ ิต (คำสวัสดิร์ าษฎร์บำรงุ ) ท…่ี …………………วันที่ 5 เดอื น กนั ยายน พ.ศ.2564 เรอ่ื ง ขออนญุ าตใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ เรียน ผอู้ ำนวยการโรงเรียนวัดพืชนิมิต (คำสวสั ดิ์ราษฎร์บำรงุ ) ด้วยข้าพเจ้า นางสาวจิระพันธุ์ ปากวิเศษ ตำแหน่ง ครู โรงเรียนวัดพืชนิมิต (คำสวัสดิ์ราษฎร์ บำรุง) ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่การสอน รายวิชาคณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค13101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 บัดนี้ ข้าพเจ้าได้จัดเตรียมการสอน และจัดทำแผนการสอนโดยใช้กระบวนการการจัดการเรียนรู้ ตามหลักการพัฒนาสมอง (Brain-Based learning: BBL) ข้าพเจ้าจึงขออนุญาตดำเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่จัดเตรียมไว้ ซึ่งแนบเอกสาร หน่วยการเรียนที่ 7 ชื่อหนว่ ยเศษสว่ น เวลาเรยี น 16 ช่ัวโมง มาพรอ้ มกบั เอกสารน้ี จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดทราบ ลงชือ่ (นางสาวจิระพันธุ์ ปากวเิ ศษ) ตำแหนง่ ครู ลงช่ือ (นางสาวแพรวรงุ่ ศรปี ระภา) หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ความเห็นผู้อำนวยการโรงเรียน อนญุ าต ไม่อนุญาต เพราะ ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................................................................................... ....................... ลงชอื่ ( นางสาวกนั ยาภทั ร ภทั รโสตถิ ) ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นวัดพืชนมิ ิต (คำสวสั ดริ์ าษฎร์บำรุง) ..........๖.../......ก...ย........./..๖...๔........

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 7 เรื่องเศษส่วน ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 รายวชิ าคณิตศาสตร์ รหสั ค13101 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ครูผสู้ อน นางสาวจิระพันธุ์ ปากวิเศษ โรงเรยี นวดั พชื นมิ ิต (คำสวสั ดริ์ าษฎรบ์ ำรงุ ) สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 1 สำนกั านคณะกรรมการการศกึ ษาขึน้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คำอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน ค๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๓ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง ศึกษาการอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าใน ประโยคสัญลกั ษณแ์ สดงการบวก การลบของจำนวนนบั ไมเ่ กิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตวั ไมท่ ราบค่าใน ประโยคสัญลกั ษณ์ แสดงการคูณของจำนวน ๑ หลกั กบั จำนวนไมเ่ กิน ๔ หลัก และจำนวน ๒ หลักกับจำนวน ๒ หลัก หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการหารที่ตัวตั้งไม่เกิน ๔ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก หาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคนของจำนวนนบั ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทย์ ปัญหา ๒ ขั้นตอน ของจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐บอก อ่าน และเขียนเศษส่วนแสดงปริมาณส่งิ ต่าง ๆ และแสดงสิง่ ต่าง ๆ ตามเศษส่วนท่ีกำหนด เปรียบเทยี บเศษส่วนที่ตวั เศษเท่ากนั โดยท่ีท่ีตัวเศษนอ้ ยกว่าหรอื เทา่ กับตวั ส่วน หาผลบวกของเศษส่วนที่มีตวั สว่ นเทา่ กันและผลบวกไมเ่ กิน ๑ และหาผลลบของเศษสว่ นท่ีมีตัว ส่วนเท่ากัน แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน และผลบวกไม่เกิน๑ และ โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนทีม่ ีตัวส่วนเท่ากันระบุจำนวนทีห่ ายไปในแบบรูปของ จำนวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงที ละเท่า ๆ กนั เลอื กใช้เครื่องมอื วดั ความยาวท่เี หมาะสม วดั และบอกความยาวของสง่ิ ตา่ ง ๆเป็นเซนติเมตรและ มิลลิเมตร เมตร และเซนติเมตร คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร เปรียบเทียบความยาวระหว่าง เซนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร กิโลเมตรกับเมตร จากสถานการณ์ต่าง ๆ เลือกใช้เครื่องชั่งท่ี เหมาะสม วัดและบอกน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม คาดคะเนน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและเป็น ขีด เปรียบเทียบน้ำหนักระหว่างกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันเป็นกิโลกรัม จากสถานการณ์ต่าง ๆ ระบุรูป เรขาคณิตสองมิติที่มีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร เขียนแผนภูมิ และใช้ข้อมูลจากแผนภูมริ ูปภาพใน การหาคำตอบของโจทย์ปัญหา และเขียนตารางทางเดียวจากข้อมูลที่เป็นจำนวนนับ และใช้ข้อมูลจากตาราง ทางเดียวในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหาแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวเงิน ของโจทย์ปัญหา เกี่ยวกบั เวลา ระยะเวลา ความยาว ทม่ี ีหนว่ ยเป็นเซนติเมตรและมลิ ลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กโิ ลเมตรและ เมตร และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับน้ำหนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันกับ กิโลกรมั โดยการจัดประสบการณ์หรือการสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าโดยปฎิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพ่อื พฒั นาทักษะการคดิ คำนวณ และทกั ษะการแกป้ ญั หา การใหเ้ หตุผล การส่ือสารและ การสือ่ ความหมายทางคณติ ศาสตร์ และนำประสบการณ์ความรู้ ความคดิ ทกั ษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ใน การเรียนรู้สิ่งตา่ งๆ และใชใ้ นชวี ิตประจำวันอยา่ งสรา้ งสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่า และมีเจตคตทิ ี่ดตี ่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่างเป็นระบบ ระเบียบ รอบคอบ มคี วามรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความคดิ ริเริม่ สร้างสรรค์ และมคี วามเชือ่ ม่นั ในตนเอง

รหัสตวั ชี้วัด ค ๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.๓/๖ ป.๓/๗ ป.๓/๘ ป.๓/๙ ป.๓/๑๐ ป.๓/๑๑ ค ๑.๒ ป.๓/๑ ค ๒.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.๓/๖ ป.๓/๗ ป.๓/๘ ป.๓/๙ ป.๓/๑๐ ป.๓/๑๑ ป.๓/๑๒ ป.๓/๑๓ ค ๒.๒ ป.๓/๑ ค ๓.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ รวมทง้ั หมด ๒๘ ตวั ชีว้ ดั

หน่วยที่ มฐ ตัวช้ีวดั ตารางวเิ คราะห์หลักสูตร/ออ รหสั ค13101 วิชาคณิตศาสตร์ ช้นั ประถ ครผู สู้ อน นางสาวจริ ะพ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 7 ค ป.3/3 : บอก อา่ น และเขยี น 1.บอกเศษส่วนที่ตัวเศษน้อย เศษสว่ น 1.1 เศษสว่ นแสดงปริมาณส่งิ ตา่ งๆ และ กวา่ หรอื เทา่ กบั ตัวส่วนได้ (K) แสดงสง่ิ ต่างๆ ตามเศษสว่ นท่ีกำหนด 2.เขียนเศษสว่ นทต่ี วั เศษน้อย กว่าหรอื เท่ากบั ตวั ส่วนได้ (P) ป.3/4 : เปรียบเทียบเศษสว่ นท่ตี ัว 1.บอกหลักการเปรียบเทียบ เศษเทา่ กนั โดยท่ตี วั เศษน้อยกวา่ หรือ และเรียงลำดับเศษส่วนที่ตัว เท่ากบั ตัวสว่ น สว่ นเท่ากัน (K) 2. เ ข ี ย น ข ั ้ น ต อ น แ ส ด ง ก า ร เปรียบเทียบและเรียงลำดับ เศษส่วนที่ตัวส่วนเท่ากันได้ (P) 1.บอกหลกั การเปรียบเทียบและ เรียงลำดบั เศษส่วนท่ตี ัวเศษ เท่ากนั (K) 2. เ ข ี ย น ข ั ้ น ต อ น แ ส ด ง ก า ร เ ป ร ี ย บ เ ท ี ย บ แ ล ะ เ ร ี ย ง ล ำ ดั บ เศษส่วนท่ตี วั เศษเท่ากันได้ (P)

อกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ วัดผล/ เวลา ถมศกึ ษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา 2564 ประเมิน เรียน พันธ์ุ ปากวเิ ศษ สาระการเรยี นรู้ กระบวนการ ช้นิ งาน สอื่ การสอน /ภาระงาน 1.การอ่านและเขยี น อธิบาย - 1.ภาพขนม 1.ทดสอบ 2 เศษส่วนทต่ี วั เศษน้อย เค้กท่ีถูกแบ่ง (ก่อนเรียน) กวา่ ตัวสว่ น ออกเปน็ 2 ออนไลน์ ส่วนเทา่ ๆ กนั 2.ตรวจ แบบฝึกหัด 1.การเปรยี บเทียบและ - 1.ภาพแสดง 1.ตรวจ 2 เรยี งลำดับเศษสว่ นที่มี เศษส่วน แบบฝึกหดั ตวั ส่วนเทา่ กนั 2.เ ก ม ว ง ล้ อ บงิ โก 1.การเปรยี บเทียบและ - 1.ภาพแสดง 1.ตรวจ 2 เรยี งลำดับเศษสว่ นทม่ี ี เศษส่วน แบบฝกึ หดั ตวั เศษเทา่ กนั 2.เ ก ม ว ง ล้ อ บิงโก

หนว่ ยท่ี มฐ ตวั ชี้วดั จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ป.3/10 :หาผลบวกของเศษส่วนทีม่ ี 1.บอกขนั้ ตอนและวิธีการบวก ตัวสว่ นเท่ากนั และผลบวกไม่เกนิ 1 เศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากันได้ และหาผลลบของเศษสว่ นที่มีตวั ส่วน (K) เท่ากนั 2.เขียนขั้นตอนแสดงการบวก เศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากันได้ (P) 3.เขียนแสดงการหาผลลัพธ์ จากการบวกเศษส่วนที่มีตัว ส่วนเทา่ กันไดถ้ กู ตอ้ ง (P) 1.บอกขั้นตอนและวิธีการลบ เศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากันได้ (K) 2.เขียนขั้นตอนแสดงการลบ เศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากันได้ (P) 3.เขียนแสดงการหาผลลัพธ์ จากการลบเศษส่วนที่มีตัว ส่วนเทา่ กันได้ถกู ตอ้ ง (P)

สาระการเรียนรู้ กระบวนการ ชิ้นงาน ส่ือการสอน วดั ผล/ เวลา /ภาระงาน ประเมิน เรียน การบวกเศษส่วนทีม่ ีตัว อธบิ าย - 1. แ ผ น ภ า พ 1.ตรวจ 2 ส่วนเท่ากนั แ ส ด ง ก า ร แบบฝกึ หดั บวกเศษส่วน ที่มีตัวส่วน เทา่ กนั 2.เ ก ม ว ง ล้ อ บิงโก 1.การลบเศษส่วนที่มี - 1.แผนภาพ 1.ตรวจ 2 ตัวสว่ นเท่ากนั แสดงการลบ แบบฝกึ หดั เศษส่วนท่มี ี ตวั ส่วน เทา่ กัน 2.เ ก ม ว ง ล้ อ บิงโก

หนว่ ยท่ี มฐ ตัวชีว้ ดั จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ป.3/11 :แสดงวธิ หี าคำตอบของ 1.วิเคราะห์เขียนประโยค โจทยป์ ญั หาการบวกเศษส่วนท่มี ีตวั สัญลักษณ์และหาคำตอบ ส่วนเท่ากันและผลบวกไม่เกิน 1 และ โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน โจทยป์ ัญหาการลบเศษสว่ นทมี่ ตี ัว ท่มี ีตวั ส่วนเท่ากนั ได้ (K) ส่วนเทา่ กัน 2.เขียนประโยคสัญลักษณ์ และหาคำตอบได้จากโจทย์ ปัญหาการบวกเศษส่วนท่ีมตี วั สว่ นเท่ากันได้ (P) 1.วเิ คราะหป์ ระโยคสัญลักษณ์ และหาคำตอบโจทย์ปัญหา การบวกเศษส่วนที่มีตัวส่วน เทา่ กนั ได้ (K) 2.เขียนประโยคสัญลักษณ์ และหาคำตอบได้จากโจทย์ ปัญหาการบวกเศษส่วนท่ีมตี ัว สว่ นเทา่ กนั ได้ (P)

สาระการเรยี นรู้ กระบวนการ ชิน้ งาน สือ่ การสอน วัดผล/ เวลา /ภาระงาน ประเมิน เรียน 1.โจทย์ปญั หาการบวก อธิบาย -พิซซ่า 1.โจทย์ปัญหา 1.ตรวจ 3 เศษส่วนที่มีตวั สว่ น แสดง ก า ร บ ว ก แบบฝึกหัด เทา่ กัน เศษสว่ น เศษสว่ น 2.เ ก ม ว ง ล้ อ บิงโก 1.โจทยป์ ญั หาการบวก 1.แถบโจทย์ 1.ทดสอบ 3 เศษสว่ นทีม่ ตี วั สว่ น ป ั ญ ห า ก า ร (หลงั เรียน) เทา่ กนั บวกเศษส่วน ออนไลน์ 2.เ ก ม ว ง ล้ อ 2.ตรวจ บิงโก แบบฝึกหัด

โรงเรยี นวัดพชื นมิ ติ (คำสวสั ดร์ิ าษฎรบ์ ำรงุ ) โครงการสอนปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ รายวิชา คณิตศาสตร์ รหสั ค๑๓๑๐๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๓ เวลาเรยี น ๕ ชัว่ โมง/สัปดาห์ ครูผสู้ อน นางสาวจริ ะพนั ธ์ุ ปากวเิ ศษ สัปดาห์ คาบท่ี หน่วยการเรียนรู/้ เร่ือง มฐ/ตัวช้วี ัด ๑-๔ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ จำนวนนบั ไม่เกนิ ๑๐๐,๐๐๐ ค๑.๑ ป.๓/๑ ๑-๒ การอ่านและเขยี นตวั เลขฮนิ ดูอารบิก ตัวเลขไทย และตวั หนังสอื แสดง ป.๓/๒ จำนวน ๓-๕ หลัก คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลัก และการเขยี นตวั เลขแสดงจำนวนใน รปู กระจจาำยนวนเต็ม ๖-๘ การเปรียบเทียบจำนวน ๙-๑๐ การเรียงลำดับจำนวน ๑๑-๑๔ แบบรูปของจำนวนทเี่ พ่ิมข้ึน ๑๕-๑๘ แบบรปู ของจำนวนท่ีลดลง ๔-๗ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๒ การบวก และลบจำนวนทม่ี ผี ลบวกไมเ่ กิน ๑๐๐,๐๐๐ ค ๑.๑ ป.๓/๕ ๑-๒ การบวกจำนวนสองจำนวนท่ีมผี ลบวกไม่เกิน ๑,๐๐๐ ไม่มที ดและ มีตวั ทด ๓-๔ การบวกจำนวนสองจำนวนท่ีมผี ลบวกไม่เกนิ ๑๐,๐๐๐ ไมม่ ีทดและ มีตวั ทด ๕-๖ การบวกจำนวนสองจำนวนท่ีมผี ลบวกไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ ไม่มที ดและมี ตัวทด ๗-๘ การบวกจำนวนสามจำนวนท่ีมีผลบวกไมเ่ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ ๙-๑๐ การลบจำนวนสองจำนวนทม่ี ีตัวต้งั ไม่เกนิ ๑,๐๐๐ ไมม่ กี ารกระจายและ มีการกระจาย ๑๑-๑๒ การลบจำนวนสองจำนวนทม่ี ีตวั ต้งั ไมเ่ กิน ๑๐,๐๐๐ ไม่มีการกระจาย และมีการกระจาย ๑๓-๑๔ การลบจำนวนสองจำนวนทีม่ ีตัวตั้งไม่เกนิ ๑๐๐,๐๐๐ ไม่มกี ารกระจาย และมีการกระจาย ๑๕-๑๖ การลบจำนวนสามจำนวนท่มี ีตัวตงั้ ไมเ่ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ ๑๗-๑๘ การหาค่าของตัวไมท่ ราบคา่ ในประโยคสญั ลกั ษณ์แสดงการบวกและ การลบ ๘-๙ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๓ โจทย์ปัญหาการบวก และลบจำนวนที่มีผลบวกไมเ่ กิน ค๑.๑ ป.๓/๙ ๑๐๐,๐๐๐ ๑-๒ วิเคราะห์และแสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทยป์ ญั หา ไมเ่ ๓กนิ ๑๐ก๐า,ร๐แ๐ส๐ดงวิธีทำโจทยป์ ญั หาการบวก ๔-๕ การวิเคราะหโ์ จทย์ปญั หาการลบและหาคำตอบ

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๓ โจทยป์ ัญหาการบวก และลบจำนวนท่ีมผี ลบวกไมเ่ กิน ค ๒.๑ ป.๓/๑ ๑๐๐,๐๐๐ ค ๒.๒ ป.๓/๑ ๖ ห การแสดงวิธีทำโจทย์ปญั หาการลบ ๓/๕ ๗ การสรา้ งโจทย์ปัญหาการบวกจากภาพ ค ๓.๑ ป.๓/๑ ๘ การสรา้ งโจทยป์ ญั หาการลบจากภาพ ๙-๑๐ การสร้างโจทย์ปัญหาการบวกจากประโยคสญั ลกั ษณ์ ป.๓/๒ ๑๐-๑๒ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๔ เวลา ๑-๓ บอกเวลาบนหนา้ ปดั นาฬกิ าช่วง ค ๑.๑ ป.๓/๓ ๔-๕ การอ่านและเขยี นบอกเวลาทีมมี หพั ภาค (.) หรอื ทวิภาค (:) ป.๓/๔ ๖-๘ การบอกระยะเวลาเปน็ ช่วั โมงและนาที ป.๓/๑๐ ๙-๑๐ การเปรยี บเทียบระยะเวลา ป.๓/๑๑ ๑๑-๑๔ โจทย์ปัญหาการบวกเกย่ี วกบั เวลาและระยะเวลา ๑๕-๑๖ การอา่ นและเขยี นบันทึกกจิ กรรมทรี่ ะบเุ วลา ค ๑.๑ ป.๓/๖ ๑๓ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๕ รูปเรขาคณติ ป.๓/๙ ๑-๒ รูปเรขาคณิตสองมิติท่มี ีแกนสมมาตร ๓-๕ การประยุกตใ์ ชร้ ปู ทีม่ ีแกนสมมาตร ๑๔-๑๕ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๖ แผนภูมิรปู ภาพและตารางทางเดยี ว ๑-๒ การเก็บรวบรวมข้อมลู และจำแนกข้อมลู ไม๓่เก-๔นิ ๑๐ก๐า,ร๐อ๐่า๐นแผนภมู ิรปู ภาพ ๕ การเขยี นแผนภูมริ ปู ภาพ ๖ การอา่ นตารางทางเดยี ว ๗ การเขียนตารางทางเดียว ๑๕-๑๗ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๗ เศษสว่ น ๑-๒ การอ่านและการเขยี นเศษสว่ นที่ตวั เศษน้อยกวา่ หรอื เทา่ กับตัวสว่ น ๓-๔ การเปรยี บเทยี บและเรียงลำดับเศษสว่ นทม่ี ตี ัวสว่ นเท่ากัน ๕-๖ การเปรียบเทียบและเรียงลำดับเศษส่วนท่มี ีตวั เศษเทา่ กัน ๗-๘ การบวกเศษสว่ นที่มีตวั ส่วนเท่ากนั ๙-๑๐ การลบเศษสว่ นที่มีตวั สว่ นเท่ากนั ๑๑-๑๓ โจทยป์ ญั หาการบวกเศษสว่ นทม่ี ีตัวสว่ นเทา่ กนั ๑๔-๑๖ โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนท่ีมีตัวส่วนเทา่ กัน ๑๘-๒๑ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๘ การคูณ ไม่เ๑กิน ๑๐ก๐า,ร๐ค๐ณู ๐จำนวนหน่ึงหลักกับจำนวนสองหลัก ๒ การคณู จำนวนหนึ่งหลกั กบั 100, 200, 300, ..., 900 ๓ การคูณจำนวนหนึ่งหลกั กับ 1,000, 2,000, 3,000, ..., 9,000

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๘ การคูณ ๑๑๑๑,ป.๓/๒ ๔ การคูณจำนวนที่มีหนงึ่ หลกั กับจำนวนสามหลัก (ไม่มกี ารทด) ๕-๖ การคณู จำนวนท่ีมหี นึง่ หลกั กับจำนวนสามหลกั (มีการทด) ค ๑.๑ ป.๓/๗ ๗-๘ การคูณจำนวนที่มหี นึ่งหลักกับจำนวนส่ีหลัก ป.๓/๙ ๙-๑๐ การคูณจำนวนท่ีมีสองหลักกับจำนวนสองหลัก ค 2.๑ ป.๓/๓ ๑๑-๑๒ การหาค่าของตัวไม่ทราบคา่ ในประโยคสญั ลักษณแ์ สดงการคณู ป.๓/๔ ๑๓-๑๔ การวิเคราะหโ์ จทย์ปัญหาการคูณและหาคำตอบ ป.๓/๕ ๑๕-๑๖ การแสดงวิธที ำโจทย์ปัญหาการคูณ ป.๓/๖ ๑๗-๑๘ การสร้างโจทย์ปัญหาการคูณจากภาพและประโยคสญั ลักษณ์ ๒๑-๒๔ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๙ การหาร ๑-๒ การหารทตี่ วั ตงั้ สองหลกั ตวั หารหนง่ึ หลักโดยการหารยาว ๓-๔ การหารที่ตวั ตั้งสามหลัก ตวั หารหนึ่งหลกั โดยการหารยาว ๕-๖ การหารทต่ี วั ตั้งส่ีหลกั ตัวหารหนง่ึ หลักโดยการหารยาว ๗-๘ การหารทีต่ วั ตง้ั สองหลกั ตวั หารหน่ึงหลกั โดยการหารสัน้ ๙-๑๐ การหารที่ตัวต้งั สามหลัก ตวั หารหนึ่งหลกั โดยการหารส้ัน ๑๑-๑๒ การหารท่ตี ัวตง้ั ส่หี ลกั ตัวหารหนงึ่ หลักโดยการหารส้ัน ๑๓-๑๔ การหาคา่ ของตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยคสัญลักษณแ์ สดงการหาร ๑๕ การวิเคราะหโ์ จทยป์ ัญหาการหารและหาคำตอบ ๑๖ การแสดงวิธที ำโจทย์ปญั หาการหาร ๑๗ การสร้างโจทยป์ ญั หาการหารจากภาพและประโยคสัญลักษณ์ ๒๕-๒๘ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๐ การวดั ความยาว ๑ การวดั ความยาวเปน็ เซนตเิ มตรและมิลลิเมตร ๒ การวัดความยาวเป็นเมตรและเซนตเิ มตร ๓ การวัดความยาวเปน็ กิโลเมตรและเมตร ๔ การเลอื กเครอื่ งวดั ความยาวท่ีเหมาะสม ๕-๖ การคาดคะเนความยาวเปน็ เมตรและเซนติเมตร ๗ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งหน่วยความยาว ๘ การเปรียบเทยี บความยาวโดยใช้ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งเซนตเิ มตรและ มิลลเิ มตร ๙ การเปรยี บเทยี บความยาวโดยใช้ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเมตรและ เซนตเิ มตร ๑๐ การบวกและการลบเกี่ยวกบั ความยาวเปน็ เซนตเิ มตรและมิลลิเมตร ๑๑ การบวกและการลบเก่ยี วกับความยาวเปน็ เมตรและเซนตเิ มตร

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑๐ การวัดความยาว ค ๒.๑ ป.๓/๗ ๑๒ การบวกและการลบเก่ียวกับความยาวเปน็ กิโลเมตรและเมตร ป.๓/๘ ๑๓-๑๔ การคณู และการหารเกย่ี วกบั ความยาวเป็นเซนติเมตรและมิลลเิ มตร ป.๓/๙ ๑๕-๑๖ การคูณและการหารเกี่ยวกบั ความยาวเป็นเมตรและเซนตเิ มตร ป.๓/๑๐ ๑๗-๑๘ การคณู และการหารเกีย่ วกับความยาวเปน็ กโิ ลเมตรและเมตร ๑๙ โจทย์ปัญหาการบวกเกย่ี วกบั ความยาว ค ๒.๑ ป.๓/๑๑ ป.๓/๑๒ ๒๙-๓๑ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑๑ การวัดนำ้ หนกั ป.๓/๑๓ ๑-๒ การวัดน้ำหนักเปน็ กิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม ๓ การเลือกเครือ่ งชงั่ ทีเ่ หมาะสม ค ๒.๑ ป.๓/๑ ๔ การคาดคะเนนำ้ หนักเป็นกิโลกรัมและขดี ๕ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งหนว่ ยน้ำหนกั ๖-๗ การเปรยี บเทยี บน้ำหนัก ๘ การบวกเกี่ยวกบั น้ำหนกั ๙ การลบเก่ยี วกบั น้ำหนัก ๑๐ การคณู เกยี่ วกับนำ้ หนัก ๑๑ การหารเกย่ี วกับนำ้ หนัก ๑๒-๑๓ โจทยป์ ัญหาการบวกและลบเกย่ี วกับน้ำหนกั ๑๔-๑๕ โจทยป์ ญั หาการคูณและหารเกยี่ วกบั นำ้ หนกั ๓๒-๓๕ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๑๒ การวัดปรมิ าตร ๑-๒ การวดั ปรมิ าตรและความจเุ ป็นลิตรและมลิ ลิลติ ร ๓ การเลือกเคร่อื งตวงทเ่ี หมาะสม ๔-๕ การคาดคะเนปริมาตรเปน็ ลิตร ๖ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งหน่วยปรมิ าตร ๗-๘ การเปรียบเทยี บปริมาตรและความจุ ๙ การบวกเก่ียวกับปรมิ าตรและความจุ ๑๐ การลบเกย่ี วกบั ปริมาตรและความจุ ๑๑ การคูณ เกี่ยวกบั ปรมิ าตรและความจุ ๑๒ การหาร เกย่ี วกับปริมาตรและความจุ ๑๓ โจทย์ปัญหาการบวกเก่ยี วกับปริมาตรและความจุ ๑๔ โจทยป์ ญั หาการลบเก่ียวกบั ปรมิ าตรและความจุ ๑๕ โจทย์ปัญหาการคูณเกีย่ วกับปรมิ าตรและความจุ ๑๖ โจทย์ปญั หาการหารเกยี่ วกับปริมาตรและความจุ ๓๕-๓๗ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑๓ เงนิ และการบนั ทึกรายรับรายจ่าย ๑ การบอกจำนวนเงินและเขยี นแสดงจำนวนเงนิ แบบใช้จุด

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑๓ เงนิ และการบนั ทกึ รายรับรายจา่ ย ค ๑.๑ ป.๓/๘ ๒ การเปรยี บเทยี บจำนวนเงนิ ป.๓/๙ ๓ การแลกเงิน ๔-๕ การบวกและการลบจำนวนเงิน ๖-๗ การคูณและการหารจำนวนเงิน ๘-๑๑ โจทย์ปัญหาเก่ียวกับเงิน ๑๒-๑๓ การอา่ นและการเขียนบันทึกรายรบั รายจ่าย ๓๘-๓๙ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑๔ การบวกลบคณู หารระคน ๑-๓ การหาผลลัพธ์การบวก ลบ คูณ หารระคน ๔ สถานการณ์การบวกและการลบ 2 ขั้นตอน ๕ สถานการณ์การคูณและการหาร 2 ขั้นตอน ๖ สถานการณ์การบวก การลบ การคณู และการหาร 2 ขั้นตอน ๗-๘ โจทย์ปัญหาการบวกและการลบ 2 ขั้นตอน ๙-๑๐ โจทยป์ ญั หาการคูณและการหาร 2 ข้ันตอน ๑๑-๑๒ โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคณู และการหาร 2 ข้ันตอน ๔๐ สอบปลายภาค ๑ ทบทวนบทเรียน ๒ ทบทวนบทเรยี น ๓ สอบปลายภาค ๔ สอบปลายภาค

เทคนคิ /กระบวนการ/ วธิ กี ารสอน การจดั การเรียนร้ตู ามหลกั การพัฒนาสมอง (Brain-Based learning: BBL) ขั้นตอนที่ 1 : เตรียมความพร้อม เพื่อเป็นการกระตุ้นสมอง ตามหลักการทำงานของสมอง เมื่อมีการเคลื่อนไหว ร่างกายอย่างมีความสขุ สมองจะหลั่งสารเคมที ี่ชื่อว่า เซโรโทนิน (Serotonin) ซึ่งสารนี้มีความสำคัญมาก ช่วยให้มีจิตใจที่ สงบและเกิดสมาธิ ซึ่งจะแตกต่างจาก เอนดอร์ฟิน (Endorphin) และ โดพามีน (Dopamine) ที่จะช่วยให้มีความสุขและ สนุกสนาน ซึ่งขั้นตอนนี้นับว่าเป็นขั้นตอนที่สำคัญ โดยทางโรงเรียนได้กำหนดไว้ว่า ทุกชั่วโมงที่ครูเข้าสอน ครูจะต้อง Warm Up ก่อนเสมอ โดยใชเ้ วลาไมเ่ กนิ 5 นาที ขน้ั ตอนที่ 2 : เรียนรู้ ในขัน้ ตอนนจ้ี ะคำนงึ ถงึ หลักการทำงานของสมองทวี่ า่ “เรียนรูจ้ ากงา่ ยไปหายาก เรียนรู้จาก ของจริง และจากการสัมผัส” จากการศึกษาทางประสาทวิทยาศาสตร์พบว่า “มือ” เป็นอวัยวะที่มีประสาทสัมผัสที่ส่งผล ต่อการเรียนรู้ได้ดีที่สุด รองลงมาคือ “ปาก” นั่นก็หมายถึง ต้องให้เด็กพูด หรือสื่อสาร การสื่อสารจะช่วยให้เด็กสามารถ เชื่อมโยงเรือ่ งได้ ดังนั้น การออกแบบรูปแบบการสอน สื่อการสอน คุณครูต้องคำนึงถึงหลักการทำงานของสมองอย่างมาก การเรียนการสอนจึงจะประสบความสำเร็จ ในขน้ั ตอนที่ 2 น้ี มีขั้นตอนย่อยท่ีสำคัญหน่งึ คอื “การสรุปในแต่ละชว่ั โมง” ทาง โรงเรียนได้สนับสนุนให้มีการฝึกอบรม Graphic Organizer ให้แก่คุณครูทุกกลุ่มสาระ ตลอดจนหนังสือที่เกี่ยวข้องจาก ตา่ งประเทศ เพอ่ื ใหค้ ณุ ครใู ช้เป็นเคร่อื งมอื ในการสรุปท่ีชว่ ยใหเ้ ด็กเกิดความสนุก เกดิ การเรียนรู้ และจดจำไดง้ า่ ยขึน้ ขนั้ ตอนที่ 3 : ขั้นการฝกึ ขั้นนี้จะสอดคล้องกบั หลักการทำงานของสมองท่วี า่ “สมองจะจดจำไดด้ ีนำไปสู่ความจำ ระยะยาว (Long-term Memory) ตอ้ งผา่ นกระบวนการฝกึ ซ้ำๆ” คำว่า “ซ้ำๆ” ในที่นี้ไมไ่ ด้หมายถึง การทำโจทย์เดิมซ้ำๆ แต่หมายถึงการใช้หลักการ เช่น หลักการบวก ก็นำไปใช้กับการบวกที่แตกต่างกันออกไปในโจทย์ คุณครูจึงจำเป็นต้อง ออกแบบใบงานทีแ่ ตกตา่ งออกไป เพ่ือให้นกั เรยี นไดฝ้ ึกฝนเรื่อยๆ ขั้นตอนที่ 4 : ขั้นการสรุป ขั้นนี้เป็นการสรุปเมื่อจบบทเรียนหรือหน่วย ซึ่งแตกต่างจากขั้นตอนที่ 2 ซึ่งเป็นการ สรุปในแต่ละชั่วโมง ในขั้นตอนนี้เป็นการเชื่อมโยงความรู้ทั้งหน่วย โดยใช้ Graphic Organizer ฝึกให้นักเรียนเชื่อมโยง ความรูภ้ ายในบทเรยี น สอดคลอ้ งกับหลักการทำงานของสมองที่วา่ “สมองเรยี นรู้เปน็ องค์รวม” ซง่ึ ข้นั ตอนน้ีมีความสำคัญ ตอ่ เดก็ มาก และเปน็ ขน้ั ตอนทีค่ ่อนข้างยาก ครเู องก็จำเปน็ ต้องฝกึ ฝนบอ่ ยๆ เช่นกนั ขั้นตอนที่ 5 : ขั้นการประยุกต์ใช้ทันทีทันใด การที่เด็กเรียนแล้วสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้นั้น ทำให้เกิดการ เรียนรู้ได้ถึงร้อยละ 90 ดังนั้น เมื่อจบบทเรียน คุณครูต้องคิด ต้องออกแบบ เชื่อมโยงความรู้ท้ังหนว่ ย นำข้อสอบมาให้เด็ก ทดลองทำ

การวัดและประเมินผล วิธกี ารเก็บคะแนน คะแนนระหวา่ งภาค : ปลายภาค = 70 : 30 โดยแบง่ ดงั นี้ เรือ่ งทีเ่ กบ็ คะแนน คะแนน ประเภทเคร่อื งมือ 1.คะแนนเก็บกอ่ นกลางปี 25 1.1 ผลงานนกั เรียน 15 สมดุ แบบฝกึ หัดคณติ ศาสตร์ สสวท. ชนิ้ งาน 1.2 ทดสอบหลังเรยี น 10 แบบทดสอบหลงั เรยี น 2. สอบกลางปี 20 แบบทดสอบ 3.คะแนนหลงั กลางปี 25 3.1 ผลงานนักเรียน 15 สมดุ แบบฝกึ หัดคณิตศาสตร์ สสวท. ช้ินงาน 3.2 ทดสอบหลงั เรยี น 10 แบบทดสอบหลงั เรียน 4.สอบปลายปี 30 รวม 100 ส่ือ/แหลง่ เรยี นรู้ - สื่อประจำหนว่ ยการจดั การเรยี นรู้ - หนังสอื เรียนคณิตศาสตร์ และแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ สสวท

แผนผงั มโนทัศนเ์ ปา้ หมายการเรยี นร้/ู หลักฐานการเรยี นรู้ ความรู้ (Knowledge : K) ทกั ษะ/กระบวนการ(Process: P) คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1.บอกเศษส่วนที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือ 1.เขียนเศษส่วนที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือ เทา่ กบั ตัวสว่ นได้ (K) เท่ากับตัวส่วนได้ (P) 1. ซื่อสัตยส์ จุ ริต 2.บอกหลกั การเปรยี บเทยี บและเรียงลำดับ 2.เขียนขนั้ ตอนแสดงการเปรียบเทียบและ 2. มีวินยั เศษสว่ นที่ตัวส่วนเท่ากนั (K) เรยี งลำดบั เศษส่วนที่ตวั ส่วนเทา่ กันได้ (P) 3. ใฝเ่ รยี นรู้ 2.บอกหลักการเปรยี บเทยี บและเรยี งลำดบั 3.เขยี นข้ันตอนแสดงการเปรียบเทียบและ 4. มุ่งม่ันในการทำงาน เศษสว่ นที่ตัวเศษเทา่ กนั (K) เรียงลำดบั เศษส่วนท่ตี วั เศษเท่ากนั ได้ (P) 5. มจี ิตสาธารณะ 3.บอกขั้นตอนและวิธีการบวกเศษส่วนที่มี 4.เขียนขั้นตอนแสดงการบวกเศษส่วนทีม่ ี ตวั ส่วนเทา่ กนั ได้ (K) ตัวส่วนเทา่ กนั ได้ (P) 4.บอกขั้นตอนและวิธีการลบเศษส่วนที่มี 5.เขียนแสดงการหาผลลัพธ์จากการบวก ตัวส่วนเทา่ กนั ได้ (K) เศษสว่ นท่ีมตี วั สว่ นเทา่ กันได้ถกู ตอ้ ง (P) 5.วิเคราะห์เขยี นประโยคสัญลักษณ์และหา 6.เขียนขั้นตอนแสดงการลบเศษส่วนที่มี คำตอบโจทย์ปญั หาการบวกเศษส่วนท่ีมีตัว ตวั สว่ นเท่ากันได้ (P) ส่วนเท่ากันได้ (K) 7.เขียนแสดงการหาผลลัพธ์จากการลบ 6.วิเคราะห์ประโยคสัญลักษณ์และหา เศษสว่ นท่มี ตี ัวสว่ นเทา่ กนั ได้ถูกตอ้ ง (P) คำตอบโจทยป์ ญั หาการบวกเศษส่วนท่ีมีตัว 8.เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำตอบ ส่วนเท่ากนั ได้ (K) ไดจ้ ากโจทย์ปญั หาการบวกเศษส่วนทม่ี ตี ัว ส่วนเท่ากนั ได้ (P) 9.เขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคำตอบ ได้จากโจทยป์ ญั หาการบวกเศษส่วนที่มตี ัว สว่ นเท่ากันได้ (P) เปา้ หมายการเรยี น เรอ่ื งเศษสว่ น หลกั ฐานการเรยี นรู้ พซิ ซ่าแสดงเศษส่วน

แผนผังมโนทัศน์ข้ันตอนการทำกิจกรรมประกอบการจดั การเรียนรู้ด้วย การสอนตามหลกั การพฒั นาสมอง (Brain-Based learning: BBL) ศึกษามาตรฐานการรเรียนรู้ / ตวั ชี้วดั และจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ทำแบบทดสอบก่อนเรยี น ทำกิจกรรมโดยใช้กระบวนการจดั การเรยี นรตู้ ามหลักการพฒั นาสมอง (Brain-Based learning: BBL) ขั้นท่ี 1 เตรียมความพร้อม ข้ันที่ 2 เรยี นรู้ ข้นั ที่ 3 ขัน้ การฝึก ขน้ั ที่ 4 ข้นั การสรปุ ขั้นท่ี 5 ขน้ั การประยุกตใ์ ช้ทันทีทันใด ทดสอบหลังเรียน (ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 60)

ผังมโนทศั น์ หน่วยการเร แผนที่ 1 การอา่ นและการเขยี นเศษสว่ นทต่ี ัวเศษน้อยกว่า หน่วยการเ หรอื เท่ากบั ตวั สว่ น เศษส แผนท่ี 4 การบวกเศษส่วนที่มตี ัวส่วนเทา่ กนั จำนวน 1 แผนท่ี 2 การเปรยี บเทียบแ ส่วนเ แผนท่ี 5 การลบเศษส แผนท่ี 7 โจทย์ปญั หาการลบ การเรียนร้แู บ ภาษาไทย 1.ฟังแสดงความคิดเหน็ 2.พูดแสดงความคิดเห็น และตอบคำถามอา่ นและสะกดคำ ๓.การเขยี นสอ่ื ความหมายทางคณติ ศาสตร์

รียนรูท้ ่ี 7 เศษสว่ น เรียนรู้ท่ี 7 แผนท่ี 3 การเปรียบเทยี บและเรียงลำดบั เศษส่วนที่ตวั ส่วน เศษเทา่ กนั 16 ชั่วโมง แผนท่ี 6 โจทยป์ ญั หาการบวกเศษสว่ นทม่ี ีตัวส่วนเทา่ กนั และเรียงลำดับเศษส่วนท่ีตัว เท่ากัน ส่วนทม่ี ีตวั สว่ นเทา่ กนั บเศษส่วนที่มีตวั ส่วนเทา่ กัน บบบูรณาการ ศลิ ปะ : ทศั นศิลป์ ๑. การออกแบบและตกแต่งดอกไมแ้ สดงเศษสว่ น

แผนบรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ครู ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล การมภี ูมคิ ้มุ กนั ในตวั ทดี่ ี 1. ออกแบบการจดั กจิ กรรม ตรงตาม 1. ออกแบบการเรยี นรสู้ ่งเสรมิ กระบวนการคดิ 1. ศึกษาแนวทางการจัดการเรยี นรู้ล่วงหนา้ ตัวชี้วัด 2. ใชเ้ ทคนิคการจดั การเรยี นรู้ที่หลากหลาย 2. จัดเตรยี มการวดั ผลประเมนิ ผล และแบบ 2. เลือกสือ่ แหล่งเรียนรเู้ หมาะสม สังเกตพฤตกิ รมนักเรยี น 3. วัดผลประเมนิ ผลตรงตามเนือ้ หา เงอื่ นไขความรู้ เงื่อนไขคณุ ธรรม 1. รูจ้ กั เทคนิคการสอนท่ีสง่ เสริมกระบวนการคดิ และนักเรียน 1. มคี วามขยัน เสยี สละ และมุ่งมนั่ ในการจดั หาส่อื มาพัฒนานกั เรยี น สามารถเรยี นรูไ้ ด้อยา่ งมีความสขุ ใหบ้ รรลตุ ามจดุ ประสงค์ 2. มีความอดทนเพื่อพฒั นานักเรียนโดยใช้เทคนคิ การสอนที่ หลากหลาย นกั เรียน ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล การมีภมู ิคุม้ กนั ในตวั ที่ดี 1. การใช้เวลาในการทำกจิ กรรม/ภาระงาน 1. ฝกึ กระบวนการทำงานเป็นกลมุ่ 1. วางแผนการศกึ ษาคน้ คว้าอิสระ ได้อยา่ งเหมาะสม ทนั เวลา 2. ฝกึ กระบวนการแสดงข้ันตอนการหาผลลพั ธ์ 2. นำความรเู้ รอ่ื งเศษสว่ นไปใชใ้ น 2. เลือกสมาชิกกลมุ่ ไดเ้ หมาะสมกบั เน้ือหาท่ี ชวี ิตประจำวนั ได้ เรียนและศกั ยภาพของตน เงอื่ นไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม 1. มีความรู้เร่อื งเศษสว่ น ตลอดจนสามารถสรา้ งจัดทำชิน้ งาน ได้ตาม 1. มีความรับผิดชอบ และปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลงของกลมุ่ วัตถุประสงค์ 2. มสี ติ มสี มาธิชว่ ยเหลือกนั ในการทำงานรว่ มกนั ส่งผลต่อการพัฒนา 4 มิติให้ยั่งยืนยอมรบั ต่อการเปลีย่ นแปลงในยคุ โลกาภวิ ฒั น์ วัตถุ สังคม สิง่ แวดลอ้ ม วัฒนธรรม ความรู้ (K) มีความร้คู วามเขา้ ใจเศษสว่ น มคี วามรแู้ ละเขา้ ใจ มีความร้แู ละเข้าใจ มีความรู้และเข้าใจการ กระบวนการทำงาน เกี่ยวกบั ส่ิงแวดล้อม ชว่ ยเหลือ แบ่งปนั กลุม่ และสิง่ ต่าง ๆรอบตวั ทกั ษะ (P) สร้างช้นิ ดอกไม้แสดงเศษส่วน ทำงานได้สำเร็จตาม ใชแ้ หลง่ เรยี นรโู้ ดยไม่ ช่วยเหลือ แบง่ ปันซง่ึ เปา้ หมาย ดว้ ย ทำลายสง่ิ แวดล้อม กัน และกนั กระบวนการกล่มุ ค่านิยม (A) เห็นประโยชนข์ องเรียนรู้ เกีย่ วกบั เศษส่วน เห็นคุณคา่ และ เหน็ คณุ คา่ ของการใช้ ปลกู ฝงั นิสยั การ ภาคภูมิใจในการ แหล่งเรยี นรูโ้ ดยไม่ ชว่ ยเหลอื แบ่งปัน ทำงานร่วมกนั ได้ ทำลายสง่ิ แวดลอ้ ม สำเรจ็

กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 7 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง เศษส่วน วชิ าคณติ ศาสตร์ จำนวน 16 ช่ัวโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั มาตรฐานการเรียนรู้ ค 1.1 : เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนนิ การ ของจำนวน ผลท่ีเกิดข้นึ จากการดำเนนิ การ สมบัติของการดำเนินการ และการนำไปใช้ ตัวชว้ี ดั ป.3/3 : บอก อา่ น และเขยี นเศษสว่ นแสดงปริมาณสิง่ ต่างๆ และแสดงส่งิ ตา่ งๆ ตาม เศษส่วนทก่ี ำหนด ป.3/4 : เปรยี บเทียบเศษส่วนท่ตี วั เศษเทา่ กันโดยทต่ี วั เศษน้อยกวา่ หรือเท่ากบั ตวั ส่วน ป.3/10 : หาผลบวกของเศษส่วนทีม่ ีตวั สว่ นเทา่ กนั และผลบวกไม่เกนิ 1 และหาผลลบ ป.3/11 : แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วนทมี่ ตี ัวส่วนเทา่ กันและผลบวกไม่ เกิน 1 และโจทยป์ ญั หาการลบเศษส่วนท่มี ตี ัวส่วนเทา่ กนั เศษส่วนทม่ี ีตัวส่วนเท่ากัน 2. สาระสำคญั เศษส่วน เปน็ การเขียนแสดงจำนวน โดยใช้ − เป็นเส้นคั่นระหวา่ งจำนวนสองจำนวน จำนวนท่ีอยูบ่ นเสน้ คั่นเรียกว่า ตวั เศษ จำนวนท่อี ยู่ใต้เส้นค่นั เรียกว่า ตัวสว่ น การอ่านเศษส่วนใหเ้ ริ่มอ่านจากตัวเลขเศษกอ่ น โดยมคี ำ ว่า เศษ นำหน้าแล้วตามด้วยตัวเลขทีเ่ ปน็ ตัวเศษ จากนนั้ อ่านตวั สว่ นต่อ โดยมคี ำว่า ส่วน นำหนา้ แล้วตามดว้ ยตัว เลขทเ่ี ปน็ ตวั ส่วน การเปรียบเทยี บเศษสว่ นที่มีตวั สว่ นเท่ากนั ใช้วิธนี ำตวั เศษมาเปรยี บเทียบกนั เศษส่วนทมี่ ตี ัวเศษ มากกว่าจะมคี า่ มากกว่าเศษสว่ นทม่ี ตี ัวเศษน้อยกวา่ การเปรยี บเทยี บเศษส่วนที่มีตัวเศษเทา่ กนั จะพิจารณาที่ตวั สว่ น เศษสว่ นทม่ี ตี ัวสว่ นน้อยกว่าจะมีค่ามากกวา่ เศษสว่ นท่มี ีตวั สว่ นมากกว่า เศษส่วน เปน็ การเขียนแสดงจำนวน โดยใช้ − เปน็ เสน้ คน่ั ระหว่างจำนวนสองจำนวน จำนวนที่อยู่บนเส้นคั่นเรยี กว่า ตัวเศษ จำนวนท่ีอยใู่ ต้เสน้ คัน่ เรยี กวา่ ตวั ส่วน การอา่ นเศษส่วนใหเ้ ร่ิมอา่ นจากตัวเลขเศษกอ่ น โดยมีคำว่า เศษ นำหน้าแลว้ ตามด้วยตัวเลขทีเ่ ป็น ตัวเศษ จากนน้ั อ่านตัวส่วนต่อ โดยมคี ำวา่ ส่วน นำหนา้ แลว้ ตามดว้ ยตัวเลขทเี่ ป็นตวั ส่วนการลบเศษส่วนทม่ี สี ่วน เท่ากัน สามารถทำไดโ้ ดยใหน้ ำตวั เศษมาลบกัน ตัวสว่ นยังคงเดิมไม่ตอ้ งลบกนั การแกโ้ จทย์ปัญหาเก่ียวกบั เศษส่วนตอ้ งวิเคราะห์โจทย์ และแสดงวธิ ีทำเพือ่ หาคำตอบ รวมทั้งตรวจสอบความสมเหตสุ มผลของคำตอบ 3. สาระการเรียนรู้ - การอา่ นและเขยี นเศษสว่ นที่ตัวเศษน้อยกว่าตัวสว่ น - การเปรยี บเทยี บและเรียงลำดับเศษส่วนทีม่ ีตัวสว่ นเท่ากัน - การเปรยี บเทยี บและเรียงลำดับเศษสว่ นทมี่ ีตัวเศษเท่ากัน - การบวกเศษสว่ นท่มี ตี วั ส่วนเทา่ กนั - การลบเศษส่วนที่มตี ัวส่วนเท่ากัน

- โจทยป์ ัญหาการบวกเศษสว่ นท่มี ีตวั ส่วนเท่ากัน - โจทยป์ ัญหาการลบเศษสว่ นที่มตี วั สว่ นเทา่ กนั 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต 5. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. มีวนิ ัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน 6. ชนิ้ งาน/ภาระงาน 1. พซิ ซ่าแสดงเศษส่วน 7. การวัดและประเมินผล วธิ กี าร เครือ่ งมอื เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อน-หลังเรยี น หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 7 แบบทดสอบกอ่ น-หลงั เรยี น ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ 60 ตรวจแบบฝกึ หัดหนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 7 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 7 ตรวจช้นิ งานหน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 7 แบบฝึกหัดหน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม สงั เกตความมีวนิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ และมุง่ ม่ันใน ช้นิ งานหนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 7 ระดบั คุณภาพ 2 การทำงาน ผ่านเกณฑ์ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกล่มุ ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ กิจกรรมท่ี 1 การอา่ นและเขียนเศษส่วน ชว่ั โมงท่ี 1 1. ครูใหน้ กั เรยี นคดิ เลขเรว็ โดยใชเ้ กมวงล้อบงิ โก 2. ครสู นทนากบั นกั เรียนถงึ สง่ิ ของทเ่ี ตม็ หน่วยและส่ิงของท่ไี มเ่ ต็มหนว่ ย จากน้นั ยกตวั อย่างรูปภาพ สิง่ ของท่เี ตม็ หน่วยและไม่เต็มหนว่ ย โดยนำบตั รภาพ เชน่ ผลไม้ ขนมเคก้ วงกลม ทง้ั ที่เป็นภาพเตม็ หนว่ ยและไม่ เตม็ หน่วยติดบนกระดานดำเพ่ือใหน้ ักเรียนตอบคำถามวา่ ภาพใดบ้างท่เี ต็มหน่วยและภาพใดบ้างทไี่ ม่เต็มหนว่ ย 3. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันสนทนาถงึ ส่งิ ของทีเ่ ต็มหนว่ ยวา่ สิ่งของท่เี ตม็ หนว่ ย เรยี กวา่ จำนวนเตม็ เป็น การแสดงสิง่ ของทีม่ จี ำนวนเตม็ หน่วยซึ่งเราสามารถนับได้ และใชส้ ญั ลกั ษณ์ 1, 2, 3, ... แทนจำนวนดงั กลา่ ว

พรอ้ มกับถามนกั เรียนวา่ ส่งิ ของทไ่ี มเ่ ตม็ หนว่ ย เรยี กวา่ อะไร สามารถนบั เปน็ จำนวนเต็มไดห้ รอื ไม่ และใช้ สัญลกั ษณอ์ ะไรแทน 4. ครนู ำภาพขนมทีถ่ ูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนเทา่ ๆ กันมาตดิ บนกระดานดำ 5. ครแู นะนำวา่ ส่วนท่ีนักเรยี นหน่ึงคนได้รับ เปน็ 1 ใน 2 สว่ นของขนมเคก้ ท้ังหมด เขยี นแทนด้วย 1 อา่ น 2 วา่ เศษหนึง่ ส่วนสอง ตัวเลขตัวบน คือ 1 เรยี กวา่ ตวั เศษ ซึง่ แสดงจำนวนส่วนแบง่ ท่กี ลา่ วถึง ตัวเลขตัวเลา่ งคอื 2 เรยี กวา่ ตัวสว่ น ซ่งึ แสดงจำนวนส่วนแบง่ ทง้ั หมดท่ีเทา่ ๆ กนั 6. ครนู ำแถบกระดาษท่มี ีสว่ นแบ่ง 5 สว่ นเทา่ ๆ กัน โดยทแ่ี ถบกระดาษดงั กล่าวระบายสี 1 ส่วน ติดบน กระดานดำใหน้ ักเรยี นพจิ ารณา 7. จากนั้นครนู ำรูปมาติดบนกระดาน แลว้ อภปิ รายซกั ถามนักเรยี น 8. ครนู ำรูปส่งิ ของหนึง่ กลมุ่ ซึง่ มีจำนวนไม่เกนิ 20 และแบ่งสิง่ ของออกเป็นหลายส่วนเท่าๆ กัน แรเงา บางสว่ นของรูปตดิ ไวบ้ นกระดาน 9. ครใู หน้ กั เรยี นหาเศษส่วนจากส่งิ ของซงึ่ มีหลายชนดิ อยูใ่ นกลมุ่ เดียวกัน 10. ครูให้นักเรียนอ่านและเขียนเศษส่วนที่ตัวเศษน้อยกว่าตัวส่วน เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกัน ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง จากนัน้ ครแู ละนกั เรียนร่วมกันเฉลยกิจกรรมในหนังสอื เรียน 11. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั สรปุ สง่ิ ทไ่ี ดเ้ รียนรรู้ ว่ มกัน ดงั นี้ - เศษส่วน คอื จำนวนทใ่ี ชบ้ อกปรมิ าณของสง่ิ ของหรอื รปู ภาพท่ีถูกแบ่งออกมาเม่ือเทยี บกับสิ่งของ ท้ังหมดหรอื ภาพท้งั หมด - สญั ลกั ษณ์ทเ่ี ขียนแสดงเศษสว่ นประกอบดว้ ย ตวั เศษ แสดงจำนวนสว่ นแบง่ ทก่ี ล่าวถึง ซ่ึงจะเขียนไว้ ดา้ นบน ตัวสว่ น แสดงจำนวนสว่ นแบ่งทัง้ หมดท่แี บง่ ออกเทา่ ๆ กนั ซ่ึงจะเขยี นไว้ดา้ นลา่ ง และมีเส้นค่ันระหวา่ งตวั เศษและตัวสว่ น 12. ครูให้นกั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น ชั่วโมงท่ี 2 1. ครใู ห้นักเรยี นคิดเลขเร็วโดยใชเ้ กมวงล้อบิงโก 2. ครูทบทวนการอา่ นเศษสว่ น โดยตดิ แถบแสดงเศษสว่ นบนกระดาน 3. ให้นกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายส่วนท่ีแรเงาแสดงเศษสว่ นใด และตรวจสอบความถูกตอ้ งโดยครูอธิบาย แนะนำและตรวจสอบความถกู ต้องอกี ครงั้ 4. ครตู ดิ แถบกระดาษท่ีแรเงาเตม็ 1 แถบ บนกระดานใชก้ ารถามตอบจนนักเรยี นบอกได้ ว่า ส่วนทีแ่ รเงาแสดง 1 5. ครตู ดิ แถบกระดาษรปู สี่เหลยี่ มทีม่ ขี นาดเท่าเดมิ อีก 4 แบบ (ดังรูปข้างล่าง) และแบง่ แถบกระดาษแถบ ทหี่ นงึ่ เป็น 2 ส่วนเทา่ ๆ กัน แถบท่สี องเป็น 3 สว่ นเท่าๆ กนั แถบทสี่ ามเป็น 4 ส่วนเท่าๆ กนั และแถบทส่ี ่เี ปน็ 5 สว่ นเท่าๆ กนั 6. ครแู รเงาแถบกระดาษแถบท่ี 1 ทลี ะส่วน พรอ้ มทัง้ ใหน้ กั เรียนบอกเศษสว่ นทแี่ ทนส่วนทแี่ รเงา (1 , 2) 22 ทำนองเดียวกัน สำหรบั แถบที่ 2 (1 , 2 , 3) แถบที่ 3 (1 , 2 , 3 , 4) และแถบท่ี 4 (1 , 2 , 3 , 4 , 5) เม่ือแรเงา 333 4444 55555

ครบทกุ แถบ จากนนั้ ให้นักเรียนพจิ ารณาแถบกระดาษท้ังหมดใชก้ ารถามตอบ 7. ครูเขยี นผลสรปุ ทีไ่ ด้บนกระดาน ดงั น้ี 2 = 3 = 4 = 5 = 1 2345 8. ครูให้นกั เรียนสงั เกตแถบกระดาษทตี่ ิดบนกระดานและตัวอยา่ งเศษส่วนที่เทา่ กับ 1 ที่นักเรียน ยกตัวอย่างมา ครูใช้การถามตอบจนนกั เรยี นรว่ มกันสรุปได้ว่า เศษส่วนที่ตวั เศษและตวั สว่ นเปน็ จำนวนนับที่ เท่ากัน เปน็ เศษส่วนท่เี ท่ากับ 1 9. ครูใหน้ กั เรยี นอ่านและเขยี นเศษส่วนทตี่ ัวเศษเทา่ กบั ตัวสว่ น เมือ่ เสรจ็ แล้วให้นกั เรียนชว่ ยกนั ตรวจสอบ ความถูกต้อง จากนัน้ ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันเฉลยกิจกรรมในหนังสอื เรียน 10. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งท่ไี ดเ้ รียนรู้ร่วมกัน ดังน้ี เศษสว่ นท่ตี วั เศษและตวั สว่ นเป็นจำนวนนบั ท่ี เทา่ กนั เปน็ เศษสว่ นท่เี ท่ากบั 1 11. ครูให้นักเรยี นทำแบบฝึกหัดคณติ ศาสตร์ สสวท. กจิ กรรมท่ี 2 การเปรยี บเทียบและเรียงลำดบั เศษสว่ นท่ีมีตัวสว่ นเท่ากัน ช่ัวโมงที่ 1 1. ครใู ห้นกั เรียนคิดเลขเร็วโดยใช้เกมวงล้อบงิ โก 2. นกั เรยี นทบทวนความรู้โดยสงั เกตและตอบคำถามบัตรภาพแสดงเศษส่วนท่ตี ิดบนกระดานแลว้ ตอบ คำถาม 3. นกั เรียนและครรู ่วมกันอภิปรายถึงการเปรยี บเทียบเศษสว่ นท่ีมสี ่วนเทา่ กนั ว่า สามารถทำไดโ้ ดยนำตวั เศษมาเปรียบเทยี บกัน ถา้ ตวั เศษของจำนวนใดมคี ่ามากกว่า จำนวนนน้ั จะมคี า่ มากกวา่ 4. ครยู กตัวอย่างเศษส่วนที่มตี ัวสว่ นเทา่ กนั เพมิ่ เติมอีก จนนกั เรยี นตอบได้คลอ่ ง 5. ครูให้นักเรยี นเปรียบเทียบเศษสว่ นท่มี ีตัวสว่ นเท่ากนั เมือ่ เสรจ็ แล้วให้นักเรียนชว่ ยกนั ตรวจสอบ ความถกู ต้อง จากนนั้ ครูและนักเรียนร่วมกนั เฉลยกจิ กรรมในหนงั สือเรียน 6. ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั สรุปส่ิงทีไ่ ด้เรียนรู้ร่วมกนั ดังนี้ การเปรยี บเทยี บเศษส่วนท่มี ีตัวสว่ นเท่ากัน ใช้ วธิ ีนำตวั เศษมาเปรยี บเทียบกัน เศษสว่ นท่ีมีตวั เศษมากกว่าจะมคี า่ มากกว่าเศษส่วนทม่ี ีตัวเศษน้อยกวา่ 7. ครใู ห้นักเรียนทำแบบฝกึ หดั คณิตศาสตร์ สสวท. ชว่ั โมงท่ี 2 1. ครใู หน้ ักเรยี นคิดเลขเรว็ โดยใช้เกมวงล้อบงิ โก 2. ครทู บทวนเรื่องการเปรียบเทียบเศษสว่ นท่ีตัวสว่ นเท่ากัน โดยนำบัตรภาพแสดงเศษส่วน มาใหน้ กั เรยี นดูที ละคู่ แลว้ ใหน้ กั เรยี นร่วมกันเปรยี บเทยี บว่า รปู ภาพใดแสดงเศษสว่ นที่มากกว่าหรือน้อยกวา่ กัน (2 - 3 ตวั อย่าง) 3. ครเู ขยี นตวั เลขบนกระดานทีละคู่ แล้วใหน้ กั เรยี นรว่ มกันเปรยี บเทยี บวา่ จำนวนใดมีค่ามากกว่าหรือน้อย กว่ากนั โดยใช้เครือ่ งหมาย ดงั นี้ 5 กบั 2 , 2 กับ 6 , 5 กับ 4 , 3 กบั 1 6 67 75 58 8 4. ครทู บทวนเรอ่ื งการเปรยี บเทียบเศษสว่ นทีต่ ัวสว่ นเทา่ กันว่า “เศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน ให้พจิ ารณาที่ ตวั สว่ น เศษสว่ นทมี่ ตี ัวเศษมากกวา่ จะมีค่ามากกว่าเศษส่วนทีม่ ตี วั เศษนอ้ ยกว่า” 5. ครนู ำบัตรตวั เลข 5 , 3 , 7 , 4 , 1 ข้นึ มา โดยครตู ้ังคำถามกระตุ้นใหน้ ักเรยี นชว่ ยกนั คดิ ในประเด็น 99999

6. ครูยกตัวอยา่ งการเรียงลำดบั เศษส่วนท่ีตัวสว่ นเท่ากนั เพิม่ เตมิ อีก 2 – 3 ตวั อย่าง จนนกั เรียนตอบได้ คลอ่ ง 7. ครใู หน้ กั เรยี นเรียงลำดบั เศษสว่ นที่มตี ัวส่วนเท่ากัน เมื่อเสร็จแลว้ ใหน้ ักเรยี นชว่ ยกันตรวจสอบความถกู ต้อง จากนั้นครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลยกจิ กรรมในหนงั สอื 8. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรปุ สิ่งที่ได้เรียนร้รู ่วมกัน ดังนี้ การเรียงลำดบั เศษส่วนทม่ี ีตัวสว่ นเทา่ กนั ใชว้ ธิ ี นำตวั เศษมาเปรียบเทยี บกนั เศษสว่ นทม่ี ตี วั เศษมากกวา่ จะมีคา่ มากกวา่ เศษส่วนท่ีมตี ัวเศษน้อยกวา่ จากนั้นนำมา เรียงลำดบั จากมากไปหานอ้ ย หรือจากน้อยไปหามาก 9. ครใู หน้ กั เรียนทำแบบฝกึ หัดคณติ ศาสตร์ สสวท. กจิ กรรมท่ี 3 การเปรยี บเทียบและเรยี งลำดับเศษสว่ นท่ีมีตวั เศษเท่ากัน ชว่ั โมงที่ 1 1. ครใู หน้ ักเรยี นคิดเลขเร็วโดยใชเ้ กมวงลอ้ บิงโก 2. ครูทบทวนเร่ืองการเปรยี บเทยี บเศษส่วนโดยการติดแผนภาพบนกระดาน และใหน้ ักเรยี นร่วมกันบอก เศษส่วนแสดงจำนวนทแ่ี รเงา 3. ครใู ช้การถามตอบเพื่อเปรียบเทยี บ 1 กบั 5 โดยใหน้ ักเรียนสังเกตจากแถบแสดงเศษสว่ นจนนกั เรียน 77 รว่ มกนั ใหเ้ หตผุ ล 4. ครูยกตัวอยา่ งการเปรยี บเทยี บเศษสว่ นอีก 2 ตวั อยา่ ง จากแถบแสดงเศษส่วนและให้นกั เรยี นร่วมกัน ให้เหตผุ ลเพื่อแสดงการเปรียบเทียบ 5. ครูใช้การถามตอบเพอื่ เปรยี บเทียบ 3 กบั 3 โดยให้นกั เรียนสังเกตจากแถบแสดงเศษส่วนจนนกั เรียน 57 ร่วมกนั ให้เหตุผล 6. ครูให้นักเรยี นสังเกตผลจากการเปรียบเทยี บเศษส่วนและรว่ มกันสรุปว่า - เศษสว่ นสองจำนวนเมือ่ นำมาเปรยี บเทยี บกันจะเทา่ กัน มากกว่ากนั หรอื นอ้ ยกว่ากนั อย่างใดอยา่ ง หนึ่ง - การเปรยี บเทียบเศษสว่ นทมี่ ตี วั เศษเทา่ กนั ใหพ้ ิจารณาทีต่ วั ส่วน เศษสว่ นทม่ี ตี วั ส่วนนอ้ ยกว่า จะมีคา่ มากกวา่ เศษส่วนทม่ี ตี ัวสว่ นมากกว่า 7. ครยู กตัวอย่างเศษส่วนทมี่ ีตัวเศษเทา่ กันเพ่มิ เติมอีก จนนกั เรียนตอบไดค้ ลอ่ ง 8. ครูให้นักเรียนเปรยี บเทียบเศษสว่ นทีม่ ีตัวเศษเท่ากัน เมอ่ื เสรจ็ แลว้ ให้นกั เรยี นช่วยกันตรวจสอบ ความถูกต้อง จากนัน้ ครแู ละนักเรียนรว่ มกันเฉลยกจิ กรรมในหนงั สือเรียน 9. ครูและนกั เรยี นร่วมกนั สรุปส่ิงทไี่ ด้เรยี นรรู้ ว่ มกัน ดังนี้ การเปรยี บเทียบเศษสว่ นทีม่ ีตัวส่วนเทา่ กนั ใช้ วิธนี ำตัวเศษมาเปรียบเทยี บกัน เศษส่วนทมี่ ตี วั สว่ นน้อยกว่าจะมีค่ามากกว่าเศษส่วนทม่ี ีตัวสว่ นมากกว่า เศษส่วนที่ มตี วั เศษมากกวา่ จะมีค่ามากกวา่ เศษส่วนท่มี ตี ัวเศษนอ้ ยกวา่ 10. ครใู หน้ ักเรียนทำแบบฝึกหัดคณติ ศาสตร์ สสวท. ชัว่ โมงที่ 2 1. ครูให้นักเรียนคิดเลขเร็วโดยใชเ้ กมวงลอ้ บงิ โก

2. ครทู บทวนเรื่องการเปรียบเทียบเศษส่วนที่ตัวเศษเท่ากัน โดยนำบัตรภาพแสดงเศษสว่ น มาใหน้ ักเรียนดทู ี ละคู่ แล้วให้นักเรยี นรว่ มกันเปรียบเทยี บว่า รปู ภาพใดแสดงเศษสว่ นท่ีมากกว่าหรือน้อยกวา่ กัน (2 - 3 ตวั อยา่ ง) 3. ครูเขียนตัวเลขบนกระดานทลี ะคู่ แลว้ ให้นกั เรยี นร่วมกันเปรยี บเทยี บว่าจำนวนใดมีค่ามากกว่าหรือน้อย กว่ากันโดยใชเ้ ครื่องหมาย ดงั น้ี 2 กบั 2 , 6 กบั 6 , 4 กบั 4 , 3 กบั 3 6 57 95 78 6 4. ครกู ล่าวทกั ทายและทบทวนเรือ่ งการเปรียบเทียบเศษส่วนทต่ี ัวเศษเท่ากันวา่ “เศษสว่ นท่ีมตี วั เศษ เท่ากัน ให้พิจารณาท่ตี วั สว่ น เศษส่วนทมี่ ีตัวส่วนนอ้ ยกว่าจะมีคา่ มากกว่าเศษส่วนท่มี ตี ัวส่วนมากกวา่ ” 5. ครนู ำบตั รตัวเลข 3 , 3 , 3 , 3 , 3 ขึ้นมา โดยครตู ้ังคำถามกระตุ้นให้นักเรยี นชว่ ยกนั คิดในประเด็น 96584 6. ครูยกตัวอยา่ งการเรียงลำดบั เศษส่วนทต่ี วั เศษเทา่ กนั เพ่มิ เตมิ อีก 2 – 3 ตวั อย่าง จนนกั เรยี นตอบได้ คล่อง 7. ครใู หน้ ักเรยี นเรียงลำดบั เศษส่วนที่มตี ัวเศษเท่ากนั เม่ือเสร็จแลว้ ให้นักเรยี นช่วยกันตรวจสอบความถูก ต้อง จากนนั้ ครูและนักเรยี นร่วมกนั เฉลยกิจกรรมในหนังสือเรียน 8. ครูและนักเรียนรว่ มกนั สรุปส่งิ ท่ีได้เรยี นรรู้ ว่ มกัน ดังนี้ การเรียงลำดับเศษสว่ นท่ีมีตัวเศษเทา่ กนั ใชว้ ิธี นำตวั ส่วนมาเปรยี บเทียบกัน เศษสว่ นทมี่ ตี ัวสว่ นน้อยกวา่ จะมีค่ามากกว่าเศษส่วนทีม่ ีตัวสว่ นมากกวา่ จากนั้น นำมาเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย หรอื จากน้อยไปหามาก 9. ครูใหน้ ักเรยี นทำแบบฝกึ หัดคณติ ศาสตร์ สสวท. กจิ กรรมท่ี 4 การบวกเศษส่วนท่ีมตี วั ส่วนเทา่ กัน ชว่ั โมงที่ 1 1. ครใู ห้นกั เรียนคดิ เลขเรว็ โดยใชเ้ กมวงล้อบิงโก 2. ครูทบทวนเรื่องการเปรียบเทียบเศษส่วน โดยนำบตั รภาพแสดงเศษส่วน มาให้นกั เรยี นดูทีละคู่ แลว้ ให้ นกั เรยี นรว่ มกันเปรยี บเทียบว่า รูปภาพใดแสดงเศษส่วนท่ีมากกวา่ หรือน้อยกวา่ กนั (2-3 ตัวอยา่ ง) 3. ครเู ขียนตวั เลขบนกระดานทีละคู่ แลว้ ให้นกั เรียนร่วมกันเปรียบเทียบวา่ จำนวนใดมีค่ามากกว่าหรือน้อย กว่ากันโดยใช้เครื่องหมาย ดงั นี้ 5 กบั 2 , 2 กบั 6 , 5 กบั 4 , 3 กับ 1 6 67 75 58 8 4. ครนู ำแผนภาพแสดงการบวกเศษสว่ นทม่ี ีตัวสว่ นเทา่ กนั 6. ครใู ช้คำถามใหน้ กั เรียนตอบ 7. ครยู กตวั อย่างเพมิ่ เติม และใหน้ ักเรียนแต่ร่วมกันหาคำตอบ 8. ครูให้นกั เรยี นบวกเศษส่วนที่มีตัวส่วนเทา่ กนั เมือ่ เสรจ็ แล้วใหน้ ักเรียนช่วยกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง จากน้นั ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยกจิ กรรมในหนังสือเรยี น 9. ครูและนักเรยี นร่วมกันสรปุ ส่งิ ท่ไี ดเ้ รียนร้รู ว่ มกัน ดังน้ี การบวกเศษส่วนที่มตี ัวสว่ นเทา่ กนั โดยใช้ หลกั การนำตัวเศษบวกตัวเศษ ตัวสว่ นคงเดมิ 10. ครใู ห้นักเรยี นทำแบบฝึกหดั คณติ ศาสตร์ สสวท.

ช่ัวโมงท่ี 2 1. ครใู หน้ กั เรียนคดิ เลขเร็วโดยใช้เกมวงลอ้ บงิ โก 2. ครูทบทวนความหมายของเศษสว่ นโดยแจกกระดาษขนาดกว้าง 4 นิ้ว ยาว 8 น้วิ ให้นักเรยี นทุกคน แล้วพับแถบกระดาษเปน็ 8 สว่ นเท่าๆ กนั ขีดเส้นตามรอยพบั แลว้ ให้นกั เรยี นระบายสแี ดง 3 สว่ น 3. ครกู ล่าวทกั ทายและทบทวนเรอื่ งการบวกเศษสว่ นท่ีมตี ัวสว่ นเทา่ กนั ว่า “การบวกเศษสว่ นทมี่ ีตัวสว่ น เท่ากัน ให้นำตวั เศษมาบวกกัน โดยมีตัวสว่ นเทา่ เดมิ ” 4. ครยู กตัวอย่างบนกระดานใช้การถามตอบใหน้ กั เรียนช่วยกันหาผลบวก 5. ครูตรวจสอบความถกู ตอ้ งอีกครั้ง และสนทนาและอภิปรายซักถามนกั เรยี นเก่ยี วกบั วธิ กี ารบวก เศษสว่ นทมี่ ตี วั ส่วนเทา่ กัน 6. ครใู ห้นักเรยี นบวกเศษสว่ นท่ีมีตัวส่วนเท่ากัน เมื่อเสรจ็ แลว้ ใหน้ ักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถกู ต้อง จากนั้นครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั เฉลยกิจกรรมในหนงั สอื 7. ครูและนกั เรยี นร่วมกนั สรุปสง่ิ ทไ่ี ด้เรยี นรูร้ ว่ มกัน ดังนี้ การบวกเศษสว่ นทมี่ ตี วั สว่ นเทา่ กนั โดยใช้ หลกั การนำตวั เศษบวกตัวเศษ ตัวส่วนคงเดิม กิจกรรมที่ 5 การลบเศษส่วนท่มี ีตัวส่วนเท่ากนั ชว่ั โมงท่ี 1 1. ครูให้นกั เรียนคดิ เลขเร็วโดยใช้เกมวงลอ้ บงิ โก 2. นักเรยี นทบทวนความรู้การบวกเศษส่วนทมี่ ตี ัวส่วนเทา่ กัน โดยพจิ ารณาแถบแสดงเศษสว่ นบนกระดาน ผแู้ ทนนกั เรยี นออกมาเขียนประโยคสัญลักษณ์ 1 คน และเขยี นคำตอบ 1 คน 3. ครนู ำเสนอการการลบท่มี ตี ัวสว่ นเท่ากนั โดยใช้แถบเศษส่วน 4. ครูสนทนาและอภปิ รายซักถามนกั เรียนเก่ียวกับวิธกี ารลบเศษสว่ นท่ีมตี วั ส่วนเทา่ กัน 5. ครยู กตวั อย่างโจทย์หรือประโยคสญั ลกั ษณ์เกีย่ วกับการลบที่มีตวั สว่ นเทา่ กัน 3 – 4 ตัวอย่างมา อภปิ รายซกั ถามนกั เรยี น ถึงการแสดงวิธีการทำใหน้ ักเรียนดเู ปน็ ตัวอยา่ ง 6. ครูให้นักเรยี นลบเศษส่วนทม่ี ีตวั สว่ นเทา่ กนั เมอื่ เสรจ็ แล้วใหน้ กั เรียนชว่ ยกันตรวจสอบความถกู ตอ้ ง จากนน้ั ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั เฉลยกจิ กรรมในหนงั สือเรยี น 7. ครูและนกั เรยี นร่วมกันสรุปสิ่งทไ่ี ด้เรยี นรรู้ ่วมกัน ดังน้ี การลบเศษสว่ นทมี่ ตี ัวส่วนเทา่ กันโดยใชห้ ลักการ นำตวั เศษลบตัวเศษ ตัวส่วนคงเดมิ 8. ครูใหน้ ักเรียนทำแบบฝึกหดั คณติ ศาสตร์ สสวท. ชว่ั โมงที่ 2 1. ครูใหน้ ักเรียนคดิ เลขเรว็ โดยใช้เกมวงล้อบิงโก 2. ครทู บทวนความหมายของเศษสว่ นโดยแจกกระดาษขนาดกวา้ ง 4 น้ิว ยาว 8 นว้ิ ให้นกั เรียนทกุ คน แลว้ พบั แถบกระดาษเปน็ 8 ส่วนเท่าๆ กัน ขีดเสน้ ตามรอยพับแล้วให้นกั เรียนระบายสีแดง 3 สว่ น 3. ครูใชก้ ารถามตอบจนนักเรยี นตอบได้วา่ เศษส่วนแสดงสว่ นทรี่ ะบายสี คือ 5 8

4. ครกู ลา่ วทกั ทายและทบทวนเรอื่ งการลบเศษสว่ นท่มี ตี ัวส่วนเท่ากันว่า “การลบเศษส่วนท่มี ตี วั สว่ น เท่ากนั ให้นำตวั เศษมาลบกัน โดยมีตวั ส่วนเท่าเดมิ ” 5. ครยู กตัวอย่างบนกระดานใช้การถามตอบให้นกั เรียนชว่ ยกนั หาผลบวก 6. ครตู รวจสอบความถกู ตอ้ งอกี คร้ัง และสนทนาและอภปิ รายซกั ถามนักเรยี นเกย่ี วกับวิธีการลบเศษสว่ น ทีม่ ตี วั ส่วนเทา่ กัน 7. ครูให้นักเรยี นลบเศษส่วนท่มี ีตวั ส่วนเทา่ กนั เม่อื เสร็จแลว้ ให้นกั เรยี นช่วยกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง จากน้ันครูและนักเรียนรว่ มกันเฉลยกจิ กรรมในหนังสอื เรยี น 8. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั สรุปสิง่ ที่ได้เรยี นรรู้ ่วมกัน ดังน้ี การลบเศษส่วนท่มี ตี วั ส่วนเท่ากันโดยใชห้ ลกั การ นำตัวเศษลบตัวเศษ ตวั สว่ นคงเดิม 9. ครใู ห้นกั เรียนทำแบบฝึกหดั คณิตศาสตร์ สสวท. กจิ กรรมที่ 6 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วนทีม่ ีตัวส่วนเทา่ กนั ช่วั โมงท่ี 1 1. ครูใหน้ ักเรยี นคดิ เลขเร็วโดยใชเ้ กมวงล้อบิงโก 2. นกั เรียนทบทวนความรู้ เรอื่ ง การบวกเศษสว่ นท่มี ีตัวส่วนเทา่ กัน โดยพิจารณาโจทย์การบวกเศษ ส่วนบนกระดาน 5 ขอ้ ผู้แทนนกั เรยี นออกมาแข่งกันเติมคำตอบ นกั เรยี นท่ีเหลือชว่ ยกนั ตรวจสอบความถูกต้อง 3. นกั เรยี นรว่ มกันแสดงความคิดเห็น โดยใชค้ ำถามกระตุ้นความคิด ดงั นี้ นักเรยี นมีวิธีการหรอื ข้นั ตอนใด อีกบา้ งท่จี ะช่วยใหห้ าคำตอบจากโจทย์ปัญหาเศษสว่ นไดร้ วดเร็ว และถกู ต้อง 4. ครูตดิ แถบโจทย์ปัญหาการบวกเศษสว่ นบนกระดาน พร้อมทั้งอ่านโจทยใ์ ห้นักเรียนอ่านตาม 5. ครใู หน้ กั เรียนฝกึ วเิ คราะหโ์ จทย์ปัญหา โดยตอบคำถาม 6. ครูฝกึ วเิ คราะหโ์ จทยป์ ญั หาการบวกเศษสว่ นตามลักษณะกิจกรรมที่ทำมาข้างตน้ อีก 2 – 3 ตวั อย่าง 7. ครูใหน้ กั เรยี นทำโจทย์ปญั หาการบวกเศษส่วนทม่ี ีตัวสว่ นเท่ากนั เมอื่ เสรจ็ แลว้ ให้นักเรยี นชว่ ยกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง จากนั้นครแู ละนักเรยี นรว่ มกันเฉลยกจิ กรรมในหนังสอื เรียน 8. ครูและนกั เรยี นร่วมกันสรุปส่งิ ท่ีไดเ้ รียนรรู้ ว่ มกัน ดังนี้ โจทย์ปญั หาเป็นการนำจำนวนหรอื สถานการณ์ ตา่ ง ๆ มาเขียนเป็นคำถาม เพ่ือให้คดิ หาคำตอบ ซึ่งเราต้องอ่านโจทย์ใหเ้ ขา้ ใจ พจิ ารณาวา่ โจทย์กำหนดอะไรให้ บ้าง โจทยถ์ ามหาอะไร ควรใช้วิธกี ารแกไ้ ขปญั หาอยา่ งไร 9. ครใู ห้นกั เรยี นทำแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ สสวท. ช่วั โมงท่ี 2 1. ครใู หน้ กั เรียนคิดเลขเรว็ โดยใช้เกมวงล้อบงิ โก 2. ครูนำโจทย์ปญั หาการบวกท่ีมีคำว่า “มากกว่า” มาให้นักเรยี นฝึกวเิ คราะหโ์ จทย์และหาคำตอบ 3. ครฝู ึกให้นักเรียนฝึกวิเคราะห์โจทย์โดยตอบคำถาม 4. ครตู ดิ แถบโจทยป์ ัญหาการบวกเศษส่วนบนกระดาน ให้นักเรียนคิดหาคำตอบ 5. ครใู ห้นกั เรียนทกุ คนอา่ นโจทย์ปัญหาพร้อมกัน แล้วฝกึ วเิ คราะหโ์ จทยแ์ ละหาคำตอบ โดยให้นักเรียน

ตอบคำถาม 6. ครูให้นักเรียนทำโจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกัน ตรวจสอบความถูกตอ้ ง จากนนั้ ครูและนกั เรียนร่วมกันเฉลยกจิ กรรมในหนงั สอื เรยี น 7. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรุปสงิ่ ทไ่ี ดเ้ รยี นร้รู ่วมกนั ดังน้ี การวิเคราะหโ์ จทยป์ ัญหาการบวกและหา คำตอบและหาคำตอบได้ว่าการแกโ้ จทย์ปญั หามีขน้ั ตอนดังนี้ - ทำความเข้าใจโจทย์ - วางแผนแกป้ ญั หา - ดำเนนิ การตามแผน - ตรวจสอบ 9. ครใู ห้นกั เรียนทำแบบฝึกหัดคณติ ศาสตร์ สสวท. ช่วั โมงที่ 3 1. ครูให้นักเรยี นคิดเลขเรว็ โดยใช้เกมวงลอ้ บิงโก 2. ครทู บทวนความรเู้ รอื่ ง การแก้โจทย์ปญั หาการบวกเศษสว่ นทีม่ ีตัวส่วนเท่ากนั จากนัน้ ครตู ิดบตั รโจทย์ ปญั หา แล้วครสู ุ่มนักเรียน 2-3 คน แสดงข้นั ตอนการแก้โจทย์ปัญหาหน้าช้นั เรียน โดยครแู ละนกั เรยี นที่ เหลอื รว่ มกนั ตรวจสอบความถกู ต้อง 3. ครนู ำแผนภมู แิ สดงตวั อย่างโจทย์ปญั หาการบวกเศษสว่ นท่มี ีตวั ส่วนเท่ากนั มาอภปิ รายซักถาม นกั เรียนเกยี่ วกับการวิเคราะห์โจทย์ การเขยี นโจทย์ปญั หา ประโยคสญั ลักษณ์ การแสดงวธิ ที ำเพอื่ หาคำตอบ 4. ครูฝกึ วเิ คราะห์โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วนท่ีมตี ัวส่วนเทา่ กันตามลกั ษณะกิจกรรมท่ีทำมาข้างตน้ อกี 2 – 3 ตวั อยา่ ง 5. ครูใหน้ กั เรียนทำโจทยป์ ัญหาการบวกเศษสว่ นท่ีมตี วั สว่ นเทา่ กนั เมอ่ื เสร็จแลว้ ให้นกั เรยี นช่วยกัน ตรวจสอบ ความถูกตอ้ ง จากนั้นครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั เฉลยกิจกรรมในหนงั สอื เรยี น 6. ครแู ละนักเรียนรว่ มกันสรปุ ส่ิงท่ีไดเ้ รียนรูร้ ่วมกัน ดังนี้ การแก้โจทยป์ ญั หาการบวกเศษสว่ นทม่ี ีตวั ส่วน เท่ากนั ทำไดโ้ ดยการวเิ คราะห์โจทยป์ ัญหาเพื่อทำความเขา้ ใจโจทย์วางแผนวา่ จะใช้วิธีใดหาคำตอบ แลว้ ลงมอื ทำโดย การแสดงวธิ ที ำหาคำตอบ และตรวจสอบคำตอบ เราสามารถนำความรูเ้ ร่ือง การแกโ้ จทยป์ ัญหาการบวกเศษสว่ น ไปใช้ แกป้ ัญหาเกย่ี วกับจำนวนต่างๆ ในชีวิตประจำวนั ได้ 7. ครูให้นักเรยี นทำแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ สสวท. และช้นิ งานพซิ ซา่ แสดงเศษส่วน กิจกรรมที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนท่ีมีตวั ส่วนเทา่ กัน ช่วั โมงที่ 1 1. ครใู ห้นกั เรียนคิดเลขเร็วโดยใชเ้ กมวงล้อบงิ โก 2. นกั เรียนทบทวนความรู้ เร่ือง การลบเศษสว่ นท่มี ีตัวส่วนเทา่ กนั โดยพิจารณาโจทยก์ ารบวกเศษ สว่ นบนกระดาน 5 ขอ้ ผู้แทนนกั เรียนออกมาแข่งกนั เติมคำตอบ นกั เรียนที่เหลอื ช่วยกันตรวจสอบความถกู ต้อง 3. นกั เรียนรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ โดยใชค้ ำถามกระต้นุ ความคิด ดงั น้ี นกั เรยี นมีวิธกี ารหรือขน้ั ตอนใด อีกบ้างท่จี ะช่วยใหห้ าคำตอบจากโจทยป์ ญั หาเศษส่วนไดร้ วดเร็ว และถูกต้อง 4. ครตู ิดแถบโจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนบนกระดาน พร้อมทง้ั อ่านโจทย์ให้นักเรยี นอ่านตาม ดังนี้

ดำมเี ชือกอยู่ 5 เมตร แบง่ ให้น้อง 1 เมตร ดำยังเหลอื เชอื กอีกกเ่ี มตร 10 10 5. ครูใหน้ ักเรยี นฝึกวเิ คราะหโ์ จทย์ปัญหา โดยตอบคำถามดังตอ่ ไปน้ี o โจทยก์ ำหนดอะไรมาใหบ้ ้าง (ดำมเี ชอื กอยู่ 5 เมตร แบง่ ใหน้ ้อง 1 เมตร) 10 10 o โจทย์ถามอะไรบ้าง (ดำยงั เหลือเชือกอกี กี่เมตร) o ใชว้ ิธีใดหาคำตอบ (วิธีลบ) o เขยี นเป็นประโยคสัญลักษณไ์ ดอ้ ยา่ งไร ( 5 - 1 = ) 10 10 o คำตอบท่ไี ดค้ อื เท่าใด ( 4 เมตร) 10 6. ครฝู กึ วเิ คราะหโ์ จทยป์ ญั หาการลบเศษสว่ นตามลกั ษณะกจิ กรรมทีท่ ำมาขา้ งตน้ อีก 2 – 3 ตวั อย่าง 7. ครูให้นักเรยี นทำโจทย์ปัญหาการลบเศษสว่ นทีม่ ีตวั สว่ นเท่ากนั เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรยี นช่วยกนั ตรวจสอบความถกู ต้อง จากน้นั ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั เฉลยกจิ กรรมในหนงั สอื เรยี น 8. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันสรุปสงิ่ ที่ได้เรียนรรู้ ่วมกัน ดังน้ี โจทยป์ ัญหาเป็นการนำจำนวนหรือ สถานการณ์ต่าง ๆ มาเขียนเป็นคำถาม เพอ่ื ใหค้ ิดหาคำตอบ ซง่ึ เราต้องอา่ นโจทย์ให้เขา้ ใจ พจิ ารณาวา่ โจทย์ กำหนดอะไรใหบ้ า้ ง โจทย์ถามหาอะไร ควรใชว้ ธิ กี ารแก้ไขปัญหาอย่างไร 9. ครูใหน้ ักเรียนทำแบบฝึกหดั คณติ ศาสตร์ สสวท. ช่วั โมงท่ี 2 1. ครใู ห้นกั เรียนคดิ เลขเรว็ โดยใช้เกมวงลอ้ บิงโก 2. ครูนำโจทยป์ ัญหาการบวกที่มีคำวา่ “น้อยกวา่ ” มาใหน้ ักเรียนฝกึ วิเคราะหโ์ จทย์และหาคำตอบ 3. ครฝู ึกให้นกั เรยี นฝึกวิเคราะหโ์ จทย์โดยตอบคำถาม 4. ครูตดิ แถบโจทย์ปัญหาการลบเศษสว่ นบนกระดาน ให้นักเรียนคิดหาคำตอบ 5. ครใู หน้ กั เรยี นทกุ คนอา่ นโจทยป์ ญั หาพร้อมกนั แลว้ ฝึกวเิ คราะหโ์ จทยแ์ ละหาคำตอบ โดยให้ นักเรียนตอบคำถาม 6. ครใู ห้นักเรียนฝึกวิเคราะหโ์ จทย์ปญั หาการลบเศษสว่ นตามลกั ษณะกจิ กรรมที่ทำมาขา้ งต้นอกี 2 – 3 ตัวอย่าง 7. ครูให้นกั เรียนทำโจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนทม่ี ีตัวส่วนเทา่ กนั เมื่อเสรจ็ แล้วให้นักเรียนช่วยกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง จากนั้นครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั เฉลยกจิ กรรมในหนงั สอื เรียน 8. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรุปสิง่ ท่ไี ดเ้ รยี นรูร้ ่วมกัน ดังน้ี การวิเคราะหโ์ จทยป์ ญั หาการลบและหาคำตอบ และหาคำตอบได้วา่ การแกโ้ จทย์ปัญหามีขน้ั ตอนดังนี้ - ทำความเขา้ ใจโจทย์ - วางแผนแก้ปญั หา - ดำเนินการตามแผน - ตรวจสอบ

9. ครูให้นกั เรยี นทำแบบฝึกหดั คณติ ศาสตร์ สสวท. ชั่วโมงท่ี 3 1. ครใู ห้นักเรยี นคดิ เลขเรว็ โดยใชเ้ กมวงล้อบงิ โก 2. ครูทบทวนความร้เู ร่อื ง การแก้โจทย์ปัญหาการลบเศษสว่ นที่มีตัวส่วนเทา่ กนั จากน้นั ครูติดบตั รโจทย์ ปัญหา แลว้ ครสู ุ่มนักเรยี น 2-3 คน ออกมาแสดงข้ันตอนการแกโ้ จทยป์ ัญหาหนา้ ช้นั เรียน โดยครแู ละนกั เรียนที่ เหลือรว่ มกนั ตรวจสอบความถกู ต้อง 3. ครูนำแผนภูมิแสดงตัวอยา่ งโจทยป์ ญั หาการลบเศษส่วนท่มี ตี วั สว่ นเทา่ กัน มาอภิปรายซักถามนกั เรยี น เกีย่ วกับการวิเคราะห์โจทย์ การเขียนโจทย์ปญั หา ประโยคสัญลักษณ์ การแสดงวธิ ีทำเพื่อหาคำตอบ 4. ครใู ห้นกั เรียนทำ โจทยป์ ญั หาการลบเศษสว่ นที่มีตวั ส่วนเท่ากนั เมือ่ เสร็จแลว้ ใหน้ ักเรยี นชว่ ยกัน ตรวจสอบความถกู ต้อง จากนัน้ ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันเฉลยกจิ กรรมในหนังสือเรียน 5. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันสรุปส่งิ ท่ีได้เรียนรู้รว่ มกัน ดังน้ี การแกโ้ จทย์ปัญหาการลบเศษส่วนทม่ี ีตวั ส่วน เท่ากนั ทำได้โดยการวเิ คราะห์โจทย์ปัญหาเพือ่ ทำความเขา้ ใจโจทยว์ างแผนวา่ จะใช้วธิ ใี ดหาคำตอบ แลว้ ลงมือทำ โดยการแสดงวธิ ีทำหาคำตอบ และตรวจสอบคำตอบ เราสามารถนำความรู้เร่ือง การแก้โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน ไปใช้แกป้ ัญหาเก่ียวกับจำนวนต่างๆ ในชวี ติ ประจำวนั ได้ 6. ครูให้นกั เรียนทำแบบทดสอบ 9. ส่อื / แหล่งเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น - แบบทดสอบหลงั เรยี นออนไลน์ 2. แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ สสวท. 3. ภาพขนมเคก้ ทถ่ี กู แบง่ ออกเป็น 2 สว่ นเท่าๆ กนั 4. ภาพแสดงเศษสว่ น 5. ภาพแสดงเศษสว่ น 6. แผนภาพแสดงการบวกเศษส่วนทมี่ ตี ัวสว่ นเทา่ กัน 7. แผนภาพแสดงการลบเศษส่วนที่มตี วั ส่วนเท่ากัน 8. โจทยป์ ัญหาการบวกเศษส่วน 9. โจทย์ปญั หาการลบเศษส่วน 10. เกมวงลอ้ บงิ โก

โรงเรียนวดั พชื นมิ ติ (คำสวสั ดร์ิ าษฎรบ์ ำรงุ ) อำเภอคลองหลวง จงั หวัดปทมุ ธานี ข้อสอบบทท่ี 7 เศษสว่ น ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 3 คำชี้แจง : ใหน้ ักเรียนทำเครื่องหมาย x ทับอักษรหน้าคำตอบทถี่ ูกต้องท่สี ดุ เพยี งคำตอบเดียว จำนวน 10 ขอ้ ขอ้ 1. เศษส่วนในขอ้ ใดมคี ่าน้อยกวา่ 6 ข้อ 6. ขอ้ ใดเปน็ การเปรยี บเทียบเศษสว่ นท่ถี ูกตอ้ ง 12 7 5 ข.1125 10 ก. 3 7 ข. 10 11 ก. 9 < 9 > 15 12 12 12 12 6 8 9 2 ค. 3 4 ง. 5 9 ค. 8 > 8 ง. 13 < 13 12 12 12 12 ข้อ 2 . ใข้อใดเปน็ การเรียงลำดบั เศษสว่ นจากน้อยไปมาก ข้อ 7. ขอ้ ใดเป็นคำตอบของ 5 + 3 =□ 14 14 ก. 3 10 6 ข. 2 7 5 ก. 6 ข. 5 20 20 20 20 20 20 14 14 ค. 3 9 8 ง. 6 12 18 ค. 8 ง. 8 15 15 15 20 20 20 28 14 ขอ้ 3 . ข้อใดอ่านผดิ ข้อ 8. ข้อใดเปน็ คำตอบของ □ + 7 = 18 22 22 6 ก. 8 อา่ นวา่ เศษหกสว่ นแปด ก. 11 ข. 25 22 22 2 ข. 10 อ่านว่า สิบสองสว่ นสบิ ค. 11 ง. 12 44 22 5 ค. 13 อ่านวา่ เศษหา้ สว่ นสบิ สาม ง. 17 อา่ นวา่ เศษสิบเจด็ ส่วนยสี่ บิ ขอ้ 9. ข้อใดเปน็ คำตอบของ 8 - □ = 5 20 12 12 ก. 5 ข. 3 12 12 ขอ้ 4 . ข้อใดเปน็ การเปรยี บเทียบเศษสว่ นท่ีถูกต้อง ค. 13 ง. 5 ก. 2 < 2 ข. 3 > 3 12 12 5 4 8 5 ค. 7 = 7 ง. 4 < 4 ข้อ 10. 9 > 9 ควรเติมตัวเลขใดลงในชอ่ งวา่ ง 10 12 6 9 23 ⎕ ข้อ 5 . ซีมนี ำ้ ตาลทราย 8 ถว้ ย แบมมีนำ้ ตาลทราย 8 ก. 21 ข. 22 19 16 ถว้ ย นอ้ ยมีนำ้ ตาลทราย 8 ถ้วย ค. 23 ง. 24 17 จงเรียงลำดบั คนท่ีมีนำ้ ตาลทรายจากมากไปน้อย ก. ซี แบม น้อย ผ้ตู รวจข้อสอบ ลงชอ่ื .................................................ครผู สู้ อน ข. แบม น้อย ซี (...............................................) ค. แบม ซี นอ้ ย ง. น้อย ซี แบม

ประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 8 ดา้ น คำช้ีแจง : ใหผ้ สู้ อนสังเกตพฤติกรรมของนักเรยี น ในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี  ลงในช่องวา่ ง ใหต้ รงกบั ระดับคะแนน และตามความเปน็ จรงิ โดยมเี กณฑ์การให้คะแนน ดังน้ี 4 = พฤตกิ รรมที่ปฏิบตั ิชดั เจนมาก และบอ่ ยครั้งสม่ำเสมอ 3 = พฤติกรรมทปี่ ฏิบตั ชิ ัดเจนและสม่ำเสมอ 2 = พฤตกิ รรมท่ปี ฏบิ ตั ิชัดเจนและบอ่ ยคร้งั 1 = พฤตกิ รรมท่ปี ฏบิ ตั บิ างครัง้ คุณลักษณะอัน รายการประเมิน ระดบั คะแนน พงึ ประสงค์ดา้ น 4 321 1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 มคี วามรกั และภูมใิ จในความเป็นชาติ กษตั ริย์ 1.2 ปฏบิ ัติตนตามหลกั ธรรมของศาสนา 1.3 แสดงออกถงึ ความจงรักภกั ดตี ่อสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ 2. ซื่อสตั ยส์ จุ รติ 2.1 ปฏิบัติตามระเบยี บการสอน และไมล่ อกการบา้ น 2.2 ประพฤติ ปฏบิ ตั ิ ตรงตอ่ ความเป็นจรงิ ตอ่ ตนเอง 2.3 ประพฤติ ปฏิบัติ ตรงตอ่ ความเป็นจรงิ ต่อผูอ้ ่ืน 3. มวี นิ ัย 3.1 เข้าเรียนตรงเวลา 3.2 แต่งกายเรียบรอ้ ยเหมาะสมกบั กาลเทศะ 3.3 ปฏบิ ัตติ ามกฎระเบยี บของห้อง 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนร้ตู า่ งๆ 4.2 มกี ารจดบนั ทึกความร้อู ย่างเปน็ ระบบ 4.3 สรุปความรไู้ ด้อยา่ งมเี หตผุ ล 5. อยู่อย่าง 5.1 ใช้ทรัพยส์ ินและส่ิงของของโรงเรียนอย่างประหยดั พอเพียง 5.2 ใชอ้ ุปกรณ์การเรยี นอย่างประหยดั และรคู้ ุณคา่ 5.3 ใชจ้ ่ายอยา่ งประหยัดและมกี ารเก็บออมเงนิ 6. มงุ่ มั่นในการ 6.1 มคี วามตงั้ ใจ และพยายามในการทำงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย ทำงาน 6.2 มคี วามอดทนและไม่ทอ้ แทต้ อ่ อุปสรรค เพอ่ื ใหง้ านสำเรจ็ 7. รกั ความเปน็ 7.1 มจี ิตสำนกึ ในการอนรุ ักษ์วฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย ไทย 7.2 เห็นคณุ ค่าและปฏิบตั ติ นตามวฒั นธรรมไทย 8. มจี ิตสาธารณะ 8.1 ร้จู ักการให้เพอื่ สว่ นรวม และเพือ่ ผูอ้ ืน่ 8.2 แสดงออกถงึ การมีน้ำใจหรอื การใหค้ วามช่วยเหลือผอู้ นื่ 8.3 เขา้ ร่วมกิจกรรมบำเพ็ญตนเพื่อส่วนรวมเมอ่ื มโี อกาส ช่ือ......................................................................................................................ช้ัน.................เลขท่.ี .................

แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ผลการประเมิน รายวิชาคณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 โรงเรยี นวัดพชื นมิ ติ (คำสวัสดริ์ าษฎร์บำรุง) ปกี ารศกึ ษา 2564 คำชแี้ จง : กรอกคะแนนลงในชอ่ งคะแนน และสรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพ เกณฑ์การให้คะแนน เลขที่ ชื่อ-สกลุ การปฏิ ัสม ัพนธ์กัน การสนทนาเร่ือง ี่ทกำหนด การติดต่อสื่อสาร พฤติกรรมการทำงานกลุ่ม รวม ระดับคุณภาพ แปลผล 4 4 4 4 16 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 ได้คะแนน 14-16 คะแนน = 4 (ดมี าก) ลงชือ่ .........................................ผปู้ ระเมนิ ได้คะแนน 11-13 คะแนน =3 (ดี) (นางสาวจริ ะพนั ธ์ุ ปากวิเศษ) ไดค้ ะแนน 8-10 คะแนน =2 (พอใช้) วนั ....เดือน...............ป.ี ...... ไดค้ ะแนน 0-7 คะแนน =1 (ปรับปรุง) * เกณฑผ์ า่ นการประเมินตอ้ งได้ 2 (พอใช)้ ขนึ้ ไป

แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมการทำแบบฝึกหัดคณติ ศาสตร์ รายวิชาคณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรียนวัดพืชนมิ ิต (คำสวสั ดร์ิ าษฎรบ์ ำรงุ ) ปีการศกึ ษา 2564 คำชแี้ จง : กรอกคะแนนลงในช่องคะแนน และสรปุ ผลการประเมินคุณภาพ ผลการประเมิน เลขท่ี ชอื่ -สกลุ คะแนน ระดับคุณภาพ แปลผล 16 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 ได้คะแนน 14-16 คะแนน = 4 (ดมี าก) ลงชอ่ื .........................................ผปู้ ระเมิน ไดค้ ะแนน 11-13 คะแนน =3 (ดี) (นางสาวจิระพันธ์ุ ปากวเิ ศษ) ไดค้ ะแนน 8-10 คะแนน =2 (พอใช)้ วัน....เดอื น...............ปี....... ได้คะแนน 0-7 คะแนน =1 (ปรบั ปรุง) * เกณฑผ์ า่ นการประเมินต้องได้ 2 (พอใช)้ ข้นึ ไป

แบบประเมินการสงั เกตพฤติกรรมการทำแบบทดสอบ รายวิชาคณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรียนวดั พืชนมิ ติ (คำสวัสดริ์ าษฎร์บำรงุ ) ปกี ารศกึ ษา 2564 คำช้ีแจง : กรอกคะแนนลงในชอ่ งคะแนนทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน และประเมนิ ผล ผลการประเมนิ เลขที่ ชอ่ื -สกลุ คะแนนกอ่ นเรยี น(10) คะแนนหลังเรยี น(10) ้รอยละ ่ผาน/ไม่ ่ผาน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 * ( ผู้เรยี นตอ้ งมคี ะแนนสอบหลงั เรยี นผ่านเกณฑร์ ้อยละ ๖๐ ) ลงช่อื .........................................ผปู้ ระเมนิ (นางสาวจิระพนั ธ์ุ ปากวิเศษ) วัน....เดอื น...............ป.ี ......

บนั ทึกผลหลงั การจดั การเรียนรู้ สรปุ ผลหลังการจัดการเรยี นรู้ 1.นกั เรยี นจำนวน..................คน ผา่ นจุดประสงค์การเรียนรู้......................คน คดิ เปน็ ร้อยละ.................. ไม่ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นร.ู้ .................คน คิดเป็นร้อยละ.................. 2. แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผา่ นจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ............................... .......................................................................................................................................... .................. 3.คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ไมผ่ ่าน............ คน ผ่าน.............คน ด.ี .................คน ดีเยี่ยม................คน ระดบั ดขี ึ้นไป ร้อยละ..................... 4. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน ไม่ผ่าน............ คน ผา่ น.............คน ดี..................คน ดเี ย่ียม................คน ระดบั ดีขน้ึ ไป ร้อยละ..................... ผลการจัดการเรยี นการสอน/ปญั หา/ อุปสรรค และแนวทางแก้ไข • แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง......................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ............................................................................................................................. .................................................. ................................................................................................................................................................................ • แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 เร่อื ง......................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ............................................................................................................................. .................................................. ................................................................................................................................................................................ • แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 3 เรอ่ื ง......................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ................................................................................................................................... ............................................ ...................................................................................... .......................................................................................... • แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรอ่ื ง......................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ........................................................................................................................................... .................................... .............................................................................................. .................................................................................. • แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง......................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ............................................................................................................................. .................................................. ................................................................................................................................................ ................................

ผลการจัดการเรียนการสอน/ปัญหา/ อุปสรรค และแนวทางแก้ไข • แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 6 เร่อื ง......................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................. ................................................... • แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 7 เรื่อง......................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ............................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................. ................................................... ลงช่อื .................................................. (นางสาวจริ ะพันธ์ุ ปากวเิ ศษ) ความคดิ เหน็ หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้/ผู้ทไ่ี ด้รับมอบหมาย ตรวจ/นิเทศ/เสนอแนะ/รบั รอง ............................................................................................................................. .................................................. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชือ่ …………………………………………………… (นางสาวแพรวรงุ่ ศรปี ระภา ) หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ .................../......................./......................... ความเห็นของหัวหนา้ สถานศึกษา ตรวจ/นเิ ทศ/เสนอแนะ/รับรอง ............................................................................................................................. .................................................................... ............................................................... ............................................................................................................................. .... ............................................................................................................................. .................................................................... ลงชื่อ…………………………………………………… (นางสาวกนั ยาภัทร ภทั รโสตถิ) โรงเรยี นวดั พืชนมิ ิต (คำสวสั ดิร์ าษฎร์บำรงุ ) ................../......................./.........................

แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 1 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 7 เศษส่วน เวลา 16 ชัว่ โมง เรื่อง การอา่ นและเขยี นเศษส่วน เวลา 2 ช่วั โมง 1. สาระสำคัญ เศษส่วน เปน็ การเขยี นแสดงจำนวน โดยใช้ − เป็นเส้นค่นั ระหวา่ งจำนวนสองจำนวน จำนวนทีอ่ ย่บู นเส้น คนั่ เรียกวา่ ตวั เศษ จำนวนท่อี ยูใ่ ตเ้ ส้นคน่ั เรียกว่า ตัวสว่ น การอ่านเศษส่วนใหเ้ ริ่มอ่านจากตัวเลขเศษกอ่ น โดยมีคำ วา่ เศษ นำหนา้ แลว้ ตามด้วยตวั เลขทเ่ี ปน็ ตวั เศษ จากนนั้ อ่านตวั สว่ นต่อ โดยมีคำวา่ ส่วน นำหน้า แลว้ ตามดว้ ยตวั เลขท่เี ปน็ ตัวส่วน 2. ตวั ชว้ี ดั ค 1.1 ป.3/3 : บอก อ่าน และเขยี นเศษส่วนแสดงปรมิ าณสงิ่ ตา่ งๆ และแสดงส่ิงต่างๆ ตามเศษสว่ นท่ี กำหนด 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกเศษส่วนทต่ี ัวเศษนอ้ ยกวา่ หรอื เทา่ กับตวั ส่วนได้ (K) 2. เขยี นเศษสว่ นทตี่ วั เศษน้อยกว่าหรอื เท่ากับตัวสว่ นได้ (P) 4. สาระการเรียนรู้ 1. การอา่ นและเขียนเศษส่วนที่ตัวเศษน้อยกวา่ ตัวส่วน 5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 6. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ใฝ่เรยี นรู้ 2. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชั่วโมงที่ 1 ขั้นตอนท่ี 1 : เตรียมความพร้อม 1. ครใู ห้นกั เรียนคดิ เลขเรว็ โดยใช้เกมวงลอ้ บิงโก ขั้นตอนที่ 2 : เรียนรู้

2. ครูสนทนากบั นกั เรียนถึงส่งิ ของทเี่ ต็มหนว่ ยและส่ิงของท่ีไม่เตม็ หน่วย จากนนั้ ยกตวั อย่างรูปภาพ สิ่งของทเี่ ต็มหน่วยและไมเ่ ต็มหน่วย โดยนำบัตรภาพ เช่น ผลไม้ ขนมเคก้ วงกลม ทัง้ ท่เี ปน็ ภาพเต็มหน่วยและไม่ เต็มหนว่ ยติดบนกระดานดำเพื่อให้นักเรยี นตอบคำถามว่า ภาพใดบ้างทีเ่ ต็มหน่วยและภาพใดบา้ งที่ไมเ่ ต็มหน่วย 3. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สนทนาถงึ สง่ิ ของที่เต็มหน่วยว่า สิ่งของทเ่ี ต็มหนว่ ย เรยี กว่า จำนวนเตม็ เปน็ การแสดงส่ิงของที่มีจำนวนเตม็ หน่วยซึ่งเราสามารถนับได้ และใชส้ ญั ลกั ษณ์ 1, 2, 3, ... แทนจำนวนดังกล่าว พร้อมกับถามนักเรยี นว่า สงิ่ ของที่ไม่เตม็ หน่วย เรียกว่าอะไร สามารถนบั เป็นจำนวนเต็มได้หรอื ไม่ และใช้ สญั ลกั ษณ์อะไรแทน 4. ครูนำภาพขนมทถ่ี กู แบง่ ออกเปน็ 2 สว่ นเทา่ ๆ กนั มาติดบนกระดานดำ ดงั รูป แทนการแบ่งขนมเคก้ ด้วยรปู สเี่ หล่ยี มดา้ นลา่ ง และแทน สว่ นทนี่ กั เรียนหนง่ึ คนได้รับด้วยสสี ้ม ใหน้ กั เรยี นตอบคำถามดงั น้ี - แบ่งขนมเค้กให้เทา่ ๆ กนั ไดก้ สี่ ่วน (2 สว่ น) - นกั เรียน 2 คน จะไดร้ บั ขนมเคก้ คนละเท่าไร (คนละ 1 สว่ น) 5. ครูแนะนำวา่ สว่ นทีน่ กั เรยี นหน่ึงคนไดร้ ับ เปน็ 1 ใน 2 ส่วนของขนมเคก้ ทัง้ หมด เขยี นแทนด้วย 1 อา่ น 2 วา่ เศษหน่ึงส่วนสอง ตัวเลขตัวบน คอื 1 เรยี กวา่ ตัวเศษ ซ่ึงแสดงจำนวนส่วนแบง่ ทีก่ ลา่ วถงึ ตวั เลขตวั เลา่ งคือ 2 เรียกว่า ตวั สว่ น ซ่งึ แสดงจำนวนสว่ นแบ่งทง้ั หมดทเี่ ท่าๆ กนั 6. ครนู ำแถบกระดาษที่มสี ่วนแบ่ง 5 สว่ นเท่าๆ กัน โดยทีแ่ ถบกระดาษดงั กลา่ วระบายสี 1 สว่ น ติดบน กระดานดำให้นกั เรียนพจิ ารณา ดังรูป ใหน้ กั เรยี นตอบคำถามดงั นี้ - แถบกระดาษแบง่ ออกเปน็ ส่วนทเ่ี ทา่ กันก่สี ่วน - ส่วนท่ีระบายสีมีก่ีสว่ น - เขยี นเศษส่วนแทนสว่ นที่ระบายสีไดอ้ ย่างไร 7. จากนน้ั ครนู ำรปู มาตดิ บนกระดาน แลว้ อภิปรายซกั ถามนักเรียน ดังนี้ 0

รูปที่ 1 รูปท่ี 2 รูปท่ี 3 รูปที่ 4 รปู ที่ จำนวนส่วนแบง่ ท่เี ท่าๆ กัน จำนวนสว่ นที่แรเงา เศษสว่ นแสดงส่วนทแ่ี รเงา 14 11 4 24 11 4 36 22 6 43 11 3 8. ครนู ำรูปส่ิงของหน่งึ กลมุ่ ซึ่งมจี ำนวนไมเ่ กนิ 20 และแบ่งสงิ่ ของออกเปน็ หลายส่วนเท่าๆ กนั แรเงา บางส่วนของรูปติดไวบ้ นกระดาน เช่น ใหน้ ักเรยี นตอบคำถามดังนี้ - รูปน้ีถูกแบง่ ออกเปน็ กีก่ ลุ่ม (3 กลุ่ม) - แตล่ ะกลมุ่ มจี ำนวนเท่ากนั หรือไม่ (เทา่ กนั ) - กล่มุ ทแ่ี รเงามีกี่สว่ น (1 สว่ น) - กลุม่ ท่ีแรเงาเป็นเศษส่วนเท่าไรของรปู (เศษหนง่ึ สว่ นสาม) 9. ครใู ห้นักเรียนหาเศษส่วนจากสิ่งของซ่งึ มหี ลายชนิดอยู่ในกลมุ่ เดยี วกัน ใหน้ กั เรยี นตอบคำถามตอ่ ไปน้ี - จำนวนรปู เป็นจำนวนเศษส่วนเทา่ ไรของจำนวนรปู เรขาคณิตทงั้ หมด (3) - จำนวนรปู 7 - จำนวนรูป เป็นจำนวนเศษสว่ นเทา่ ไรของจำนวนรูปเรขาคณติ ท้ังหมด (2) ข้ันตอนที่ 3 : การฝกึ 7 เป็นจำนวนเศษสว่ นเท่าไรของจำนวนรปู เรขาคณิตทง้ั หมด (2) 7 10. ครูให้นักเรียนอ่านและเขียนเศษส่วนที่ตัวเศษน้อยกว่าตัวส่วน เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกัน ตรวจสอบความถกู ต้อง จากน้นั ครแู ละนักเรยี นร่วมกันเฉลยกจิ กรรมในหนังสอื เรยี น ขั้นตอนท่ี 4 : การสรุป 11. ครูและนกั เรียนรว่ มกันสรปุ สง่ิ ทีไ่ ด้เรยี นรู้ร่วมกัน ดังนี้

- เศษส่วน คอื จำนวนท่ีใชบ้ อกปรมิ าณของสิง่ ของหรอื รูปภาพท่ีถกู แบง่ ออกมาเม่ือเทียบกับสิง่ ของ ทง้ั หมดหรือภาพทั้งหมด - สัญลักษณ์ทีเ่ ขยี นแสดงเศษส่วนประกอบดว้ ย ตัวเศษ แสดงจำนวนส่วนแบง่ ทก่ี ลา่ วถงึ ซึง่ จะเขียนไว้ ด้านบน ตัวสว่ น แสดงจำนวนส่วนแบ่งทั้งหมดท่ีแบ่งออกเทา่ ๆ กัน ซง่ึ จะเขยี นไวด้ า้ นลา่ ง และมีเสน้ คั่นระหว่างตัว เศษและตัวส่วน ขัน้ ตอนท่ี 5 : การประยกุ ต์ใชท้ นั ที 12. ครูให้นักเรยี นทำแบบฝึกหดั คณิตศาสตร์ สสวท. ชั่วโมงท่ี 2 ขน้ั ตอนท่ี 1 : เตรียมความพร้อม 1. ครูให้นักเรียนคดิ เลขเรว็ โดยใช้เกมวงลอ้ บงิ โก ขัน้ ตอนที่ 2 : เรียนรู้ 2. ครูทบทวนการอา่ นเศษสว่ น โดยตดิ แถบแสดงเศษส่วนบนกระดาน เช่น 3. ใหน้ ักเรียนร่วมกนั อภปิ รายส่วนที่แรเงาแสดงเศษส่วนใด และตรวจสอบความถกู ตอ้ งโดยครอู ธบิ าย แนะนำและตรวจสอบความถูกตอ้ งอีกคร้ัง 4. ครูตดิ แถบกระดาษทแ่ี รเงาเตม็ 1 แถบ บนกระดานใชก้ ารถามตอบจนนักเรียนบอกได้ วา่ ส่วนท่ีแรเงาแสดง 1 5. ครูติดแถบกระดาษรปู สีเ่ หลย่ี มทมี่ ขี นาดเทา่ เดิมอีก 4 แบบ (ดงั รปู ข้างลา่ ง) และแบ่งแถบกระดาษแถบ ที่หน่ึงเป็น 2 สว่ นเทา่ ๆ กัน แถบทส่ี องเป็น 3 สว่ นเทา่ ๆ กนั แถบทส่ี ามเป็น 4 สว่ นเทา่ ๆ กัน และแถบทส่ี เ่ี ปน็ 5 ส่วนเทา่ ๆ กนั ดังนี้ แถบที่ 1 แถบท่ี 2 แถบท่ี 3 แถบที่ 4

6. ครแู รเงาแถบกระดาษแถบท่ี 1 ทีละส่วน พรอ้ มทั้งใหน้ ักเรียนบอกเศษสว่ นทแ่ี ทนสว่ นทแี่ รเงา (1 , 2) 22 ทำนองเดยี วกนั สำหรับแถบท่ี 2 (1 , 2 , 3) แถบท่ี 3 (1 , 2 , 3 , 4) และแถบท่ี 4 (1 , 2 , 3 , 4 , 5) เม่ือแรเงา 333 4444 55555 ครบทกุ แถบจะไดด้ ังนี้ 1 2 2 3 3 4 4 จากนน้ั ใหน้ ักเรียนพจิ ารณาแถบกระดาษทั้งหมดใช้การถามตอบ ดงั น้ี - กระดาษแตล่ ะแถบมขี นาดเท่ากันหรือไม่ (เท่ากนั ) - สว่ นที่แรเงาท้งั หมดในกระดาษแตล่ ะแถบเท่ากนั หรือไม่ (เทา่ กัน) - เนอื่ งจากส่วนที่ทแี่ รเงาในกระดาษแตล่ ะแถบเทา่ กัน ดงั น้ัน จะไดจ้ ำนวนอะไรทเี่ ท่ากันบา้ ง (1 , 2 , 3 , 4 , 5) 2345 7. ครูเขียนผลสรปุ ท่ไี ด้บนกระดาน ดังนี้ 2 = 3 = 4 = 5 = 1 2345 8. ครูถามนักเรยี นเพมิ่ เติม ดงั น้ี - นกั เรียนคิดว่า ถา้ แบง่ กระดาษออกเปน็ 6 สว่ นเท่าๆ กัน จะไดเ้ ศษส่วนใดเท่ากับ 1 (6) 6 - ถ้าแบง่ กระดาษออกเป็น 7 8 และ 9 สว่ นเทา่ ๆ กัน จะไดเ้ ศษส่วนใดเทา่ กบั 1 บ้าง (7 , 8 , 9) 789 - นักเรยี นคิดว่ายังมีเศษสว่ นท่ีเทา่ กับ 1 อีกหรือไม่ (มีอีก) - ใหน้ ักเรียนยกตัวอยา่ งเศษสว่ นทีเ่ ท่ากบั 1 อกี หลายๆ ตวั อย่างโดยครตู รวจสอบความถูกต้อง 9. ครูใหน้ ักเรยี นสงั เกตแถบกระดาษที่ติดบนกระดานและตัวอยา่ งเศษสว่ นทเี่ ท่ากับ 1 ท่ีนกั เรยี น ยกตวั อย่างมา ครใู ช้การถามตอบจนนกั เรียนร่วมกนั สรปุ ได้วา่ เศษส่วนทีต่ ัวเศษและตัวส่วนเปน็ จำนวนนบั ท่ี เท่ากัน เปน็ เศษส่วนท่ีเทา่ กบั 1

ขนั้ ตอนที่ 3 : การฝึก 10. ครูให้นักเรียนอ่านและเขียนเศษส่วนที่ตัวเศษเท่ากับตัวส่วน เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกัน ตรวจสอบความถูกต้อง จากนนั้ ครูและนกั เรยี นร่วมกันเฉลยกจิ กรรมในหนงั สือเรียน ขน้ั ตอนที่ 4 : การสรปุ 11. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สรุปสงิ่ ท่ีไดเ้ รยี นรู้รว่ มกนั ดังนี้ เศษส่วนท่ีตัวเศษและตวั สว่ นเปน็ จำนวนนับที่ เทา่ กันเปน็ เศษส่วนทเี่ ท่ากับ 1 ข้ันตอนท่ี 5 : การประยุกตใ์ ชท้ นั ที 12. ครูใหน้ กั เรยี นทำแบบฝึกหดั คณติ ศาสตร์ สสวท. 8. การวัดผลและประเมนิ ผล การวดั ผล 1. สงั เกตความมีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งม่ันในการทำงาน 2. แบบฝกึ หดั คณิตศาสตร์ สสวท. 3. สังเกตการทำงาน 4. แบบทดสอบก่อนเรยี น การประเมินผล 1. ถือเกณฑ์ผา่ นจากการสงั เกตพฤติกรรมสำหรับผู้ที่ไดร้ ะดบั คุณภาพตัง้ แต่ 2 ข้ึนไป 2. ถอื เกณฑ์ผ่านสำหรับผู้ที่ทำแบบฝกึ หดั คณิตศาสตร์ สสวท. ไดร้ ะดบั คุณภาพตั้งแต่ 2 ขึ้นไป 3. ถอื เกณฑ์ผา่ นสำหรบั ผทู้ ่ีทำงานได้ระดบั คุณภาพตัง้ แต่ 2 ขน้ึ ไป 4. ถอื เกณฑผ์ ่านสำหรับผ้ทู ี่ทำงานทำแบบทดสอบก่อนเรียนได้ร้อยละ 60 ข้นึ ไป 9. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้ 1. บัตรภาพสิง่ ของทเ่ี ตม็ หน่วยและไม่เตม็ หนว่ ย 2. ภาพขนมเค้กท่ีถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนเท่าๆ กนั 3. แถบกระดาษเศษสว่ น 4. แบบฝึกหัดคณติ ศาสตร์ สสวท. 5. แบบทดสอบกอ่ นเรียนออนไลน์

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ วิชาคณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 เวลา 7 ช่ัวโมง หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ เศษส่วน เวลา 2 ชั่วโมง เรื่องการเปรียบเทียบและเรียงลำดับเศษส่วนทีม่ ีตัวสว่ นเท่ากนั 1. สาระสำคัญ การเปรยี บเทยี บเศษส่วนทม่ี ีตัวสว่ นเท่ากัน ใชว้ ธิ ีนำตวั เศษมาเปรยี บเทียบกนั เศษสว่ นที่มีตัวเศษ มากกวา่ จะมคี ่ามากกวา่ เศษส่วนท่มี ตี วั เศษน้อยกว่า 2. ตวั ชว้ี ัด ค 1.1 ป.3/4 : เปรียบเทียบเศษส่วนทตี่ วั เศษเท่ากนั โดยท่ีตวั เศษน้อยกว่าหรอื เท่ากบั ตวั ส่วน 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. บอกหลกั การเปรียบเทยี บและเรียงลำดับเศษส่วนทต่ี วั สว่ นเทา่ กัน (K) 2. เขียนข้นั ตอนแสดงการเปรยี บเทียบและเรียงลำดับเศษสว่ นทีต่ ัวสว่ นเทา่ กนั ได้ (P) 4. สาระการเรยี นรู้ การเปรียบเทยี บและเรยี งลำดบั เศษส่วนท่มี ีตัวส่วนเท่ากนั 5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน 1. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 6. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มงุ่ มั่นในการทำงาน 7. กจิ กรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงท่ี 1 ข้นั ตอนที่ 1 : เตรียมความพร้อม 1. 1. ครูให้นักเรยี นคดิ เลขเร็วโดยใชเ้ กมวงลอ้ บิงโก ข้นั ตอนที่ 2 : เรียนรู้ 2. นักเรยี นทบทวนความรโู้ ดยสงั เกตและตอบคำถามบตั รภาพแสดงเศษส่วนท่ีตดิ บนกระดานแลว้ ตอบ คำถาม ดังนี้ ก. ข. ค. ง.

ภาพท่ี 1 ภาพท่ี 2 - ภาพที่ 1 แบง่ เปน็ กสี่ ว่ น (4 ส่วน) - แตล่ ะส่วนเทา่ กันหรือไม่ (เท่ากัน) - สว่ นท่รี ะบายสีในรูป ก และรูป ข มีกสี่ ว่ น (รปู ก 1 สว่ น รปู ข 2 สว่ น) - สว่ นท่ีระบายสใี นรปู ก และรูป ข เขยี นเป็นเศษส่วนไดอ้ ยา่ งไร (รปู ก 1 รปู ข 2) 44 ผู้แทนนกั เรียนออกมาเขยี นเศษสว่ นแสดงสว่ นท่รี ะบายสใี ตร้ ปู ก และรูป ข พร้อมทั้งเขียนเปน็ คำอา่ น นักเรียนทเี่ หลอื ช่วยกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง จากนนั้ พจิ ารณาภาพที่ 2 และตอบคำถามดังนี้ - ภาพที่ 2 แบง่ เป็นกีส่ ่วน แตล่ ะสว่ นเท่ากันหรอื ไม่ (6 สว่ นเทา่ ๆ กนั ) - สว่ นทรี่ ะบายสใี นรปู ค และรปู ง มกี ่สี ว่ น (รูป ค 3 ส่วน รูป ง 1 สว่ น) - สว่ นทร่ี ะบายสใี นรูป ค และรูป ง เขยี นเปน็ เศษสว่ นไดอ้ ยา่ งไร (รปู ค 3 รปู ง 1) 66 ผู้แทนนักเรียนออกมาเขยี นเศษส่วนแสดงสว่ นทรี่ ะบายสใี ตร้ ูป ค และรปู ง พร้อมทง้ั เขยี นเปน็ คำอ่าน นกั เรยี นที่เหลือชว่ ยกันตรวจสอบความถูกต้อง นกั เรียนพจิ ารณาบัตรแสดงเศษสว่ นบนกระดาน ดังนี้ ก. ข. ค. ง. ภาพท่ี 1 ภาพท่ี 2 นักเรียนพจิ ารณาและเปรียบเทียบสว่ นท่ไี มไ่ ดร้ ะบายสีในภาพท่ี 1 และภาพที่ 2 ทใี่ ชใ้ นกิจกรรมข้อ 1. แลว้ ตอบคำถามดงั น้ี - ภาพท่ี 1 สว่ นท่ีไมไ่ ดร้ ะบายสีในรปู ก และรูป ข มกี ี่สว่ นใน 4 ส่วน (รปู ก 3 สว่ น รูป ข 2 ส่วน) - ส่วนท่ีไมไ่ ดร้ ะบายสีในรูป ก และรปู ข เขยี นเปน็ เศษสว่ นไดอ้ ยา่ งไร (รูป ก 3 รูป ข 2) 44 - เศษสว่ นจำนวนใดมคี ่าน้อยกวา่ กัน (2) 4 - เพราะเหตุใดจงึ มคี า่ นอ้ ยกว่า (เพราะมเี นอื้ ท่ีไม่ได้ระบายสีเหลือน้อยกวา่ ) - การเปรยี บเทียบเศษส่วนทีม่ ตี วั สว่ นเทา่ กันตอ้ งพจิ ารณาอะไร (พิจารณาทต่ี วั เศษ ถ้าตวั เศษมคี ่านอ้ ย เศษสว่ นน้นั จะมีคา่ นอ้ ย) จากนั้นผู้แทนนกั เรียน (ไมใ่ หซ้ ำ้ คนเดิม) ออกมาเขียนเศษสว่ นแสดงส่วนทไ่ี มไ่ ด้ระบายสี พรอ้ มท้ังเขียน เครื่องหมาย >, < แสดงการเปรยี บเทียบระหว่างเศษส่วนท้งั 2 จำนวนดังนี้ 2 < 3 หรอื 3 > 2 44 44 - ภาพที่ 2 ส่วนที่ไมไ่ ดร้ ะบายสีในรูป ค และรปู ง มกี ี่ส่วนใน 6 ส่วน (รูป ค 3 ส่วน รูป ง 5 สว่ น) - สว่ นที่ไมไ่ ดร้ ะบายสใี นรูป ค และรูป ง เขยี นเป็นเศษส่วนได้อย่างไร (รปู ค 3 รปู ง 5) 66 - เศษส่วนใดมคี า่ มากกวา่ กัน (5) 6

- เพราะเหตใุ ดจึงมีคา่ มากกว่า (เพราะมเี นอ้ื ท่ไี มไ่ ด้ระบายสเี หลอื มากกวา่ ) - การเปรยี บเทียบเศษส่วนท่มี ตี วั สว่ นเทา่ กนั ตอ้ งพิจารณาอย่างไร (พิจารณาที่ตวั เศษ เศษส่วนทม่ี ตี วั เศษมากจะมคี า่ มาก) จากนน้ั ผูแ้ ทนนักเรยี นออกมาเขียนเศษส่วนแสดงสว่ นท่ีไม่ไดร้ ะบายสี พรอ้ มท้งั เขยี นเคร่ืองหมาย >, < แสดงการเปรยี บเทียบสว่ นที่ไมไ่ ดร้ ะบายสี ระหว่างเศษส่วนท้ัง 2 จำนวน ดังนี้ 5 > 3 หรือ 3 < 5 66 66 3. นกั เรียนและครรู ว่ มกนั อภิปรายถงึ การเปรยี บเทยี บเศษส่วนทม่ี สี ว่ นเทา่ กนั ว่า สามารถทำไดโ้ ดยนำตวั เศษมาเปรยี บเทียบกนั ถา้ ตัวเศษของจำนวนใดมคี า่ มากกวา่ จำนวนน้นั จะมีค่ามากกว่า 4. ครูยกตัวอยา่ งเศษสว่ นท่ีมีตวั ส่วนเท่ากันเพมิ่ เติมอกี จนนักเรยี นตอบไดค้ ลอ่ ง เช่น 36 99 53 77 ขัน้ ตอนท่ี 3 : การฝกึ 5. ครใู ห้นักเรยี นเปรยี บเทยี บเศษสว่ นทม่ี ีตัวส่วนเทา่ กนั เมอื่ เสร็จแลว้ ใหน้ ักเรียนชว่ ยกนั ตรวจสอบ ความถูกตอ้ ง จากน้ันครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันเฉลยกิจกรรมในหนงั สอื เรียน ข้นั ตอนท่ี 4 : การสรปุ 6. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรุปสิง่ ทไี่ ดเ้ รยี นรู้รว่ มกนั ดังน้ี การเปรียบเทียบเศษสว่ นที่มีตวั สว่ นเทา่ กัน ใช้ วธิ ีนำตวั เศษมาเปรียบเทียบกัน เศษสว่ นที่มตี ัวเศษมากกวา่ จะมีค่ามากกว่าเศษส่วนทีม่ ตี ัวเศษนอ้ ยกวา่ ขนั้ ตอนท่ี 5 : การประยุกตใ์ ช้ทันที 7. ครใู หน้ กั เรียนทำแบบฝึกหัดคณติ ศาสตร์ สสวท. ชวั่ โมงที่ 2 ขั้นตอนที่ 1 : เตรียมความพร้อม 1. ครใู ห้นักเรียนคิดเลขเร็วโดยใชเ้ กมวงลอ้ บิงโก ข้นั ตอนที่ 2 : เรยี นรู้ 2. ครูทบทวนเรื่องการเปรียบเทียบเศษส่วนท่ีตวั ส่วนเท่ากัน โดยนำบัตรภาพแสดงเศษสว่ น มาให้นักเรยี นดทู ี ละคู่ แล้วให้นักเรียนรว่ มกันเปรียบเทียบว่า รปู ภาพใดแสดงเศษส่วนท่ีมากกว่าหรือน้อยกว่ากัน (2 - 3 ตัวอยา่ ง) 3. ครูเขียนตัวเลขบนกระดานทีละคู่ แลว้ ให้นกั เรยี นรว่ มกันเปรยี บเทียบวา่ จำนวนใดมีค่ามากกว่าหรือน้อย กว่ากันโดยใช้เครอ่ื งหมาย ดังน้ี 5 กับ 2 , 2 กบั 6 , 5 กับ 4 , 3 กบั 1 6 67 75 58 8 4. ครทู บทวนเรื่องการเปรยี บเทียบเศษสว่ นท่ตี ัวส่วนเทา่ กนั ว่า “เศษสว่ นที่มตี ัวส่วนเท่ากัน ให้พจิ ารณาท่ี ตัวสว่ น เศษส่วนท่มี ตี ัวเศษมากกวา่ จะมีคา่ มากกว่าเศษสว่ นทีม่ ีตวั เศษนอ้ ยกว่า” 5. ครนู ำบัตรตัวเลข 5 , 3 , 7 , 4 , 1 ขึน้ มา โดยครูตัง้ คำถามกระตนุ้ ใหน้ ักเรยี นช่วยกันคดิ ในประเดน็ 99999 ดังนี้ - นักเรยี นสามารถเรยี งลำดบั บตั รตัวเลขในลกั ษณะใดไดบ้ า้ ง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook