Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ ป.3 บทที่ 5

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ ป.3 บทที่ 5

Published by jira5725, 2021-05-06 09:23:53

Description: เรื่อง รูปเรขาคณิต

Search

Read the Text Version

บันทกึ ข้อความ ส่วนราชการ โรงเรียนวดั พชื นิมิต (คำสวัสดริ์ าษฎรบ์ ำรงุ ) ที…่ …………………วนั ที่ ………… เดือน …………………….. พ.ศ.2563 เร่อื ง ขออนุญาตใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้ เรียน ผอู้ ำนวยการโรงเรียนวัดพชื นิมติ (คำสวสั ดิร์ าษฎร์บำรุง) ด้วยข้าพเจ้า นางสาวจิระพันธุ์ ปากวิเศษ ตำแหน่ง ครู โรงเรียนวัดพืชนิมิต (คำสวัสดิ์ราษฎร์ บำรุง) ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่การสอน รายวิชาคณิตศาสตร์ รหัสวิชา ค13101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 บัดนี้ ข้าพเจ้าได้จัดเตรียมการสอน และจัดทำแผนการสอนโดยใช้กระบวนการการจัดการเรียนรู้ ตามหลกั การพฒั นาสมอง (Brain-Based learning: BBL) ข้าพเจ้าจึงขออนุญาตดำเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่จัดเตรียมไว้ ซึ่งแนบเอกสาร หน่วยการเรียนที่ 5 ช่อื หนว่ ย รปู เรขาคณติ เวลาเรียน 5 ช่วั โมง มาพรอ้ มกบั เอกสารน้ี จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดทราบ ลงชือ่ (นางสาวจริ ะพันธุ์ ปากวเิ ศษ) ตำแหนง่ ครู ลงชอื่ (นางสาวแพรวรงุ่ ศรปี ระภา) หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ความเหน็ ผู้อำนวยการโรงเรยี น อนุญาต ไม่อนญุ าต เพราะ .............................................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................... ....................... ............................................................................................................ .................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ ( นางสาวกันยาภทั ร ภทั รโสตถิ ) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นวดั พชื นิมิต (คำสวัสดริ์ าษฎรบ์ ำรุง) ............./................../.............

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 5 เรื่องรูปเรขาคณติ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 3 รายวิชาคณิตศาสตร์ รหสั ค13101 กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ครผู สู้ อน นางสาวจิระพันธุ์ ปากวิเศษ โรงเรยี นวดั พชื นิมติ (คำสวัสด์ริ าษฎร์บำรุง) สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต 1 สำนกั านคณะกรรมการการศกึ ษาข้ึนพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน ค๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓ เวลา ๒๐๐ ชว่ั โมง ศึกษาการอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าใน ประโยคสญั ลกั ษณ์แสดงการบวก การลบของจำนวนนบั ไมเ่ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาค่าของตวั ไม่ทราบค่าใน ประโยคสัญลกั ษณ์ แสดงการคูณของจำนวน ๑ หลกั กบั จำนวนไมเ่ กิน ๔ หลัก และจำนวน ๒ หลักกับจำนวน ๒ หลัก หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์ แสดงการหารที่ตัวตั้งไม่เกิน ๔ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก หาผลลัพธก์ ารบวก ลบ คูณ หารระคนของจำนวนนบั ไมเ่ กิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธหี าคำตอบของโจทย์ ปัญหา ๒ ขั้นตอน ของจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐บอก อ่าน และเขียนเศษสว่ นแสดงปริมาณส่งิ ต่าง ๆ และแสดงสิ่งต่าง ๆ ตามเศษส่วนท่ีกำหนด เปรียบเทียบเศษส่วนทีต่ วั เศษเท่ากนั โดยท่ีที่ตัวเศษน้อยกว่าหรอื เทา่ กบั ตัวสว่ น หาผลบวกของเศษสว่ นท่มี ีตัวสว่ นเท่ากันและผลบวกไม่เกิน ๑ และหาผลลบของเศษส่วนที่มีตัว ส่วนเท่ากัน แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วนที่มีตัวส่วนเท่ากัน และผลบวกไม่เกิน๑ และ โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนทีม่ ีตัวส่วนเท่ากนั ระบุจำนวนที่หายไปในแบบรูปของ จำนวนที่เพิ่มขึน้ หรือลดลงที ละเท่า ๆ กัน เลือกใชเ้ ครอ่ื งมอื วดั ความยาวท่ีเหมาะสม วดั และบอกความยาวของสงิ่ ตา่ ง ๆเป็นเซนตเิ มตรและ มิลลิเมตร เมตร และเซนติเมตร คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร เปรียบเทียบความยาวระหว่าง เซนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร กิโลเมตรกับเมตร จากสถานการณ์ต่าง ๆ เลือกใช้เครื่องชั่งที่ เหมาะสม วัดและบอกน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม คาดคะเนน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและเป็น ขีด เปรียบเทียบน้ำหนักระหว่างกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันเป็นกิโลกรัม จากสถานการณ์ต่าง ๆ ระบุรูป เรขาคณิตสองมิติที่มีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร เขียนแผนภูมิ และใช้ข้อมูลจากแผนภูมริ ูปภาพใน การหาคำตอบของโจทย์ปัญหา และเขียนตารางทางเดียวจากข้อมูลที่เป็นจำนวนนับ และใช้ข้อมูลจากตาราง ทางเดียวในการหาคำตอบของโจทย์ปัญหาแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวเงิน ของโจทย์ปัญหา เกยี่ วกบั เวลา ระยะเวลา ความยาว ทีม่ ีหนว่ ยเป็นเซนตเิ มตรและมลิ ลเิ มตร เมตรและเซนตเิ มตร กโิ ลเมตรและ เมตร และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับน้ำหนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันกับ กิโลกรมั โดยการจัดประสบการณ์หรือการสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าโดยป ฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพอื่ พัฒนาทกั ษะการคดิ คำนวณ และทักษะการแกป้ ญั หา การให้เหตผุ ล การสือ่ สารและ การสอื่ ความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการณ์ความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ใน การเรียนรสู้ ิ่งต่างๆ และใชใ้ นชวี ิตประจำวนั อยา่ งสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่า และมีเจตคตทิ ีด่ ีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่างเป็นระบบ ระเบียบ รอบคอบ มคี วามรับผดิ ชอบ มีวิจารณญาณ มีความคิดรเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ และมีความเชอ่ื มน่ั ในตนเอง รหสั ตวั ช้ีวัด ค ๑.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.๓/๖ ป.๓/๗ ป.๓/๘ ป.๓/๙ ป.๓/๑๐ ป.๓/๑๑ ค ๑.๒ ป.๓/๑ ค ๒.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ ป.๓/๓ ป.๓/๔ ป.๓/๕ ป.๓/๖ ป.๓/๗ ป.๓/๘ ป.๓/๙ ป.๓/๑๐ ป.๓/๑๑ ป.๓/๑๒ ป.๓/๑๓ ค ๒.๒ ป.๓/๑ ค ๓.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ รวมท้ังหมด ๒๘ ตวั ช้ีวัด

ตารางวเิ คราะห์หลักสตู ร/ออ รหัส ค13101 วิชาคณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถ ครูผสู้ อน นางสาวจิระพ หน่วยท่ี มฐ ตวั ช้วี ดั จุดประสงค์การเรยี นรู้ หน่วยที่ 5 ค ป.3/1 : ระบุรูปเรขาคณิตสองมิตทิ ี่มี 1. บ อ ก ล ั ก ษ ณ ะ ข อ ง รู ป รูปเรขาคณิต 2.2 แกนสมมาตรและจำนวนแกน เรขาคณิตที่มีแกนสมมาตรได้ สมมาตร (K) 2.สร้างรูปสมมาตรและระบุ จำนวนแกนสมมาตรของรปู สมมาตรได้ (P) 1. บ อ ก ล ั ก ษ ณ ะ ข อ ง รู ป เรขาคณิตที่มีแกนสมมาตรได้ (K) 2.สร้างรูปสมมาตรและระบุ จำนวนแกนสมมาตรของรูป สมมาตรได้ (P) 3. ประดษิ ฐ์พวงมโหตร 3. น ำ ค ว า ม ร ู ้ เ ก ี ่ ย ว ก ั บ ก า ร ประยุกต์ใช้รูปที่มีแกน สมมาตรและจำนวนแกน สมมาตรไปใช้แก้ปัญหาทาง คณติ ศาสตร์ (A)

อกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้ วดั ผล/ เวลา ถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2563 ประเมนิ เรียน พันธ์ุ ปากวิเศษ สาระการเรยี นรู้ กระบวนการ ชน้ิ งาน ส่ือการสอน /ภาระงาน 1.รปู ท่ีมแี กนสมมาตร อธิบาย - - 1.ทดสอบ 2 (ก่อนเรยี น) 2.ตรวจ แบบฝึกหดั 1.การประยุกตใ์ ชร้ ูปท่มี ี พวงมโหตร 1.คลิปการทำ 1.ทดสอบ 3 แกนสมมาตร พวงมโหตร (หลงั เรียน) 2.ตรวจ แบบฝึกหัด

โรงเรียนวัดพชื นมิ ิต (คำสวสั ด์ิราษฎรบ์ ำรุง) โครงการสอนปีการศึกษา ๒๕๖๒ รายวิชา คณติ ศาสตร์ รหสั ค๑๓๑๐๑ ช้ัน ประถมศึกษาปที ่ี ๓ เวลาเรยี น ๕ ชั่วโมง/สัปดาห์ ครูผ้สู อน นางสาวจริ ะพันธุ์ ปากวเิ ศษ สปั ดาห์ คาบที่ หน่วยการเรียนร/ู้ เร่อื ง มฐ/ตัวชี้วัด ๑-๔ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ จำนวนนบั ไม่เกนิ ๑๐๐,๐๐๐ ค๑.๑ ป.๓/๑ ๑-๒ การอา่ นและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทย และตัวหนังสอื แสดง ป.๓/๒ จำนวน ๓-๕ หลกั คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขยี นตัวเลขแสดงจำนวนใน รปู กระจจาำยนวนเตม็ ๖-๘ การเปรยี บเทียบจำนวน ๙-๑๐ การเรียงลำดบั จำนวน ๑๑-๑๔ แบบรูปของจำนวนทเ่ี พ่ิมขึ้น ๑๕-๑๘ แบบรปู ของจำนวนทีล่ ดลง ๔-๗ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๒ การบวก และลบจำนวนทม่ี ผี ลบวกไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ ค ๑.๑ ป.๓/๕ ๑-๒ การบวกจำนวนสองจำนวนท่ีมีผลบวกไม่เกิน ๑,๐๐๐ ไมม่ ที ดและ มตี ัวทด ๓-๔ การบวกจำนวนสองจำนวนท่ีมีผลบวกไมเ่ กนิ ๑๐,๐๐๐ ไมม่ ที ดและ มีตัวทด ๕-๖ การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ ไม่มีทดและมี ตวั ทด ๗-๘ การบวกจำนวนสามจำนวนท่ีมผี ลบวกไมเ่ กิน ๑๐๐,๐๐๐ ๙-๑๐ การลบจำนวนสองจำนวนทีม่ ีตัวตัง้ ไมเ่ กนิ ๑,๐๐๐ ไมม่ ีการกระจายและ มีการกระจาย ๑๑-๑๒ การลบจำนวนสองจำนวนท่มี ีตัวตั้งไมเ่ กิน ๑๐,๐๐๐ ไม่มีการกระจาย และมีการกระจาย ๑๓-๑๔ การลบจำนวนสองจำนวนที่มีตวั ต้ังไมเ่ กิน ๑๐๐,๐๐๐ ไม่มกี ารกระจาย และมกี ารกระจาย ๑๕-๑๖ การลบจำนวนสามจำนวนท่ีมีตัวต้งั ไม่เกนิ ๑๐๐,๐๐๐ ๑๗-๑๘ การหาค่าของตัวไม่ทราบคา่ ในประโยคสญั ลกั ษณ์แสดงการบวกและ การลบ ๘-๙ หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๓ โจทย์ปัญหาการบวก และลบจำนวนทม่ี ผี ลบวกไมเ่ กิน ค๑.๑ ป.๓/๙ ๑๐๐,๐๐๐ ๑-๒ วิเคราะห์และแสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทยป์ ัญหา ไมเ่ ๓กนิ ๑๐ก๐า,ร๐แ๐ส๐ดงวิธีทำโจทย์ปัญหาการบวก ๔-๕ การวิเคราะหโ์ จทย์ปญั หาการลบและหาคำตอบ ๖ ห การแสดงวิธที ำโจทย์ปญั หาการลบ

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๓ โจทยป์ ญั หาการบวก และลบจำนวนทม่ี ผี ลบวกไมเ่ กนิ ค ๒.๑ ป.๓/๑ ๑๐๐,๐๐๐ ค ๒.๒ ป.๓/๑ ๗ การสรา้ งโจทย์ปญั หาการบวกจากภาพ ๓/๕ ๘ การสร้างโจทยป์ ัญหาการลบจากภาพ ค ๓.๑ ป.๓/๑ ๙-๑๐ การสรา้ งโจทย์ปญั หาการบวกจากประโยคสัญลกั ษณ์ ๑๐-๑๒ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๔ เวลา ป.๓/๒ ๑-๓ บอกเวลาบนหน้าปดั นาฬกิ าช่วง ๔-๕ การอา่ นและเขียนบอกเวลาทีมีมหพั ภาค (.) หรอื ทวิภาค (:) ค ๑.๑ ป.๓/๓ ๖-๘ การบอกระยะเวลาเปน็ ชวั่ โมงและนาที ป.๓/๔ ๙-๑๐ การเปรยี บเทียบระยะเวลา ป.๓/๑๐ ๑๑-๑๔ โจทย์ปัญหาการบวกเก่ียวกับเวลาและระยะเวลา ป.๓/๑๑ ๑๕-๑๖ การอา่ นและเขียนบนั ทกึ กิจกรรมท่รี ะบเุ วลา ๑๓ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๕ รปู เรขาคณิต ค ๑.๑ ป.๓/๖ ๑-๒ รปู เรขาคณติ สองมิติทม่ี ีแกนสมมาตร ป.๓/๙ ๓-๕ การประยุกต์ใช้รปู ทมี่ ีแกนสมมาตร ๑๔-๑๕ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๖ แผนภมู ิรูปภาพและตารางทางเดียว ๑-๒ การเกบ็ รวบรวมข้อมูลและจำแนกข้อมูล ไม๓่เก-๔นิ ๑๐ก๐า,ร๐อ๐่า๐นแผนภมู ิรูปภาพ ๕ การเขยี นแผนภมู ริ ูปภาพ ๖ การอ่านตารางทางเดียว ๗ การเขยี นตารางทางเดยี ว ๑๕-๑๗ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๗ เศษสว่ น ๑-๒ การอ่านและการเขยี นเศษส่วนท่ีตัวเศษน้อยกว่าหรอื เท่ากับตัวสว่ น ๓-๔ การเปรยี บเทียบและเรยี งลำดับเศษส่วนท่มี ตี ัวสว่ นเท่ากนั ๕-๖ การเปรยี บเทียบและเรยี งลำดับเศษส่วนทีม่ ีตวั เศษเทา่ กนั ๗-๘ การบวกเศษส่วนทมี่ ตี วั ส่วนเท่ากัน ๙-๑๐ การลบเศษส่วนทมี่ ีตวั สว่ นเท่ากนั ๑๑-๑๓ โจทยป์ ัญหาการบวกเศษส่วนทม่ี ีตวั ส่วนเท่ากัน ๑๔-๑๖ โจทย์ปัญหาการลบเศษสว่ นทม่ี ีตัวสว่ นเทา่ กนั ๑๘-๒๑ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๘ การคูณ ไม่เ๑กิน ๑๐ก๐า,ร๐ค๐ณู ๐จำนวนหนงึ่ หลักกบั จำนวนสองหลัก ๒ การคณู จำนวนหนึ่งหลกั กบั 100, 200, 300, ..., 900 ๓ การคณู จำนวนหนึ่งหลกั กบั 1,000, 2,000, 3,000, ..., 9,000 ๔ การคูณจำนวนที่มหี นึง่ หลกั กับจำนวนสามหลัก (ไม่มกี ารทด)

หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๘ การคณู ๑๑๑๑,ป.๓/๒ ๕-๖ การคณู จำนวนที่มหี นง่ึ หลักกับจำนวนสามหลัก (มกี ารทด) ค ๑.๑ ป.๓/๗ ๗-๘ การคณู จำนวนท่ีมีหน่งึ หลักกับจำนวนสีห่ ลกั ป.๓/๙ ๙-๑๐ การคูณจำนวนท่ีมสี องหลักกับจำนวนสองหลกั ๑๑-๑๒ การหาค่าของตวั ไมท่ ราบคา่ ในประโยคสัญลักษณแ์ สดงการคูณ ค 2.๑ ป.๓/๓ ๑๓-๑๔ การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาการคูณและหาคำตอบ ป.๓/๔ ๑๕-๑๖ การแสดงวิธที ำโจทยป์ ัญหาการคณู ป.๓/๕ ๑๗-๑๘ การสร้างโจทย์ปญั หาการคณู จากภาพและประโยคสญั ลักษณ์ ป.๓/๖ ๒๑-๒๔ หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๙ การหาร ๑-๒ การหารทต่ี ัวตง้ั สองหลกั ตวั หารหนึ่งหลักโดยการหารยาว ๓-๔ การหารที่ตัวตั้งสามหลัก ตวั หารหน่ึงหลกั โดยการหารยาว ๕-๖ การหารทตี่ วั ตั้งสี่หลกั ตัวหารหนงึ่ หลกั โดยการหารยาว ๗-๘ การหารทต่ี วั ต้ังสองหลกั ตัวหารหนึง่ หลกั โดยการหารสน้ั ๙-๑๐ การหารท่ตี วั ต้งั สามหลัก ตวั หารหน่งึ หลกั โดยการหารสนั้ ๑๑-๑๒ การหารท่ตี ัวตั้งสห่ี ลกั ตวั หารหนึง่ หลักโดยการหารสั้น ๑๓-๑๔ การหาค่าของตวั ไม่ทราบค่าในประโยคสญั ลักษณ์แสดงการหาร ๑๕ การวิเคราะห์โจทย์ปัญหาการหารและหาคำตอบ ๑๖ การแสดงวิธที ำโจทยป์ ัญหาการหาร ๑๗ การสร้างโจทย์ปญั หาการหารจากภาพและประโยคสัญลักษณ์ ๒๕-๒๘ หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ ๑๐ การวดั ความยาว ๑ การวดั ความยาวเปน็ เซนติเมตรและมลิ ลิเมตร ๒ การวดั ความยาวเปน็ เมตรและเซนติเมตร ๓ การวัดความยาวเป็นกิโลเมตรและเมตร ๔ การเลอื กเครอ่ื งวดั ความยาวที่เหมาะสม ๕-๖ การคาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร ๗ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งหน่วยความยาว ๘ การเปรยี บเทยี บความยาวโดยใชค้ วามสัมพันธร์ ะหว่างเซนติเมตรและ มิลลิเมตร ๙ การเปรียบเทียบความยาวโดยใช้ความสัมพันธร์ ะหว่างเมตรและ เซนตเิ มตร ๑๐ การบวกและการลบเกีย่ วกับความยาวเป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร ๑๑ การบวกและการลบเก่ียวกบั ความยาวเป็นเมตรและเซนติเมตร ๑๒ การบวกและการลบเกี่ยวกับความยาวเปน็ กโิ ลเมตรและเมตร

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑๐ การวัดความยาว ค ๒.๑ ป.๓/๗ ๑๓-๑๔ การคณู และการหารเกีย่ วกบั ความยาวเป็นเซนตเิ มตรและมิลลเิ มตร ป.๓/๘ ๑๕-๑๖ การคูณและการหารเก่ยี วกับความยาวเป็นเมตรและเซนตเิ มตร ป.๓/๙ ๑๗-๑๘ การคูณและการหารเกยี่ วกบั ความยาวเป็นกโิ ลเมตรและเมตร ป.๓/๑๐ ๑๙ โจทยป์ ัญหาการบวกเก่ยี วกับความยาว ๒๙-๓๑ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑๑ การวัดน้ำหนกั ค ๒.๑ ป.๓/๑๑ ๑-๒ การวัดนำ้ หนกั เป็นกโิ ลกรัมและขีด กโิ ลกรัมและกรมั ป.๓/๑๒ ป.๓/๑๓ ๓ การเลอื กเครื่องชง่ั ที่เหมาะสม ๔ การคาดคะเนน้ำหนักเป็นกิโลกรัมและขีด ค ๒.๑ ป.๓/๑ ๕ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งหน่วยน้ำหนัก ๖-๗ การเปรียบเทียบน้ำหนัก ๘ การบวกเกยี่ วกับน้ำหนัก ๙ การลบเกีย่ วกบั นำ้ หนัก ๑๐ การคณู เกย่ี วกบั น้ำหนัก ๑๑ การหารเก่ยี วกบั น้ำหนัก ๑๒-๑๓ โจทยป์ ญั หาการบวกและลบเกย่ี วกับนำ้ หนัก ๑๔-๑๕ โจทยป์ ญั หาการคูณและหารเกย่ี วกับนำ้ หนกั ๓๒-๓๕ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑๒ การวดั ปรมิ าตร ๑-๒ การวดั ปรมิ าตรและความจุเป็นลติ รและมิลลลิ ิตร ๓ การเลอื กเครอื่ งตวงทีเ่ หมาะสม ๔-๕ การคาดคะเนปริมาตรเป็นลติ ร ๖ ความสัมพนั ธ์ระหว่างหน่วยปรมิ าตร ๗-๘ การเปรียบเทยี บปริมาตรและความจุ ๙ การบวกเกยี่ วกับปริมาตรและความจุ ๑๐ การลบเก่ียวกับปริมาตรและความจุ ๑๑ การคูณ เกี่ยวกบั ปริมาตรและความจุ ๑๒ การหาร เกยี่ วกบั ปรมิ าตรและความจุ ๑๓ โจทยป์ ญั หาการบวกเกยี่ วกับปรมิ าตรและความจุ ๑๔ โจทย์ปัญหาการลบเกย่ี วกับปริมาตรและความจุ ๑๕ โจทย์ปญั หาการคูณเกี่ยวกบั ปริมาตรและความจุ ๑๖ โจทย์ปญั หาการหารเก่ียวกับปริมาตรและความจุ ๓๕-๓๗ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๑๓ เงนิ และการบนั ทกึ รายรับรายจ่าย ๑ การบอกจำนวนเงนิ และเขียนแสดงจำนวนเงนิ แบบใชจ้ ุด ๒ การเปรียบเทียบจำนวนเงนิ

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑๓ เงินและการบันทกึ รายรบั รายจา่ ย ค ๑.๑ ป.๓/๘ ๓ การแลกเงนิ ป.๓/๙ ๔-๕ การบวกและการลบจำนวนเงิน ๖-๗ การคูณและการหารจำนวนเงิน ๘-๑๑ โจทยป์ ัญหาเกี่ยวกบั เงิน ๑๒-๑๓ การอ่านและการเขียนบันทึกรายรับ รายจา่ ย ๓๘-๓๙ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๑๔ การบวกลบคณู หารระคน ๑-๓ การหาผลลพั ธก์ ารบวก ลบ คูณ หารระคน ๔ สถานการณ์การบวกและการลบ 2 ขน้ั ตอน ๕ สถานการณ์การคูณและการหาร 2 ข้ันตอน ๖ สถานการณ์การบวก การลบ การคูณ และการหาร 2 ขนั้ ตอน ๗-๘ โจทยป์ ัญหาการบวกและการลบ 2 ข้ันตอน ๙-๑๐ โจทยป์ ญั หาการคูณและการหาร 2 ขน้ั ตอน ๑๑-๑๒ โจทย์ปัญหาการบวก การลบ การคณู และการหาร 2 ขน้ั ตอน ๔๐ สอบปลายภาค ๑ ทบทวนบทเรียน ๒ ทบทวนบทเรยี น ๓ สอบปลายภาค ๔ สอบปลายภาค

เทคนคิ /กระบวนการ/ วิธกี ารสอน การจัดการเรยี นร้ตู ามหลกั การพัฒนาสมอง (Brain-Based learning: BBL) ขั้นตอนที่ 1 : เตรียมความพร้อม เพื่อเป็นการกระตุ้นสมอง ตามหลักการทำงานของสมอง เมื่อมีการเคลื่อนไหว ร่างกายอย่างมีความสขุ สมองจะหลั่งสารเคมที ี่ชื่อว่า เซโรโทนิน (Serotonin) ซึ่งสารนี้มีความสำคัญมาก ช่วยให้มีจิตใจท่ี สงบและเกิดสมาธิ ซึ่งจะแตกต่างจาก เอนดอร์ฟิน (Endorphin) และ โดพามีน (Dopamine) ที่จะช่วยให้มีความสุขและ สนุกสนาน ซึ่งขั้นตอนนี้นับว่าเป็นขั้นตอนที่สำคัญ โดยทางโรงเรียนได้กำหนดไว้ว่า ทุกชั่วโมงที่ครูเข้าสอน ครูจะต้อง Warm Up ก่อนเสมอ โดยใชเ้ วลาไม่เกนิ 5 นาที ข้นั ตอนที่ 2 : เรยี นรู้ ในข้นั ตอนน้จี ะคำนึงถงึ หลักการทำงานของสมองท่วี ่า “เรียนรูจ้ ากง่ายไปหายาก เรียนรู้จาก ของจริง และจากการสัมผัส” จากการศึกษาทางประสาทวิทยาศาสตร์พบว่า “มือ” เป็นอวัยวะที่มีประสาทสัมผัสที่ส่งผล ต่อการเรียนรู้ได้ดีที่สุด รองลงมาคือ “ปาก” นั่นก็หมายถึง ต้องให้เด็กพูด หรือสื่อสาร การสื่อสารจะช่วยให้เด็กสามารถ เชื่อมโยงเรื่องได้ ดังนั้น การออกแบบรูปแบบการสอน สื่อการสอน คุณครูต้องคำนึงถึงหลักการทำงานของสมองอยา่ งมาก การเรยี นการสอนจงึ จะประสบความสำเร็จ ในขัน้ ตอนท่ี 2 นี้ มีขน้ั ตอนย่อยท่ีสำคญั หน่งึ คอื “การสรปุ ในแตล่ ะชว่ั โมง” ทาง โรงเรียนได้สนับสนุนให้มีการฝึกอบรม Graphic Organizer ให้แก่คุณครูทุกกลุ่มสาระ ตลอดจนหนังสือที่เกี่ยวข้องจาก ต่างประเทศ เพือ่ ใหค้ ณุ ครูใช้เป็นเครอื่ งมอื ในการสรุปที่ช่วยให้เด็กเกดิ ความสนุก เกิดการเรียนรู้ และจดจำได้งา่ ยขนึ้ ข้นั ตอนท่ี 3 : ข้ันการฝึก ขัน้ นีจ้ ะสอดคล้องกับหลักการทำงานของสมองท่ีวา่ “สมองจะจดจำได้ดีนำไปสู่ความจำ ระยะยาว (Long-term Memory) ต้องผ่านกระบวนการฝึกซำ้ ๆ” คำว่า “ซำ้ ๆ” ในทีน่ ้ไี ม่ได้หมายถึง การทำโจทย์เดิมซ้ำๆ แต่หมายถึงการใช้หลักการ เช่น หลักการบวก ก็นำไปใช้กับการบวกที่แตกต่างกันออกไปในโจทย์ คุณครูจึงจำเป็นต้อง ออกแบบใบงานทีแ่ ตกตา่ งออกไป เพือ่ ให้นกั เรยี นไดฝ้ ึกฝนเร่ือยๆ ขั้นตอนที่ 4 : ขั้นการสรุป ขั้นนี้เป็นการสรุปเมื่อจบบทเรียนหรือหน่วย ซึ่งแตกต่างจากขั้นตอนที่ 2 ซึ่งเป็นการ สรุปในแต่ละชั่วโมง ในขั้นตอนนี้เป็นการเชื่อมโยงความรู้ทั้งหน่วย โดยใช้ Graphic Organizer ฝึกให้นักเรียนเชื่อมโยง ความรู้ภายในบทเรยี น สอดคล้องกับหลักการทำงานของสมองท่วี ่า “สมองเรียนรู้เป็นองคร์ วม” ซงึ่ ข้นั ตอนน้ีมีความสำคัญ ตอ่ เดก็ มาก และเป็นขนั้ ตอนท่คี ่อนข้างยาก ครเู องกจ็ ำเปน็ ต้องฝึกฝนบ่อยๆ เชน่ กัน ขั้นตอนที่ 5 : ขั้นการประยุกต์ใช้ทันทีทันใด การที่เด็กเรียนแล้วสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้นั้น ทำให้เกิดการ เรียนรู้ได้ถึงร้อยละ 90 ดังนั้น เมื่อจบบทเรยี น คุณครูต้องคิด ต้องออกแบบ เชื่อมโยงความรู้ท้ังหนว่ ย นำข้อสอบมาให้เดก็ ทดลองทำ การวดั และประเมนิ ผล วธิ ีการเกบ็ คะแนน คะแนนระหว่างภาค : ปลายภาค = ๗๐ : ๓๐ โดยแบ่งดงั น้ี เรื่องท่เี ก็บคะแนน คะแนน ประเภทเครือ่ งมือ ๑.คะแนนเก็บก่อนกลางปี ๒๕ ๑.๑ ผลงานนักเรียน ๑๕ สมดุ แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ สสวท. ช้นิ งาน ๑.๒ ทดสอบหลงั เรยี น ๑๐ แบบทดสอบหลงั เรียน ๒. สอบกลางปี ๒๐ แบบทดสอบ ๓.คะแนนหลังกลางปี ๒๕ ๓.๑ ผลงานนักเรียน ๑๕ สมุด แบบฝึกหดั คณติ ศาสตร์ สสวท. ช้ินงาน ๓.๒ ทดสอบหลังเรียน ๑๐ แบบทดสอบหลงั เรยี น ๔.สอบปลายปี ๓๐ รวม ๑๐๐ สือ่ /แหล่งเรยี นรู้ - ส่ือประจำหน่วยการจดั การเรียนรู้ - หนงั สอื เรยี นคณิตศาสตร์ และแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ สสวท

แผนผงั มโนทศั น์เป้าหมายการเรียนร้/ู หลกั ฐานการเรียนรู้ ความรู้ (Knowledge : K) ทักษะ/กระบวนการ(Process: P) คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1.บอกลักษณะของรูปเรขาคณิตที่มี 1.สร้างรูปสมมาตรและระบุจำนวน แกนสมมาตรได้ (K) แกนสมมาตรของรูปสมมาตรได้ (P) 1. ซอื่ สตั ย์สจุ ริต 2.บอกลักษณะของรูปเรขาคณิตที่มี 2.สร้างรูปสมมาตรและระบุจำนวน 2. มีวนิ ัย แกนสมมาตรได้ (K) แกนสมมาตรของรูปสมมาตรได้ (P) 3. ใฝเ่ รยี นรู้ 3.ประดษิ ฐ์พวงมโหตร (P) 4. ม่งุ มั่นในการทำงาน 5. มจี ิตสาธารณะ เป้าหมายการเรียน เรอ่ื งรปู เรขาคณติ หลกั ฐานการเรยี นรู้ พวงมโหตร

แผนผงั มโนทศั น์ข้นั ตอนการทำกิจกรรมประกอบการจดั การเรยี นร้ดู ้วย การสอนตามหลกั การพฒั นาสมอง (Brain-Based learning: BBL) ศกึ ษามาตรฐานการรเรยี นรู้ / ตวั ชี้วดั และจดุ ประสงคก์ าร เรยี นรู้ ทาแบบทดสอบก่อนเรียน ทากิจกรรมโดยใช้กระบวนการจดั การเรียนร้ตู ามหลกั การพฒั นาสมอง (Brain-Based learning: BBL) ขนั้ ที่ 1 เตรยี มความพรอ้ ม ขนั้ ท่ี 2 เรยี นรู้ ขนั้ ท่ี 3 ขนั้ การฝึ ก ขนั้ ท่ี 4 ขนั้ การสรปุ ขนั้ ท่ี 5 ขนั้ การประยุกต์ใช้ทนั ทีทนั ใด ทดสอบหลงั เรยี น (ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 60)

ผงั มโนทศั น์ หนว่ ยการเรีย หน่วยการเ รูปเรขา จำนวน 5 แผนที่ 1 รูปเรขาคณติ สองมติ ทิ ม่ี ีแกนสมมาตร การเรียนร้แู บ ภาษาไทย 1.ฟังแสดงความคดิ เหน็ 2.พดู แสดงความคดิ เหน็ และตอบคาถามอ่านและสะกดคา 3.การเขยี นสอ่ื ความหมายทางคณติ ศาสตร์

ยนรทู้ ี่ 5 รูปเรขาคณติ เรียนรู้ท่ี 5 าคณติ 5 ช่ัวโมง แผนที่ 2 การประยกุ ต์ใชร้ ปู ทม่ี แี กนสมมาตร บบบูรณาการ ศิลปะ : ทศั นศิลป์ 1. การออกแบบรปู แบบพวงมโหตร

แผนบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ครู ความพอประมาณ ความมเี หตุผล การมีภมู ิคุ้มกันในตวั ที่ดี 1. ออกแบบการจัดกจิ กรรม ตรงตาม 1. ออกแบบการเรยี นรสู้ ง่ เสริมกระบวนการคดิ 1. ศกึ ษาแนวทางการจดั การเรียนรลู้ ว่ งหนา้ ตัวชี้วัด 2. ใช้เทคนคิ การจดั การเรียนรทู้ ีห่ ลากหลาย 2. จดั เตรยี มการวดั ผลประเมนิ ผล และแบบ 2. เลือกสอื่ แหลง่ เรยี นรเู้ หมาะสม สังเกตพฤตกิ รมนกั เรยี น 3. วัดผลประเมินผลตรงตามเนอ้ื หา เงื่อนไขความรู้ เง่ือนไขคุณธรรม 1. รูจ้ ักเทคนคิ การสอนที่ส่งเสริมกระบวนการคดิ และนกั เรียน 1. มีความขยนั เสยี สละ และมงุ่ มนั่ ในการจดั หาส่อื มาพฒั นานกั เรียน สามารถเรียนรู้ไดอ้ ย่างมคี วามสุข ให้บรรลตุ ามจดุ ประสงค์ 2. มีความอดทนเพือ่ พฒั นานกั เรียนโดยใช้เทคนิคการสอนที่ หลากหลาย นกั เรยี น ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุม้ กันในตวั ที่ดี 1. การใช้เวลาในการทำกจิ กรรม/ภาระงาน 1. ฝกึ กระบวนการทำงานเปน็ กลมุ่ 1. วางแผนการศึกษาคน้ ควา้ อิสระ ได้อย่างเหมาะสม ทนั เวลา 2. ฝกึ กระบวนการแสดงข้นั ตอนการหาผลลัพธ์ 2. นำความรู้เร่อื งรปู เรขาคณิตไปใชใ้ น 2. เลือกสมาชกิ กลมุ่ ไดเ้ หมาะสมกบั เนือ้ หาที่ ชีวติ ประจำวันได้ เรียนและศกั ยภาพของตน เงื่อนไขความรู้ เงอ่ื นไขคุณธรรม 1. มคี วามรู้เรอื่ งรูปเรขาคณติ ตลอดจนสามารถสร้างจดั ทำชิน้ งาน ได้ 1. มีความรบั ผิดชอบ และปฏบิ ัตติ ามข้อตกลงของกลมุ่ ตามวัตถุประสงค์ 2. มสี ติ มสี มาธชิ ว่ ยเหลือกันในการทำงานรว่ มกัน สง่ ผลตอ่ การพัฒนา 4 มิตใิ ห้ยั่งยืนยอมรบั ต่อการเปล่ยี นแปลงในยุคโลกาภิวัฒน์ วัตถุ สงั คม สง่ิ แวดลอ้ ม วฒั นธรรม ความรู้ (K) มีความรคู้ วามเขา้ ใจการรูปเรขาคณิต มีความรูแ้ ละเข้าใจ มคี วามรแู้ ละเขา้ ใจ มคี วามรู้และเข้าใจการ กระบวนการทำงาน เก่ยี วกับ สิ่งแวดล้อม ช่วยเหลอื แบ่งปัน กลมุ่ และสงิ่ ตา่ งๆรอบตัว ทักษะ (P) สร้างชิน้ งานปา้ ยแสดงข้นั ตอนการทำ ทำงานไดส้ ำเร็จตาม ใชแ้ หลง่ เรยี นรโู้ ดยไม่ ชว่ ยเหลอื แบง่ ปันซงึ่ พวงมโหตรจากรปู เรขาคณติ เปา้ หมาย ดว้ ย ทำลายสงิ่ แวดลอ้ ม กัน และกนั กระบวนการกลุ่ม คา่ นิยม (A) เห็นประโยชน์ของเรยี นรู้ เก่ียวกับรปู เหน็ คุณคา่ และ เหน็ คุณคา่ ของการใช้ ปลูกฝังนิสยั การ เรขาคณิต ภาคภมู ใิ จในการ แหล่งเรยี นรโู้ ดยไม่ ชว่ ยเหลือแบง่ ปัน ทำงานรว่ มกนั ได้ ทำลายสิ่งแวดล้อม สำเรจ็

กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 เรื่อง รูปเรขาคณิต วิชาคณิตศาสตร์ จำนวน 5 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชี้วดั มาตรฐานการเรียนรู้ ค 2.2 : เข้าใจและวเิ คราะห์รูปเรขาคณิต สมบตั ขิ องรูปเรขาคณติ ความสัมพันธ์ ระหว่างรปู เรขาคณติ และทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนำไปใช้ ตัวชี้วดั ป.3/1 : ระบุรปู เรขาคณิตสองมิตทิ ีม่ แี กนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร 2.สาระสำคญั รปู ทเ่ี ม่ือพบั แลว้ แตล่ ะข้างของรอยพับทบั กันสนิทเป็นรูปทีม่ ีแกนสมมาตร รอยดับนเ้ี ปน็ แกน สมมาตรรปู ท่มี แี กนสมมาตรบางรปู ท่ีมแี กนสมมาตรมากกวา่ 1 แกน 3. สาระการเรยี นรู้ - รปู ทีม่ แี กนสมมาตร - การประยกุ ต์ใชร้ ูปท่ีมแี กนสมมาตร 4. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต 5. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน 6. ชิน้ งาน/ภาระงาน 1. ประดิษฐ์พวงมโหตรจากรูปเรขาคณิต 7. การวดั และประเมินผล วธิ ีการ เครือ่ งมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อน-หลังเรียน แบบทดสอบก่อน-หลงั เรียน ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 60 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 5 ตรวจแบบฝึกหดั หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 5 แบบฝกึ หัดหนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 5 ระดบั คุณภาพ 2 ตรวจชน้ิ งานหนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 5 ผา่ นเกณฑ์ สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม่ ชิ้นงานหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ระดับคุณภาพ 2 สงั เกตความมวี ินัย ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมนั่ ใน ผ่านเกณฑ์ การทำงาน แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์

8. กจิ กรรมการเรียนรู้ กจิ กรรมท่ี 1 รปู เรขาคณติ สองมิติท่ีมแี กนสมมาตร ช่วั โมงท่ี 1 1. ครใู หน้ ักเรยี นท่องสูตรคูณโดยใชแ้ กว้ และตาราง 9 ช่องประกอบการท่องสูตรคณู หลงั จากนนั้ ให้ นกั เรยี นคดิ เลขเรว็ จำนวน 3 ข้อ 2. ครูแจกกระดาษให้นักเรียนคนละ 1 แผน่ แล้วพับกระดาษ 3. ให้นกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายร่วมกันวา่ วิธกี ารพบั กระดาษแบบใดเรยี กว่าทับกนั สนิทพอดี และเกดิ รอย พับกรี่ อย มวี ธิ ีพับด้านอื่น ๆ อกี หรอื ไม่ 4. ครูพบั กระดาษ แล้วตัดตามรอยที่ขีดไว้ ให้นักเรียนทายว่า เมอื่ คลอ่ี อกมาแลว้ จะไดเ้ ป็นรูปอะไร ครูคลี่ รปู ที่ได้จากการตัดกระดาษให้นักเรยี นดูแลว้ ใหต้ อบว่าเป็นรูปอะไรและให้สงั เกตว่า ทงั้ สองขา้ งของรอยพบั มี ลักษณะเหมือนกันหรือไม่ มีขนาดเทา่ กันหรือไม่ และเมอื่ พับกลบั ตามรอยเดมิ ทง้ั สองข้างทับกนั สนทิ หรือไม่ จากนน้ั แนะนำวา่ รปู ที่ตดั ได้น้ี มลี กั ษณะเปน็ รปู ท่ีมแี กนสมมาตร โดยมีรอยพับเป็นแกนสมมาตร 5. ครนู ำกระดาษทีต่ ัดเปน็ รปู ทไี่ ม่มแี กนสมมาตร เช่น บวั รดน้ำ ใหน้ ักเรยี นสงั เกตว่า ทั้งสองข้างของรปู มี ลักษณะเหมือนกันหรือไม่ (ไม่เหมอื นกัน) และนักเรียนคิดว่า จะสามารถพับรปู แล้วทำให้ท้ังสองขา้ งของรปู ทับกัน สนิทได้หรือไม่ จากนัน้ ให้ตวั แทนนกั เรยี นออกมาพบั รปู บัวรดน้ำดงั กล่าวให้เพื่อนๆ ดู แล้วบอกผลการพบั ครูถาม นกั เรยี นวา่ รูปบวั รดน้ำน้เี ป็นรปู ที่มแี กนสมมาตรหรือไม่ (ไม่มี) เพราะเหตุใด (ไม่สามารถพบั รูปแลว้ ทำใหท้ ั้งสอง ขา้ งของรอยพับทับกันสนทิ ) 6. ครูแบ่งนกั เรียนเป็นกลุ่ม กลมุ่ ละ 4 – 5 คน โดยคละความสามารถ ครจู ัดกจิ กรรมพับกระดาษโดยแจก กระดาษรปู สามเหลีย่ มหนา้ จ่ัว รปู ส่เี หล่ยี มมุมฉาก รูปหา้ มเหลีย่ มดา้ นเท่า รูปหกเหลีย่ มด้านเทา่ รปู แปดเหลย่ี ม ด้านเทา่ วงกลม และวงรีท่ีมเี ส้นประแสดงรอยพบั ให้นักเรยี นทุกคนในกลมุ่ ให้นกั เรยี นพบั ตามรอยเสน้ ประและให้ สงั เกตแต่ละข้างของรอยพับของรปู เรขาคณติ สองมิติแตล่ ะรูป แล้วใหบ้ อกผลการสังเกต ซ่งึ ควรจะได้ว่า แตล่ ะข้าง ของรอยพับทบั กนั สนิทพอดี ครูถามว่า รปู เรขาคณติ สองมิตทิ ่ีพบั ทัง้ หมดนเ้ี ปน็ รปู ที่มีแกนสมมาตรหรอื ไม่ (เปน็ รปู ทีม่ แี กนสมมาตร) เพราะเหตใุ ด (เพราะเมอื่ พบั ตามรอยเสน้ ประ ทำให้ทั้งสองข้างของรูปทบั กันสนิท) ใหน้ ักเรยี น ทกุ คนชี้แกนสมมาตรของรปู น้ัน ช่วั โมงท่ี 2 1. ครแู จกกระดาษรูปสเ่ี หลย่ี มดา้ นขนาน รูปสามเหลย่ี มด้านไมเ่ ทา่ รูปส่ีเหลยี่ มคางหมู (ที่ไมใ่ ช่รูป สเ่ี หล่ยี มคางหมหู น้าจวั่ ) รูปห้าเหล่ียม รูปหกเหล่ียม รปู แปดเหล่ียม ทีไ่ มใ่ ชร่ ปู หลายเหลยี่ มด้านเท่ามุมเท่าทม่ี ี เสน้ ประแสดงรอยพับใหน้ กั เรียนทกุ คนในกลมุ่ แล้วให้นักเรียนพบั ตามรอยเสน้ ประ และใหส้ งั เกตว่าแต่ละข้างของ รอยพบั ทับสนิทหรือไม่ แลว้ ให้บอกผลการสงั เกต ซึง่ ควรจะไดว้ ่า แต่ละข้างของรอยพับไมท่ ับกันสนทิ ครูถามวา่ รูปเรขาคณติ สองมติ ิทีพ่ บั ทง้ั หมดนเี้ ปน็ รปู ที่มีแกนสมมาตรหรือไม่ (เป็นรูปท่ีไมม่ แี กนสมมาตร) เพราะเหตใุ ด (เพราะเมื่อพบั ตามรอยเสน้ ประ แลว้ ท้ังสองข้างของรปู ไมท่ บั กนั สนิท) ให้นักเรียนทกุ คนชี้แกนสมมาตรของรปู นั้น 2. ครูให้นักเรียนฝึกหารปู ที่มีแกนสมมาตร เม่อื เสรจ็ แลว้ ให้นกั เรยี นช่วยกันตรวจสอบความถกู ตอ้ ง จากนนั้ ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั เฉลยกิจกรรมในหนงั สือเรยี น 3. ครูใหน้ ักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายเพอ่ื นำไปสูข่ อ้ สรปุ ที่วา่ รูปหลายเหลี่ยมบางรปู เปน็ รปู ท่ีมแี กนสมมาตร บางรูปเปน็ รปู ทไี่ มม่ แี กนสมมาตร ส่งวงกลมและวงรเี ปน็ รูปทีม่ ีแกนสมมาตร 4. ครูใหน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียน

กจิ กรรมท่ี ๒ การประยกุ ต์ใช้รปู ทม่ี ีแกนสมมาตร ชัว่ โมงที่ 1 1. ครูให้นักเรียนท่องสูตรคูณโดยใช้แก้วและตาราง 9 ช่องประกอบการท่องสูตรคูณ หลังจากนั้นให้ นักเรียนคิดเลขเรว็ จำนวน 3 ขอ้ และทดสอบก่อนเรยี น 2. ครนู ำภาพในชวี ติ จริงท่มี ลี ักษณะเปน็ ภาพทม่ี ีแกนสมมาตร เช่น ภาพลายกระจัง ภาพลายเหล็กดัด ภาพลายกระเบื้อง ภาพลายผา้ ฯลฯ ใหน้ ักเรยี นดู แลว้ ช้ใี ห้นักเรียนสังเกตว่าทั้งสองขา้ งของแต่ละภาพมลี กั ษณะ เหมอื นกนั ครูสนทนาเพิ่มเตมิ ว่า เราสามารถสรา้ งภาพทมี่ ีลกั ษณะของลวดลายดังกลา่ วได้ 3. ครูให้ตวั แทนกลมุ่ 2 คน แสดงการพับกระดาษรูปสเ่ี หล่ียมจัตุรสั และรูปส่เี หลย่ี มผืนผ้า เพอื่ หาแกน สมมาตร และให้ขดี เส้นตามรอยพบั เพื่อแสดงแกนสมมาตร ครูแนะนำว่าควรลองพบั หลายๆ แนวแลว้ นำเสนอโดย ระบจุ ำนวนแกนสมมาตรของแตล่ ะรปู ซ่งึ จะไดด้ ังนี้ มแี กนสมมาตร 2 แกน มแี กนสมมาตร 4 แกน 4. ครใู ห้แตล่ ะกลุ่มทำกจิ กรรมสำรวจรูปท่มี ีแกนสมมาตร โดยแจกกระดาษทตี่ ดั เป็นรูปเรขาคณิตสองมิติ และรปู อื่นๆ ท่ีมีลักษณะเปน็ รปู ท่ีมีแกนสมมาตรและรปู ทไ่ี มม่ ีแกนสมมาตร เช่น รูปดาว 5 แฉก รูปตวั อกั ษร H, T, O, S, Y, M, N, A, X, Z เป็นตน้ ถา้ พบว่าเป็นรูปที่มแี กนสมมาตรให้ขดี เสน้ แสดงแกนสมมาตรทุกเส้น พร้อม นำเสนอโดยแสดงวธิ ีพบั ประกอบการอธิบาย (แตล่ ะกลมุ่ ได้รปู ที่แตกต่างกนั กลุ่มละ 5 รูป) พร้อมระบจุ ำนวนแกน สมมาตรของแตล่ ะรปู 5. ครตู ิดรปู หลายเหลยี่ มท่ีมเี สน้ ประเป็นแกนสมมาตรบนกระดาน 3 – 4 รูป แล้วใหต้ วั แทนนักเรียน ออกมาตอ่ เตมิ รปู ให้สมบรู ณ์ เช่น ชว่ั โมงท่ี 2 1. ครใู ห้นกั เรียนแบง่ กล่มุ 4 – 5 คน ศกึ ษาการทำพวงมโหตรการประยกุ ต์ใชร้ ูปท่มี ีแกนสมมาตร จาก คลปิ การสอนที่ครูผสู้ อนจัดทำขน้ึ ช่วั โมงท่ี 3 1. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันสรุปสงิ่ ที่ไดเ้ รียนรูร้ ่วมกัน ดังน้ี - รปู ที่มีแกนสมมาตรกับรูปทไี่ มม่ แี กนสมมาตร มีลกั ษณะแตกตา่ งกนั อยา่ งไร (รปู ท่มี ีแกนสมมาตรจะ สามารถพับรูปแล้วทำให้ท้ังสองข้างของรอยพบั ทบั กนั สนทิ แตร่ ปู ที่ไมม่ ีแกนสมมาตรจะไม่สามารถพบั รปู แลว้ ทำ ใหท้ ัง้ สองขา้ งของรอยพับทับกนั สนทิ )

- รปู ทมี่ ีแกนสมมาตรจะมีแกนสมมาตรได้น้อยทส่ี ดุ กี่แกน และมากทีส่ ุดก่แี กน พร้อมบอกตัวอยา่ ง ประกอบ (รูปทม่ี ีแกนสมมาตรจะมแี กนสมมาตรได้นอ้ ยทีส่ ุด 1 แกน เช่น รปู สามเหลย่ี มบางชนิด (รปู สามเหลี่ยม หน้าจว่ั ) รูปสีเ่ หลย่ี มบางชนดิ (รูปสี่เหล่ียมรูปวา่ ว) รูปคน รูปผเี สอ้ื เป็นตน้ และจะมแี กนสมมาตรไดม้ ากทส่ี ุด มากมายนบั ไม่ถ้วน เชน่ วงกลม) - คำกลา่ วที่วา่ “รปู หลายเหลี่ยมทกุ รูปเปน็ รปู ท่มี ีแกนสมมาตร” เป็นจริงหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด (ไม่จรงิ เพราะมรี ปู หลายเลีย่ มบางรูปที่ไมม่ แี กนสมมาตร เช่น รปู หา้ มเหลย่ี มบางรปู ) 2. ครใู ห้นกั เรียนทำแบบทดสอบหลงั เรยี น 9. สอ่ื / แหล่งเรยี นรู้ 1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน - แบบทดสอบหลงั เรียน 2. แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ สสวท. 3. คลปิ การสอนทำพวงมโหตร

โรงเรียนวดั พชื นิมิต (คำสวสั ด์ิราษฎรบ์ ำรุง) อำเภอคลองหลวง จงั หวดั ปทมุ ธานี ข้อสอบบทที่ 5 รปู เรขาคณิต ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 คำช้ีแจง : ใหน้ ักเรียนทำเครือ่ งหมาย x ทับอักษรหนา้ คำตอบที่ถูกต้องที่สดุ เพยี งคำตอบเดยี ว จำนวน 10 ขอ้ ขอ้ 1. เสน้ ประในข้อใดแสดงแกนสมมาตรถูกตอ้ ง ขอ้ 5 . ข้อใดไม่มแี กนสมมาตร ก. ข. ขอ้ 6. ขอ้ ใดมีแกนสมมาตร 2 เส้น ค. ง. ขอ้ 2 . รปู ในขอ้ ใดมแี กนสมมาตร ข้อ 3 . รูปภาพตัวอกั ษรในขอ้ ใดมแี กนสมมาตรมาก ขอ้ 7. ข้อใดทมี่ ีแกนสมมาตร 4 แกน ท่สี ดุ ก. สเ่ี หลี่ยมจตั ุรสั ข. ส่เี หลยี่ มผนื ผ้า ค. สามเหลีย่ ม ง. วงรี ข้อ 8. รปู ในขอ้ ใดไมม่ แี กนสมมาตร ข้อ 4 . สามเหล่ียมรปู ใดมีเส้นสมมาตร

ขอ้ 9. รูปใดท่ีมแี กนสมมาตร ข้อ 10. ขอ้ ใดมแี กนสมมาตรมากท่สี ดุ *********** ขอให้ทกุ คนโชคดี ************

ประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 8 ด้าน คำช้แี จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี น ในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี  ลงในชอ่ งวา่ ง ใหต้ รงกบั ระดับคะแนน และตามความเปน็ จรงิ โดยมเี กณฑก์ ารให้คะแนน ดังนี้ 4 = พฤติกรรมที่ปฏิบตั ิชัดเจนมาก และบอ่ ยครั้งสม่ำเสมอ 3 = พฤตกิ รรมท่ปี ฏิบัตชิ ดั เจนและสมำ่ เสมอ 2 = พฤตกิ รรมที่ปฏิบตั ิชัดเจนและบ่อยครัง้ 1 = พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ตั ิบางคร้ัง คณุ ลักษณะอัน ระดบั คะแนน พึงประสงค์ รายการประเมนิ 4 321 ด้าน 1. รักชาติ ศาสน์ 1.1 มีความรัก และภมู ิใจในความเป็นชาติ กษัตรยิ ์ 1.2 ปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ธรรมของศาสนา 1.3 แสดงออกถงึ ความจงรักภกั ดตี อ่ สถาบัน พระมหากษัตรยิ ์ 2. ซื่อสัตย์ 2.1 ปฏิบัติตามระเบยี บการสอน และไม่ลอกการบ้าน สจุ ริต 2.2 ประพฤติ ปฏิบัติ ตรงต่อความเป็นจริงต่อตนเอง 2.3 ประพฤติ ปฏบิ ตั ิ ตรงต่อความเปน็ จริงต่อผู้อน่ื 3. มีวนิ ัย 3.1 เข้าเรยี นตรงเวลา 3.2 แตง่ กายเรียบร้อยเหมาะสมกบั กาลเทศะ 3.3 ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบของหอ้ ง 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 4.1 แสวงหาข้อมลู จากแหลง่ การเรยี นรตู้ ่างๆ 4.2 มีการจดบนั ทึกความรู้อย่างเปน็ ระบบ 4.3 สรุปความรู้ได้อยา่ งมเี หตุผล 5. อยอู่ ยา่ ง 5.1 ใชท้ รพั ยส์ นิ และส่ิงของของโรงเรยี นอย่างประหยดั พอเพียง 5.2 ใช้อุปกรณ์การเรยี นอยา่ งประหยัดและรู้คณุ คา่ 5.3 ใช้จา่ ยอย่างประหยัดและมีการเก็บออมเงนิ 6. มุ่งม่ันในการ 6.1 มคี วามต้งั ใจ และพยายามในการทำงานท่ีไดร้ ับ ทำงาน มอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไม่ทอ้ แทต้ อ่ อปุ สรรค เพ่ือให้งาน สำเรจ็ 7. รกั ความเปน็ 7.1 มจี ิตสำนึกในการอนรุ กั ษ์วฒั นธรรมและภูมิปญั ญาไทย ไทย 7.2 เห็นคณุ คา่ และปฏิบัตติ นตามวฒั นธรรมไทย 8. มีจติ 8.1 รจู้ ักการใหเ้ พ่ือส่วนรวม และเพ่ือผอู้ ่ืน สาธารณะ 8.2 แสดงออกถึงการมนี ำ้ ใจหรอื การให้ความช่วยเหลอื ผอู้ ่ืน 8.3 เข้าร่วมกจิ กรรมบำเพญ็ ตนเพอ่ื ส่วนรวมเมื่อมีโอกาส ชือ่ ......................................................................................................................ชั้ น.................เลขท.ี่ .................

แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ผลการประเมนิ รายวิชาคณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 3 โรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คำสวัสดิ์ราษฎรบ์ ำรงุ ) ปกี ารศกึ ษา 2562 คำชแี้ จง : กรอกคะแนนลงในช่องคะแนน และสรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เลขที่ ชื่อ-สกลุ การป ิฏสัมพันธ์กัน การสนทนาเ ื่รอง ่ีทกำหนด การ ิตด ่ตอ ื่สอสาร พฤ ิตกรรมการทำงานก ุ่ลม รวม ระดับ ุคณภาพ แปลผล 4 4 4 4 16 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 ได้คะแนน 14-16 คะแนน = 4 (ดีมาก) ลงชือ่ .........................................ผปู้ ระเมนิ ได้คะแนน 11-13 คะแนน =3 (ดี) (นางสาวจิระพันธ์ุ ปากวิเศษ) ได้คะแนน 8-10 คะแนน =2 (พอใช้) วนั ....เดอื น...............ปี....... ไดค้ ะแนน 0-7 คะแนน =1 (ปรบั ปรุง) * เกณฑ์ผา่ นการประเมนิ ต้องได้ 2 (พอใช)้ ขนึ้ ไป

แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมการทำแบบฝึกหัดคณติ ศาสตร์ รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรียนวัดพืชนมิ ิต (คำสวสั ดร์ิ าษฎรบ์ ำรงุ ) ปีการศกึ ษา 2562 คำชแี้ จง : กรอกคะแนนลงในช่องคะแนน และสรปุ ผลการประเมินคุณภาพ ผลการประเมนิ เลขท่ี ชอื่ -สกลุ คะแนน ระดับ ุคณภาพ แปลผล 16 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 ได้คะแนน 14-16 คะแนน = 4 (ดมี าก) ลงชอ่ื .........................................ผปู้ ระเมิน ไดค้ ะแนน 11-13 คะแนน = 3 (ดี) (นางสาวจิระพันธ์ุ ปากวเิ ศษ) ไดค้ ะแนน 8-10 คะแนน = 2 (พอใช้) วัน....เดอื น...............ปี....... ได้คะแนน 0-7 คะแนน = 1 (ปรบั ปรุง) * เกณฑผ์ า่ นการประเมินต้องได้ 2 (พอใช)้ ข้นึ ไป

แบบประเมินการสงั เกตพฤติกรรมการทำแบบทดสอบ รายวิชาคณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรียนวดั พืชนมิ ติ (คำสวัสดริ์ าษฎร์บำรงุ ) ปกี ารศกึ ษา 2562 คำชี้แจง : กรอกคะแนนลงในชอ่ งคะแนนทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน และประเมนิ ผล ผลการประเมนิ เลขที่ ชอ่ื -สกลุ คะแนนกอ่ นเรยี น(10) คะแนนหลังเรยี น(10) ้รอยละ ่ผาน/ไม่ ่ผาน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 * ( ผู้เรยี นตอ้ งมคี ะแนนสอบหลงั เรยี นผ่านเกณฑร์ ้อยละ ๖๐ ) ลงช่อื .........................................ผปู้ ระเมนิ (นางสาวจิระพนั ธ์ุ ปากวิเศษ) วัน....เดอื น...............ป.ี ......

บนั ทึกผลหลังการจดั การเรยี นรู้ สรปุ ผลหลังการจดั การเรียนรู้ 1.นกั เรียนจำนวน..................คน ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้......................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ.................. ไมผ่ า่ นจดุ ประสงค์การเรียนร.ู้ .................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ.................. 2. แนวทางแก้ไขนกั เรียนทไ่ี ม่ผ่านจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ............................................................................................................................. ............................... .......................................................................................................................................... .................. 3.คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ไม่ผา่ น............ คน ผา่ น.............คน ด.ี .................คน ดีเยี่ยม................คน ระดับดีขึ้นไป ร้อยละ..................... 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น ไมผ่ ่าน............ คน ผา่ น.............คน ดี..................คน ดเี ย่ียม................คน ระดบั ดขี น้ึ ไป ร้อยละ..................... ผลการจดั การเรียนการสอน/ปัญหา/ อุปสรรค และแนวทางแก้ไข • แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 เร่ือง......................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ............................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................ ........................................ • แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 เรอ่ื ง......................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ......................................................................................................... ...................................................................... ........................................................................................................................................................ ........................ ลงชือ่ .................................................. (นางสาวจิระพนั ธุ์ ปากวิเศษ) ความคดิ เหน็ หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้/ผทู้ ไ่ี ด้รับมอบหมาย ตรวจ/นเิ ทศ/เสนอแนะ/รบั รอง ............................................................................................................................. .................................................. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงช่อื …………………………………………………… (นางสาวแพรวร่งุ ศรปี ระภา ) หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ .................../......................./......................... ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา ตรวจ/นเิ ทศ/เสนอแนะ/รับรอง ............................................................................................................................. .................................................................... ......................................................................................................................................................... ....................................... ลงชือ่ …………………………………………………… (นางสาวกนั ยาภทั ร ภัทรโสตถ)ิ โรงเรียนวัดพืชนมิ ิต (คำสวสั ดิร์ าษฎร์บำรุง) ................../......................./.........................

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 1 กลุม่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 เวลา 5 ชวั่ โมง หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 5 รูปเรขาคณติ เวลา 2 ช่ัวโมง เรอื่ ง รูปเรขาคณติ สองมติ ิที่มีแกนสมมาตร 1. สาระสำคญั รูปทเ่ี มือ่ พบั แล้ว แตล่ ะขา้ งของรอยพบั ทับกันสนทิ เปน็ รูปทีม่ ีแกนสมมาตร รอยดับน้เี ปน็ แกนสมมาตร รปู ท่ีมแี กนสมมาตรบางรปู ท่มี ีแกนสมมาตรมากกว่า 1 แกน 2. ตัวชว้ี ดั ค 2.2 ป.3/1 : ระบรุ ูปเรขาคณิตสองมิตทิ ่ีมีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. บอกลกั ษณะของรปู เรขาคณิตที่มีแกนสมมาตรได้ (K) 2. สรา้ งรปู สมมาตรและระบุจำนวนแกนสมมาตรของรปู สมมาตรได้ (P) 4. สาระการเรยี นรู้ 1. รูปท่ีมแี กนสมมาตร 5. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 6. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝเ่ รยี นรู้ 2. ม่งุ ม่นั ในการทำงาน 7. กจิ กรรมการเรียนรู้ ชวั่ โมงท่ี 1 ขน้ั ตอนท่ี 1 : เตรียมความพร้อม 1. ครใู ห้นักเรียนทอ่ งสูตรคณู โดยใชแ้ กว้ และตาราง ๙ ช่องประกอบการท่องสูตรคณู หลงั จากนั้นให้ นกั เรียนคดิ เลขเรว็ จำนวน 3 ขอ้ ขน้ั ตอนท่ี 2 : เรียนรู้ 2. ครแู จกกระดาษให้นกั เรยี นคนละ 1 แผน่ แลว้ พบั กระดาษ ดังน้ี พับจากด้านบนมาด้านลา่ ง พับจากมุมซ้ายบนมาทับมุมขวาลา่ ง

พับจากด้านขวามาดา้ นซ้าย พบั จากมมุ ซ้ายลา่ งมาทับมุมขวาบน 3. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายร่วมกันวา่ วิธีการพบั กระดาษแบบใดเรยี กว่าทบั กันสนิทพอดี และเกิดรอย พบั กรี่ อย มีวิธพี บั ด้านอ่นื ๆ อกี หรือไม่ 4. ครพู บั กระดาษ แล้วตัดตามรอยท่ีขดี ไว้ ให้นกั เรยี นทายว่า เม่อื คลี่ออกมาแล้วจะไดเ้ ป็นรูปอะไร ครูคล่ี รปู ทไ่ี ด้จากการตัดกระดาษให้นักเรียนดูแล้วให้ตอบวา่ เป็นรูปอะไรและใหส้ ังเกตว่า ท้ังสองข้างของรอยพบั มี ลักษณะเหมือนกนั หรือไม่ มีขนาดเท่ากันหรือไม่ และเมอ่ื พับกลับตามรอยเดิม ทงั้ สองข้างทับกันสนิทหรือไม่ จากน้ันแนะนำว่า รูปทต่ี ัดได้นี้ มีลกั ษณะเปน็ รปู ท่ีมีแกนสมมาตร โดยมรี อยพับเป็นแกนสมมาตร 5. ครนู ำกระดาษท่ีตัดเปน็ รปู ทไ่ี ม่มีแกนสมมาตร เช่น บวั รดน้ำ ใหน้ กั เรยี นสังเกตวา่ ทั้งสองขา้ งของรปู มี ลกั ษณะเหมือนกนั หรือไม่ (ไม่เหมอื นกนั ) และนักเรียนคิดว่า จะสามารถพบั รูปแลว้ ทำให้ทัง้ สองข้างของรูปทับกัน สนทิ ไดห้ รือไม่ จากน้นั ใหต้ ัวแทนนักเรยี นออกมาพบั รูปบัวรดน้ำดงั กล่าวให้เพ่ือนๆ ดู แลว้ บอกผลการพบั ครูถาม นักเรียนว่า รูปบัวรดนำ้ นเ้ี ป็นรูปท่มี แี กนสมมาตรหรือไม่ (ไมม่ )ี เพราะเหตุใด (ไม่สามารถพับรูปแล้วทำใหท้ ั้งสอง ขา้ งของรอยพบั ทบั กนั สนทิ ) 6. ครแู บง่ นักเรยี นเปน็ กล่มุ กลุ่มละ 4 – 5 คน โดยคละความสามารถ ครูจัดกจิ กรรมพบั กระดาษโดยแจก กระดาษรูปสามเหล่ียมหน้าจัว่ รปู ส่เี หล่ยี มมุมฉาก รูปหา้ มเหลีย่ มด้านเท่า รปู หกเหลย่ี มด้านเทา่ รปู แปดเหลี่ยม ดา้ นเท่า วงกลม และวงรที ม่ี ีเส้นประแสดงรอยพับให้นักเรยี นทุกคนในกลุ่ม ใหน้ กั เรียนพับตามรอยเส้นประและให้ สังเกตแตล่ ะข้างของรอยพบั ของรูปเรขาคณิตสองมิติแตล่ ะรปู แลว้ ใหบ้ อกผลการสงั เกต ซึ่งควรจะได้วา่ แตล่ ะขา้ ง ของรอยพบั ทบั กนั สนิทพอดี ครถู ามวา่ รูปเรขาคณติ สองมิตทิ พ่ี บั ท้งั หมดนเ้ี ปน็ รปู ที่มีแกนสมมาตรหรือไม่ (เปน็ รูป ท่ีมีแกนสมมาตร) เพราะเหตุใด (เพราะเมือ่ พบั ตามรอยเสน้ ประ ทำให้ท้ังสองขา้ งของรปู ทบั กันสนทิ ) ให้นักเรียน ทกุ คนชแ้ี กนสมมาตรของรปู นน้ั ชั่วโมงที่ 2 ขั้นตอนที่ 2 : เรียนรู้ 7. ครแู จกกระดาษรูปสเ่ี หลีย่ มดา้ นขนาน รปู สามเหล่ียมดา้ นไมเ่ ทา่ รูปส่เี หลยี่ มคางหมู (ทไ่ี ม่ใชร่ ูป สเี่ หลีย่ มคางหมหู นา้ จ่วั ) รูปหา้ เหลย่ี ม รูปหกเหลี่ยม รูปแปดเหล่ยี ม ทีไ่ ม่ใช่รูปหลายเหลย่ี มดา้ นเทา่ มมุ เทา่ ท่ีมี เสน้ ประแสดงรอยพบั ใหน้ ักเรียนทกุ คนในกลุ่ม แล้วใหน้ กั เรยี นพับตามรอยเสน้ ประ และใหส้ ังเกตวา่ แตล่ ะขา้ งของ รอยพบั ทับสนิทหรือไม่ แลว้ ให้บอกผลการสังเกต ซง่ึ ควรจะไดว้ า่ แต่ละขา้ งของรอยพับไม่ทับกันสนิท ครถู ามวา่ รปู เรขาคณติ สองมิตทิ ่ีพับทั้งหมดนเ้ี ป็นรูปท่ีมีแกนสมมาตรหรือไม่ (เปน็ รปู ทไี่ มม่ ีแกนสมมาตร) เพราะเหตุใด (เพราะเมอ่ื พบั ตามรอยเสน้ ประ แล้วท้งั สองขา้ งของรูปไม่ทับกนั สนทิ ) ใหน้ ักเรียนทกุ คนช้ีแกนสมมาตรของรปู นน้ั ขน้ั ตอนท่ี 3 : การฝึก 8. ครใู ห้นกั เรียนฝึกหารปู ทม่ี แี กนสมมาตร เม่อื เสร็จแล้วให้นกั เรียนช่วยกนั ตรวจสอบความถูกต้อง จากน้ันครแู ละนกั เรยี นร่วมกันเฉลยกจิ กรรมในหนงั สือเรียน ขนั้ ตอนท่ี 4 : การสรุป 9. ครูใหน้ ักเรยี นร่วมกันอภปิ รายเพ่อื นำไปสู่ข้อสรปุ ท่วี ่า รูปหลายเหลี่ยมบางรปู เป็นรูปท่มี แี กนสมมาตร บางรปู เป็นรปู ท่ไี มม่ ีแกนสมมาตร สง่ วงกลมและวงรเี ปน็ รปู ท่ีมแี กนสมมาตร

ข้นั ตอนที่ 5 : การประยุกตใ์ ชท้ นั ที 10. ครใู ห้นกั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน 8. การวดั ผลและประเมินผล การวัดผล 1. สงั เกตความมวี ินยั ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมน่ั ในการทำงาน 2. แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ สสวท. 3. สังเกตการทำงาน 4. แบบทดสอบกอ่ นเรียน การประเมินผล 1. ถือเกณฑ์ผ่านจากการสงั เกตพฤตกิ รรมสำหรบั ผ้ทู ี่ได้ระดบั คุณภาพตั้งแต่ 2 ข้ึนไป 2. ถือเกณฑผ์ า่ นสำหรับผู้ท่ที ำแบบฝึกหดั คณติ ศาสตร์ สสวท. ไดร้ ะดบั คุณภาพตงั้ แต่ 2 ขน้ึ ไป 3. ถอื เกณฑผ์ ่านสำหรบั ผู้ทท่ี ำงานได้ระดับคุณภาพตง้ั แต่ 2 ขึน้ ไป 4. ถือเกณฑผ์ ่านสำหรับผู้ที่ทำงานทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นไดร้ อ้ ยละ 60 ขน้ึ ไป 9. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้ 1. คลปิ การสอนพวงมโหตร 2. แบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ สสวท. 3. แบบทดสอบก่อนเรียน

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 2 กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ วิชาคณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3 เวลา 5 ชั่วโมง หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 รปู เรขาคณิต เวลา 3 ชั่วโมง เรื่องการประยุกต์ใชร้ ูปท่ีมีแกนสมมาตร 1. สาระสำคัญ รปู ทีเ่ มอื่ พับแล้ว แตล่ ะขา้ งของรอยพบั ทับกันสนทิ เปน็ การประยุกต์ใช้รูปที่มีแกนสมมาตร รอยดบั นี้เปน็ แกนสมมาตรการประยุกต์ใช้รูปทม่ี ีแกนสมมาตรบางการประยุกต์ใช้รูปท่ีมแี กนสมมาตรมากกวา่ 1 แกน 2. ตวั ช้วี ดั ค 2.2 ป.3/1 : ระบุรปู เรขาคณติ สองมติ ิท่มี แี กนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกลักษณะของรปู เรขาคณิตที่มีแกนสมมาตรได้ (K) 2. สรา้ งรูปสมมาตรและระบุจำนวนแกนสมมาตรของรปู สมมาตรได้ (P) 3. นำความร้เู ก่ยี วกับการประยุกต์ใช้รปู ที่มีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตรไปใช้แกป้ ญั หาทาง คณติ ศาสตร์ (A) 4. สาระการเรยี นรู้ 1. การประยกุ ตใ์ ชร้ ูปทีม่ ีแกนสมมาตร 5. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น 1. ความสามารถในการแก้ปัญหา 6. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ใฝ่เรยี นรู้ 2. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1 ขน้ั ตอนท่ี 1 : เตรยี มความพร้อม 1. ครูให้นักเรียนท่องสูตรคูณโดยใช้แก้วและตาราง 9 ช่องประกอบการท่องสูตรคูณ หลังจากนั้นให้ นกั เรยี นคิดเลขเรว็ จำนวน 3 ขอ้ และทดสอบก่อนเรยี น ข้ันตอนท่ี 2 : เรียนรู้ 2. ครูนำภาพในชวี ิตจรงิ ท่มี ลี ักษณะเป็นภาพทม่ี ีแกนสมมาตร เช่น ภาพลายกระจัง ภาพลายเหลก็ ดดั ภาพลายกระเบ้อื ง ภาพลายผา้ ฯลฯ ใหน้ ักเรยี นดู แลว้ ชใ้ี ห้นักเรียนสงั เกตว่าทั้งสองข้างของแตล่ ะภาพมีลักษณะ เหมือนกัน ครสู นทนาเพ่มิ เติมว่า เราสามารถสร้างภาพที่มีลักษณะของลวดลายดังกลา่ วได้ 3. ครูใหต้ ัวแทนกล่มุ 2 คน แสดงการพับกระดาษรูปสีเ่ หล่ียมจัตุรัสและรูปสเี่ หลย่ี มผืนผ้า เพ่อื หาแกน สมมาตร และให้ขีดเสน้ ตามรอยพบั เพ่ือแสดงแกนสมมาตร ครูแนะนำว่าควรลองพบั หลายๆ แนวแลว้ นำเสนอโดย ระบุจำนวนแกนสมมาตรของแตล่ ะรปู ซึง่ จะไดด้ ังนี้

มีแกนสมมาตร 2 แกน มีแกนสมมาตร 4 แกน 4. ครูใหแ้ ต่ละกลุ่มทำกิจกรรมสำรวจรปู ทม่ี แี กนสมมาตร โดยแจกกระดาษที่ตัดเปน็ รปู เรขาคณติ สองมติ ิ และรูปอ่ืนๆ ทีม่ ีลกั ษณะเป็นรปู ทีม่ ีแกนสมมาตรและรูปทีไ่ ม่มแี กนสมมาตร เชน่ รปู ดาว 5 แฉก รปู ตัวอกั ษร H, T, O, S, Y, M, N, A, X, Z เป็นตน้ ถ้าพบวา่ เป็นรปู ทม่ี แี กนสมมาตรให้ขีดเส้นแสดงแกนสมมาตรทกุ เส้น พรอ้ ม นำเสนอโดยแสดงวธิ พี บั ประกอบการอธิบาย (แต่ละกลมุ่ ได้รูปทีแ่ ตกตา่ งกนั กลมุ่ ละ 5 รูป) พร้อมระบจุ ำนวนแกน สมมาตรของแต่ละรูป 5. ครูตดิ รปู หลายเหลย่ี มที่มเี สน้ ประเปน็ แกนสมมาตรบนกระดาน 3 – 4 รูป แลว้ ให้ตวั แทนนักเรียน ออกมาตอ่ เติมรูปใหส้ มบูรณ์ เช่น ชั่วโมงท่ี 2 ขนั้ ตอนที่ 3 : การฝกึ 6. ครูใหน้ กั เรยี นแบง่ กลุม่ 4 – 5 คน ศกึ ษาการทำพวงมโหตรการประยุกต์ใช้รปู ท่ีมีแกนสมมาตร จาก คลปิ การสอนที่ครูผู้สอนจัดทำขึน้ ชวั่ โมงที่ 3 ขั้นตอนที่ 4 : การสรุป 7. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั สรุปสงิ่ ทไี่ ด้เรียนรู้ร่วมกนั ดังน้ี - รูปที่มีแกนสมมาตรกับรูปที่ไม่มีแกนสมมาตร มลี กั ษณะแตกตา่ งกันอย่างไร (รปู ทม่ี ีแกนสมมาตรจะ สามารถพับรูปแลว้ ทำใหท้ ัง้ สองขา้ งของรอยพบั ทับกันสนิท แต่รปู ทไี่ ม่มแี กนสมมาตรจะไม่สามารถพับรปู แลว้ ทำ ใหท้ ัง้ สองข้างของรอยพบั ทับกนั สนทิ ) - รปู ทมี่ ีแกนสมมาตรจะมแี กนสมมาตรไดน้ ้อยทส่ี ดุ ก่ีแกน และมากท่สี ุดกี่แกน พรอ้ มบอกตวั อย่าง ประกอบ (รปู ทีม่ ีแกนสมมาตรจะมแี กนสมมาตรไดน้ ้อยที่สดุ 1 แกน เช่น รูปสามเหลย่ี มบางชนิด (รูปสามเหล่ยี ม หน้าจัว่ ) รูปส่เี หลยี่ มบางชนิด (รูปสเ่ี หลยี่ มรูปวา่ ว) รูปคน รปู ผเี ส้ือ เป็นต้น และจะมแี กนสมมาตรไดม้ ากที่สุด มากมายนับไมถ่ ว้ น เช่น วงกลม) - คำกล่าวท่วี ่า “รูปหลายเหลี่ยมทกุ รูปเปน็ รปู ท่มี ีแกนสมมาตร” เป็นจริงหรือไม่ เพราะเหตุใด (ไมจ่ รงิ เพราะมรี ปู หลายเลี่ยมบางรูปทีไ่ ม่มแี กนสมมาตร เช่น รูปหา้ มเหล่ียมบางรูป) ขน้ั ตอนที่ 5 : การประยกุ ตใ์ ช้ทันที 8. ครใู หน้ กั เรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียน

8. การวัดและประเมนิ ผล การวัดผล 1. สังเกตความมวี นิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ และมงุ่ มน่ั ในการทำงาน 2. แบบฝกึ หดั คณติ ศาสตร์ สสวท. 3. สงั เกตการทำงาน การประเมนิ ผล 1. ถือเกณฑผ์ า่ นจากการสังเกตพฤติกรรมสำหรับผทู้ ่ีได้ระดับคุณภาพต้ังแต่ ๒ ข้ึนไป 2. ถือเกณฑผ์ ่านสำหรับผทู้ ่ีทำแบบฝกึ หดั คณิตศาสตร์ สสวท. ไดร้ ะดบั คุณภาพตั้งแต่ ๒ ขนึ้ ไป 3. ถือเกณฑ์ผา่ นสำหรบั ผู้ทีท่ ำงานไดร้ ะดับคุณภาพตั้งแต่ ๒ ข้ึนไป 9. ส่ือ/แหล่งการเรยี นรู้ 1. แบบฝกึ หดั คณิตศาสตร์ สสวท. 2. แบบทดสอบหลงั เรยี น 3. คลิปการสอนทำพวงมโหตร

ภาคผนวก -รปู ดาเนนิ การจดั การเรยี นรู้ -แบบประเมนิ ฯ

พ.น./วก. 02 โรงเรียนวัดพืชนิมติ (คำสวสั ดริ์ าษฎร์บำรุง) แบบประเมินหน่วยการจัดการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 5 เร่ืองรูปเรขาคณติ เวลาท่ีใช้ 5 ชั่วโมง รหสั วิชา ค13101 รายวิชาคณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ครผู สู้ อน นางสาวจริ ะพนั ธุ์ ปากวเิ ศษ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ระดบั การประเมนิ มีความสอดคล้อง/เช่อื มโยง/เหมาะสม 5 หมายถึง มากสุดท่สี ดุ 4 หมายถงึ มาก 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง นอ้ ย 1 หมายถงึ น้อยทสี่ ดุ ขอ้ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน ท่ี 54321 1 ชอ่ื หน่วยการเรียนร้นู ่าสนใจ กะทัดรดั ชดั เจน ครอบคลุมเน้ือหาสาระ 2 มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั /ผลการเรียนร/ู้ สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์มคี วามเชื่อมโยงกันอย่างเหมาะสม 3 ความสอดคล้องของสาระสำคัญ/ความคิดรวบยอดกับมาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชี้วัด/ผล การเรยี นรู้ 4 ความสอดคล้องของสาระสำคัญ/ความคิดรวบยอดกับสาระการเรียนรู้ 5 ความเชอ่ื มโยงสมั พนั ธ์กนั ระหวา่ งชื่อหนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชวี้ ัด / ผลการเรียนรูส้ าระสำคัญ/ความคิดรวบยอดสาระการเรยี นรแู้ ละกิจกรรมการเรยี นรู้ 6 กจิ กรรมการเรยี นรูส้ อดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ช้วี ดั /ผลการเรยี นรู้และสาระการ เรียนรู้ 7 กิจกรรมการเรียนรู้มคี วามครอบคลมุ ในการพัฒนาผเู้ รียนให้มีความรู้ทักษะ/กระบวนการ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 8 กิจกรรมการเรียนรู้มคี วามเหมาะสมสามารถนำผูเ้ รยี นไปส่กู ารสรา้ งช้นิ งาน/ภาระงาน 9 มกี ารประเมินผลตามสภาพจริงและสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้วี ัด/กิจกรรม การเรยี นรู้ 10 ประเด็นและเกณฑ์การประเมินสามารถสะท้อนคุณภาพผ้เู รียนตามมาตรฐานการเรียนรู้/ ตวั ชี้วัด/ผลการเรียนรู้ 11 สอ่ื การเรยี นรูใ้ นแต่ละกิจกรรม มีความเหมาะสมกบั เวลาและการนำไปประยุกต์ใชไ้ ด้จริง 12 กำหนดเวลาได้เหมาะสมกบั กิจกรรม และสามารถนำไปปฏบิ ัตจิ ริงได้ ขอ้ เสนอแนะ .................................................................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................... ............................................................ ................................................................................................................................................................................................. ลงชอื่ .................................................................. (นางสาวแพรวรุง่ ศรปี ระภา) ผู้ประเมนิ

พ.น./วก. 02 โรงเรยี นวดั พืชนมิ ิต (คำสวสั ดร์ิ าษฎรบ์ ำรงุ ) แบบประเมนิ หน่วยการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 5 เร่ืองรูปเรขาคณิต เวลาท่ใี ช้ 5 ชั่วโมง รหัสวิชา ค13101 รายวชิ าคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 3 ครูผู้สอน นางสาวจิระพนั ธุ์ ปากวเิ ศษ กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ระดับการประเมิน มคี วามสอดคล้อง/เชือ่ มโยง/เหมาะสม 5 หมายถงึ มากสุดท่ีสุด 4 หมายถงึ มาก 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง นอ้ ย 1 หมายถงึ นอ้ ยท่สี ุด ข้อ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน ท่ี 54321 1 ชอื่ หน่วยการเรียนรนู้ า่ สนใจ กะทัดรดั ชดั เจน ครอบคลุมเนื้อหาสาระ 2 มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วดั /ผลการเรยี นร/ู้ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน และคณุ ลักษณะอันพึงประสงคม์ ีความเชื่อมโยงกนั อย่างเหมาะสม 3 ความสอดคล้องของสาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอดกับมาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ช้ีวดั /ผล การเรยี นรู้ 4 ความสอดคล้องของสาระสำคัญ/ความคิดรวบยอดกบั สาระการเรียนรู้ 5 ความเช่อื มโยงสมั พนั ธ์กันระหวา่ งชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวช้วี ดั / ผลการเรยี นรู้สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอดสาระการเรียนรแู้ ละกิจกรรมการเรยี นรู้ 6 กจิ กรรมการเรยี นรู้สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ชว้ี ดั /ผลการเรยี นรู้และสาระการ เรยี นรู้ 7 กิจกรรมการเรยี นรูม้ คี วามครอบคลุมในการพัฒนาผเู้ รียนให้มคี วามร้ทู ักษะ/กระบวนการ สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 8 กจิ กรรมการเรียนร้มู คี วามเหมาะสมสามารถนำผู้เรียนไปสูก่ ารสร้างชน้ิ งาน/ภาระงาน 9 มกี ารประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ และสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ช้วี ัด/กจิ กรรม การเรยี นรู้ 10 ประเด็นและเกณฑก์ ารประเมินสามารถสะท้อนคุณภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวชวี้ ดั /ผลการเรียนรู้ 11 สอื่ การเรียนรใู้ นแต่ละกิจกรรม มคี วามเหมาะสมกบั เวลาและการนำไปประยุกต์ใช้ไดจ้ รงิ 12 กำหนดเวลาได้เหมาะสมกบั กิจกรรม และสามารถนำไปปฏบิ ัตจิ รงิ ได้ ข้อเสนอแนะ .......................................................................................................................................... ........................................................ ................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................. ลงชื่อ.................................................................. (นางสาวสวุ ดี กาญจนาภา) ผ้ปู ระเมิน

พ.น./วก. 02 โรงเรียนวัดพืชนิมติ (คำสวัสดริ์ าษฎรบ์ ำรุง) แบบประเมนิ หน่วยการจดั การเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เร่ืองรปู เรขาคณิต เวลาท่ใี ช้ 5 ช่ัวโมง รหสั วิชา ค13101 รายวิชาคณติ ศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 ครผู ู้สอน นางสาวจิระพันธุ์ ปากวเิ ศษ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ระดบั การประเมนิ มคี วามสอดคล้อง/เช่ือมโยง/เหมาะสม 5 หมายถงึ มากสดุ ท่ีสุด 4 หมายถงึ มาก 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถงึ น้อย 1 หมายถงึ นอ้ ยทส่ี ดุ ขอ้ รายการประเมิน ระดบั คะแนน ท่ี 54321 1 ช่อื หน่วยการเรยี นรู้นา่ สนใจ กะทัดรดั ชัดเจน ครอบคลุมเนื้อหาสาระ 2 มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ดั /ผลการเรยี นรู/้ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น และคุณลักษณะอันพึงประสงคม์ ีความเช่ือมโยงกันอยา่ งเหมาะสม 3 ความสอดคล้องของสาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอดกับมาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวช้ีวัด/ผล การเรียนรู้ 4 ความสอดคล้องของสาระสำคัญ/ความคิดรวบยอดกบั สาระการเรยี นรู้ 5 ความเชอื่ มโยงสมั พนั ธ์กนั ระหว่างชอ่ื หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชวี้ ัด / ผลการเรยี นรูส้ าระสำคญั /ความคดิ รวบยอดสาระการเรียนรู้และกจิ กรรมการเรียนรู้ 6 กจิ กรรมการเรยี นรู้สอดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชี้วดั /ผลการเรยี นรู้และสาระการ เรียนรู้ 7 กิจกรรมการเรยี นรมู้ ีความครอบคลมุ ในการพฒั นาผู้เรียนใหม้ ีความร้ทู ักษะ/กระบวนการ สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 8 กจิ กรรมการเรยี นรู้มีความเหมาะสมสามารถนำผเู้ รยี นไปส่กู ารสร้างชน้ิ งาน/ภาระงาน 9 มีการประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ และสอดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วดั /กิจกรรม การเรียนรู้ 10 ประเด็นและเกณฑก์ ารประเมินสามารถสะท้อนคณุ ภาพผเู้ รียนตามมาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ 11 สอ่ื การเรียนรูใ้ นแตล่ ะกิจกรรม มีความเหมาะสมกบั เวลาและการนำไปประยุกตใ์ ช้ได้จริง 12 กำหนดเวลาไดเ้ หมาะสมกบั กิจกรรม และสามารถนำไปปฏิบัตจิ รงิ ได้ ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. ..................................................................... ............................................................................................................................................ ....................................................... ................................................................................................................................................................................................. ลงชื่อ.................................................................. (นางสาวกันยาภัทร ภัทรโสตถ)ิ ผปู้ ระเมิน

พ.น./วก. 03 โรงเรียนวัดพชื นมิ ิต (คำสวสั ด์ิราษฎร์บำรุง) สรุปผลการประเมนิ หน่วยการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 5 เร่ืองรปู เรขาคณิต เวลาทใ่ี ช้ 5 ช่ัวโมง รหัสวชิ า ค13101 รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 ครูผูส้ อน นางสาวจริ ะพนั ธุ์ ปากวเิ ศษ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- แบบประเมินหนว่ ยการเรยี นรู้ ซึ่งเป็นแบบมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating Scale) จำนวน 12 ขอ้ มรี ะดับการประเมนิ 5 ระดับ คอื 5 หมายถงึ มคี วามสอดคล้อง/เช่อื มโยง/เหมาะสม มากท่ีสุด 4 หมายถึง มีความสอดคล้อง/เชือ่ มโยง/เหมาะสม มาก 3 หมายถงึ มีความสอดคล้อง/เชือ่ มโยง/เหมาะสม ปานกลาง 2 หมายถึง มีความสอดคล้อง/เช่ือมโยง/เหมาะสม นอ้ ย 1 หมายถงึ มคี วามสอดคล้อง/เช่ือมโยง/เหมาะสม น้อยที่สดุ ซง่ึ ถือเกณฑ์ในการแปลความหมายของคา่ เฉลยี่ ดังน้ี 4.50 – 5.00 หมายความวา่ มีความสอดคล้อง/เชอ่ื มโยง/เหมาะสม มากท่ีสดุ 3.50 – 4.49 หมายความวา่ มีความสอดคล้อง/เชือ่ มโยง/เหมาะสม มาก 2.50 – 3.49 หมายความว่า มคี วามสอดคลอ้ ง/เชอ่ื มโยง/เหมาะสม ปานกลาง 1.50 – 2.49 หมายความว่า มคี วามสอดคลอ้ ง/เชอ่ื มโยง/เหมาะสม นอ้ ย 1.00 – 1.49 หมายความวา่ มีความสอดคลอ้ ง/เช่ือมโยง/เหมาะสม น้อยท่ีสดุ คะแนนของผปู้ ระเมนิ คา่ การแปล ขอ้ ที่ รายการประเมนิ คนท่ี คนท่ี คนท่ี เฉลี่ย ความหมาย 123 1 ชือ่ หนว่ ยการเรยี นร้นู า่ สนใจ กะทัดรดั ชดั เจน ครอบคลุมเนอื้ หา สาระ 2 มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ช้วี ดั /ผลการเรียนร/ู้ สมรรถนะสำคัญของ ผู้เรียน และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์มีความเชือ่ มโยงกันอยา่ ง เหมาะสม 3 ความสอดคล้องของสาระสำคัญ/ความคิดรวบยอดกบั มาตรฐาน การเรียนร/ู้ ตวั ชี้วัด/ผลการเรียนรู้ 4 ความสอดคล้องของสาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอดกบั สาระการ เรยี นรู้ 5 ความเช่ือมโยงสัมพนั ธก์ นั ระหวา่ งชอื่ หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐาน การเรียนร/ู้ ตัวชี้วัด /ผลการเรยี นรูส้ าระสำคญั /ความคิดรวบยอด สาระการเรียนรแู้ ละกิจกรรมการเรียนรู้ 6 กจิ กรรมการเรียนรสู้ อดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชี้วดั /ผล การเรยี นรแู้ ละสาระการเรยี นรู้

-2- คะแนนของผูป้ ระเมิน คา่ การแปล ขอ้ ท่ี รายการประเมิน คนท่ี คนที่ คนท่ี เฉลย่ี ความหมาย 123 7 กิจกรรมการเรียนรู้มีความครอบคลมุ ในการพัฒนาผเู้ รียนใหม้ ี ความรูท้ กั ษะ/กระบวนการ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น และ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 8 กจิ กรรมการเรยี นรูม้ ีความเหมาะสมสามารถนำผเู้ รียนไปสกู่ าร สร้างช้นิ งาน/ภาระงาน 9 มกี ารประเมินผลตามสภาพจริงและสอดคล้องกับมาตรฐานการ เรียนรู/้ ตัวชีว้ ัด/กิจกรรมการเรยี นรู้ 10 ประเด็นและเกณฑก์ ารประเมินสามารถสะท้อนคณุ ภาพผเู้ รียนตาม มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ชวี้ ดั /ผลการเรียนรู้ 11 สอ่ื การเรยี นรู้ในแตล่ ะกจิ กรรม มคี วามเหมาะสมกับเวลาและการ นำไปประยุกตใ์ ช้ไดจ้ รงิ 12 กำหนดเวลาได้เหมาะสมกบั กิจกรรม และสามารถนำไปปฏบิ ัตจิ ริง ได้ ภาพรวม สรุปผลการประเมนิ  ผ่าน (ความสอดคลอ้ ง/เช่อื มโยง/เหมาะสมต้ังแตร่ ะดับปานกลางข้ึนไป)  ผ่าน (ความสอดคล้อง/เช่ือมโยง/เหมาะสมต่ำกวา่ ระดบั ปานกลาง) ลงชอ่ื .......................................... (นางสาวกนั ยาภทั ร ภัทรโสตถิ) ประธานกรรมการ ลงชอ่ื .......................................... ลงชื่อ.......................................... (นางสาวสุวดี กาญจนาภา) (นางสาวแพรวรุ่ง ศรีประภา) กรรมการ กรรมการ

พ.น./วก. 04 โรงเรยี นวดั พชื นมิ ิต (คำสวสั ด์ิราษฎรบ์ ำรุง) แบบประเมินแผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เร่ืองรปู เรขาคณติ เวลาทใ่ี ช้ 5 ช่ัวโมง รหัสวิชา ค13101 รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 ครูผู้สอน นางสาวจิระพันธ์ุ ปากวิเศษ กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ระดับการประเมิน 5 หมายถึง มีความเหมาะสมในระดับ ดมี าก 4 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมในระดับ ดี 3 หมายถึง มีความเหมาะสมในระดับ ปานกลาง 2 หมายถงึ มีความเหมาะสมในระดับ พอใช้ 1 หมายถึง มคี วามเหมาะสมในระดบั ปรบั ปรุง ข้อที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 54321 1 แผนการจดั การเรียนรู้สอดคล้องสมั พันธก์ บั หน่วยการเรียนรทู้ ี่กำหนดไว้ 2 แผนการจดั การเรยี นรู้มีองค์ประกอบสำคญั ครบถ้วนสัมพันธ์กัน 3 การเขยี นสาระสำคัญในแผนถูกต้อง 4 จุดประสงค์การเรียนรูม้ ีความชดั เจนครอบคลมุ เนื้อหาสาระ 5 กำหนดเน้อื หาสาระเหมาะสมกบั เวลา 6 กิจกรรมการเรยี นรู้สอดคล้องกับจดุ ประสงคแ์ ละเนื้อหาสาระ 7 กิจกรรมการเรียนรู้สอดคลอ้ งกบั จุดประสงคแ์ ละระดบั ชัน้ ของนกั เรยี น 8 กิจกรรมการเรยี นรู้มีความหลากหลายและสามารถปฏบิ ัตไิ ด้จริง 9 กจิ กรรมการเรยี นรู้เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมกระบวนการคิดของนักเรยี น 10 กิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องแทรกคุณธรรมและค่านยิ มท่ีดีงาม 11 กจิ กรรมการเรียนรูเ้ น้นให้ผูเ้ รียนมีสว่ นร่วมในช้ันเรยี น 12 วสั ดุอปุ กรณ์ สอื่ นวตั กรรมและเทคโนโลยีมคี วามหลากหลาย 13 วสั ดอุ ุปกรณ์ ส่อื และแหลง่ เรยี นร้เู หมาะสมกับเนอื้ หาสาระ 14 ส่งเสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นค้นควา้ หาความรู้ จากแหล่งเรียนรตู้ ่างๆ 15 มีการวดั และประเมนิ ผลทสี่ อดคล้องกับจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

-2- ขอ้ เสนอแนะ ด้านเน้ือหาสาระ........................................................................................................................... ............................ ........................................................................................ ....................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................................. ............................................................................................................................. .................................................................. ด้านกิจกรรมการเรยี นการสอน................................................................................................................................ .......................................................................................................................... ..................................................................... ............................................................................................................................. .................................................................. .................................................................................................................................... ........................................................... ดา้ นการวดั และประเมินผล...................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................................. ............................................................................................................................. .................................................................. ................................................................................................................................................................... ............................ ดา้ นอน่ื ๆ (โปรดระบุ)............................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................................................. .............................................................................................................................. ................................................................. .............................................................................................................................................................................................. . (ลงช่ือ)..................................................ผ้ปู ระเมิน (นางสาวแพรวรุ่ง ศรีประภา) ............./.................../............. ส่งิ ทีไ่ ด้ดำเนนิ การแกไ้ ข ............................................................................................................................. .................................................................. ............................................................................................................................. .................................................................. .............................................................................................................................................................................. ................. (ลงช่ือ)..................................................ผ้สู อน (นางสาวจิระพันธุ์ ปากวเิ ศษ) ............./.................../............

พ.น./วก. 04 โรงเรยี นวดั พืชนิมิต (คำสวัสดริ์ าษฎรบ์ ำรุง) แบบประเมินแผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 5 เร่ืองรปู เรขาคณิต เวลาทใ่ี ช้ 5 ช่ัวโมง รหัสวิชา ค13101 รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 ครูผู้สอน นางสาวจริ ะพันธุ์ ปากวเิ ศษ กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ระดับการประเมนิ 5 หมายถึง มคี วามเหมาะสมในระดบั ดีมาก 4 หมายถงึ มีความเหมาะสมในระดบั ดี 3 หมายถึง มีความเหมาะสมในระดบั ปานกลาง 2 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมในระดับ พอใช้ 1 หมายถงึ มีความเหมาะสมในระดับ ปรับปรุง ข้อที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 54321 1 แผนการจดั การเรยี นร้สู อดคล้องสมั พนั ธ์กบั หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่กำหนดไว้ 2 แผนการจัดการเรียนรู้มอี งคป์ ระกอบสำคญั ครบถ้วนสัมพันธ์กัน 3 การเขียนสาระสำคญั ในแผนถูกตอ้ ง 4 จุดประสงค์การเรียนรมู้ ีความชดั เจนครอบคลุมเน้ือหาสาระ 5 กำหนดเนอ้ื หาสาระเหมาะสมกบั เวลา 6 กิจกรรมการเรยี นรสู้ อดคลอ้ งกบั จุดประสงคแ์ ละเนื้อหาสาระ 7 กิจกรรมการเรยี นรู้สอดคลอ้ งกับจุดประสงค์และระดบั ช้ันของนกั เรยี น 8 กิจกรรมการเรียนรมู้ ีความหลากหลายและสามารถปฏบิ ตั ไิ ด้จริง 9 กจิ กรรมการเรียนรู้เป็นกิจกรรมท่สี ่งเสริมกระบวนการคิดของนักเรยี น 10 กจิ กรรมการเรียนรสู้ อดคลอ้ งแทรกคุณธรรมและค่านยิ มท่ีดีงาม 11 กจิ กรรมการเรยี นรูเ้ นน้ ใหผ้ ้เู รียนมีสว่ นรว่ มในช้ันเรยี น 12 วสั ดอุ ปุ กรณ์ สอื่ นวตั กรรมและเทคโนโลยมี คี วามหลากหลาย 13 วสั ดอุ ปุ กรณ์ ส่อื และแหลง่ เรยี นร้เู หมาะสมกับเน้อื หาสาระ 14 ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นคน้ ควา้ หาความรู้ จากแหล่งเรียนรูต้ ่างๆ 15 มกี ารวัดและประเมนิ ผลท่สี อดคล้องกับจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

-2- ข้อเสนอแนะ ด้านเนอื้ หาสาระ....................................................................................................................................................... ........................................................................................ ................................................. ...................................................... ............................................................................................................................. .................................................................. ...................................................................................................................................... ......................................................... ด้านกจิ กรรมการเรียนการสอน................................................................................................................................ .......................................................................................................................... ..................................................................... ............................................................................................................................. .................................................................. ........................................................................................................................................................................ ....................... ดา้ นการวดั และประเมินผล...................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................................. ....................................................................................................................................... ........................................................ ............................................................................................................................................................................................... ด้านอ่นื ๆ (โปรดระบุ)............................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................................................. .................................................................................................................................................................. ............................. ............................................................................................................................................................................................... (ลงช่ือ)..................................................ผปู้ ระเมนิ (นางสาวสวุ ดี กาญจนาภา) ............./.................../............. ส่ิงท่ีได้ดำเนนิ การแกไ้ ข ............................................................................................................................. .................................................................. ............................................................................................................................................................................................. .. ........................................................................................ ........................................ ............................................................... (ลงชอ่ื )..................................................ผสู้ อน (นางสาวจริ ะพนั ธุ์ ปากวเิ ศษ) ............./.................../............

พ.น./วก. 04 โรงเรยี นวัดพชื นิมิต (คำสวสั ดริ์ าษฎรบ์ ำรุง) แบบประเมนิ แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เร่ืองรปู เรขาคณติ เวลาทใ่ี ช้ 5 ช่ัวโมง รหัสวิชา ค13101 รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 ครูผู้สอน นางสาวจิระพันธ์ุ ปากวิเศษ กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ระดับการประเมิน 5 หมายถึง มีความเหมาะสมในระดับ ดีมาก 4 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมในระดับ ดี 3 หมายถึง มีความเหมาะสมในระดบั ปานกลาง 2 หมายถงึ มีความเหมาะสมในระดบั พอใช้ 1 หมายถึง มคี วามเหมาะสมในระดับ ปรับปรุง ข้อที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 54321 1 แผนการจดั การเรียนรู้สอดคล้องสมั พันธก์ ับหนว่ ยการเรียนรทู้ ี่กำหนดไว้ 2 แผนการจดั การเรยี นรู้มีองค์ประกอบสำคญั ครบถ้วนสัมพันธ์กัน 3 การเขยี นสาระสำคัญในแผนถูกต้อง 4 จุดประสงค์การเรียนรูม้ ีความชดั เจนครอบคลุมเน้ือหาสาระ 5 กำหนดเน้อื หาสาระเหมาะสมกบั เวลา 6 กิจกรรมการเรยี นรู้สอดคล้องกับจดุ ประสงคแ์ ละเนื้อหาสาระ 7 กิจกรรมการเรียนรู้สอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์และระดบั ชัน้ ของนกั เรยี น 8 กิจกรรมการเรยี นรู้มีความหลากหลายและสามารถปฏบิ ัตไิ ด้จริง 9 กจิ กรรมการเรยี นรู้เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมกระบวนการคิดของนักเรยี น 10 กิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องแทรกคุณธรรมและค่านยิ มท่ีดีงาม 11 กจิ กรรมการเรียนรูเ้ น้นให้ผูเ้ รียนมีสว่ นร่วมในช้ันเรยี น 12 วสั ดุอปุ กรณ์ สอื่ นวตั กรรมและเทคโนโลยมี คี วามหลากหลาย 13 วสั ดอุ ุปกรณ์ ส่อื และแหลง่ เรยี นรเู้ หมาะสมกับเน้ือหาสาระ 14 ส่งเสรมิ ใหผ้ ูเ้ รยี นค้นควา้ หาความรู้ จากแหล่งเรียนรู้ตา่ งๆ 15 มีการวดั และประเมนิ ผลทสี่ อดคล้องกบั จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

-2- ขอ้ เสนอแนะ ด้านเนอ้ื หาสาระ....................................................................................................................................................... ........................................................................................ ...................................................................................... ................. ............................................................................................................................. .................................................................. ........................................................................................................................................................................... .................... ดา้ นกิจกรรมการเรยี นการสอน................................................................................................................................ .......................................................................................................................... ..................................................................... ............................................................................................................................................. .................................................. ............................................................................................................................................................................................... ดา้ นการวัดและประเมินผล...................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................................................. ............................................................................................................................................................................ ................... ............................................................................................................... ................................................................................ ด้านอืน่ ๆ (โปรดระบุ)............................................................................................................................................. ....................................................................................................................................... ........................................................ ............................................................................................................................................................................................... .................................................... ...................................................................................... ..................................................... (ลงชอ่ื )..................................................ผปู้ ระเมนิ (นางสาวกนั ยาภทั ร ภัทรโสตถิ) ............./.................../............. ส่งิ ทไี่ ดด้ ำเนนิ การแก้ไข ............................................................................................................................. .................................................................. ..................................................................................................................................................................................... .......... ............................................................................................................................................................................................... (ลงชอื่ )..................................................ผสู้ อน (นางสาวจิระพนั ธุ์ ปากวิเศษ) ............./.................../............

พ.น./วก. 05 โรงเรียนวดั พืชนิมิต (คำสวัสด์ิราษฎรบ์ ำรุง) สรปุ ผลการประเมินแผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 5 เรื่องรปู เรขาคณิต เวลาท่ใี ช้ 5 ชั่วโมง รหสั วิชา ค13101 รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ครผู สู้ อน นางสาวจิระพันธุ์ ปากวิเศษ กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ระดับการประเมนิ 5 หมายถงึ มีความเหมาะสมในระดับ ดมี าก 4 หมายถึง มีความเหมาะสมในระดบั ดี 3 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมในระดบั ปานกลาง 2 หมายถงึ มีความเหมาะสมในระดับ นอ้ ย 1 หมายถึง มคี วามเหมาะสมในระดับ นอ้ ยมาก ซง่ึ ถือเกณฑ์ในการแปลความหมายของค่าเฉล่ยี ดังนี้ (ธานินทร์ ศลิ ปะจารุ. 2555:112) 4.50 – 5.00 หมายความวา่ มคี วามเหมาะสมในระดับ ดีมาก 3.50 – 4.49 หมายถึง หมายความวา่ มีความเหมาะสมในระดบั ดี 2.50 – 3.49 หมายถงึ หมายความว่า มีความเหมาะสมในระดบั ปานกลาง 1.50 – 2.49 หมายถึง หมายความวา่ มีความเหมาะสมในระดบั น้อย 1.00 – 1.49 หมายถงึ หมายความว่า มีความเหมาะสมในระดบั น้อยมาก ขอ้ ท่ี รายการประเมนิ คะแนนของผปู้ ระเมิน คา่ การแปล คนท่ี 1 คนท่ี2 คนท่ี 3 เฉลย่ี ความหมาย 1 แผนการจัดการเรียนรูส้ อดคล้องสัมพันธ์กับหน่วยการเรียนรู้ท่ี กำหนดไว้ 2 แผนการจัดการเรียนรู้มอี งค์ประกอบสำคัญครบถว้ นสัมพันธก์ นั 3 การเขยี นสาระสำคญั ในแผนถูกต้อง 4 จดุ ประสงค์การเรยี นร้มู ีความชดั เจนครอบคลุมเนื้อหาสาระ 5 กำหนดเน้ือหาสาระเหมาะสมกับเวลา 6 กิจกรรมการเรียนรูส้ อดคล้องกบั จุดประสงค์และเน้ือหาสาระ 7 กิจกรรมการเรยี นรู้สอดคล้องกบั จดุ ประสงค์และระดับชนั้ ของ นักเรียน 8 กิจกรรมการเรยี นรู้มีความหลากหลายและสามารถปฏิบตั ไิ ด้จริง 9 กิจกรรมการเรยี นรู้เป็นกิจกรรมทส่ี ่งเสรมิ กระบวนการคิดของ นกั เรียน 10 กจิ กรรมการเรียนรู้สอดคล้องแทรกคุณธรรมและคา่ นยิ มท่ีดีงาม 11 กจิ กรรมการเรยี นร้เู น้นใหผ้ ้เู รียนมสี ่วนร่วมในชั้นเรียน 12 วัสดุอุปกรณ์ สื่อ นวตั กรรมและเทคโนโลยีมคี วามหลากหลาย 13 วัสดุอุปกรณ์ ส่อื และแหล่งเรียนรูเ้ หมาะสมกบั เนื้อหาสาระ 14 ส่งเสริมให้ผเู้ รียนคน้ ควา้ หาความรู้ จากแหล่งเรียนรู้ตา่ งๆ 15 มกี ารวัดและประเมนิ ผลทส่ี อดคลอ้ งกบั จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

-2- ขอ้ เสนอแนะ ดา้ นเน้ือหาสาระ............................................................................................................................. ......................... ......................................................................................................... ...................................................................................... ..................................................................... .................................................................................................... ...................... ............................................................................................................................. .................................................................. ด้านกจิ กรรมการเรียนการสอน.............................................................................................................................. ............................................ .................................................................................................... ............................................... ............................................................................................................ ................................................................................... ............................................................................................................................................. .................................................. ดา้ นการวัดและประเมนิ ผล..................................................................................................................................... ............................................................................... .................................................................................................... ............ ............................................................................................................................. .................................................................. ................................................................................................................................................................................ ............... สรปุ ผลการประเมิน  ผ่าน (มีความเหมาะสมตัง้ แต่ระดับปานกลางขึ้นไป)  ไมผ่ า่ น (ความเหมาะสมตำ่ กวา่ ระดบั ปานกลาง) ลงชือ่ .......................................... (นางสาวกนั ยาภทั ร ภทั รโสตถิ) ประธานกรรมการ ลงชื่อ.......................................... ลงช่ือ.......................................... (นางสาวสวุ ดีกาญจนาภา) (นางสาวแพรวรงุ่ ศรปี ระภา) กรรมการ กรรมการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook