Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทรัพยากร ธรรมชาติ (1)

ทรัพยากร ธรรมชาติ (1)

Published by kimnathada, 2022-02-09 06:52:43

Description: ทรัพยากร ธรรมชาติ (1)

Search

Read the Text Version

ทรัพยากร ธรรมชาติ

ทรัพยา กรดิน 1.) สาเหตุของปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน มีสาเหตุ ทั้งที่เกิดจากธรรมชาติและเกิดจากการใช้ที่ดินที่ไม่ถูกต้องตามหลัก วิชาการตัวอย่างของปัญหาเช่นการชะล้างพังทลายของดินดินขาด อินทรีย์และปัญหาที่เกิดจากสภาพธรรมชาติของดินร่วมกับการกระทํา ของมนุษย์เช่นดินเค็มดินเปรี้ยวดินอินทรีย์ (พรุ) ดินทรายจัดและดิน ตื้นพื้นที่ดินที่มีปัญหาต่อการใช้ประโยชน์ทางด้านเกษตรกรรมของ ประเทศไทย 2.) ผลกระทบที่เกิดจากความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดินผล กระทบ ด้านกายภาพ ความเสื่อมโทรมของดินเกิดจากการจัดการที่ดินไม่ เหมาะสมขาดการป้องกันที่ไม่ถูกต้องทำให้มีการชะล้างพังทลาย ของหน้าดินที่เป็นส่วนที่มีความอุดมสมบูรณ์หมดไปหน้าดินที่ถูก ชะล้างจะตกลงไปเป็นตะกอนตามแหล่งน้ำต่างๆ ด้านเศรษฐกิจ ความเสื่อมโทรมของดินส่งผลกระทบโดยตรงต่อ ผลผลิตทางการเกษตรและกระทบต่อเกษตรกร 34 ล้านคน (ร้อย ละ 60 ของประชากรทั้งประเทศ) ซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของ ประเทศจะได้รับผลผลิตต่าเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกษตรกรมีราย ได้ต่ำ ด้านสังคมการที่เกษตรกรมีรายได้ต่ำมีทางเลือกในการหารายได้ น้อยการบุกรุกพื้นที่ป่าไม้ขยายพื้นที่ทำกินเพื่อให้มีรายได้เพียงพอ หรืออพยพเข้าเมืองทั้งถิ่นฐานมาหางานทําในเมือง

3.) แนวทางแก้ไขปัญหาการแก้ไขปัญหา การปลูกหญ้าแฝกเพื่อป้องกันการไถลของดินและให้ดินยึดเกาะไม่ ชะล้างง่าย การปลูกพืชยืนต้นที่มีรากแก้วแข็งแรงริมฝั่ งแม่น้ำ การเพิ่มแร่ธาตุให้ดินโดยใส่ปุ๋ยคอกเศษวัชพืชแกลบการไถพรวน ดินบ่อยๆปลูกพืชคลุมดินการใช้จุลินทรีย์และไส้เดือน 4.) กฎหมาย / นโยบาย / มาตรการที่เกี่ยวข้อง นโยบายป่าไม้แห่งชาติปี พ.ศ. 2528 และแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 ได้กำหนดให้มีพื้นที่ป่าไม้ไม่น้อย กว่าร้อยละ 40 ของพื้นที่ประเทศหรือคิดเป็นพื้นที่ประมาณ 129 ล้านไร่ซึ่งต่ากว่าที่เคยมีการกำหนดไว้ในปีพ. ศ. 2504 ถึงประมาณ ร้อยละ 10 แต่ตลอดเวลาที่ผ่านมา

5.) องค์กร / หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ประเทศไทย) เป็นหน่วยงาน ราชการส่วนกลางประเภทกระทรวงของไทยมีหน้าที่เกี่ยวกับการ สงวนอนุรักษ์และฟื้ นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมการ จัดการการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนและราชการอื่นตามที่กฎหมา ยกําหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม สมาคมดินโลก: (WSA) สมาคมดินโลกได้จัดตั้งขึ้นโดยความเห็น ชอบของกรรมการสมาคมฯ และนายทะเบียนสมาคม กรุงเทพมหานครได้รับจดทะเบียนสมาคมดินโลกทะเบียนเลขที่จ. 5754/2561 เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2561 6.) ยกตัวอย่างข่าวที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับปัญหาทรัพยากรนั้น ๆ วันที่ 12 ม.ค. 2565 มื่อเวลา 9.30 น. พล. อ. ประยุทธ์จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมเป็นประธาน การประชุมคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติครั้งที่ 1/2565 นายกรัฐมนตรีกล่าวว่ารัฐบาลมุ่งเน้นให้ประชาชนใช้ประโยชน์จาก ที่ดินให้สูงสุดซึ่งต้องอาศัยการร่วมมือบูรณาการกันของทุกฝ่ายที่มี ส่วนเกี่ยวข้องเพื่อเร่งให้เกิดการดำเนินการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ตลอดจนเรื่องของการแก้ไขหรือปลดล็อกกฎหมายที่เกี่ยวข้องอีก ด้วย

มลพิษทางน้ำ 1.) สาเหตุที่ก่อให้เกิดมลพิษทางน้ำ เกิดจากน้ำทิ้งและสิ่งปฏิกูลจากแหล่งชุมชน เช่น น้ำที่ใช้ซักฟอก ทำความสะอาดซึ่งส่วนใหญ่มีสารอินทรีย์ปะปนมากับน้ำทิ้งเหล่า นั้นจนทำให้เกิดมลพิษทางน้ำ น้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมหากโรงงานมีการลักลอบปล่อยน้ำ เสียลงในแหล่งน้ำทำให้น้ำเน่าเสียได้ง่ายเพราะมีปริมาณมากและ สารปนเปื้ อนมีอัตราสูง น้ำเสียที่เกิดจากธรรมชาติ อาจเกิดจากการเน่าเสียเมื่อน้ำอยู่ใน สภาพนิ่งไม่มีการไหลเวียนถ่ายเท 2.) ผลกระทบที่เกิดจากมลพิษทางน้ำ กระทบต่อวงจรชีวิตของสัตว์น้ำ เช่นน้ำเสียที่เกิดจากสารพิษอาจ ทำให้ปลาและสิ่งมีชีวิตตายทันที ส่วนน้ำเสียที่เกิดจากออกซิเจน ในน้ำลดต่ำลง อาจทำลายพืชและสัตว์น้ำเล็กๆที่เป็นอาหารของ ปลา ทำให้ความอุดมสมบูรณ์หรือแหล่งอาหารของสัตว์น้ำลดลง มีผลต่อกระทบต่อทัศนียภาพ เพราะความสวยงามของแหล่งน้ำ สามารถใช้เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ หรือจัดกิจกรรมทางน้ำ เพื่อความบันเทิงได้ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศ เช่น มีกลิ่นเหม็นจากน้ำ เน่าเสีย

3.) วิธีป้องกันปัญหามลพิษทางน้ำ ปลูกจิตสำนึกให้กับเยาวชนในการเรียนรู้และเห็นคุณค่าของ การอนุรักษ์น้ำ สร้างจิตสำนึกให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญในการ รักษาคุณภาพของแหล่งน้ำ รณรงค์ให้หน่วยงาน องค์กรต่างๆมีการบำบัดและขจัดสารพิษ ก่อนที่จะปล่อยลงสู่แหล่งน้ำ รณรงค์ให้ช่วยกันลดปริมาณการใช้น้ำ และลดปริมาณขยะใน ครัวเรือน ช่วยกันป้องกันน้ำเน่าเสีย ไม่ทิ้งขยะและสิ่งปฏิกูลหรือสารพิษ ลงในแหล่งน้ำ หรือท่อระบายน้ำ 4.) กฎหมาย / นโยบาย / มาตรการที่เกี่ยวข้อง ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์การให้ ความเห็นชอบให้โรงงานที่ต้องมีระบบบำบัดน้ำเสียต้องติด ตั้งเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษ และเครื่องมือหรือ เครื่องอุปกรณ์เพิ่มเติม พ.ศ. 2550

5.) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการมลพิษทางน้ำ ศูนย์ปฏิบัติการวิเคราะห์มลพิษและสิ่งแวดล้อม กองจัดการคุณภาพน้ำ 6.) ยกตัวอย่างข่าวที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับปัญหาทรัพยากรนั้น ๆ น้ำทิ้งจาก โรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นน้ำเสียจาก กระบวนการ ผลิต เช่น การล้างวัตถุดิบ การหล่อเย็น การทำความสะอาด เครื่องจักร เป็นต้น มลพิษจากน้ำทิ้งของโรงงานอุตสาหกรรม จะมี ลักษณะสมบัติแตกต่างกันตาม ชนิดของผลิตภัณฑ์ กระบวนการ ผลิต และอื่นๆ โดยทั่วไป โรงงานอุตสาหกรรม ประเภทเดียวกัน และมีกระบวนการผลิตที่คล้ายคลึงกัน จะมีลักษณะสมบัติของน้ำ เสีย และน้ำทิ้งที่คล้ายคลึงกัน เช่น โรงงานผลิตสารเคมี น้ำทิ้งก็จะ มีสารเคมีที่มีฤทธิ์เป็นกรด-ด่าง โรงงานผลิตอาหารสัตว์ น้ำทิ้งก็จะ มีสิ่งเจือปนในรูปของเศษอาหารสัตว์ กากถั่ว รำข้าว และเศษ กระดูกป่น เป็นต้น

มลพิษท างอากาศ มลพิษทางอากาศ ภาวะอากาศที่มีสิ่งเจือปนหรือล่องลอยรวม อยู่ในอากาศที่เราสูดดมเข้าไป แม้อาจจะมองไม่เห็นด้วยตา เช่น ฝุ่นละออง ก๊าซธรรมชาติ หรือมลพิษจากท่อไอเสียของรถยนต์ เป็นต้น ถือว่าเป็นภัยร้ายใกล้ตัวที่สร้างผลกระทบและอันตรายต่อ สุขภาพของเราได้อย่างมากมาย มลพิษทางอากาศไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะในเมืองใหญ่ที่แออัด หรือใน เขตอุตสาหกรรมเท่านั้น กลับกันมลพิษทางอากาศสามารถแพร่ กระจายไปตามภูมิภาคต่างๆ ของประเทศได้อย่างรวดเร็ว 1.) สาเหตุที่ก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศ มลพิษทางอากาศ เกิดจากการเผาไหม้ของสารประกอบต่างๆ ใน ชีวิตประจำวัน ทำให้เกิดเขม่าหรือก๊าซพิษลอยออกมาปะปนใน อากาศ โดยในบทความนี้แบ่งต้นเหตุของการสร้างมลพิษทาง อากาศออกเป็น 3 ส่วน คือ การใช้ชีวิตประจำวันในบ้านหรือที่พักอาศัย ไม่ว่าจะเป็นการใช้ แก๊สหุงต้มอาหาร หรือสารเคมีจากสเปรย์ที่ใช้ในบ้าน ก็มีการ ปล่อยมลพิษออกสู่อากาศอยู่เป็นจำนวนมากเช่นกัน จากโรงงานอุตสาหกรรมและคมนาคม กระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม กิจกรรมต่างๆ ของ การเกษตร การใช้ยานพาหนะบนท้องถนน ล้วนมีการเผาไหม้ ของเชื้อเพลิงที่ก่อให้เกิดก๊าซพิษ รวมถึงอนุภาคเขม่าขนาดเล็ก ที่มองไม่เห็น ล่องลอยออกมาในอากาศในปริมาณสูง

2.) ผลกระทบที่เกิดจากมลพิษทางอากาศ เป็นอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์ โดยเฉพาะ ระบบหายใจ มะเร็งผิวหนัง ระบบประสาท และอาจสะสม ในเนื้อเยื่อร่างกาย มลสารแต่ละชนิดจะเป็นผลกระทบต่อ สุขภาพต่างกัน สารพิษที่ระบายออกสู่บรรยากาศ บางชนิด คงตัวอยู่ใน บรรยากาศได้เป็นเวลานาน และแพร่กระจาย ออกไปได้ไกล บางชนิดเป็นปฏิกิริยาต่อกัน และเกิดเป็น สารใหม่ที่เป็น อันตราย ทำให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse Effect) เกิดจากก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซ มีเทน ออกไซด์ของไนโตรเจน โอโซน และสารคลอโรฟลูออโร คาร์บอน (CFC) เมื่อลอย ขึ้นไปบนชั้นบรรยากาศ จะปกคลุมมิ ให้รังสีความร้อนจาก ผิวโลกระบายขึ้นสู่บรรยากาศระดับสูงขึ้น ได้ ทำให้เกิดการ สะสมความร้อนของผิวโลก 3.) วิธีป้องกันปัญหามลพิษทางอากาศ ใช้พลังงานจากแหล่งพลังงานที่สามารถทดแทน หรือ สร้างใหม่ ได้ เช่น ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ในการให้ความร้อน หรือ พลังงานลม ซึ่งพลังงานเหล่านี้จะไม่ปล่อยแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ ออกสู่บรรยากาศ หลีกเลี่ยงการใช้สเปรย์เพราะจะก่อให้เกิดสาร CFCS มากขึ้น เลิกใช้ผลิตภัณฑ์ที่ท ามาจากโฟม หรือนำวัสดุที่ทำจากโฟม ไป ดัดแปลงทำชิ้นงานอื่นๆ แทนที่จะนำไปเผาท าลายซึ่งจะก่อให้ เกิด มลพิษตามมา โดยเราสามารถนำโฟมไปทำการอัด และนำ มาทำเป็นผนังบุห้องได้ ดูแลตรวจสอบเครื่องปรับอากาศ และตู้เย็นอยู่เสมอ หากเกิด การช ารุด หรือรอยรั่วควรรีบซ่อมแซมทันที

4.) กฎหมาย / นโยบาย / มาตรการที่เกี่ยวข้อง พระราชบัญญัติรถยนต์ พ.ศ. 2522 ตามมาตรา 7 ได้กำหนด ให้รถที่จะจดทะเบียนได้ต้องเป็นรถที่มีส่วนควบและมีเครื่อง อุปกรณ์สำหรับรถครบถ้วนถูกต้องตามที่กำหนดในกฎ กระทรวง และนอกจากนั้นจะต้องผ่านการตรวจสภาพรถจาก นายทะเบียน หรือจากสถานตรวจสภาพที่ได้รับอนุญาตตาม กฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 10 ทวิ(1) ห้ามมิให้ผู้ใดนำรถที่เครื่องยนต์ก่อให้เกิดก๊าซ ฝุ่น ควัน ละออง เคมี หรือเสียงเกินเกณฑ์ที่อธิบดีกำหนดโดยประกาศในราชกิจ จานุเบกษา มาใช้ในทางเดินรถ พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ตากกฎกระทรวงฉบับที่ 2 กำหนดให้ห้ามระบายอากาศเสียออกจากโรงงาน เว้นแต่ได้ ทำการอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างจนอากาศที่ระบายออก นั้นมีปริมาณ ของสารเจือปนไม่เกินกว่าค่าที่รัฐมนตรีกำหนด โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาแต่ทั้งนี้ต้องไม่ใช้วิธีทำให้เจือ จาง (dilution)

5.) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กองตรวจมลพิษ กองจัดการคุณภาพอากาศเเละเสียง ศูนย์ปฎิบัติการวิเคราะห์มลพิษเเละสิ่งเเวดล้อม 6.) ยกตัวอย่างข่าวที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับปัญหาทรัพยากรนั้น ๆ เมื่อเข้าสู่ช่วงฤดูหนาว “ฝุ่นพีเอ็ม 2.5” หวนกลับมาปกคลุมเต็ม ท้องฟ้าในพื้นที่กรุงเทพฯ ภาคเหนือ อีสาน อีกเช่นเดิม ที่ ปรากฏค่าตรวจวัดเกินมาตรฐานเป็นปัญหาให้ “คนไทย” ต้อง เผชิญหน้ากับมลพิษทางอากาศสูดดมเข้าร่างกายเป็นอันตราย ไม่เว้นแต่ละปี

#STOPGLOBALWARMING การเปลอีุห่ยณินมห เเภูปะมิลงของ 1.) สาเหตุของปัญหาการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) หมาย กำ ลั ง ล ะ ล า ยถึงการเปลี่ยนแปลงระยะยาวของรูปแบบสภาพอากาศในพื้นที่ หนึ่งซึ่งคงอยู่เป็นเวลานับทศวรรษหรือยาวนานกว่านั้นโดยอาจ มีสาเหตุหลายประการสําหรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งหนึ่งในนั้นคือเกิดจากภาวะโลกร้อน (Global Warming) โ ล ก กำ ลั งจากการเพิ่มความเข้มข้นของก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gas หรือ GHG) ร้ อ ง ไ ห้การเปลี่ยนแปลงของหิมะน้ำแข็งและพื้นน้ำแข็ง: การเพิ่มขึ้น ของอุณหภูมิส่งผลโดยตรงต่อหิมะน้ำแข็งในแม่น้ำและทะเลสา บนํ้ าแข็งในทะเลธารน้ำแข็งแผ่นน้ำแข็งและน้ำแข็งบนพื้นโลก อุณหภูมิพื้นผิวที่สูงขึ้นทำให้มวลน้ำแข็งลดลงในการวัดมวลนา แข็งโดยดาวเทียมของ NASA แสดงให้เห็นว่ามวลนาแข็ง แอนตาร์กติกาและกรีนแลนด์กำลังลดลงในอัตราที่ไม่เคยเกิด ขึ้นมาก่อนธารน้ำแข็งกำลังถอยห่างออกไปเกือบทุกแห่งทั่วโลก รวมทั้งเทือกเขาแอลป์เทือกเขาหิมาลัยเทือกเขาแอนดีสเทือก เขาร็อกกี้อะแลสกาและแอฟริกา ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น: การเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลมีสาเหตุ หลักมาจากการละลายของแผ่นน้ำแข็งและธารน้ำแข็งและการ ขยายตัวของน้ำทะเลเมื่ออุ่นขึ้นการสังเกตของดาวเทียมระบุว่า ความสูงของทะเลเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อ เนื่องในอัตราที่เร็วขึ้นการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลมีผลกระทบ ในทางลชบ่ ตว่อยปกรัะชนาหกรยทุี่อดาศภัยาอยวู่ใะนโพื้ลนทกี่ชรา้ยอฝั่นงทะเลและส่งผล ต่อการเกิดอุทกภัยและการเพิ่มขึ้นของพายุ เ ข้ า ร่ ว ม ใ น ก า ร ป ก ป้ อ ง โ ล ก ข อ ง เ ร า ล ง ท ะ เ บี ย น ที่ W W W . S A V E T H E P L A N E T . O R G

#STOPGLOBALWARMING 2.) ผลกระทบที่เกิดจากความเสื่อมโทรมการเปลี่ยนแปลงของ หิ ม ะอุณหภูมิ ผลกระทบที่รุนแรงกว่าจะตกอยู่กับประเทศยากจน ได้แก่ ประเทศ ที่กำลังพัฒนาของทวีปแอฟริกาเอเชียและมหาสมุทรแปซิฟิคที่มี ความสามารถน้อยที่สุดในการป้องกันตนเองจากระดับทะเลที่สูง ขึ้นการแพร่กระจายของเชื้อโรคและผลผลิตภาคเกษตรที่ต่ำลง กำ ลั ง ล ะ ล า ยระบบทางธรรมชาติซึ่ง ได้แก่ ธารน้ำแข็งปะการังป่าชายเลนระบบ นิเวศของทวีปอาร์กติกระบบนิเวศของเทือกเยาสูงป่าสนแถบ หนาวป่าเขตร้อนเขตลุ่มนาในทุ่งหญ้าและเขตทุ่งหญ้าในท้องถิ่น โ ล ก กำ ลั งจะถูกคุกคามอย่างรุนแรงสัตว์สายพันธุ์ต่างๆเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ มากขึ้นและเกิดความสูญเสียด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ร้ อ ง ไ ห้3.) วิธีป้องกันปัญหา ภาวะโลกร้อนนั้นเกิดจากก๊าซเรือนกระจก ที่มากเกินไปในชั้นบรรยากาศของโลกทำให้อุณหภูมิโลกสูงขึ้นนำมา ซึ่งการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศดังนั้นการแก้ปัญหาดังกล่าวเราจึง ต้องช่วยกันลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ และยังต้องเตรียมตัวรับมือกับความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ ที่กําลังเกิดขึ้นทั่วโลกอันจะส่งผลต่อการดาเนินชีวิตประจําวันของเรา ด้วยประชาคมโลกเองก็ได้ตระหนักถึงปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ ช่ ว ย กั น ห ยุ ด ภ า ว ะ โ ล ก ร้ อ น เ ข้ า ร่ ว ม ใ น ก า ร ป ก ป้ อ ง โ ล ก ข อ ง เ ร า ล ง ท ะ เ บี ย น ที่ W W W . S A V E T H E P L A N E T . O R G

#STOPGLOBALWARMING 4.) กฎหมาย / นโยบาย / มาตรการที่เกี่ยวข้อง หิ ม ะในการบริหารจัดการภายในประเทศประเทศไทยได้ออกกฎหมาย หลายฉบับเพื่ออนุรักษ์คุ้มครองบำรุงรักษาฟื้ นฟูบริหารจัดการและใช้ หรือจัดให้มีการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและ ความหลากหลายทางชีวภาพโดยมีกฎหมายที่สําคัญ ได้แก่ พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. กำ ลั ง ล ะ ล า ย2535 ซึ่งได้แต่งตั้งคณะกรรมการงแวดล้อมแห่งชาติโดยมีนายก รัฐมนตรีเป็นประธาน พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 โ ล ก กำ ลั งพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติคุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542 ร้ อ ง ไ ห้พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562 5.) องค์กร / หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Environment Programme UNEP) องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (World Meteorological Organization: WMO) คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลด้านการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change: IPCC) อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ (United Nations Framework Convention on Climate Change: UNFCCC) ช่ ว ย กั น ห ยุ ด ภ า ว ะ โ ล ก ร้ อ น เ ข้ า ร่ ว ม ใ น ก า ร ป ก ป้ อ ง โ ล ก ข อ ง เ ร า ล ง ท ะ เ บี ย น ที่ W W W . S A V E T H E P L A N E T . O R G

#STOPGLOBALWARMING หิ ม ะ6.) ยกตัวอย่างข่าวที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับปัญหาทรัพยากรนั้น ๆ ในปี 2554 ประเทศไทยประสบกับอุทกภัยที่รุนแรงที่สุดเท่าที่เคยมี การบันทึกไว้ ต้องใช้งบประมาณเพื่อซ่อมแซมและฟื้ นฟูจำนวน 46 พันล้านเหรียญสหรัฐ และเฉพาะพื้นที่กรุงเทพมหานครต้องใช้งบ กำ ลั ง ล ะ ล า ยประมาณซ่อมแซมและฟื้ นฟูรวมทั้งสิ้นจำนวน 8 พันล้านเหรียญสหรัฐ วิกฤตอุกทกภัยในครั้งนั้นส่งผลกระทบต่อประชากรจำนวน 13 ล้านคน และมีผู้เสียชีวิตจำนวน 680 คน 2 เมื่อเร็วๆ นี้ ศูนย์ข้อมูลน้ำและภูมิอากาศแห่งชาติได้บันทึกช่วงสำคัญ โ ล ก กำ ลั งของภัยแล้งที่เกิดขึ้นเป็นประจำและเป็นเวลานานระหว่างปี 2558 และ 2559 ส่งผลให้ระดับน้ำในอ่างเก็บน้ำทั่วประเทศมีระดับต่ำ ในปี 2559 ภัยแล้งได้ลดช่วงเวลาเพาะปลูกรวมทั้งผลิตผลการเกษตรอย่างมีนัย ร้ อ ง ไ ห้ยะสำคัญ นอกจากนี้จากการศึกษาทางด้านเศรษฐกิจโดยเน้นแนวโน้ม ของสภาพอากาศที่สุดขั้วตลอดลุ่มน้ำเจ้าพระยา มีการคาดการณ์ว่าใน ช่วง 2 ทศวรรษข้างหน้าภัยแล้งรุนแรงสามารถสร้างผลกระทบต่างๆ ของการผลิตข้าวในพื้นที่ชลประทานในช่วงฤดูแล้ง โดยระดับของ ผลผลิตรวมจะลดลงร้อยละ 30.90 3 ช่ ว ย กั น ห ยุ ด ภ า ว ะ โ ล ก ร้ อ น เ ข้ า ร่ ว ม ใ น ก า ร ป ก ป้ อ ง โ ล ก ข อ ง เ ร า ล ง ท ะ เ บี ย น ที่ W W W . S A V E T H E P L A N E T . O R G

หนังสือขายดีระดับชาติ สาเหตุของปัญหาความเสื่อมโทรม ของทรัพยากรป ่าไม้เเละสัตว์ป่า 1.) สาเหตุของปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรป่าไม้และ สัตว์ป่า พื้นที่ป่าไม้มีสภาพเสื่อมโทรมและมีแนวโน้มลดลงอย่างมากเนื่องมา จากสาเหตุสำคัญหลายประการ ได้แก่ การลักลอบตัดไม้ทําลายป่า กวางหนุ่มการเผาป่าการบุกรุกทำลายป่าเพื่อต้องการที่ดินเป็นที่อยู่อาศัยและ ทำการเกษตรการทำไร่เลื่อนลอยของชาวเขาในพื้นที่ต้นน้ำลำธาร และการใช้ที่ดินเพื่อดำเนินโครงการของรัฐบาลเช่นการจัด นิคมสร้างตนเองการชลประทานการไฟฟ้าพลังน้ำการก่อสร้างทาง ที่ข้างกิจการรักษาความมั่นคงของชาติเป็นต้นการที่พื้นที่ป่าไม้ทั่วประเทศ ลดลงอย่างมากได้ส่งผลกระทบต่อการควบคุมระบบนิเวศโดยส่วน รวมอย่างแจ้งชัดเช่นกรณีเกิดวาตภัยและอุทกภัยครั้งร้ายแรงใน กระท่อมพื้นที่ภาคใต้ปัญหาความแห้งแล้งในภาคต่างๆของประเทศและ ปัญหาน้ำท่วมในฤดูฝนอย่างรุนแรงซึ่งปัญหาภัยธรรมชาติดังกล่าว ได้มีแนวโน้มของกา“รเตืก่ินดเถีต่้ขึ้นนหอันว าก่ดอใเหส้ีเยกิวด”ความเสียหายต่อ ผลิตผลทางก-ารเกอษ. ตเรทชีตวิต, แเลดะอทะรัพเย์คีสิยนวนบอิ กไจทากมนีส้์ยังเกิดผลกระ ทบสิ่งแวดล้อมด้านอื่น ๆ เช่นการสูญเสียหน้าดินทำให้สูญเสียความ อุดมสมบูรณ์ของดินปัญหาการตกตะกอนปัญหาการตื้นเขินของ แหล่งน้ำและปัญหาสภาพดินฟ้าอากาศแปรปรวนเป็นต้น อ โ ด ร า อ า โ ร โ น วิ ต ซ์

หนังสือขายดีระดับชาติ 2.) ผลกระทบต่อการสูญเสียทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า เมื่อทรัพยากรป่าไม้ถูกทำลายลงมากเท่าใดผลกระทบต่อความอุดม สมบูรณ์ของระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมก็จะทวีความรุนแรงตามมา ด้วยดังจะเห็นได้จากการขาดแคลนน้ำในการอุปโภคบริโภคในช่วงฤดู แล้งและเกิดอุทกภัยในฤดูฝนในพื้นที่ต่างๆของประเทศระยะเวลา 3-4 ปีที่ผ่านมาการทำลายป่าไม้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อประชากรและสิ่ง แวดล้อมอื่น ๆ ดังนี้ ความเสื่อมโทรมของพื้นที่ต้นน้ำลำธารและพื้นที่อนุรักษ์อื่น ๆ กวางหนุ่มสภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง ทำลายแหล่งท่องเที่ยวตามธรรมชาติ ที่ข้างเพิ่มความรุนแรงของภัยธรรมชาติ 3.) แนวทางแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้ การกำหนดนโยบายป่าไม้แห่งชาตินโยบายป่าไม้แห่งชาติคือการ กระท่อมกำหนดให้มีพื้นที่ป่าไม้ทั่วประเทศอย่างน้อยในอัตราร้อยละ 40 ของพื้นที่ประเทศเป็นการกําหนดแนวทางการจัดการและการ พัฒนาป่าไม้ในระย“ะตยื่ านวเ ต้ น ห ว า ด เ สี ย ว ” กเมืา่อรปป่ลาูไกมป้่ใานเ-พปื็้นนเ กทอี่าถ.ูรกดเตำทัดเตนิฟ,นันงเลาดนงอไดม้ะ่าวน่าเกกคีารรยณอีวในบุดิรักก็ไตษท์าปมม่านสไ์มโ้ยอบย่าางยหกนาึ่รง รักษาป่าไม้จะกำหนดให้มีการปลูกป่าขึ้นทดแทนและส่งเสริมให้มี การปลูกสร้างสวนป่าทุกรูปแบบ การป้องกันไฟไหม้ป่าไฟไหม้ป่าถือว่าเป็นอันตรายร้ายแรงที่เกิด ขึ้นกับป่าไม้การฟื้ นฟูกระทําได้ยากมากไฟไหม้ป่าเกิดจากการกระ ทำของมนุษย์จากความประมาทเลินเล่อทำให้ต้นไม้บางส่วนอาจ ตายบางส่วนอาจชะงักการเจริญเติบโตและบางแห่งอาจตายหมด อ โ ด ร า อ า โ ร โ น วิ ต ซ์

หนังสือขายดีระดับชาติ 3.1) แนวทางแก้ไขปัญหาทรัพยากรสัตว์ป่า การอนุรักษ์พื้นที่สัตว์ป่าที่ลดจำนวนลงในปัจจุบันเนื่องจากถิ่นที่ อยู่อาศัยและแหล่งอาหารถูกทำลายลงอย่างมากการจัดหาแหล่งที่ อยู่อาศัยที่ปลอดภัยสําหรับสัตว์ป่าจึงเป็นเรื่องที่สำคัญและจำเป็น มากวิธีการอนุรักษ์พื้นที่หรือถิ่นที่อยู่ของสัตว์ป่าทำได้โดยประกาศ เป็นพื้นที่อนุรักษ์ 4.) กฏหมาย / นโยบาย / มาตรการที่เกี่ยวข้องทรัพยากรป่าไม้ กวางหนุ่มและสัตว์ป่านโยบายป่าไม้แห่งชาติของประเทศไทย) ให้มีการกำหนดแนวทางการจัดการและการพัฒนาทรัพยากรป่า ไม้ในระยะยาวอันจะทำให้ประเทศได้รับประโยชน์อย่างคุ้มค่าทาง ที่ข้างสังคมเศรษฐกิจความมั่นคงและสิ่งแวดล้อมมากที่สุดโดยเน้นให้มี การประสานกันระหว่างทรัพยากรป่าไม้และทรัพยากรธรรมชาติ อื่น กระท่อมส่งเสริมบทบาทและหน้าที่ของส่วนราชการต่างๆและภาคเอกชน ให้มีส่วนรับผิดชอบในการจัดการและพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ร่วม กัน “ ตื่ น เ ต้ น ห ว า ด เ สี ย ว ” วกัตฎถหุปมราะยสสิง่งค-แ์หวเดลัอกล้.เอกีม่เยรทวะกตหับ,ว่กางเาปดรอรอนะะุเรทักเศษค์ทีีท่ยเรกวีั่พยบิวยขา้ไกอทงรมสธนรส์รธิมสัชญาญติาซึ่งมี อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่า ที่ใกล้สูญWuş [Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora-CITES): เพื่อควบคุมการค้าสัตว์ป่าพืชป่ากําหนดมาตรการในการบังคับใช้ ตามอนุสัญญาโดยมิให้มีการค้าสัตว์ป่าพืชป่ารวมทั้งมีการควบคุม ตรวจสอบการค้าสัตว์ป่าพืชป่าและมีการขนส่งที่ปลอดภัยซึ่ง ประเทศไทยได้ให้อสัตโ ยดารบัานเขอ้าาร่วโมรเปโ็นนภวาิคตีเซมื์่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2526

หนังสือขายดีระดับชาติ 5.) องค์กร / หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กรมป่าไม้เป็นหน่วยงานระดับกรมในสังกัดกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีหน้าที่ในการอนุรักษ์รักษา และจัดการทรัพยากรป่าไม้ของประเทศซึ่งมีทั้งหมด 77 ล้าน ไร่(โดยในอดีตสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของ ประเทศไทย) สหรัฐอเมริกาป่า (USES) เป็นหน่วยงานของที่กระทรวงเกษตร กวางหนุ่มของสหรัฐที่ดูแลประเทศ 154 แห่งชาติป่าและ 20 ทุ่งหญ้าแห่ง ที่ข้างชาติกรมป่าไม้จัดการที่ดิน 193 ล้านเอเคอร์ (780,000 กม. 2) หน่วยงานหลัก ได้แก่ สำนักงานอธิบดีระบบป่าไม้แห่งชาติป่าไม้ ของรัฐและเอกชนการดำเนินธุรกิจและการวิจัยและพัฒนาหน่วย งานที่จัดการประมาณ 25% ของที่ดินของรัฐบาลกลางและเป็น หน่วยงานการจัดการที่ดินแห่งชาติเท่านั้นที่สำคัญไม่ได้เป็นส่วน หนึ่งของกรมมหาดไทยสหรัฐซึ่งจัดการบริการอุทยานแห่งชาติที่ กระท่อมปลาสหรัฐอเมริกาและบริการสัตว์ป่าและสำนักจัดการที่ดิน “ ตื่ น เ ต้ น ห ว า ด เ สี ย ว ” - เ อ . เ ท ต , เ ด อ ะ เ คี ย ว บิ ไ ท ม ส์ อ โ ด ร า อ า โ ร โ น วิ ต ซ์

หนังสือขายดีระดับชาติ 6.) ยกตัวอย่างข่าวที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับปัญหาทรัพยากรนั้น ๆ การลักลอบตัดไม้ทำลายป่า นายทุนพ่อค้าไม้ เจ้าของโรงเลื่อย เจ้าของโรงงานแปรรูปไม้ ปริมาณป่าไม้ที่ถูกทำลายนี้นับวันจะ เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ตามอัตราเพิ่มของจำนวนประชากร ยิ่งมี ประชากรเพิ่มขึ้นเท่าใด ความต้องการในการใช้ไม้ก็เพิ่มมากขึ้น เช่น ใช้ไม้ในการปลูกสร้างบ้านเรือนเครื่องมือเครื่องใช้ใน การเกษตรกรรมเครื่องเรือนและถ่านในการหุงต้ม เป็นต้น ไฟไหม้ป่า มักจะเกิดขึ้นในช่วงฤดูแล้ง ซึ่งอากาศแห้งและร้อน กวางหนุ่มจัด ทั้งโดยธรรมชาติและจากการกระทำของมะม่วงที่อาจลักลอบ ที่ข้างเผาป่าหรือเผลอ จุดไฟทิ้งไว้โดยเฉพาะในป่าไม้เป็นจำนวนมาก กระท่อม “ ตื่ น เ ต้ น ห ว า ด เ สี ย ว ” - เ อ . เ ท ต , เ ด อ ะ เ คี ย ว บิ ไ ท ม ส์ อ โ ด ร า อ า โ ร โ น วิ ต ซ์

ค1.ว) สาาเมหตุหขอลอง้ปอัาญมกหไกมอ่ามดคีหอขวะาอลมไงรเคทส าืุี่่ณอดียมไแปโมทกท่อวรี่มกาาแคงวล้าวมชหีลวากภหลาายพทาง ชีวภาพ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติมากเกินไปจนธรรมชาติไม่สามารถ สร้างขึ้นทดแทนทัน การบุกรุกและทำลายป่าซึ่งเป็นการทำลายที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า และพืชหลากหลายชนิดส่งผลให้ประชากรของสิ่งมีชีวิตลดลง ระบบนิเวศเสียสมดุล การสร้างมลพิษจากบ้านเรือนและโรงงานอุตสาหกรรมเช่นการ ปล่อยน้ำเสียลงในแหล่งน้ำการปล่อยควันพิษจากโรงงาน อุตสาหกรรมทำให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศเช่นการเกิดภาวะโลกร้อนทำให้ ระดับน้ำทะเลสูงขึ้นเกิดการอพยพย้ายถิ่นของสัตว์บางชนิด 2.) ผลกระทบที่เกิดจากความเสื่อมโทรมของความหลากหลาย ทางชีวภาพ การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพจะทำให้ผลผลิต ของระบบนิเวศลดลงทำให้ระบบนิเวศไม่มั่นคงและมีความสามารถใน การรองรับภัยพิบัติทางธรรมชาติต่าง ๆ ลดลงไม่ว่าจะเป็นภัยจากพายุ น้ำท่วมภาวะแห้งแล้งรวมทั้งภัยคุกคามที่เป็นผลจากกิจกรรมของ มนุษย์เช่นมลพิษต่าง ๆ และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศปัจจุบัน แม้การสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตจะเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิด ขึ้นอยู่แล้ว แต่ปัจจุบันกิจกรรมของมนุษย์ได้ทำให้เกิดการสูญพันธุ์ ของสิ่งมีชีวิตอย่างน่าใจหายที่สำคัญก็คือสิ่งที่เราสูญเสียไปนั้นไม่ สามารถจะสร้างใหม่หรือเรียกย้อนคืนกลับมาได้

3.) แนวทางแก้ไขปไัมญ่มีหอาะไรที่ดีไปกว่า ปลูกฝังให้คนไม่แพร่พันธุ์สิ่งมีชีวิตต่างถิ่นสู่ระบบนิเวศตาม อ้อมกอดของคุณแม่อีกแล้วธรรมชาติ เพาะพันธุ์สิ่งมีชีวิตท้องถิ่นที่ใกล้จะสูญพันธุ์คืนสู่ธรรมชาติ ฟื้ นฟูผืนป่าที่ถูกทำลายโดยฝีมือมนุษย์และเสื่อมสภาพไปตาม ธรรมชาติ 4.) กฎหมาย / นโยบาย / มาตรการที่เกี่ยวข้อง นโยบายมาตรการและแผนการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ความ หลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืนพ. ศ. 2551-2555 มาตรา 6 ของอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพได้ กำหนดให้ภาคีจัดทำนโยบายและกลยุทธ์ระดับชาติเพื่ออนุรักษ์ และใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพเป็นความตกลง ระหว่างประเทศด้านสิ่งแวดล้อมที่ต้องการให้มีความร่วมมือ ระหว่างประเทศระหว่างหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนระหว่าง ประชาชนชาวโลกในการรักษาความหลากหลายทางชีวภาพและ การใช้ประโยชน์ระบบนิเวศชนิดพันธุ์และพันธุกรรมอย่างยั่งยืน

ไม่มีอะไรที่ดีไปกว่า5.) องค์กร / หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) อ้อมกอดของคุณแม่อีกแล้วองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ต่างประเทศองค์การระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ หรือไอซีเอ็น (IUCN) ลงทษ NSTDA อพวช. INSM 33-TISTR IUCN 6.) ยกตัวอย่างข่าวที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับปัญหาความหลากหลาย ทางชีวภาพ อินเดียเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมว่าด้วยความหลากหลาย ทางชีวภาพของสหประชาชาติ โดยมีผู้แทนจากเกือบ 200 ประเทศ เข้าร่วม ในความพยายามที่จะบังคับใช้ข้อตกลงเพื่อปกป้องระบบนิเวศ ของโลก การประชุมว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพของ สหประชาชาติจัดขึ้นที่เมืองไฮเดอราบัดทางภาคใต้ของอินเดีย มีผู้ แทนจากเกือบ 200 ประเทศเข้าร่วมเพื่อหารือถึงความคืบหน้าต่อจาก การประชุมว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพในญี่ปุ่นเมื่อ 2 ปีที่แล้ว ในความพยายามที่จะบังคับใช้พิธีสารนาโงย่าเพื่อปกป้องระบบนิเวศ ของโลก หลังจากมีชาติที่ร่วมลงนามแล้ว 92 ประเทศ แต่มีชาติที่ให้ สัตยาบันเพียงแค่ 6 ประเทศเท่านั้น โดยพิธีสารนาโงย่าจะมีผลบังคับ ใช้อย่างเป็นทางการจะต้องมีชาติที่ให้สัตยาบันอย่างน้อย 50 ประเทศ

JOIN US FOR A WEDDING CELEBRATION. ทรัพยากรแร่ และพลังงาน 1.) สาเหตุของปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรเเร่เเละ พลังงาน Henri andปัญหาสิ่งแวดล้อมบริเวณที่ทำเหมืองแร่แล้วทำให้สภาพดินไม่ Margotอุดมสมบูรณ์สกปรกพื้นที่รูขระมีหลุมบ่อมากมายจึงถูกปล่อยทิ้ง ใช้ประโยชน์ไม่เต็มที่ ปัญหาการใช้แร่ไม่คุ้มค่า ได้แก่ พวกแร่ที่ใช้แล้วยังเหลืออยู่ยัง สามารถนำกลับไปใช้อีกเช่นเหล็กส่วนแร่ที่นำไปใช้แล้วหมดไป เช่นถ่านหินน้ำมันปิโตรเลียมก๊าซธรรมชาติเราจึงต้องใช้อย่างคุ้ม ค่าและประหยัด 2.) ผลกระทบที่เกิดจากความเสื่อมโทรมของทรัพยากร ปัญหาในด้านการอนุรักษ์ การผลิตแร่เพื่อมุ่งเน้นในด้าน เศรษฐกิจมากเกินไปเช่นดีบุกสังกะสีพลวงถ่านหินและ ปิโตรเลียมจนทำให้ประเทศขาดแคลนแร่บางชนิดลดลงอย่าง รวดเร็วจากที่เคยส่งเป็นสินค้าออกกลับต้องนํ าเข้าจากต่าง ประเทศซึ่งขัดต่อหลักการใช้ทรัพยากรธรรมชาติแบบยั่งยืน ปัญหาด้านผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ความเป็นพิษของแร่แร่ที่นำ มาใช้งานบางชนิดจะก่อให้เกิดผcลoกrdระiaทllบy ตin่อviสtิ่eง แyoวuดลt้oอมatเtพenรdาะthe ความเป็นพิษของตัวแร่เองcเชe่นreตmะoกัn่วyสัaงtกSะtส.ีแOมllงpกreาyนีPสaโrคisรhเมoีnยมthe หรือสารหนูที่เกิดร่วมกันกับ1ส2าtยhแoรf่ดAีบuุgกuแsรt่ตa่าt ง4ๆinเหthลe่าaนี้fหteาrกnoปoนn. เปื้ อนอยู่ในแหล่งน้ำก็จะก่อใหR้เeกิcดeคptวiาoมnเtสoียfหolาloยwต่อaคtุWณhภitาeพPนlaาce. และหากตกค้างอยู่ในดินอาจจะเข้าสู่วัฏจักรอาหารโดยพืชซึ่งจะ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อสุขอนามัยของประชาKชI NนDทLี่YอยRู่SใกV Pล้เWคีIยT Hง FRANCOIS AT (123) 456-7890 ได้ B Y T H E 2 N D O F A U G U S T .

JOIN US FOR A WEDDING CELEBRATION. 3.) แนวทางแก้ไขปัญหา การใช้แร่ธาตุอย่างประหยัดในการทำเหมืองแร่บางอย่างนั้นบางที ทรัพยากรแร่ธาตุที่ได้มาอาจมีหลายชนิดดังนั้นจึงควรจะพยายาม ใช้ให้คุ้มค่าทุกชนิดอย่างประหยัดและลดการสูญเปล่า การสำรวจแหล่งแร่ควรมีการเร่งรัดการสำรวจทรัพยากรแร่ธาตุให้ Henri andครอบคลุมทั่วประเทศเพื่อประโยชน์ในการวางแผนการใช้ Margotประโยชน์อย่างคุ้มค่า การใช้แร่ชนิดอื่นทดแทนพยายามหาแร่ธาตุอื่น ๆ มาใช้ทดแทน แร่ที่ใช้กันมากอาทิการใช้อลูมิเนียมแทนเหล็ก 4.) กฎหมาย / นโยบาย / มาตรการที่เกี่ยวข้อง กฎหมายด้านพลังงาน (ประเทศไทย) พระราชบัญญัติการส่งเสริม การอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 ได้มีพระบรมราชโองการฯ ให้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2535 โดย มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2535 และกรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ได้มีการแก้ไขเพิ่ม เติมพรบ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 เพื่อให้ เหมาะสมกับสถานการณ์พลังงานที่เปลี่ยนแปลงไปในปัจจุบันซึ่ง ก็คือ“ พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษาในวันที่ 4 ธันวาคม 2550 และมีผลใช้บังคับวันที่ 1 มcิถoุนrdาiaยlนly 2in5v5it1e แyoต่uก็tไoม่aไtดt้eมีnกdาtรhe ยกเลิกเนื้อความในพระราชcบeัญreญmัoติnกyาaรtส่Sงtเ.สOริมllpกrาeรyอPนaุรrัiกshษ์on the พลังงาน พ.ศ. 2535 ทั้งฉบับ12สtรhุปoกfาAรuแgก้uไsขt ใaนt ค4รั้iงnนีt้hมีeมaาตfteรrาnoon. แก้ไขจำนวน 14 มาตราบัญญัRตeิcเพeิ่pมtจioำnนtวoนfo8llมowาตaรtาWแลhiะtยeกPเlaลิcกe. จำนวน 8 มาตราเพื่อให้ทันสมัยและสอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจ ในปัจจุบัน KINDLY RSVP WITH FRANCOIS AT (123) 456-7890 BY THE 2ND OF AUGUST.

JOIN US FOR A WEDDING CELEBRATION. กฎหมายแร่ธาตุ (ประเทศต่างประเทศ) กฎหมายว่าด้วยแร่ธาตุ กำหนดหลักการระเบียบการและมาตรการเกี่ยวกับการคุ้มครอง การปกปักรักษาการใช้แร่ธาตุและทรัพยากรแร่ธาตุการตรวจสอบ การดำเนินงานด้านแร่ธาตุเพื่อให้การค้นหาการตำรวจการขุดค้น Henri andและการแปรรูปแร่ธาตุให้มีประสิทธิภาพสูงโดยเชื่อมโยงกับการ Margotดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมการดำเนินการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติสร้างเงื่อนไขให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เปลี่ยนเป็นอุตสาหกรรมที่มีความทันสมัยพัฒนาเขตแร่ธาตุแบบ ยั่งยืนตลอดจนทำให้คุณภาพชีวิตของประชาชน 5.) องค์กร / หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประเทศไทยกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตระหนักถึงความสําคัญของการบริหารจัดการทรัพยากรแร่ของ ประเทศอย่างเป็นระบบเพื่อนำไปสู่การบริหารจัดการที่เอื้อต่อการ พัฒนาที่ยั่งยืนตามนโยบายของรัฐบาลที่แถลงต่อรัฐสภา พร้อม ทั้งเป้าหมายที่กำหนดไปไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 −2559) องกรณ์ต่างประเทศ AMMin หรือ ASEAN Ministerial Meeting on Minerals เป็นการประชุมระดับรัฐมนตรีด้านทรัพยากรแร่ โดยทําหน้าที่ประสานความร่วมมือด้านแร่ธาตุร่วมกันระหว่าง ประเทศสมาชิกในภูมิภาคอาเซียcนoใrนdiกaาllรyสinนัvบiteส นyุoนuแtลoะaส่tงtเeสnรdิมthe การพัฒนาภาคอุตสาหกรรมceแrรe่ธmาoตุnขyอaงtอSาtเ.ซOียlนlprey Parish on the 12th of August at 4 in the afternoon. Reception to follow at White Place. KINDLY RSVP WITH FRANCOIS AT (123) 456-7890 BY THE 2ND OF AUGUST.

JOIN US FOR A WEDDING CELEBRATION. 6.) ยกตัวอย่างข่าวที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับปัญหาทรััพยากรเเร่เเละ พลังงาน เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคมที่ห้องประชุม 301 ตึกบัญชาการ 1 Henri andทำเนียบรัฐบาลพล. อ. ประวิตรวงษ์สุวรรณรองเป็นประธานการประชุม คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการแร่แห่งชาติ (คนร. ครั้งที่ 1/2564 นายกรัฐมนตรีในฐานะรองประธานโดยมีนายวราวุ ธ ศิลป อาชารัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมคน ที่ 1 โดยเป็นมีการประชุมผ่านระบบวิดีโอคอนเฟอเรนซ์กับคณะ กรรมการและผู้ทรงคุณวุฒิที่เข้าร่วมประชุม ณ ห้องประชุมชั้น 1 Margotอาคารเพชรกรมทรัพยากรธรณี ทั้งนี้ที่ประชุมมีมติเห็นชอบหลัก เกณฑ์การมีส่วนร่วมของภาครัฐภาคเอกชนและภาคประชาชนในการ บริหารจัดการแร่เพื่อเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วมในการ บริหารจัดการแร่ของประเทศร่างประกาศกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเรื่องกำหนดพื้นที่ในท้องที่อำเภอ เมืองพังงาอำเภอคุระบุรี cordially invite you to attend the ceremony at St. Ollprey Parish on the 12th of August at 4 in the afternoon. Reception to follow at White Place. KINDLY RSVP WITH FRANCOIS AT (123) 456-7890 BY THE 2ND OF AUGUST.

สมาชิกในกลุ่ม นายภูริพัฒน์ อินทรัตน์ เลขที่2 นายอาณัฐ สิริทรัพย์นพคุณ เลขที่3 นายพจมาช นวลศรี เลขที่9 นายเนย์ธาดา สุวรรณโรจน์ เลขที่10 นายศิรชัช นิลเพชร เลขที่12 นายวีรภัทร โคตอาสา เลขที่13 นายธนภทร์ เเก้วเมฆ เลขที่17


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook