คำนำ กรมการพัฒนาชมุ ชน มอบหมายให้ศูนย์ศกึ ษาและพัฒนาชุมชนอบุ ลราชธานี เป็นหน่วย ดาเนินงานฝึกอบรมโครงการสร้างและพัฒนาผู้นาสัมมาชีพชุมชน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จานวน 2,187 คน โดยแยกดาเนินการ 22 รุ่น ดาเนินการระหว่างวันท่ี 5 พฤศจิกายน – 13 ธันวาคม 2561 ณ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี กลุ่มเป้าหมายคือ ผู้นาสัมมาชีพจาก 7 จังหวัดในเขตพ้ืนท่ี ให้บริการของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างผู้นาสัมมาชีพให้ สามารถถ่ายทอดความรู้ด้านอาชีพ โดยตระหนักถึงความสาคัญบนพ้ืนฐานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ตลอดจนการวิเคราะห์อาชีพเพื่อเชื่อมโยงการตลาดของชุมชนได้ และสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน ชุมชนมีความสุข (Community Happiness) พ่ึงพาตนเองได้ และประชาชนก็มีความสุข (People Happiness) รวมท้ังส่งเสรมิ ผู้นาสมั มาชพี มีจิตอาสาช่วยเหลือสมั มาชีพชมุ ชน (มอี าชีพ มีรายได้ มีงานทา) ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี ได้สรุปผลการดาเนินงานฝึกอบรมโครงการ สร้างและพัฒนาผู้นาสัมมาชีพชมุ ชน รวมท้ังประเมินผลโครงการ เพ่ือทราบผลสัมฤทธ์ิ ข้อเสนอแนะตา่ งๆ เพื่อเปน็ แนวทางในการนาไปปรบั ใชใ้ นการดาเนนิ งานครงั้ ต่อไป ศนู ย์ศึกษาและพฒั นาชุมชนอุบลราชธานี ธันวาคม 2561
ชือ่ เอกสำร เอกสารสรุปผลโครงการสรา้ งและพัฒนาผู้นาสมั มาชีพชุมชน ประเภทเอกสำร เอกสารทางวิชาการ ลักษณะเอกสำร เอกสารอัดสาเนาเยบ็ เลม่ ขนำดเอกสำร เอ 4 หนา 176 หน้า ทปี่ รกึ ษำ นายวลิ าศ บุญโต ผอู้ านวยการศูนย์ศึกษาและพัฒนาชมุ ชน อบุ ลราชธานี คณะผจู้ ดั ทำ นางสาวสิริลกั ษณ์ พลนอก นกั ทรพั ยากรบคุ คลชานาญการ นางสาวพรทพิ ย์ จันทะพา นักวชิ าการพฒั นาชมุ ชนชานาญการ นางสาวทักษิณานนั ท์ สบื สมิ มา นกั จัดการงานทัว่ ไปชานาญการ นางสาวทบั ทิม แท่งคา นักทรพั ยากรบคุ คลชานาญการ นางสาวชณลดา บษุ ราคัม นกั ทรัพยากรบุคคลชานาญการ นายกติ ิพงษ์ ศรจี ันทร์ นกั วิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ นางเพ็ญศรี วรบุตร นกั ทรพั ยากรบุคคลชานาญการ นางสาวกัลยา โพธวิ ฒั น์ นักทรัพยากรบคุ คล นางสาวชนาทพิ ย์ สยนานนท์ นักทรัพยากรบคุ คล ผู้วิเครำะหข์ ้อมลู /ผู้พิมพ์/รวบรวม/เรียบเรยี ง/รปู เล่ม นกั ทรัพยากรบคุ คลชานาญการ นางสาวทับทมิ แท่งคา นกั ทรพั ยากรบุคล นางสาวกลั ยา โพธวิ ัฒน์ ออกแบบปก นางสาวกัลยา โพธิวัฒน์ นกั ทรพั ยำกรบุคคล ปีทีพ่ ิมพ์ 2561 แหลง่ เผยแพร่ สถาบันการพฒั นาชุมชน ศูนย์ศกึ ษาและพัฒนาชมุ ชน 10 แห่ง จังหวดั ในเขตพ้นื ท่ใี หบ้ ริการ 7 จงั หวัด
สำรบัญ หน้ำ (ก) คำนำ (ข) สำรบัญ (ค) สำรบญั ตำรำง (ง) สรุปสำหรบั ผู้บรหิ ำร 1 สว่ นท่ี 1 บทนำ 2 ความสาคญั 2 วัตถปุ ระสงค์ 2 กลุ่มเป้าหมาย 3 ข้ันตอนและวิธดี าเนนิ งาน 3 งบประมาณดาเนนิ การ 3 ระยะเวลาดาเนนิ การ 3 ขอบเขตเน้ือหาหลักสตู ร 3 ผลท่คี าดว่าจะได้รับ ตวั ช้ีวัดความสาเร็จของโครงการ 4 5 ส่วนที่ 2 สรปุ เน้อื หำวชิ ำกำร 6 เน้ือหาวชิ าหลัก/กจิ กรรมเสริมหลกั สตู ร 8 วิชาปรบั ฐานการเรียนร/ู้ การละลายพฤติกรรม 9 วชิ าศาสตรพ์ ระราชาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 12 14 วชิ าการทางานเป็นทีม 15 วิชาความร้สู ู่สมั มาชีพกับการเช่ือมโยงการตลาด วิชาทักษะการถ่ายทอดสู่การเป็นวิทยากรสมั มาชีพชุมชน 38 วิชาแผนการถ่ายทอดวิทยากรสัมมาชพี ชมุ ชน 40 ตวั อย่างบนั ทึกองคค์ วามรู้ปราชญ์ชมุ ชน 40 41 สว่ นท่ี 3 กำรประเมนิ ผลโครงกำร 53 วธิ กี ารประเมนิ การวิเคราะห์ขอ้ มูล 65 เกณฑ์การประเมิน 110 ผลการประเมินรายวชิ า 174 การประเมินผลภาพรวมของโครงการ 175 176 ภำคผนวก ภาพกจิ กรรมการฝึกอบรม ทะเบยี นรายชอ่ื ผู้เขา้ อบรม แบบประเมินรายวิชา แบบประเมินโครงการ ตารางการฝึกอบรม
สำรบญั ตำรำง ตำรำงที่ หน้ำ 1 แสดงระดับความคิดเหน็ เกี่ยวกับเน้อื หาวชิ าศาสตร์พระราชาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 41 2 แสดงระดบั ความพึงพอใจต่อวทิ ยากรวชิ าศาสตรพ์ ระราชาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 42 3 แสดงระดบั ความคดิ เห็นเก่ียวกับวชิ าการทางานเปน็ 43 4 แสดงระดับความพึงพอใจต่อวิทยากรวชิ าการทางานเป็นทีม 44 5 แสดงระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อหาวชิ าความรูส้ สู่ มั มาชีพกับการเชอ่ื มโยงการตลาด 45 6 แสดงระดบั ความพึงพอใจต่อวิทยากรวิชาความรู่ส่สู ัมมาชพี สัมมาชพี กับการ 46 เชอื่ มโยงการตลาด 7 แสดงระดับความคิดเหน็ เก่ยี วกบั เนอ้ื หาวิชาทักษะการถ่ายทอดสกู่ ารเปน็ วิทยากร 47 สมั มาชพี ชมุ ชน 8 แสดงระดบั ความพึงพอใจต่อวทิ ยากรวชิ าทกั ษะการถา่ ยทอดสกู่ ารเปน็ วทิ ยากร 48 สัมมาชพี ชุมชน 9 แสดงระดบั ความคดิ เห็นเก่ียวกับเนอ้ื หาวิชาแผนการถ่ายทอดวิทยากรสมั มาชพี ชุมชน 49 10 แสดงระดับความพึงพอใจต่อวทิ ยากรวชิ าแผนการถ่ายทอดวิทยากรสมั มาชพี ชุมชน 50 11 แสดงระดบั ความคดิ เหน็ เกย่ี วกับเนอื้ หาวิชาการถ่ายทอดสกู่ ารเปน็ วิทยากรสมั มาชีพชมุ ชน 51 12 แสดงระดับความพึงพอใจต่อวิทยากรวชิ าการถา่ ยทอดสกู่ ารเปน็ วทิ ยากรสมั มาชีพชุมชน 52 13 แสดงข้อมูลท่วั ไป 53 14 แสดงระดับการบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ 55 15 แสดงระดับความรู้และความเขา้ ใจดา้ นวิชาการ (กอ่ นและหลงั เขา้ รว่ มกจิ กรรม) 56 16 แสดงระดบั ความคิดเหน็ เกี่ยวกบั การนาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ 58 17 แสดงระดับความพึงพอใจเกย่ี วกับการให้บรกิ ารด้านวิทยากร 59 18 แสดงระดับความพึงพอใจเกย่ี วกบั การให้บริการดา้ นการให้บริการ 60 19 แสดงระดบั ความพึงพอใจเก่ียวกบั การใหบ้ ริการด้านอาคารสถานที่ 61 20 แสดงระดับความพึงพอใจเกีย่ วกับการให้บรกิ ารดา้ นคุณภาพ 62
ก บทสรุปสำหรับผู้บริหำร รา ย ง าน ผ ล ก า รด า เนิ น ง าน ฝึ ก อ บ รม โ ค รงก า ร ส ร้ า งแ ล ะ พั ฒ น า ผู้ น า สั ม ม าชี พ ชุ ม ช น กรมการพัฒนาชุมชน ได้มอบหมายให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานีเป็นหน่วยดาเนินการ ฝึกอบรมหลักสูตร “วิทยากรผู้นาสัมมาชีพ” ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 แยกดาเนินการ 22 รุ่น ผู้เข้า รับการฝึกอบรม จานวนท้ังสิ้น 2,187 คน ดาเนินการรุ่นละ 3 วัน กลุ่มเป้าหมาย คือปราชญ์ชุมชนจาก หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงจาก 7 จังหวัด ในพ้ืนท่ีให้บริการของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี โดยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือสรา้ งผู้นาสัมมาชีพให้สามารถถ่ายทอดความรู้ด้านอาชพี โดยตระหนกั ถงึ ความสาคัญ บนพื้นฐานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนการวิเคราะห์อาชีพเพ่ือเช่อื มโยงการตลาดของ ชุมชนได้ และสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน ชุมชนก็มีความสุข (Community Happiness) พึ่งพาตนเองได้ และ ประชาชนมีก็มีความสุข (People Happiness) และส่งเสริมผู้นาสัมมาชีพ มีจิตอาสาช่วยเหลือสัมมาชีพชุมชน (มีอาชีพ มีรายได้ มีงานทา) รูปแบบการฝึกอบรมใช้กระบวนการแบบมีสาวนร่วม ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การบรรยายประกอบส่ือ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเน้นการฝึกปฏิบัติจริง สาหรับการประเมินผล กลุ่มเป้าหมายคือ ผู้นาสัมมาชีพชุมชนที่เข้ารับการฝึกอบรม จานวน 2,187 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ รวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามประเมินผลรายวิชา และประเมินผลภาพรวม แล้วนาผลที่ได้มาวิเคราะห์ ขอ้ มลู เรียบเรียงแบบร้อยแก้วเชงิ พรรณนา ใช้ค่าสถิตริ ้อยละ คา่ เฉลยี่ สรปุ ผลการฝกึ อบรมได้ ดังนี้ ผลกำรฝึกอบรม 1. ข้อมูลท่ัวไปของกลุ่มเป้ำหมำย ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จานวน 735 คน คิดเป็นร้อยละ 53.33 และเพศหญิง จานวน 643 คน คิดเป็นร้อยละ 46.67 ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 51-55 ปี จานวน 333 คน คิดเป็นร้อยละ 24.20 รองลงมาตามลาดับคืออายุระหว่าง 46–50 ปี จานวน 320 คน คิด เป็นร้อยละ 23.20 อายุระหว่าง 41-45 ปี จานวน 209 คน คิดเป็นร้อยละ 15.20 อายุระหว่าง 56–60 ปี จานวน 199 คน คิดเป็นร้อยละ 14.40 อายุ 60 ปีข้ึนไป จานวน 149 คน คิดเป็นร้อยละ 10.80 อายุระหว่าง 36-40 ปี จานวน 94 คน คิดเป็นร้อยละ 6.80 อายุระหว่าง 31-35 ปี จานวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 2.80 และอายุต่ากว่า 31 ปี จานวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 2.60 ส่วนใหญ่ปัจจุบันดารงตาแหน่งผู้นาท้องท่ี จานวน 315 คน คิดเป็นร้อยละ 22. 86 รองลงมาตามลาดับคือ ผู้นาท้องถิ่น จานวน 245 คน คิดเป็นร้อยละ 17.78 ประธานกลุ่มอาชีพ จานวน 214 คน คิดเป็นร้อยละ 15.53 ผู้นาอาสาพัฒนาชุมชน/อาสาพัฒนาชุมชน จานวน 182 คน คิดเป็นร้อยละ 13.21 ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับต่ากว่าปริญญาตรีจานวน 1,262 คน คิดเป็นร้อย ละ 91.60 รองลงมาตามลาดับคือ จบการศึกษาระดับปริญญาตรี จานวน 112 คน คิดเป็นร้อยละ 8.10 จบการศึกษาระดบั ปรญิ ญาโท จานวน 4 คน คดิ เป็นร้อยละ 0.30 2. ความคิดเห็นต่อโครงการ พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความคิดเห็นเก่ียวกับ การบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.38 และเม่ือพิจารณา เรียงลาดับเป็นรายประเดน็ จากมากไปหาน้อย พบว่า ระดับความคิดเห็นเกยี่ วกับการบรรลวุ ัตถุประสงค์ของ โครงการ มากที่สุด คือ เพื่อสร้างผู้นาสัมมาชีพให้สามารถถ่ายทอดความรู้ด้านอาชีพ โดยตระหนักถึง ความสาคัญบนพ้ืนฐานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนการวิเคราะห์อาชีพเพื่อเช่ือมโยง การตลาดของชุมชนได้ และสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน ชุมชนก็มีความสุข (Community Happiness) พ่ึงพา ตนเองได้ และประชาชนก็มีความสุข (People Happiness) อยใู่ นระดับมาก คา่ เฉลี่ย 4.40 รองลงมา คอื
ส่งเสริมผู้นาสัมมาชีพ ข มาก ค่าเฉลยี่ 4.36 มีจิตอาสาช่วยเหลือสัมมาชีพชุมชน (มีอาชีพ มีรายได้ มีงานทา) อยู่ในระดับ 3. ควำมคิดเห็นต่อควำมรู้ ควำมเข้ำใจด้ำนวิชำทั้งก่อนและหลังเข้ำร่วมกิจกรรม จำนวน 6 วิชำ สรปุ ได้ ดังนี้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความรู้ ความเข้าใจต่อเนื้อหาวิชาก่อนเข้ารับการ ฝึกอบรม โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.13 และหลังการฝึกอบรมมีระดับความรู้ความ เข้าใจต่อเน้ือหาวิชา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.42 และเม่ือพิจารณาเรียงลาดับค่าเฉล่ีย เปน็ รายวิชาไดด้ งั น้ี 1. วิชาศาสตร์พระราชาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มี ระดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเนื้อหาวิชาก่อนเข้ารับการฝึกอบรม อยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.36 และหลังการฝึกอบรมมีระดับความรู้ ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือวิชา อยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉล่ีย 4.53 2. วิชาการทางานเป็นทีม ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจต่อ ประเด็นเนื้อหาวิชาก่อนเข้ารับการฝกึ อบรม อยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉล่ีย 3.29 และหลังการฝึกอบรมมี ระดับความรู้ ความเข้าใจตอ่ ประเด็นเน้อื วิชา อยใู่ นระดบั มาก ค่าเฉลี่ย 4.45 3. วิชาความรสู้ ูส่ ัมมาชีพกับการเช่อื มโยงการตลาด ผู้เข้ารับการฝกึ อบรมสว่ นใหญ่มีระดับ ความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเนื้อหาวิชาก่อนเข้ารับการฝึกอบรม อยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉล่ีย 3.02 และหลังการฝกึ อบรมมรี ะดับความรู้ ความเข้าใจตอ่ ประเด็นเนอ้ื วิชา อยู่ในระดบั มาก ค่าเฉลีย่ 4.31 4. วิชาทักษะการถ่ายทอดสู่การเป็นวิทยากรสัมมาชีพชุมชน ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วน ใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเนื้อหาวิชาก่อนเข้ารับการฝึกอบรมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉล่ีย 3.02 และหลังการฝึกอบรมมีระดับความรู้ ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือวิชา อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.41 5. วิชาแผนการถ่ายทอดวิทยากรสัมมาชีพชุมชน ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับ ความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือหาวิชาก่อนเข้ารับการฝึกอบรมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.03 และหลังการฝกึ อบรมมีระดับความรู้ ความเขา้ ใจตอ่ ประเด็นเน้อื วิชา อยูใ่ นระดับมาก ค่าเฉลย่ี 4.39 6. วิชาการถา่ ยทอดความรูส้ ู่การสร้างอาชีพ ผ้เู ขา้ รบั การฝึกอบรมสว่ นใหญ่มีระดับความรู้ ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือหาวิชาก่อนเข้ารับการฝึกอบรมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.07 และหลัง การฝกึ อบรมมีระดับความรู้ ความเข้าใจตอ่ ประเด็นเนื้อวิชา อย่ใู นระดับมาก คา่ เฉลีย่ 4.42 4. ควำมคิดเห็นตอ่ กำรนำควำมร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ จำนวน 6 ประเดน็ สรปุ ได้ดังนี้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความม่ันใจต่อการนาความรู้ท่ีได้รับไปใช้ประโยชน์ในการ ปฏิบัติงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.35 และเมื่อพิจารณาเรียงลาดับเป็นรายประเด็นจาก มากไปหาน้อย พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความม่ันใจในการนาความรู้ศาสตร์พระราชาปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ประโยชน์ อยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉล่ีย 4.54 รองลงมาตามลาดับคือ ม่ันใจต่อ วิชาการทางานเป็นทีม อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.38 วิชาการถ่ายทอดความรู้สู่การสร้างอาชีพ อยู่ใน ระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.34 วิชาทักษะการถ่ายทอดสู่การเป็นวิทยากรสัมมาชีพชุมชน อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.32 วิชาแผนการถ่ายทอดวิทยากรสัมมาชีพชุมชน อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.31 และวิชาองค์ ความรูส้ สู่ มั มาชพี ชุมชน อยู่ในระดับมาก มีคา่ เฉลีย่ นอ้ ยสดุ คือ 4.23
ค 5. ควำมพึงพอใจตอ่ กำรบรหิ ำรโครงกำร สรปุ ไดด้ ังน้ี ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใจต่อการให้บริการด้านวิทยากร โดย ภาพรวมอย่ใู นระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.30 และเมื่อพิจารณาเป็นรายประเด็นพบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสว่ น ใหญ่มีความพึงพอใจต่อความรู้ ความสามารถในการถ่ายทอด/บรรยาย มีค่าคะแนนเฉล่ียเท่ากับการสร้าง บรรยากาศการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.34 รองลงมาตามลาดับคือพึงพอใจต่อเทคนิคและวธิ ีการ ที่ใช้ในการถ่ายทอดความรู้ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.29 และความพึงพอใจต่อการเปิดโอกาสให้ซักถาม แสดงความคดิ เห็น อยู่ในระดบั มาก คา่ เฉลย่ี 4.23 ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใจต่อการให้บริการด้านการให้บริการ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.18 และเม่ือพิจารณาเป็นรายประเด็นพบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อเจ้าหน้าท่ีมีกิริยา มารยาท และการแต่งกายเหมาะสม อยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉล่ีย 4.50 รองลงมาตามลาดับคือพึงพอใจต่อเจ้าหน้าที่กระตือรือร้นในการให้บริการ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.42 ความพึงพอใจต่อห้องฝึกอบรม ห้องพัก ห้องน้า โรงอาหาร และบริเวณโดยรอบมีความ สะอาด อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลย่ี 4.21 ความพึงพอใจต่ออาหาร/อาหารว่าง/เคร่ืองด่ืม มีคุณภาพเหมาะสม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.18 ความพึงพอใจต่อโสตทัศนูปกรณ์ (ชุดโปรเจคเตอร์ เคร่ืองเสียง ฯลฯ) เหมาะสม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.12 ความพึงพอใจต่อสัญญาณ wifi ในห้องฝึกอบรม อยู่ในระดับมาก คา่ เฉลี่ย 3.97และที่มคี วาม พงึ พอใจนอ้ ยทสี่ ดุ คือ สัญญาณ wifi ในหอ้ งพัก อย่ใู นระดบั มาก ค่าเฉล่ยี 3.84 ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใจต่อการให้บริการด้านอาคารและ สถานท่ี โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.35 และเมื่อพิจารณาเป็นรายประเด็นพบว่า ผู้เข้ารับการ ฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความพงึ พอใจต่อประเด็นห้องพัก มีความเหมาะสม อยู่ในระดับมากท่ีสุด ค่าเฉลี่ย 4.64 รองลงมาตามลาดับคือพึงพอใจต่อขนาดห้องฝึกอบรม มีความเหมาะสมกับจานวนผู้เข้าอบรม อยู่ในระดับ มาก คา่ เฉล่ีย 4.40 ความพงึ พอใจต่อห้องอาหาร มีความเหมาะสม ถกู สุขลักษณะ อยู่ในระดับมาก คา่ เฉล่ีย 4.19 และความพงึ พอใจตอ่ หอ้ งน้าอาคารฝึกอบรม มคี วามสะอาด อยใู่ นระดบั มาก ค่าเฉลี่ย 4.17 6. ผลกำรประเมินรำยวชิ ำ จำนวน 6 วิชำ สรปุ ผลการประเมนิ รายวชิ าไดด้ ังน้ี 6.1 ศาสตร์พระราชาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 1,955 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 89.39 ของกลุ่มเป้าหมาย) ประเดน็ เก่ียวกบั เนอ้ื หาวชิ า พบว่า ผ้เู ขา้ รับการฝึกอบรมสว่ น ใหญ่มีความพึงพอใจในภาพรวมต่อประเด็นของเนื้อหาวิชาการ อยู่ในระดับมาก 4.22 และเม่ือพิจารณา เรียงลาดับค่าเฉลี่ยที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีระดับความพึงพอใจต่อประเด็นต่าง ๆ ระดับมากท่ีสุด คือ มี ความพงึ พอใจตอ่ ความชัดเจนของเนือ้ หาวิชา มีค่าเฉล่ีย 4.29 รองลงมาตามลาดับ คอื พึงพอใจต่อการบรรลุ วัตถปุ ระสงคข์ องวิชา ไดค้ ่าเฉลยี่ 4.24 พงึ พอใจต่อความรู้ ทกั ษะ ทไี่ ดร้ ับเพิ่มเติมจากวิชานี้ ไดค้ า่ เฉลยี่ 4.20 และพึงพอใจต่อความสามารถนาไปประยุกต์ใช้ ได้ค่าเฉล่ีย 4.16 และประเด็นเก่ียวกับวิทยากร พบวา่ ผู้เข้า รับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการดาเนินงานของวิทยากรในภาพรวมอยู่ในระดับ มาก คา่ เฉลี่ย 4.20 และเม่ือพิจารณาเรียงลาดับค่าเฉล่ียท่ีผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีระดับความพึงพอใจต่อประเด็น ต่างๆ ระดับมากท่ีสุด คือ พึงพอใจต่อบุคลิกภาพ (การแต่งกาย ท่าทาง น้าเสียง ฯลฯ) ค่าเฉลี่ย 4.36 รองลงมาตามลาดบั คือ พงึ พอใจตอ่ ความรู้ ความสามารถในการถา่ ยทอด/บรรยาย คา่ เฉลย่ี 4.29 พงึ พอใจ ต่อเทคนิคและวิธีการที่ใช้ในการถ่ายทอดความรู้ ค่าเฉลี่ย 4.19 พึงพอใจต่อการสร้างบรรยากาศในการ เรยี นรู้ คา่ เฉลยี่ 4.17 และพงึ พอใจต่อการเปดิ โอกาสให้ซักถาม แสดงความคิดเหน็ ค่าเฉลีย่ 3.98
ง 6.2 วิชาการทางานเป็นทีม (ผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 1,633 คน คิดเป็นร้อยละ 74.67 ของกลุ่มเป้าหมาย) ประเด็นเก่ียวกับเนื้อหาวิชา พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความพึง พอใจต่อประเด็นของเนื้อหาวิชาการ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.31 และเม่ือพิจารณา เรียงลาดับคา่ เฉล่ียที่ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรม มีระดบั ความพึงพอใจต่อประเดน็ ต่าง ๆ ระดับมากท่ีสดุ ค่าเฉลี่ย 4.35 คือ ความพึงพอใจความชัดเจนของเน้ือหาวิชา รองลงมาตามลาดับ คือพึงพอใจต่อการบรรลุ วัตถุประสงค์ของวิชา ค่าเฉลี่ย 4.232 พึงพอใจต่อความรู้ ทักษะ ท่ีได้รับเพิ่มเติมจากวิชาน้ี ค่าเฉล่ีย 4.31 และพึงพอใจต่อความสามารถนาไปประยุกต์ใช้ คา่ เฉลี่ย 4.27 และประเด็นเกี่ยวกับวทิ ยากร พบว่า ผู้เข้ารับ การฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใจต่อการดาเนินการของวิทยากร ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.35 และเมื่อพิจารณาเรียงลาดับค่าเฉล่ียที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีระดับความพึงพอใจต่อประเด็น ต่างๆ ระดับมากที่สุด คือ ความพึงพอใจต่อบุคลิกภาพ (การแต่งกาย ท่าทาง น้าเสียง ฯลฯ) ค่าเฉลี่ย 4.41 รองลงมาตามลาดับ คือ พึงพอใจต่อความรู้ ความสามารถในการถ่ายทอด/บรรยายค่าเฉล่ีย 4.39 พึงพอใจ ต่อการสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ ค่าเฉล่ีย 4.37 พึงพอใจต่อเทคนิคและวิธีการท่ีใช้ในการถ่ายทอด ความรู้ คา่ เฉล่ยี 4.32 และพงึ พอใจต่อการเปิดโอกาสใหซ้ ักถาม แสดงความคดิ เห็น ค่าเฉลี่ย 4.26 6.3 วชิ าความรสู้ สู่ ัมมาชีพกับการเชื่อมโยงการตลาด (ผตู้ อบแบบสอบถาม จานวน 1,936 คน คิดเป็นร้อยละ 88.52 ของกล่มุ เปา้ หมาย) ประเด็นเกี่ยวกับเน้ือหาวิชา พบวา่ ผเู้ ข้ารับการ ฝึกอบรมสว่ นใหญ่มีความพงึ พอใจต่อประเดน็ ของเนอื้ หาวชิ าการ ในภาพรวมอยใู่ นระดับมาก ค่าเฉลย่ี 4.37 และเมื่อพิจารณาเรียงลาดับค่าเฉลี่ยทผ่ี ู้เขา้ รับการฝึกอบรมมรี ะดับความพงึ พอใจต่อประเด็นต่าง ๆ ระดบั มากทสี่ ดุ คือ ความพึงพอใจต่อความชดั เจนของเน้ือหาวชิ า มคี า่ เฉล่ีย 4.44 รองลงมาตามลาดบั คือ พงึ พอใจต่อการบรรลุวตั ถุประสงคข์ องวชิ า คา่ เฉลีย่ 4.41 พึงพอใจต่อความรู้ ทักษะ ท่ไี ด้รบั เพมิ่ เติมจาก วิชานี้ ค่าเฉลี่ย 4.35 และพงึ พอใจต่อความสามารถนาไปประยุกต์ใช้ ค่าเฉลี่ย 4.30 และประเดน็ เกีย่ วกับ วทิ ยากร พบว่าผูเ้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมสว่ นใหญ่มีความพึงพอใจตอ่ การดาเนนิ การของวทิ ยากร ในภาพรวม อยใู่ นระดบั มาก คา่ เฉลยี่ 4.41 และเมื่อพจิ ารณาเรียงลาดับค่าเฉล่ยี ท่ีผเู้ ข้ารับการฝกึ อบรมมรี ะดับความพงึ พอใจต่อประเดน็ ต่างๆ ระดบั มากท่สี ดุ คือ ความพงึ พอใจต่อบคุ ลกิ ภาพ (การแตง่ กาย ท่าทาง นา้ เสียง ฯลฯ)ค่าเฉลยี่ 4.49 รองลงมาตามลาดบั คือ ความพงึ พอใจต่อความรู้ ความสามารถในการถ่ายทอด/ บรรยายคา่ เฉล่ยี 4.47 พึงพอใจตอ่ การสรา้ งบรรยากาศในการเรยี นรู้ ค่าเฉลย่ี 4.41 พงึ พอใจต่อเทคนิคและ วธิ กี ารทีใ่ ช้ในการถ่ายทอดความรู้ คา่ เฉล่ีย 4.40 และพึงพอใจต่อการเปิดโอกาสให้ซักถาม แสดงความ คิดเหน็ ค่าเฉล่ยี 4.28 6.4 วิชาทักษะการถ่ายทอดสู่การเป็นวิทยากรสัมมาชีพชุมชน (ผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 1,947 คน คิดเป็นร้อยละ 89.03 ของกลุ่มเป้าหมาย) ประเด็นเกี่ยวกับเนื้อหาวิชา พบว่า ผู้เข้ารับ การฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อประเด็นของเน้ือหาวิชาการ ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.56 และเมื่อพิจารณาเรียงลาดับคา่ เฉล่ียท่ีผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีระดับความพึงพอใจต่อประเด็น ตา่ งๆ ระดับมากที่สุด คือ ความพึงพอใจต่อความชัดเจนของเนื้อหาวิชา ค่าเฉล่ีย 4.58 รองลงมาตามลาดับ คือความพึงพอใจต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของวิชามีค่าเท่ากับความพึงพอใจต่อความรู้ ทักษะ ท่ีได้รับ เพ่ิมเติมจากวิชานี้ ค่าเฉล่ีย 4.57 และพึงพอใจต่อความสามารถนาไปประยุกต์ใช้ ค่าเฉลี่ย 4.52 และ ประเด็นเก่ียวกับวิทยากร พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการดาเนินการของ วทิ ยากร ในภาพรวมอยใู่ นระดับมากท่ีสุด คา่ เฉล่ยี 4.59 และเมือ่ พิจารณาเรยี งลาดับคา่ เฉลีย่ ท่ีผูเ้ ข้ารับการ
จ ฝึกอบรมมีระดับความพึงพอใจต่อประเด็นต่างๆ ระดับมากท่ีสุด คือ ความพึงพอใจต่อบุคลิกภาพ (การ แต่งกาย ท่าทาง น้าเสียง ฯลฯ) ค่าเฉลี่ย 4.64 รองลงมาตามลาดับ คือ ความพึงพอใจต่อการสร้างบรรยากาศ ในการเรียนรู้ ค่าเฉลี่ย 4.61 พึงพอใจต่อความรู้ ความสามารถในการถ่ายทอด/บรรยาย ค่าเฉล่ีย 4.57 พึง พอใจต่อการเปิดโอกาสให้ซักถาม แสดงความคิดเห็น ค่าเฉลี่ย 4.56 และความพึงพอใจต่อเทคนิคและ วธิ กี ารท่ใี ช้ในการถา่ ยทอดความรู้ คา่ เฉลยี่ 4.55 6.5 วิชาแผนการถ่ายทอดวิทยากรสัมมาชีพชุมชน (ผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 1,503 คน คิดเป็นร้อยละ 68.72 ของกลุ่มเป้าหมาย) ประเด็นเก่ียวกับเน้ือหาวิชา พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อประเด็นของเนื้อหาวิชาในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.43 และเม่ือ พิจารณาเรียงลาดับค่าเฉลี่ยที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีระดับความพึงพอใจต่อประเด็นต่างๆ ระดับมากที่สุด คือ ความ พึงพอใจต่อความชัดเจนของเนื้อหาวชิ าและความพึงพอใจต่อความรู้ ทกั ษะ ท่ีได้รบั เพิ่มเติมจาก วิชานี้ มีค่าเฉล่ีย 4.44 รองลงมาตามลาดับ คือความพึงพอใจต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของวิชา ค่าเฉลี่ย 4.42 และพึงพอใจต่อความสามารถนาไปประยุกต์ใช้ ค่าเฉล่ีย 4.41 และประเด็นเก่ียวกับวิทยากร พบว่า ผู้ เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการดาเนินการของวิทยากร ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก คา่ เฉล่ีย 4.46 และเมื่อพิจารณาเรียงลาดับคา่ เฉลี่ยท่ีผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีระดับความพึงพอใจต่อประเด็น ต่างๆ ระดับ มากท่ีสุด คือ ความพึงพอใจต่อบุคลิกภาพ (การแต่งกาย ท่าทาง น้าเสียงฯลฯ) ค่าเฉลี่ย 4.50 รองลงมาตามลาดับ คือ ความพึงพอใจต่อการสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ ค่าเฉลี่ย 4.47 ความพึง พอใจต่อความรู้ ความสามารถในการถ่ายทอด/บรรยาย ค่าเฉล่ีย 4.46 พึงพอใจต่อเทคนิคและวิธีการท่ีใช้ ในการถ่ายทอดความรู้ค่าเฉล่ีย 4.45 และพึงพอใจต่อการเปิดโอกาสให้ซักถาม แสดงความคิดเห็น ค่าเฉลี่ย 4.43 6.6 วิชาการถ่ายทอดความรู้สู่การสร้างอาชีพ (ผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 1,752 คน คิดเป็นร้อยละ 80.10 ของกลุ่มเป้าหมาย) ประเด็นเก่ียวกับเน้ือหาวิชา พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วน ใหญ่มีความพึงพอใจต่อประเด็นของเนื้อหาวิชาการ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.45 และเมื่อ พิจารณาเรียงลาดับค่าเฉลี่ยที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีระดับความพึงพอใจต่อประเด็นต่างๆ ระดับมากท่ีสุด คือ ความ พึงพอใจต่อการบรรลุวตั ถุประสงค์ของวิชา ค่าเฉลี่ย 4.47รองลงมาตามลาดับ คือ พึงพอใจต่อ ความรู้ ทักษะที่ได้รับเพ่ิมเติมจากวิชาน้ีมีค่าเท่ากับความพึงพอใจต่อความสามารถนาไปประยุกต์ใช้ ค่าเฉล่ีย 4.45 และพึงพอใจต่อความความชัดเจนของเนื้อหาวิชา ได้ค่าเฉล่ีย 4.44 และประเด็นเกี่ยวกับวิทยากร พบว่า ผู้ เข้ารบั การฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความพงึ พอใจต่อการดาเนนิ การของวิทยากรในภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด ค่าเฉลี่ย 4.51 และเมื่อพิจารณาเรียงลาดับค่าเฉล่ียที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีระดับความพึงพอใจต่อประเด็น ต่างๆ ระดับมากท่ีสุด คือ ความพึงพอใจต่อบุคลิกภาพ (การแต่งกาย ท่าทาง น้าเสียง ฯลฯ) ค่าเฉลี่ย 4.55 รองลงมาตามลาดับ คือ พึงพอใจต่อความรู้ ความสามารถในการถา่ ยทอด/บรรยายค่าเฉล่ีย 4.52 พงึ พอใจ ต่อการสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ ค่าเฉลี่ย 4.51 พึงพอใจต่อเทคนิคและวิธีการที่ใช้ในการถ่ายทอด ความรู้มีค่าเท่ากับความพงึ พอใจต่อการเปิดโอกาสให้ซกั ถาม แสดงความคิดเหน็ ได้คา่ เฉลี่ย 4.48 7. ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบาย 7.1 การพัฒนาหลักสูตร ควรจัดให้มีการศึกษาดูงานหมู่บ้าน/ชุมชนเข้มแข็งต้นแบบใน การน้อมนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปสู่การปฏบิ ัติจนเป็นวิถชี วี ิต
ฉ 7.2 ควรนาขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการติดตามประเมินผลกลุ่มเป้าหมายในพ้ืนที่ไปพฒั นาหลกั สูตร ใหต้ รงกบั ความตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมาย 7.3 ควรจัดใหม้ ีการพฒั นาศักยภาพปราชญ์ชมุ ชนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพยี งอย่างต่อเนือ่ ง ทกุ ปี
1 ส่วนที่ 1 บทนำ ควำมสำคญั รัฐบาล ได้แถลงนโยบายการบริหารราชการแผ่นดิน ตามรัฐธรรมนูญฉบับช่ัวคราว พ.ศ. ๒๕๕๙ ด้านการลดความเหล่ือมล้าของสังคมและการสร้างโอกาสเข้าถึงบริการของรัฐ และขับเคลื่อนโดย การส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนน้อมน้าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการด้ารงชีวิตและ ประกอบอาชีพ พร้อมทังให้หน่วยงานราชการใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทางในการ ด้าเนนิ งานตามภารกจิ ของหน่วยงาน ซึ่งหน่วยงานต่าง ๆ รวมทังกรมการพัฒนาชุมชน ได้ด้าเนินการโดยพฒั นา หมู่บ้าน/ชุมชนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพอ่ื ให้ประชาชนรจู้ ักการประหยดั ท้ากนิ ทา้ ใช้เพอื่ เป็น การลดรายจ่าย และการประกอบอาชีพเสริม เป็นการเพ่ิมรายได้ กระทรวงมหาดไทย โดยกรมการพัฒนา ชุมชน ได้เร่ิมด้าเนินการขับเคลื่อนตามนโยบายดว้ ยการด้าเนนิ งานตามโครงการสรา้ งสัมมาชีพชมุ ชนโดยยึด หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอาชีพของครัวเรือนในหมู่บ้านเป้าหมายให้ ประกอบอาชีพตามแนวทางสัมมาชีพ คือ ท้าอาชีพที่ไม่เบียดเบียนตนเอง ไม่เบียดเบียนผู้อ่ืน ไม่เบียดเบียน สิ่งแวดล้อมและมีรายได้มากกว่ารายจ่าย ส้าหรับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 มีผลของการสร้างสัมมาชีพ ชุมชน จ้านวน 23,589 หมู่บ้าน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ขยายผลการสร้างสัมมาชีพชุมชนและสร้าง ความย่ังยืนแก่ครัวเรือนในหมู่บ้านเดิมเพ่ิมอีก จ้านวน 16,512 หมู่บ้าน และขยายผลการสร้างสัมมาชีพ ชุมชนในหมู่บ้านอีก จ้านวน 3,628 หมู่บ้าน รวมด้าเนินการระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 – 2561 ไป แล้วทงั สิน จ้านวน 27,217 หมบู่ ้าน จากผลการขับเคล่ือนตามนโยบายรัฐบาลด้วยการด้าเนินงานตามโครงการสร้างสัมมาชีพ ชุมชน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยกรมการพัฒนาชุมชน ท่ีผ่านมาจะเห็นได้ว่า ณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 สามารถด้าเนินการได้เพียง จ้านวน 27,217 หมู่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 36 ของจ้านวนหมู่บ้านทังหมดทั่วประเทศ 75,032 หมู่บ้าน ดังนัน เพ่ือลดความเหล่ือมล้าของสังคมและสร้าง โอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐตามนโยบายของรัฐบาล และเพื่อสร้างโอกาสความเสมอภาคและความเท่า เทียมกนั ทางสังคม พร้อมทังเพิ่มศักยภาพชุมชนและเศรษฐกิจฐานรากให้เข้มแข็ง เพื่อใหช้ ุมชนพ่ึงตนเองได้ และได้รับส่วนแบ่งผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจมากขึน กรมการพัฒนาชุมชน จึงก้าหนดด้าเนินการขยายผล การสร้างสัมมาชีพชุมชนในระดับหมู่บ้าน ตามโครงการสร้างสัมมาชีพชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ในหมู่บ้านใหม่เพิ่มเติมอีก จ้านวน 14,000 หมู่บ้าน รวมหมู่บ้านท่ีด้าเนินการแล้ว จ้านวน 41,217 หม่บู า้ น คิดเปน็ รอ้ ยละ 55 ของจา้ นวนหมู่บา้ นทังหมดทวั่ ประเทศ 75,032 หมู่บา้ น กรมการพัฒนาชุมชน ได้รับมอบหมายจากกระทรวงมหาดไทย ให้ด้าเนินการส่งเสริม สนับสนุนการขับเคล่ือน การพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคเกษตร และชนบทไปสู่การ ปฏิบัติ ดังนัน สถาบันการพัฒนาชุมชนจึงได้จัดท้าหลักสูตรการฝึกอบรมอาชีพตามความต้องการของ ประชาชน โดยศูนยฝ์ ึกอบรมประชาชน ไดอ้ อกแบบหลักสตู รเป็น 3 ระยะ คือ ระยะเร่งรัด ระยะกลาง และ ระยะยาว เนน้ การเรยี นร้โู ดยฝึกปฏิบัติโดยใชก้ ระบวนการแบบมีสว่ นร่วม การฝึกปฏบิ ตั ิเสรมิ ทักษะใชผ้ เู้ รียน
2 เป็นศูนย์กลางเน้นการเรียนรู้แบบฝึกปฏิบัติจริง ซ่ึงสามารถไปประกอบสัมมาชีพและก่อให้เกิดรายได้ เป็น แบบอย่างแก่ประชาชนในชุมชน และเกิดความต้องการเข้ามารับการฝึกอบรมอาชีพของศูนย์ฝึกอบรม ประชาชนอย่างไม่หยุดยัง ท้าให้เกิดสัมมาชีพเต็มพืนที่ เพ่ือพัฒนาศักยภาพของผู้น้าชุมชนให้สามารถ ขับเคล่ือนชุมชนให้เกิดอาชีพ และสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน เกิดชุมชนแห่งความสุข (Community Happiness) พ่ึงพาตนเองได้ ท้าให้ประชาชนก็มีความสุข (people Happiness) และสง่ เสริมผู้น้าสมั มาชีพ มีจิตอาสาช่วยเหลือสัมมาชีพชุมชน (มีอาชีพ มีรายได้ มีงานท้า) สถาบันการพัฒนาชุมชน จึงได้จัดท้า โครงการสร้างและพัฒนาผู้น้าสัมมาชีพขึน โดยมอบหมายให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานีเป็น หนว่ ยด้าเนินการฝกึ อบรม วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อสร้างผู้นาสัมมาชีพให้สามารถถ่ายทอดความรู้ด้านอาชีพ โดยตระหนักถึง ความสาคัญบนพื้นฐานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนการวิเคราะห์อาชีพเพ่ือเช่ือมโยง การตลาดของชุมชนได้ และสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน ชุมชนก็มีความสุข (Community Happiness) พึ่งพา ตนเองได้ และประชาชนกม็ ีความสขุ (People Happiness) 2. สง่ เสรมิ ผนู้ าสมั มาชีพ มจี ิตอาสาช่วยเหลอื สัมมาชีพชุมชน (มีอาชีพ มรี ายได้ มีงานทา) กลมุ่ เปำ้ หมำย ปราชญ์ชมุ ชนจากหมบู่ ้านเศรษฐกจิ พอเพยี งจาก 7 จังหวัด ในเขตพน้ื ทีใ่ หบ้ ริการของ ศนู ยศ์ กึ ษาและพฒั นาชมุ ชนอุบลราชธานี จานวนท้ังสิ้น 2,187 คน แยกไดด้ ังน้ี จังหวัดอบุ ลราชธานี จานวน 581 คน จังหวัดนครพนม จานวน 239 คน จงั หวดั มกุ ดาหาร จานวน 95 คน จังหวัดยโสธร จานวน 64 คน จงั หวดั รอ้ ยเอ็ด จานวน 530 คน จังหวัดศรีสะเกษ จานวน 561 คน จงั หวดั อานาจเจรญิ จานวน 117 คน แยกดาเนินการ 22 รนุ่ โดยดาเนนิ การพร้อมกนั ครงั้ ละ 2 ร่นุ ข้ันตอนและวิธดี ำเนนิ งำน 1. เขา้ ร่วมประชุมชีแ้ จงแนวทางการดาเนินงานตามโครงการจากส่วนกลาง 2. คณะวิทยากรเตรียมทีมวิทยากร และเจ้าหน้าท่ีของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน อุบลราชธานี เพอื่ เตรยี มความพร้อมในการฝึกอบรมปราชญผ์ ้นู าสัมมาชีพ 3. ประสานจังหวัดเพื่อประสานกลุ่มเป้าหมาย 4. ประชุมทมี วิทยากรเตรยี มความพร้อม 5. เสนอโครงการขออนมุ ัติใชง้ บประมาณ 6. จัดทาคาส่ังแตง่ ต้ังคณะทางาน 7. ประสานสถานท่ศี ึกษาดูงาน 8. จดั เตรียมสถานทพ่ี ัก/หอ้ งฝึกอบรม/วัสดุอุปกรณ์/โสตทศั นูปกรณ์/เครื่องเสยี ง 9. ดาเนนิ งานตามโครงการ 10. ประเมินผล/สรุปผลการดาเนินงาน/รายงานต่อกรมการพฒั นาชมุ ชน
3 งบประมำณดำเนินกำร งบประมาณดาเนินการ จานวนท้ังส้ิน 5,737,300 บาท (ห้าล้านเจ็ดแสนสามหมื่นเจ็ดพัน สามรอ้ ยบาทถ้วน) โดยแยกดาเนินการเป็นรนุ่ จานวน 22 รุ่น ระยะเวลำดำเนินกำร ดาเนินการในไตรมาสท่ี 1 จานวน 22 ร่นุ ๆ ละ 3 วนั โดยดาเนินการพร้อมกนั คร้งั ละ 2 รุ่น ระหวา่ งวันท่ี 5 พฤศจิกายน – 13 ธันวาคม ๒๕61 ขอบเขตเนอ้ื หำหลักสูตร และกิจกรรมเสรมิ คุณคำ่ วชิ าหลกั ประกอบด้วย 6 วชิ า ดงั น้ี 1. ศาสตร์พระราชาปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. การทางานเปน็ ทีม 3. ความรู้สสู่ ัมมาชีพกับการเชอื่ มโยงการตลาด 4. ทกั ษะการถา่ ยทอดสู่การเปน็ วิทยากรสัมมาชีพชุมชน 5. แผนการถ่ายทอดวิทยากรสมั มาชพี ชมุ ชน 6. การถ่ายทอดความรู้สู่การสรา้ งอาชพี กิจกรรมเสรมิ - กจิ กรรมปรบั ฐานการเรยี นรูด้ ว้ ยการละลายพฤตกิ รรม - กิจกรรมจุดเทียนแห่งปัญญา - กิจกรรมฝกึ จติ สรา้ งพลงั ผู้นาสมั มาชพี ชุมชน - กิจกรรมสขุ ภาพดี ชีวีมีสขุ - กิจกรรมแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ศูนยบ์ ่มเพาะเศรษฐกิจพอเพียง - กิจกรรมเสริมสร้างคุณคา่ ผู้นาสมั มาชีพชุมชน (ตุม้ โฮมด้วยนา้ ใจและไมตรจี ิต) - กจิ กรรมต้ังปณธิ าน ผลท่คี ำดวำ่ จะได้รบั ผู้น้าสัมมาชพี สามารถถา่ ยทอดความรดู้ ้านอาชีพ และวิเคราะหอ์ าชพี สูก่ ารเชื่อมโยงการตลาดได้ ตวั ชว้ี ดั ควำมสำเรจ็ ของโครงกำร 10.1 ตวั ชว้ี ัดผลผลิต 1) ร้อยละ 90 ของผู้เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรวิทยากรผู้นาสัมมาชีพมีเวลาเข้ารับการ ฝกึ อบรมไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 2) รอ้ ยละ 90 ของผู้ผ่านการฝกึ อบรม มีทักษะในการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านสมั มาชีพสู่ ชมุ ชน 10.2 ตวั ช้ีวดั ผลลพั ธ์ ร้อยละ 90 ของผู้นาสัมมาชีพท่ีเข้ารับการฝึกอบรมสามารถเป็นวิทยากรสัมมาชีพ ถ่ายทอดความรูด้ า้ นอาชพี ได้
4 สว่ นท่ี 2 สรปุ เนอื้ หำวิชำกำร กรมการพัฒนาชุมชน มอบหมายให้ศูนย์ศกึ ษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี เป็นหน่วย ดาเนินการฝึกอบรมโครงการสร้างและพัฒนาผู้นาสัมมาชีพชุมชน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 กลุ่มเป้าหมายคือปราชญ์ชุมชนจากหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงจาก 7 จังหวัดในพ้ืนท่ีให้บริการของศูนย์ ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี จานวน 2,187 คน แยกดาเนินการ จานวน 22 รุ่น ดาเนินการ พรอ้ มกันคร้งั ละ 2 รุ่น ๆ ละ 3 วัน โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อสร้างผูน้ าสัมมาชพี ใหส้ ามารถถ่ายทอดความรูด้ ้าน อาชีพ โดยตระหนักถึงความสาคัญบนพ้ืนฐานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตลอดจนการ วิเคราะห์อาชีพ เพื่อเช่ือมโยงการตลาดของชุมชนได้ และสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน ชุมชนก็มีความสุข (Community Happiness) พึ่งพาตนเองได้ และประชาชนกม็ คี วามสขุ (People Happiness) และสง่ เสริม ผนู้ าสัมมาชีพ มจี ติ อาสาชว่ ยเหลือสัมมาชีพชมุ ชน (มอี าชีพ มีรายได้ มีงานทา) การดาเนินงานตามโครงการ ดังกลา่ ว ได้กาหนดประเดน็ เน้ือหาวิชาตามหลักสูตร จานวน 6 หวั ขอ้ วิชาหลัก 6 กิจกรรมเสริมหลกั สตู ร ดังน้ี เนื้อหำวิชำหลกั วิชาหลกั ประกอบดว้ ย 6 วชิ า ดังนี้ 1. ศาสตรพ์ ระราชาปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. การทางานเป็นทีม 3. ความรูส้ สู่ มั มาชีพกบั การเช่อื มโยงสมั มาชีพสู่การตลาด 4. ทักษะการถ่ายทอดสู่การเปน็ วิทยากรสัมมาชีพชุมชน 5. แผนการถ่ายทอดวทิ ยากรสมั มาชพี ชมุ ชน 6. การถา่ ยทอดความรูส้ กู่ ารสร้างสมั มาชพี กจิ กรรมเสรมิ - กิจกรรมปรบั ฐานการเรยี นรดู้ ว้ ยการละลายพฤติกรรม - กจิ กรรมจดุ เทยี นแห่งปัญญา - กจิ กรรมฝกึ จติ สรา้ งพลงั ผนู้ า้ สมั มาชีพชุมชน - กจิ กรรมแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ศนู ย์บม่ เพาะเศรษฐกจิ พอเพยี ง - กิจกรรมเสริมสรา้ งคุณคา่ ผู้นา้ สัมมาชีพชุมชน (ตมุ้ โฮมดว้ ยน้าใจและไมตรีจติ ) - กจิ กรรมตงั ปณิธาน การเรียนรู้ในแต่ละวิชายึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ด้วยรูปแบบ วิธีการ เทคนิค ที่ หลากหลาย มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ จากประสบการณ์ตรง และการฝึกทักษะเกี่ยวกับการเป็น วิทยากรถา่ ยทอดองค์ความรู้ด้านสัมมาชีพ ทส่ี ามารถนาไปปรับใชใ้ นชมุ ชนไดจ้ รงิ โดยใช้กระบวนการฝึกอบรม ดังนี้ 1. การบรรยายประกอบสื่อ Power Point 2. ชมวดี ีทศั น/์ ภาพยนตร/์ ภาพประกอบการฝึกอบรม 3. เวทแี ลกเปล่ยี นเรียนรู้ 4. การสาธติ 5. การฝึกปฏิบัติ
5 สรปุ สำระสำคัญของเนือ้ หำวิชำได้ ดงั น้ี วิชำ กำรปรับฐำนกำรเรยี นรดู้ ว้ ยกำรละลำยพฤตกิ รรม วัตถปุ ระสงค์ 1. ร้จู ักและคุน้ เคยกัน 2. เรยี นรคู้ วามคาดหวังในการฝกึ อบรม 3. กาหนดกติกา ขอ้ ตกลงในการอยูแ่ ละเรียนร้รู ่วมกัน 4. ประเมนิ ตนเองกอ่ นการเรียนรู้ ระยะเวลำ 1.00 ชว่ั โมง ขอบเขตเนือ้ หำวิชำ 1. หลักการเรียนรู้ ยดึ หลกั 4 ส ประกอบดว้ ย 1.1 สาระ 1.2 ส่วนร่วม 1.3 สรา้ งสรรค์ 1.4 สนกุ สนาน 2. หลักการ 3 ป ประกอบดว้ ย 2.1 ปรบั ตวั 2.2 เปิดใจ 2.3 ปดิ มือถอื 3. ปรชั ญาการเรียนรู้ มีดังน้ี 3.1 ไม่มีใครรูท้ กุ เร่ือง 3.2 เรยี นรดู้ ้วยการปฏบิ ัติ 3.3 แลกเปลยี่ นเรียนรู้รว่ มกันอยา่ งเป็นกระบวนการก้าวไปทลี ะขน้ั 3.4 เรียนร้เู พ่ือใหเ้ กิดการเปล่ยี นแปลงไปสสู่ ง่ิ ทดี่ ขี ้นึ 3.5 การเรียนรูค้ ือกระบวนการในการกาหนดตนเองไมม่ ใี ครบงั คับเราได้ เทคนคิ /วิธกี ำร ทีมวิทยากรแนะนาตัวเองและเกริน่ นาถึงวัตถุประสงคข์ องการปรับฐานการเรยี นรู้และการ ละลายพฤติกรรม เป็นการสร้างบรรยากาศท่ีดีและปลอดภัย ซึ่งการเรียนรู้ที่จะทาให้ทุกคนมีส่วนร่วมได้ นั้น ผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมต้องเปิดใจ จึงเชิญชวนให้ทุกคนทเ่ี ขา้ รบั การฝึกอบรมรว่ มทากิจกรรม ดังน้ี 1. กำรสรำ้ งควำมค้นุ เคยด้วยกำรปรับฐำนกำรเรียนรูด้ ้วยกำรละลำยพฤติกรรม ทีมวิทยากรนาผู้เข้ารับการฝึกอบรมทุกคนเข้าสู่กิจกรรมการปรับฐานการเรียนรู้ด้วย กิจกรรมละลายพฤติกรรม โดยใช้เพลง/เกม ทีมวิทยากรนาร้องเพลง ฉันและเธอ พร้อมแสดงท่า ประกอบเพลง และให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมร้องพร้อมแสดงท่าประกอบพร้อมกัน หลังจากน้ันมีการ ทดสอบสมองเพื่อช่วยในเรื่องความจาด้วยการนับเลข 1-10 ประกอบท่าทาง โดยทีมวิทยากรสาธิตให้ดู เป็นตัวอย่าง เสร็จแล้วให้ทุกคนทาตาม เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้นาไปฝึกต่อที่บ้านซ่ึงจะก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อการพฒั นาความจา
6 หลังจากสร้างความคุ้นเคยเสร็จแล้ว วิทยากรไดก้ าหนดสัญลักษณ์ในการแสดงความพรอ้ มของผู้ เข้ารับการฝึกอบรมด้วยคาส่ัง “ปรบมือผู้นาสัมมาชีพ” ผู้เข้ารับการฝึกอบรมก็จะปรบมือพร้อมกัน 3 ครั้ง โดย เอามอื ขาวตง้ั ฉากแตะท่ีหัวใจด้านซา้ ยพร้อมกบั เปล่งเสียงคาว่า “เราทาได้” ผลจำกกำรเรยี นรู้ พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกิดความสนุกสนาน คุ้นเคยกันมากขึ้น สังเกตจากการ มีสว่ นรว่ มในการทากิจกรรมร่วมกนั และมีความพร้อมท่จี ะเรียนรู้ในเน้อื หาวิชาต่างๆ ตอ่ ไป 2. กิจกรรมกำรกำหนดกฎ/กติกำกำรอย่รู ่วมกัน วิทยากรเกร่ินนาถึงการอยู่ร่วมกันในสังคมของหมู่มาก จาเป็นต้องมีกฎ/กติกาในการอยู่ ร่วมกันเพ่ือความสงบสขุ ขณะเดียวกันการฝึกอบรมครั้งนี้ก็เช่นเดียวกัน จาเป็นอย่างย่ิงที่ทุกคนต้องมีส่วน ร่วมในการกาหนดกฎ/กติกาที่จะอยู่ร่วมกัน และมีการปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด วิทยากรกระตุ้นถาม เพ่อื ให้ทุกคนร่วมกันคิด และร่วมกันแสดงความคิดเห็น วทิ ยากรเขยี นกฎ/กตกิ าท่ีได้ลงกระดาษฟลิปชาร์ท และสรุปกฎ กติกาที่ได้ให้ทุกคนฟังอีกคร้ัง จากนั้นนาไปติดไว้ท่ีหน้าห้องฝึกอบรม เพื่อให้ทุกคนได้ถือ ปฏิบตั ิอยา่ งเคร่งครัด ผลจำกกำรเรยี นรู้ พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทุกคนได้ร่วมกันกาหนดกฎ กติกาการอยู่กันในระหว่างการ ฝกึ อบรมตลอด 3 วัน 2 คนื วชิ ำ ศำสตร์พระรำชำปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพยี ง วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการน้อมนาหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งมาประยุกต์ใชก้ บั การดาเนินชวี ิตในด้านตา่ งๆ ระยะเวลำ 1.30 ชัว่ โมง ขอบเขตเน้อื หำวชิ ำ 1. ความเป็นมาของสภาพปญั หา 2. ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 3. หลักการทรงงาน 4. Way of Life การประยกุ ตใ์ ช้ เทคนิค/วิธีกำร 1. วิทยากรเกริ่นนาถึงวัตถุประสงค์ของวิชา ความเป็นมาของสภาพปัญหาท่ีเกิดข้ึนใน ปัจจบุ นั แล้วเช่ือมโยงสู่หลกั การทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรชั กาลที่ 9 1.1 หลกั การทรงงาน จานวน 23 ขอ้ ประกอบด้วย 1) ศกึ ษาข้อมูลอยา่ งเป็นระบบ 2) ระเบิดจากขา้ งใน 3) แกป้ ัญหาท่จี ุดเล็ก
7 4) ทาตามลาดับข้ัน 5) ภูมสิ งั คม 6) องค์รวม 7) ไมต่ ดิ ตารา 8) ประหยัด เรียบงา่ ย ไดป้ ระโยชนส์ ูงสดุ 9) ทาให้ง่าย 10) การมีสว่ นรว่ ม 11) ประโยชน์สว่ นรวม 12) บริการทีจ่ ดุ เดยี ว 13) ใชธ้ รรมชาติชว่ ยธรรมชาติ 14) อธรรมปราบอธรรม 15) ปลูกปา่ ในใจคน 16) ขาดทนุ คอื กาไร 17) การพ่งึ ตนเอง 18) พออย่พู อกิน 19) เศรษฐกจิ พอเพยี ง 20) ความซื่อสัตย์ สุจรติ จรงิ ใจต่อใจ 21) ทางานอยา่ งมคี วามสุข 22) ความเพยี ร : พระมหาชนก 23) รู้ รัก สามัคคี 1.2 ขั้นตอนการทรงงาน พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงศึกษา ขอ้ มลู ต่าง ๆ เป็นขน้ั ตอนอย่างละเอยี ดกอ่ นทุกครง้ั ในการจัดวางแผนโครงการหนึ่งๆ ดังนี้ 1) การศึกษาขอ้ มลู 2) การหาขอ้ มลู ในพืน้ ท่ี 3) การศกึ ษาขอ้ มูลและการจัดทาโครงการ 4) การดาเนนิ งานตามโครงการ 5) การติดตามผลงาน 1.3 Way of Life การประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิติประจาวัน ผลจกกำรเรยี นรู้ พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมทุกคนมีความสานึกในพระมหากรุณ าธิคุณ ของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศ รามาธบิ ดี จกั รนี ฤบดินทร สยามมนิ ทราธิ ราช บรมนาถบพิตร อันหาท่ีสุดมิได้ และส่วนใหญ่มีความรู้ ความเข้าใจ และให้ความสาคัญต่อการเรยี นรู้ สังเกตจากการให้ความสนใจ ซักถาม ตอบคาถาม รวมท้ังการแลกเปล่ียนประสบการณ์ ซึ่งถือว่าเป็น เรื่องใกลต้ ัวหรอื เป็นวิถชี วี ิตของผนู้ าสมั มาชพี ทกุ คนโดยตรง
8 วชิ ำกำรทำงำนเปน็ ทมี วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีความรู้ความเข้าใจในการทางานร่วมกับผู้อ่ืน และเกิด ทักษะในการทางานเปน็ ทีมได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ระยะเวลำ 2 ชว่ั โมง ขอบเขตเนอื้ หำวิชำ 1. ความหมายของการทางานเป็นทมี 2. องคป์ ระกอบของทีม 3. ประโยชน์ของการทางานเป็นทีม 4. ความสาคญั ของการการทางานเปน็ ทีม 5. ลกั ษณะท่ดี ีของการทางานเปน็ ทมี 6. แนวทางกาลดปัญหาในการทางานเปน็ ทมี 7. ทีมงานทม่ี ีประสิทธภิ าพ เทคนคิ /วธิ กี ำร 1. วิทยากรหลักแนะนาทีมวิทยากรและเกร่ินนาถึงความสาคัญของการทางานเป็นทีม และแบ่งกลุ่มผู้เข้ารับการฝึกอบรมออกเป็น 5 ทีม ๆ ละ 20 คน เพ่ือเข้าฐานเรียนรู้ 5 บาน ประกอบดว้ ย ฐานท่ี 1 ชื่อฐานใบ้ต่อหัว ฐานที่ 2 ช่ือฐานสาลิกาปอ้ นเหย่ือ ฐานท่ี 3 ชอ่ื ฐานลกู โปง่ ขา้ มแดน ฐานท่ี 4 ช่อื ฐานตัวต่อสัมพันธ์ ฐานที่ 5 ชอ่ื ฐานวดั ใจ โดยทุกฐานใช้เวลาฐานละ 5 นาที เม่ือทุกฐานพร้อมจะมีสัญญาณบอกเริ่ม เมื่อครบ 5 นาที วิทยากรให้ สัญญาณหยุดแล้วให้ผู้เข้าอบรมเวียนไปฐานต่อไปจนครบ 5 ฐาน เสร็จแล้วให้แต่ละกลุ่มคัดเลือกตัวแทน นาเสนอฐานละ 5 นาที 2. วิทยากรบรรยายประกอบสื่อ Power Point ในประเด็นความหมายของการทางาน เป็นทีม องค์ประกอบของทีม ประโยชน์ของการทางานเป็นทีม ความสาคัญของการทางานเป็นทีม ลักษณะท่ีดีของการทางานเป็นทีม ความแตกต่างของทีมที่ต้องคานึงถึง อุปสรรคของการทางานเป็นทีม และแนวทางการลดปัญหาในการทางานเป็นทีม เสร็จแล้ววิทยากรให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมชมวีดิทัศน์ “การทางานเปน็ ทมี ของฝูงหา่ นป่า” ซ่ึงสรุปไดท้ ง้ั หมด 5 ประการ ดงั น้ี 1) รวมกันเราอยู่ 2) คนเดียวหัวหาย 3) ตัวตายตัวแทน 4) กาลงั ใจ 5) ความเออ้ื อาทร วิทยากรสรุปภาพรวมว่าทาไมผู้นาต้องทางานเป็นทมี เพราะการทางานเก่งคนเดียว เก่งได้ไม่นาน ต้องเอา ความเก่งของหลายๆ คนมารวมกนั หลายหวั ย่อมดีกว่าหวั เดียว
9 ผลจำกกำรเรยี นรู้ พบว่า ผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมสว่ นใหญ่มีความสนใจต่อการเรียนรู้เป็นอย่างมาก เนื่องจาก เป็นประเด็นท่ีทุกคนให้ความสนใจ สังเกตจากการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ เช่น กิจกรรมการ แบง่ กลมุ่ ฝึกปฏบิ ัติ การแสดงความคิดเหน็ อย่างสร้างสรรค์ การตอบคาถามของวิทยากร กลา้ แสดงออกใน การนาเสนอต่อหน้าเวทีมีการนาประสบการณ์จริงมานาเสนอเพิ่มเติม ส่งผลให้ผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่ชัดเจน และเปิดใจรบั มากยงิ่ ขึ้น วชิ ำ ควำมรสู้ สู่ ัมมำชีพกับกำรเชื่อมโยงกำรตลำด วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อใหผ้ ู้เข้ารับการฝกึ อบรมมีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับสมั มาชีพชุมชน และการ สรา้ งสัมมาชีพชุมชนภายใต้ประชารัฐ 2. เพื่อใหผ้ เู้ ขา้ รับการฝกึ อบรมวเิ คราะห์ความเหมาะสมอาชีพชมุ ชน และหลกั การตลาด สมัยใหม่ ระยะเวลำ 2 ช่ัวโมง ขอบเขตเน้อื หำวิชำ 1. ความหมายของสมั มาชีพชุมชน 2. การสรา้ งสัมมาชีพชุมชนด้วยหลกั ประชารัฐ 3. การเช่อื มโยงการตลาดสมัยใหม่ เทคนิค/วิธกี ำร 1. วิทยากรแนะนาตัว เกร่ินนาถึงวัตถุประสงค์ของหัวข้อวิชา พร้อมกับใช้เทคนิคต้ัง คาถาม ชวนพูดคยุ ประกอบสอื่ Power Point สัมมาชพี คืออะไร คอื อาชพี ท่ีไมเ่ บียดเบยี นตนเอง น่ังคือ การไม่ทาให้ตนเองเดือดร้อน อาชีพที่ไม่เบียดเบียนผู้อ่ืน น่ันคือการไม่เอาเปรียบผู้อื่น อาชีพที่ไม่ เบยี ดเบียนสิ่งแวดล้อม นั่นคือไมท่ าลายสิ่งแวดล้อม และต้องมีรายไดม้ ากกวา่ รายจ่าย 2. วิทยากรชวนพูดคุยประกอบสื่อ Power Point ในประเด็นสัมมาชีพชุมชนคืออะไร คือชุมชนท่ีมีการประกอบอาชีพโดยชอบ ซึ่งมีรายได้มากกว่ารายจ่าย โดยลดการเบียดเบียนตนเอง ผู้อ่ืน และสิ่งแวดล้อม ทง้ั นี้ ตอ้ งมีความสอดคล้องกับวิถีของชุมชนเพื่อความมงุ่ หมายในการสร้างระบบเศรษฐกิจ ชุมชน ซ่ึงรายได้มากกว่ารายจ่าย สามารถวัดได้จากการจัดทา “บัญชีครัวเรือน” ทาให้รู้ว่า รายรับ – รายจ่ายของครัวเรือนมาจากแหล่งใดบ้าง จานวนเท่าใด แล้วนามาวางแผนการรับ – การจา่ ย ของตนเอง ให้มีรายได้มากกว่ารายจ่าย เม่ือแต่ละครัวเรือนในชุมชนมีรายได้มากกว่ารายจ่ายและไม่ทาให้ตนเอง เดอื ดร้อน ไมเ่ อาเปรียบผ้อู นื่ ไมท่ าลายสงิ่ แวดล้อม จะนาไปสสู่ ัมมาชีพชุมชน 3. วิทยากรผู้นาสัมมาชีพคือใคร คือ ปราชญ์ ซึ่งเป็นผู้พร้อมที่จะถ่ายทอดความรู้ ความ เชย่ี วชาญในอาชีพทป่ี ระสบความสาเรจ็ และไดร้ ับการยอมรับจากชมุ ชน 4. ความสาคัญของ “วทิ ยากรผนู้ าสัมมาชีพ” 1) ผู้มีบทบาทสาคัญในการสร้างงานสร้างอาชีพ และรายได้ตามแนวสัมมาชีพ แก่ประชาชนในหม่บู า้ น 2) ผู้มบี ทบาทสาคัญในการรกั ษา และต่อยอดภมู ปิ ัญญาองคค์ วามรดู้ า้ นอาชีพ
10 3) ผู้มีบทบาทสาคัญต่อการเสริมสร้างความเข้มแข็งเศรษฐกิจฐานราก โดยยึด หลกั การทรงงานระเบิดจากข้างใน และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 5. วิทยากรผู้นาสัมมาชีพ ได้มาปราชญ์ชุมชน ซึ่งเป็นผู้มีความรู้ ความชานาญ ความ เชี่ยวชาญในอาชีพ เป็นผู้ที่ประสบผลสาเร็จจากหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง จานวน 23,589 หมู่บ้าน ๆ ละ 1 คน และได้รับการคัดเลือกจากเวทีประชาคมหมู่บ้านให้เข้าอบรมหลักสตู “วิทยากรผูน้ าสัมมาชีพ” จากศูนย์ศกึ ษาและพัฒนาชมุ ชนทงั้ 11 ศูนย์ และเมื่อผา่ นการฝึกอบรมแล้วพร้อมท่ีจะถ่ายทอดความรู้ด้าน อาชีพ 6. วทิ ยากรผ้นู าสัมมาชพี ทาหน้าทอี่ ะไรบา้ ง 1) ร่วมกับเจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนเพื่อสร้างการเรียนรู้ การสร้างสัมมาชีพชุมชน แก่ปราชญ์ชุมชนในหมู่บา้ นอีก 4 คน ที่ได้รับการคดั เลอื กจากเวทปี ระชาคมหมบู่ ้าน 2) ฝกึ อบรมอาชีพตามความต้องการของชุมชนในเขตจังหวัด จานวนหมู่บา้ นละ 20 คน โดยใช้ศนู ยเ์ รยี นรเู้ ปน็ แหลง่ เรียนรู้ 3) วิทยากรผู้นาสัมมาชีพ และแกนนาสัมมาชีพ รวม 5 คน ส่งเสรมิ ติดตาม สนับสนุน และกากับให้ 20 ครอบครัวในหมู่บ้านเป้าหมายสามารถพัฒนา และสร้างอาชีพได้ด้วยการนา ความรูจ้ ากการฝกึ อบรมไปประกอบอาชีพโดยใหม้ รี ายไดห้ รือลดรายจ่าย 7. เส้นทางการสร้าง “สมั มาชีพชมุ ชน” 1) คัดเลือกปราชญ์ โดยจังหวัดคัดเลือกปราชญ์ชุมชน พื้นที่หมู่บ้าเศรษฐกิจ พอเพียง หมบู่ า้ น ๆ ละ 1 คน 2) สร้างปราชญ์ชุมชนให้เป็น “วิทยากรผู้นาสัมมาชีพ” โดยศูนย์ศึกษาและ พัฒนาชมุ ชน 11 แหง่ 3) สร้างทีมแกนนาสัมมาชีพปราชญ์ชุมชนท่ีผ่านการฝึกอบรมร่วมกับเจ้าหน้าที่ พฒั นาชมุ ชน สรา้ งการเรยี นรู้ การสรา้ งสัมมาชีพ แกป่ ราชญ์ชุมชนหมู่บ้านละ 4 คน 4) ฝึกอบรมอาชีพ ทีมแกนนาสัมมาชีพ จัดฝึกอบรมอาชีพให้ประชาชนใน หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง หมบู่ า้ นละ 20 คน และติดตามสนบั สนนุ การประกอบอาชพี 8. วทิ ยากรผู้นาสมั มาชีพตอ้ งมีทกั ษะอะไรบ้าง 1) ทกั ษะการเป็นวิทยากร 2) การถ่ายทอดองค์ความรูโ้ ดยวิธีสาธิต ผลจำกกำรเรยี นรู้ พบวา่ ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมสว่ นใหญม่ ีความรู้ ความเขา้ ใจในหวั ข้อวชิ าความรู้สสู่ มั มาชีพ ชัดเจนยิ่งข้ึน และมีความมั่นใจท่จี ะนาองค์ความรทู้ ่ีไดร้ ับไปถ่ายทอดให้กลุ่มเป้าหมายในหมบู่ ้านไดเ้ ปน็ อย่างดี สงั เกตไดจ้ ากการตอบคาถาม การซกั ถาม และการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ วทิ ยากรเช่ือมโยงสมั มาชีพ สู่การตลาดสมัยใหม่ การเชื่อมโยงสัมมาชีพสกู่ ารตลาด เชน่ การตลาดออนไลน์ วทิ ยากรบรรยายประกอบสื่อ Power Point เร่ือง ความสาคญั ของการตลาด แนวคิดดา้ นการตลาด และสว่ นผสมทางการตลาด ออนไลน์
11 ควำมสำคญั ของกำรตลำด 1. การตลาดชว่ ยตอบสนองความตอ้ งการ 2. การตลาดเป็นแนวทางการดาเนินงาน 3. การตลาดทาให้บรรลวุ ตั ถุประสงค์ขององค์กร 4. การตลาดชว่ ยพฒั นาเศรษฐกจิ แนวควำมคิดของหลกั กำรตลำด เปน็ แนวคดิ ท่เี ก่าแก่ ม่งุ เนน้ ไปทก่ี ารเพม่ิ ประสิทธิภาพการผลติ และการกระจายสนิ คา้ ให้ แพรห่ ลาย เหมาะสมกับสถานการณ์ 2 ประเภทคือ 1. เมอื่ ความต้องการของลูกค้ามากกว่าจานวนผลติ ภัณฑ์ทเ่ี สนอขาย 2. เมอ่ื ต้นของสคิ ้าสูง จึงปรับปรงุ การผลิตเพ่ือเพ่ิมผลผลิตและลดตน้ ทนุ แนวคิดดำ้ นผลติ ภณั ฑ์ เน้นการดาเนนิ กิจกรรมต่างๆ เพือ่ ปรับปรุงสินค้าให้มีคุภาพอย่ตู ลาดเวลา และเช่อื ว่า ผู้บริโภคจะเต็มใจจ่ายในราคาท่สี งู แนวคิดด้ำนกำรขำย เน้นความพยายามขายและการสง่ เสรมิ การขายเพื่อกระตุ้นให้เกิดการซ้ือ เนอื่ งจากเป็น สนิ ค้าที่มปี ริมาณมากในการตลาด หรือเป็นสินคา้ ที่ไม่ค่อยมีคนคดิ จะซื้อ เชน่ กรมธรรม์ประกันชีวติ แนวคิดดำ้ นกำรตลำด เนน้ การผลิตสินค้าตามความต้องการของผ้บู ริโภคแทนทจ่ี ะพยายามเปล่ยี นความตอ้ งการ ของผบู้ รโิ ภคใหไ้ ปซ้ือสนิ ค้าท่ีองค์กรไดผ้ ลติ ข้ึน แนวคดิ ด้ำนกำรตลำดเพือ่ สงั คม เน้นการพจิ ารณาความต้องการและผลประโยชนข์ องตลาดเป้าหมายให้เกิดความพอใจ และทาให้ความเปน็ อย่ขู องผ้บู รโิ ภค และสังคมดขี ึน้ เชน่ การตดิ ฉลากแจ้งคุณคา่ อาหาร หรอื ติดคาเตือนที่ ซองบุหรี่ ปจั จัยที่มผี ลต่อกำรเลอื กซื้อของผู้บรโิ ภค 1. ขอ้ เสนอแนะที่เป็นประโยชน์ 2. การบริการส่วนบุคคล 3. ความสะดวกสบาย 4. บรกิ ารหลังการขาย ส่วนผสมทำงกำรตลำดออนไลน์ องค์ประกอบการตลาดแบบใหม่ แบ่งเปน็ 6 p 1. ผลิตภัณฑ์ (Product) 2. ราคา (Price) 3. ชอ่ งทางการจดั จาหน่าย (Place) 4. การสง่ เสริมการขาย (Promotion) 5. การรกั ษาความเป็นสว่ นตัว (Privacy) 6. การให้บริการส่วนบุคคล (Personalization)
12 ผลจำกกำรเรยี นรู้ พบวา่ ผู้เขา้ รบั การฝึกอบรมส่วนใหญ่มคี วามรู้ ความเข้าใจในหัวขอ้ วชิ าการเชอ่ื มโยง สัมมาชพี สกู่ ารตลาดชดั เจนย่งิ ขนึ้ และมคี วามม่นั ใจท่จี ะนาองค์ความรทู้ ่ีไดร้ บั ไปถา่ ยทอดใหก้ ลมุ่ เปา้ หมาย ในหมูบ่ า้ นได้เปน็ อย่างดี สังเกตได้จากการตอบคาถาม การซักถาม และการแลกเปลย่ี นเรียนรู้ วิชำ ทกั ษะกำรถำ่ ยทอดสู่กำรเป็นวทิ ยำกรสัมมำชีพชุมชน วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อใหผ้ เู้ ข้ารบั การฝึกอบรมเกิดทักษะการถา่ ยทอด การใชเ้ คร่ืองมือในการเป็นวทิ ยากร สามารถพูดเป็น ใช้เคร่ืองมือ และนาเสนอได้ ระยะเวลำ 7 ช่ัวโมง ขอบเขตเน้ือหำวชิ ำ 1. ทักษะการถา่ ยทอด 1) หลกั ฐาน 4 2) หลักวาทศิลป์ 3) การถอดองค์ความรู้ (เน้ือหาทถี่ ่ายทอด) 4) แผนการถ่ายทอด 5) ทักษะการเปน็ วิทยากร เช่น - ทกั ษะการใชค้ าถาม - ทักษะการกระตนุ้ ใหม้ ีสว่ นรว่ ม - ทักษะการสรุปจับประเดน็ - ทักษะการสรา้ งบรรยากาศ - ทกั ษะการเปน็ ผฟู้ ังทด่ี ี 2. เครือ่ งมือ/เทคนิคการเปน็ วทิ ยากรดา้ นสมั มาชีพ 3. ฝึกปฏิบตั ิการเปน็ วทิ ยากรสมั มาชพี โดยการฝึกปฏบิ ัตกิ ารถ่ายทอดองคค์ วามรู้ด้าน สมั มาชพี ของแต่ละบุคคล เทคนคิ /วธิ ีกำร วิทยากรเกริน่ นาถงึ วตั ถปุ ระสงค์ของหัวข้อวชิ า และเชื่อมโยงสทู่ ักษะการเป็นวทิ ยากรท่ีดี ต้องมีทักษะอะไรบ้าง โดยต้งั คาถามและชวนพูดคุย และเช่ือมโยงให้เห็นว่าการถา่ ยทอดองค์ความรู้ของ ปราชญช์ ุมชนนัน้ มีความสาคัญมาก ชีใ้ หเ้ ห็นถึงเทคนคิ เคลด็ ลบั ต่าง ๆ ของอาชีพที่ประสบความสาเรจ็ วิทยากรบรรยายประกอบสื่อ Power Point เรอ่ื งทักษะการเป็นวิทยากรต้องประกอบด้วยทกั ษะ อะไรบ้าง
13 1. ทักษะกำรเปน็ วิทยำกร 1) ทกั ษะความคิด 2) ทกั ษะการใช้คาถาม 3) ทักษะการสรา้ งบรรยากาศ 4) ทักษะการส่อื สาร 5) ทักษะการฟงั 6) ทกั ษะการสังเกต 7) ทักษะการเร้าความสนใจ 8) ทักษะการใช้กระดาษ/บอรด์ 9) ทักษะการเล่าเรือ่ ง 10) ทักษะการยกตัวอยา่ ง 11) ทกั ษะการเสรมิ กาลังใจ 12) ทกั ษะการสรุปบทเรียน คุณลักษณะของนกั พดู 1. บคุ ลิกภาพดี 2. มคี วามรอบรู้ 3. มีไหวพรบิ ปฏภิ าณ 4. รา่ เริงสนกุ สนาน 5. น้าเสียงไพเราะ ส่งิ ทเี่ ก่ียวข้องเม่ือต้องพดู 1. การแต่งกาย 2. อิรยิ าบถ 3. สายตา 4. นา้ เสยี ง 5. ภาษา 6. ไมโครโฟน ขั้นตอนของกำรพูด/กำรนำเสนอ 1. ปฏสิ ันถาร 2. เปิดฉากหรือเกริ่นนา 3. เขา้ เน้อื หา 4. สรุปจบ 5. อาลา ควำมสำเร็จของกำรพดู 1. เนอ้ื หา 50 % 2. บุคลิกภาพ 10 % 3. จติ วิทยาการพดู 20 % 4. ศลิ ปะการแสดง 20 %
14 กำรเตรยี มกำรพดู 1. วเิ คราะห์ผู้ฟัง 2. เลือกเรอ่ื ง 3. เขยี นโครงเร่อื ง 4. หาขอ้ มลู เสริม 5. ซกั ซอ้ ม วิทยากรผูน้ าสัมมาชีพ ไม่จาเปน็ ตอ้ งบอกทุกสง่ิ ทุกอย่างท่เี รารู้ บอกเฉพาะสงิ่ ที่เขาอยากจะฟัง พยายาม ใหเ้ ขาเช่ือและยอมรับในสงิ่ ท่เี ราสือ่ ออกไป โดยใช้หลกั ฐาน 4 ในการพูด ประกอบดว้ ย น้าเสียง ภาษา สายตา และทา่ ทาง วิชำ แผนกำรถ่ำยทอดวิทยำกรสัมมำชีพชุมชน วตั ถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีความรู้และความเข้าใจเก่ียวกับแผนการถ่ายทอดวิทยากร สัมมาชีพ รวมทั้งมีทักษะในการถอด บันทึก และสังเคราะห์องค์ความรู้สัมมาชีพท่ีประสบผลสาเร็จสู่ แผนการถา่ ยทอดวิทยากรสัมมาชีพชุมชนได้ ระยะเวลำ 1.30 ช่วั โมง ขอบเขตเนือ้ หาวิชา 1. ความสาคัญของการจัดทาแผนการถ่ายทอดสมั มาชพี ชุมชน 2. ประโยชนข์ องการจัดทาแผนการถ่ายทอดองคค์ วามรู้ 3. วธิ กี ารจดั การความรู้ วิทยากรแนะนาตัวและเกริ่นนาถึงวัตถุประสงค์ของหัวข้อวิชาการเขียนแผนการถ่ายทอด วทิ ยากรสมั มาชพี ชมุ ชน และเชื่อมโยงสูค่ วามสาคัญของการจัดทาแผนการถา่ ยทอดสัมมาชีพชมุ ชน โดยการ บรรยายประกอบสื่อ Power Point ซ่ึงสัมมาชีพชุมชน หมายถึง ชุมชนที่มีการประกอบอาชพี โดยชอบที่มี รายได้มากกว่ารายจ่าย โดยลดการเบียดเบียนตนเอง ผู้อ่ืน และส่ิงแวดล้อม มีความสอดคล้องกับวิถีชุมชน เพ่ือความมุ่งหมายในการสร้างระบบเศรษฐกจิ ชมุ ชน พัฒนาส่กู ารเปน็ ผู้ประกอบการ OTOP ประโยชนข์ องกำรจดั ทำแผนกำรถ่ำยทอดองคค์ วำมรู้ 1. ช่วยเพมิ่ ประสทิ ธิภาพของงานและองคก์ ร เสียชวี ติ 2. ป้องกันการสูญหายของภูมิปัญญาในกรณีที่บุคลากรเกษียณอายุ ลาออก เลิกทา หรือ 3. เม่ือพบขอ้ ผดิ พลาดจากการปฏิบตั งิ านก็สามารถหาวธิ แี ก้ไขไดท้ ว่ งที วธิ ีกำรจัดกำรควำมรู้ 1. ความร้ชู ัดแจง้ ท่ีมอี ยู่ เชน่ ตารา ฯลฯ 2. ความรู้ฝงั ลึกท่ีมีอยู่ตัวของบางคน 3. จัดการถ่ายทอดให้บุคคลอื่นรู้และนาไปใช้ให้เหมาะสมกับงานของตนเองและกลุ่ม องคก์ ร
15 วิธกี ารถ่ายทอด 1. พูดหรือบรรยาย 2. การสาธิต 3. การปฏิบตั ิจรงิ 4. วิธกี ารถา่ ยทอดโดยให้เรยี นรจู้ ากสื่อดว้ ยตนเอง 5. ถา่ ยทอดโดยจดั แหล่งเรียนรู้ (ศนู ยเ์ รยี นร้)ู 6. ถ่ายทอดโดยใช้การแสดงพน้ื บ้านหรือละคร 7. ถ่ายทอดภูมิปัญญาโดยบนั ทึกองค์ความรไู้ ว้เป็นลายลกั ษณ์อักษร เชน่ ตาราตา่ งๆ และ ในรปู ของส่อื อ่ืน ๆ วทิ ยากรแบ่งกลุ่มออกเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มงานเกษตร กลุม่ งานแปรูป กลุ่ม งานทอ่ งเท่ียวโดยชุมชน และกลุ่มงานอ่ืนๆ เพอ่ื ฝึกปฏิบัติ โดยการจบั ค่จู ับกลมุ่ เล่าสู่กนั ฟังเรื่องอาชพี ทแ่ี ต่ ละคนเตรียมมา เสร็จแล้วเขียนเป็นแผนการถ่ายทอดองค์ความรู้ตามแบบฟอร์มท่ีกาหนด และสุดท้ายคือ การถ่ายทอดองค์ความรู้ โดยส่งตัวแทนนาเสนอองค์ความรู้ในอาชีพของตนกลุ่มละ 2 คน ๆ ละ 5 นาที และผู้นาสมั มาชพี ทุกคนตอ้ งส่งแผนการถ่ายทอดองค์ความรู้ทีเ่ ขียนเสรจ็ เรียบร้อยแลว้ ดงั ตัวอย่างทีป่ รากฏ
16 ตัวอย่ำงบนั ทึกองค์ควำมร้ปู รำชญช์ ุมชน แบบบันทกึ องค์ควำมรู้ปรำชญช์ ุมชน โครงกำรสรำ้ งและพัฒนำผนู้ ำสัมมำชีพชุมชน หลักสตู ร “วทิ ยำกรผ้นู ำสัมมำชพี ” ประจำปี 2562 ศูนยศ์ ึกษำและพฒั นำชุมชนอบุ ลรำชธำนี ชื่อองคค์ วำมรู/้ ควำมเชี่ยวชำญในอำชีพ : สบู่สมนุ ไพร เจำ้ ขององค์ควำมรู้ นำงสำวแววตำ อำรีเอ้อื ทีอ่ ย/ู่ เบอร์โทร 38 หมู่ 2 บ้ำนดอนแคน ตำบลดินดำ อำเภอจังหำร จังหวัดร้อยเอ็ด โทร. 093-8746967 ควำมเป็นมำ แรงบันดำลใจ/เหตุผลที่ดำเนนิ กำร คนในชุมชนส่วนมากมีอาชีพทานาขายข้าว ซึ่งต้นทุนการผลิตสูง ต้องการหารายได้เสริม จึงหาแนวทางโดยการปรึกษากับกลุ่มสตีด้วยกันว่าจะทาสบู่ขาย ซ่ึงเป็นส่ิงจาเป็นที่ทุกครัวเรือนต้องใช้ ดังนั้น ก็รวบรวมรายช่ือผ้ทู ่ีสนใจ จานวน 20 คน แลว้ ประสานงานกับครู กศน. ใหจ้ ดั หาวิทยากรมาสอน การทาสบ่ขู ้ันพ้ืนฐาน และได้ระดมหุ้นจัดตั้งกลุ่ม โดยการจดทะเบียน OTOP จังหวัดรอ้ ยเอ็ด มีการลองผิด ลองถูกมาเรื่อยๆ จนประสบผลสาเร็จ และได้นาผลิตภัณฑ์ออกจาหน่ายตามท้องตลาด และภายในชุมชนก็ ซื้อใช้ในครวั เรอื น ขณะนี้กลมุ่ มีผลกาไรและมีทุนหมนุ เวียนภายในกล่มุ วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือสรา้ งความแปลกใหม่ในชมุ ชนในการทาอาชีพเสริม 2. เพอื่ สร้างความสามัคคีในกลมุ่ และชุมชนได้นาความรู้ถ่ายทอดในชมุ ชน ทาใหค้ นใน ชมุ ชนมีอาชีพเสริม 3. เพื่อลดรายจา่ ย เพ่ิมรายไดใ้ นครัวเรือน และได้ถา่ ยทอดความรู้แกช่ ุมชนอ่ืนๆ วัตถุดบิ 1. กรีเซอร์ลีน (หัวสบู่) จานวน 1 กโิ ลกรัม 2. วิตามนิ E จานวน 5 ซซี ี 3. น้าผงึ้ 100 % จานวน 10 ซีซี 4. สมนุ ไพรหรือน้ามะขาม จานวน 10 ออนร์ 5. นา้ มนั หอมละเหย จานวน 5 ซีซี อุปกรณ์ หม้อแสตนเลส์,เตาไฟฟ้าสามารถปรบั อุณหภมู ิได้,ไม้พายสาหรับคน,ทัพพสี าหรบั ตักเนื้อ สบู,่ พมิ พ์หรอื บล๊อก,พมิ พส์ าหรบั ห่อ,มดี เล็กสาหรับห่ัน กระบวนกำร/ข้ันตอนกำรทำ (ทำอย่ำงไร) เตรียมวัตถุดิบ อุปกรณ์ให้ครบตามที่ต้องการ นากรีเซอร์ลีนมาหั่นเป็นเส้นเลก็ ๆ เตรียมน้า มะขามท่ีแช่ได้น้ามะขาม 10 ออนล์ ติดต้ังเตาไฟฟ้าปรับอุณหภูมิปานกลาง นากรีเซอร์ลีนใส่หม้อแส ตนเลสตั้งบนเตาไฟฟ้าคนด้วยไม้พาย ให้คนไปในทิศทางเดียว ห้ามคนวนกลับ อาจจะทาให้เน้ือสบู่ไม่เนียน คนจนตัวกรเี ซอร์ลีนละลาย ใหเ้ ทน้าสมุนไพรลงในหม้อสบู่ตามด้วยวิตามิน E คนไปในแนวทางเดียวกัน เติม
17 น้ามันหอมระเหยลงไป คนจนเป็นเนื้อเดียวกัน ยกหม้อลงจากเตา นาทัพพีมาตักเน้ือสบู่ใส่พิมพ์ที่เตรียมไว้ ตักใส่ให้เต็มพิมพ์ หลังจากนั้นรอจนสบู่แข็งตัว รอให้เนื้อสบู่เย็น แล้วแกะออกจากพิมพ์ ห่อด้วยฟิล์มห่อให้ มิดชิด เพ่อื ป้องกันไมใ่ หอ้ ากาศภายนอกเขา้ เพราะจะทาใหก้ อ้ นสบู่ไม่มกี ล่นิ หอม เราสามารถนาสบู่มาใช้เพ่ือชาระรา่ งกายได้โดยปราศจากสารเคมี สามารถใช้ได้ทุกเพศทุก วัย จะทาใหผ้ ิวขาวเนียนใสอย่างยงั่ ยนื โดยไม่ทาลายผิว ข้อพึงระวงั การใช้น้ามนั ระเหยมาเปน็ สว่ นผสมของสบู่ ผิวบางคนอาจจะแพ้ได้ ขอแนะนาไมต่ ้องใส่ น้ามันระเหยก็ได้ ยิ่งจะทาให้คุณภาพดยี ิ่งข้นึ อยา่ งยง่ั ยนื ข้อแนะนำ ทาใชเ้ องในครัวเรือน ทาขายไดโ้ ดยการพฒั นา บรรจุภณั ฑ์ให้สวยงาม เพ่ือสร้างแรงจูงใจ ลูกคา้ เปน็ ผลติ ภัณฑ์ที่มคี ุณภาพ ราคาเปน็ กนั เอง
18 แบบบันทกึ องค์ควำมรู้ปรำชญช์ ุมชน โครงกำรสรำ้ งและพัฒนำผู้นำสัมมำชีพชุมชน หลักสูตร “วทิ ยำกรผูน้ ำสัมมำชพี ” ประจำปี 2562 ศูนย์ศึกษำและพฒั นำชุมชนอบุ ลรำชธำนี ชื่อองคค์ วำมร้/ู ควำมเชย่ี วชำญในอำชพี : กำรเลยี้ งจง้ิ หรดี เจำ้ ขององคค์ วำมรู้ นำยศภุ ชยั สำยเยน็ ที่อยู่/เบอร์โทร 138 หมู่ 5 บ้ำนบึงหอม ตำบลหนองผอี อำเภอเขมรำฐ จังหวดั อบุ ลรำชธำนี โทร. 086-4398402 ควำมเปน็ มำ แรงบนั ดำลใจ/เหตุผลทดี่ ำเนินกำร เน่อื งจากชาวบ้านสว่ นใหญ่มีอาชพี หลักคือเกษตรกรรม เชน่ การทานา ทาไร่ ทาสวน ตอ้ งการมอี าชพี เสรมิ เพ่ือสรา้ งรายไดห้ ลังฤดูกาลเกบ็ เก่ยี ว สร้างรายไดใ้ หแ้ ก่ครอบครัว วัตถุประสงค์ ใชเ้ วลาวา่ งให้เกิดประโยชน์ สรา้ งอาชพี ให้แก่ครอบครวั เพิ่มรายได้ ลดรายจา่ ย วตั ถดุ บิ 1. พนั ธุไ์ ข่จิง้ หรดี 2. หัวอาหารจิ้งหรีด 3. แผงไข่กระดาษ ใช้ได้ 4 ครั้ง จึงเปลีย่ นใหม่ อุปกรณ์ 1. เหล็กขนาด 1”x1” 2. แผ่นมาร์ทบอรด์ 3. ถาดอาหาร 4. ตาขา่ ย 5. คลิปดา 6. ถาดรองขาบ่อ 7. ถาดนา้ กระบวนกำร/ขัน้ ตอนกำรทำ (ทำอย่ำงไร) 1. การอบไขจ่ ง้ิ หรีดใช้เวลา 7 – 10 วนั 2. การอนบุ าลตัวอ่อนหลังจากฟักไข่ 14 วนั ต้องให้น้าทุก 4 ช่ัวโมง 3. จิง้ หรีดฟักออกจากไขใ่ หน้ ับเปน็ วนั ที่ 1 4. จ้ิงหรีด อายุ 40 เราตอ้ งเตรยี มตัว วางไขจ่ ้งิ หรดี 5. หลงั จากวางไข่จงิ้ หรดี เสร็จแลว้ เราตอ้ งนาฟักทองมาให้จ้ิงหรดี กนิ เพื่อทาการล้างท้อง จิง้ หรดี ลา้ งสารพิษจากหัวอาหารในตัวจงิ้ หรีด เป็นเวลา 3 วนั ลกู ใหญ่ 1 ลกู /1 บ่อ สมารทบอรด์ เรากจ็ ะ ได้ จง้ิ หรดี ทม่ี ีคุณภาพ ปลอดภยั ไร้สารพิษ 6. ใชเ้ วลาเล้ียงไม่เกิน 45 วัน
19 7. ในการเล้ียงจ้ิงหรดี ในบอ่ สมาร์ทบอร์ด 1.20 เมตร x 2.40 เมตร เราจะได้จง้ิ หรีด ประมาณ 30 กโิ ลกรมั / 1 บ่อสมารท์ บอรด์ จาหนา่ ยกิโลกรมั ละ 150 บาท x 30 กิโลกรมั รายได้ 1 บอ่ สมารท์ บอร์ด ประมาณ 4,500 บาท หมำยเหตุ การเลยี้ งจง้ิ หรดี ในแตล่ ะฤดูใช้เวลาไมเ่ ท่ากนั - ฤดูร้อน จานวน 35 วัน - ฤดูฝน จานวน 45 วนั - ฤดูหนาว จานวน 60 วัน ขอ้ พึงระวัง ชว่ ง 2 สปั ดาห์แรก ตอ้ งให้นา้ จงิ้ หรดี ทุก 4 ช่ัวโมง หลงั จากจ้งิ หรดี ฟักออกจากไข่ ขอ้ แนะนำ การต้มจ้ิงหรดี ตอ้ งล้างน้าสะอาดอย่างนอ้ ย 3 น้า และใช้ไฟแรง 100 องศา (เฉพาะการ ตม้ )
20 แบบบันทกึ องค์ควำมรู้ปรำชญ์ชมุ ชน โครงกำรสรำ้ งและพฒั นำผนู้ ำสัมมำชีพชุมชน หลักสูตร “วทิ ยำกรผูน้ ำสมั มำชีพ” ประจำปี 2562 ศูนย์ศึกษำและพฒั นำชุมชนอุบลรำชธำนี ช่ือองคค์ วำมร้/ู ควำมเชี่ยวชำญในอำชีพ : ผลิตปยุ๋ ชีวภำพปัน่ เม็ด เจำ้ ขององคค์ วำมรู้ นำยสยำม สุตนนท์ ทอ่ี ย/ู่ เบอรโ์ ทร 14 หมู่ 13 ตำบลสะอำดสมบูรณ์ อำเภอเมืองรอ้ ยเอด็ จังหวัดร้อยเอ็ด โทร. 084-2093225 ควำมเป็นมำ แรงบนั ดำลใจ/เหตผุ ลทดี่ ำเนนิ กำร เน่อื งจากเกษตรกรในชุมชนมีการใช้ปุย๋ เคมีอยา่ งต่อเน่ืองและเพ่ิมขน้ึ เรื่อยๆ ทกุ ปี ทาให้ ดนิ เส่ือมคุณภาพ มผี ลกระทบต่อส่ิงแวดลอ้ ม น่ันคือไส้เดือนลดน้อยลง มผี ลกระทบต่อร่างกาย ทาใหเ้ กิด การแพ้สารเคมี และตน้ ทุนการผลิตสูงขน้ึ จงึ ได้มกี ารรวมตัวก่อต้งั กลุม่ ผลิตปยุ๋ ชีวภาพขึ้น วตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ แก้ไขปัญหาดินเส่ือมคุณภาพ ลดต้นทุนการผลิต สร้างงาน สร้างอาชพี เพิม่ รายได้ ลดรายจา่ ย วัตถุดิบ 1. ขไี้ ก่ 2. ข้วี วั 3. ปูนมาร์ล 4. แร่เพอรไ์ ล 5. หนิ ฟอสเฟส 6. อเี อม็ 7. กากน้าตาล 8. กระสอบ อปุ กรณ์ 1. จานป่นั เม็ดปยุ๋ 2. เครือ่ งบด 3. เคราองผสม 4. จกั รเย็บกระสอบ 5. ตราช่ัง 6. รถเข็น 7. พลั่ว กระบวนกำร/ขน้ั ตอนกำรทำ (ทำอยำ่ งไร) 1. นาขีว้ วั ขีไ้ ก่ ตากให้แห้ง 2. นาข้วี ัว ข้ไี ก่ บดให้ละเอียด
21 สว่ นผสม 1. ขี้ไก่ จานวน 25 กิโลกรมั 2. ข้วี วั จานวน 25 กโิ ลกรัม 3. ปนู มารล์ จานวน 25 กิโลกรัม 4. แร่เพอรไ์ ล จานวน 10 กโิ ลกรัม 5. หินฟอสเฟส จานวน 10 กิโลกรมั 6. กาก้าตาล จานวน 5 กโิ ลกรัม 7. อีเอม็ จานวน 1 กิโลกรมั กระบวนกำรผลิต 1. นาขีว้ วั ข้ีไก่ ปูนมารล์ แรเ่ พอร์ไล หนิ ฟอสเฟส เขา้ เครือ่ งผสมให้เขา้ กัน 2. นาส่วนผสมขึ้นจานปั่นเม็ด ฉีดพ่น กากน้าตาล อีเอ็ม ผสมกันจนป้นั เป็นเมด็ ป๋ยุ 3. นาเม็ดป๋ยุ ไปผ่ึงแดดพอหมาด แล้วเก็บบรรจุกระสอบ ขอ้ พึงระวัง ไม่ควรผึ่งแดดใหแ้ ห้งจนเกินไป เพราะจะทาใหจ้ ุลินทรยี ์ตาย ข้อแนะนำ ไม่มี
22 แบบบันทึกองคค์ วำมรู้ปรำชญ์ชมุ ชน โครงกำรสร้ำงและพัฒนำผนู้ ำสัมมำชีพชุมชน หลักสูตร “วทิ ยำกรผูน้ ำสมั มำชพี ” ประจำปี 2562 ศูนย์ศกึ ษำและพฒั นำชุมชนอุบลรำชธำนี ชอ่ื องคค์ วำมร/ู้ ควำมเชี่ยวชำญในอำชพี : แปรรปู อำหำรจำกหนอ่ ไม้ เจำ้ ขององคค์ วำมรู้ นำยธำนี เรืองโรจน์ ทอ่ี ย่/ู เบอรโ์ ทร 164 หมู่ 8 ตำบลคำพอง อำเภอโพธช์ิ ยั จงั หวัดรอ้ ยเอ็ด โทร. 081- 7082529 ควำมเป็นมำ แรงบนั ดำลใจ/เหตุผลทดี่ ำเนนิ กำร เนือ่ งจากพนื้ ท่เี ดิมปลูกมัน แลว้ ใช้ป๋ยุ เคมี ราคาผลผลิตกไ็ ม่แน่นอน จึงมคี วามคดิ วา่ นา่ จะ ปลูกพชื ท่ที นต่อสภาพแห้งแล้ง ไมต่ ้องใชป้ ุ๋ยเคมี และสามารถแปรรปู ผลผลิตออกขายให้คนในชุมชน และ นอกชมุ ชนได้ (เพราะเปน็ อาหารทีค่ นอสี านรู้จักและชอบบริโภค) นั่นคือ การเลือกสายพันธไุ์ ผ่ มาปลกู (ไผ่ ตง – ไผ่เชงิ ไพร- ไผเ่ ล้ยี ง-เพอื่ ใชห้ นอ่ (ไม้) มาแปรรปู เปน็ หน่อไม้ดอง – (หน่อไม้ส้ม) หนอ่ ไม้นึ่งบรรจุถงุ บรโิ ภคและจาหน่าย วัตถุประสงค์ 1. เพอ่ื ขยายพนั ธไุ์ ผ่ให้สมาชิกนาไปปลูกในพน้ื ท่ตี นเอง หน่อไม้ 2. เปดิ โอกาสใหค้ นในชมุ ชนเขา้ มามสี ่วนร่วม ตัง้ เปน็ กลุ่มอาชีพ (กลุ่มแปรรปู อาหารจาก 3. กอ่ ให้เกดิ รายได้ให้สมาชิกและคนในชมุ ชนทาหน่อไม้ดองจาหนา่ ย วัตถดุ บิ 1. หนอ่ ไม้สด 2. เกลอื สินเถาว์ (เกลือจากอาเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม) อปุ กรณ์ 1. มีดหนั่ หนอ่ ไม้ 2. กะละมังสแตนเลส 3. โอง่ มงั กร-ไห-ถงั บรรจุ 4. เขยี งห่นั ซอยหน่อไม้ 5. ถุงพลาสติกขนาดใหญ่ (สาหรับรองกน้ โอ่งมงั กร หรอื ถังพลาสตกิ บรรจหุ น่อไม้) กระบวนกำร/ขนั้ ตอนกำรทำ (ทำอยำ่ งไร) 1. นาหน่อไม้สด (ไผ่เชงิ ไพร-ไผ่ตง-ไผเ่ ลยี้ ง) มาปอกเปลอื ก ลา้ งน้าใหส้ ะอาด 2. นาขน้ึ เขยี งใชม้ ีดหั่นซอย เปน็ เส้นหรอื เปน็ แผ่น สนั้ ยาวพอประมาณ 3. หน่อไม้ที่ห่ันเรียบร้อยแล้วมาใส่โอ่งมังกร แช่น้าประมาณ 8 ชั่วโมง เพื่อไล่ยาง หน่อไม้ออก จากนั้นนาหน่อไม้ขึ้นจากโอ่งที่แช่มาผึง่ น้าให้สะเด็ด พร้อมนาลงกะละมังสแตนเลส อัตราส่วน หน่อไม้ 9 กิโลกรัม เกลือ 3 กิโลกรัม ใช้เวลาผสมคลุกเคล้าประมาณ 10 นาที แล้วบรรจุลงถัง พลาสติกหรือโอ่งมังกร โดยใช้ถุงพลาสติกรองภายในก่อน พยายามอัดเส้นหน่อไม้ให้แน่นจนไม่มีอากาศ ภายในโอ่ง แล้วนาเชือกมัดปากถุงให้แน่น และก่อนมักปากถุงให้นาน้าซาวข้าว (น้าม้วก) เทใส่ในโอ่ง จานวน 5 แก้ว จะทาให้หน่อไม้ขาว โดยธรรมชาติ แตถ่ ้าหากหน่อไม้เปร้ยี วเร็วข้ึนภายใน 7 วัน ให้ใส่น้า
23 มะพร้าวลงไป จานวน 3 แก้ว แต่ถ้าไม่ใส่น้ามะพร้าวเร่งความเปรี้ยว หน่อไม้ดองท่ีหมักจนเปร้ียว สามารถ นามารับประทานได้ภายใน 1 เดอื น สามารถเก็บไว้บริโภคได้ไมต่ ่ากวา่ 1 ปี (ปลอดสารกันบูด – สารฟอก สี) การจาหน่าย- บรรจุถุงอัดสูญญากาศขนาด ครึ่งกิโลกรัม ราคาส่งจาหน่าย 30 บาท บรรจุถุงสุญญากาศ ขนาด 1 กโิ ลกรัม ๆ ละ 60 บาท ส่งผา่ นตัวแทนเข้าจาหน่ายเมืองโอซากา ประเทศญ่ีปุ่น ปีละ 6 ตัน (6,000 กิโลกรมั ) จาหน่ายภายในประเทศ-จาหน่ายทวั่ ไป กโิ ลกรมั ละ 40 บาท หมำยเหตุ ผลิตภณั ฑ์ OTOP - ปี 2546 ได้ 3 ดาว - ปี 2548 ได้ 4 ดาว ได้รับเครื่องรบั รองมาตรฐาน อย./มผช. ข้อพึงระวัง ควรปรุงให้สุกก่อนบรโิ ภค ข้อแนะนำ 1. กรณีผลิตจานวนมาก จาเปน็ ตอ้ งใช้เคร่ืองหน่ั ซอยเส้น และเคร่ืองผสมหน่อไม้ 2. ควรตรวจสอบ วัน-เดือน-ปี อายุสนิ ค้าทุกครั้งก่อนซื้อสินค้า
24 แบบบนั ทึกองค์ควำมรูจ้ ำกกำรสัมภำษณ์ปรำชญ์ชุมชน โครงกำรสร้ำงและพฒั นำผู้นำสมั มำชีพ หลักสตู ร “วิทยำกรผ้นู ำสมั มำชีพ” ประจำปี 2562 ศูนย์ศึกษำและพฒั นำชุมชนอบุ ลรำชธำนี ชือ่ ควำมร/ู้ ควำมเชยี่ วชำญในอำชีพ กำรเลีย้ งโคเนอื้ คุณภำพ เจำ้ ขององค์ควำมรู้ นำยชยั ณรงค์ กณั หำ ที่อยู่ 9 ม.9 ต.หนองแกว้ อ.เมือง จ.ศรสี ะเกษ โทรศพั ท์ 081-3214480 , 088-5800009 ควำมเป็นมำ แรงบันดำลใจ/เหตุผลทีด่ ำเนนิ กำร เน่ืองจากพื้นที่เขตหมู่บ้านทานาเป็นที่ดอนน้าน้อยไม่เหมาะต่อการปลูกพืชที่ใช้น้ามาก จึง ควรหันมาส่งเสริมการเล้ียงโคเนื้อเป็นอาชีพเสริมเพิ่มรายได้หลังฤดูทานาให้กับประชาชนใน พ้ืนท่ีชุมชน หมบู่ ้าน วัตถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื พัฒนาอาชพี เกษตรกรรมด้านการเลยี้ งโคพน้ื เมอื งส่อู าชีพท่มี ่นั คง 2. เพ่ือสง่ เสรมิ การผลติ แมพ่ นั ธุเ์ พอื่ ปอ้ นตลาดโคกลางน้า 3. เพ่อื พฒั นาตลาดเนือ้ โคคุณภาพสูง วัตถดุ ิบ 1. พอ่ แม่พนั ธ์ุโคเน้ือโครงรา่ งใหญ่เนน้ เฉพาะพันธุ์บราหม์ นั พนั ธุ์ชารโ์ รเล่ส์ พนั ธ์อุ ากวิ พันธ์ุตาก พนั ธุ์กาแพงแสน 2. เตรยี มอาหารหยาบ – อาหารขน้ 3. อปุ กรณ์ดา้ นเวชภณั ฑ์ 4. เครอ่ื งจกั รเคร่ืองมือท่จี าเป็นในการผสมอาหารสัตว์ อปุ กรณ์ 1. โรงเรอื นท่ีถูกสุขลักษณะตามมาตรฐานกรมปศุสัตว์ 2. รางนา้ 3. รางอาหาร 4. ไฟนา้ ในฟาร์ม 5. โกดงั เกบ็ วสั ดอุ ุปกรณ์ทจี่ าเป็น กระบวนกำร/ข้ันตอนกำรทำ (ทำอยำ่ งไร) 1. ดา้ นโรงเรอื นพฒั นาทีม่ ีอยู่แลว้ ให้เกิดความเหมาะสม สะดวก สะอาดถูกสขุ ลักษณะ ตามกรมปศสุ ัตว์ 2. ด้านการเตรยี มอาหารขน้ จะเป็นการจัดหาวตั ถุดบิ อาหารข้นในท้องที่ก่อน 3. ด้านการเตรียมอาหารหยาบ ฟางแห้ง ฟางหมัก หญา้ หมกั ขา้ วโพดหมัก 4. ดา้ นการเตรียมฟรีมิกซ์ (แร่ธาต)ุ 5. นาแมพ่ นั ธ์ุทีท่ าการผสมแล้วเขา้ คอกขนุ ให้น้าให้อาหาร ดูแลสขุ ภาพสตั วจ์ นกวา่ จะตกลกู 6. แยกคอกอนุบาลลูกโคกนั โคตัวอื่น เพ่ือให้ได้รบั น้า อาหารที่เพียงพอ 7. เมื่อลูกโคหย่านมแล้วเข้าคอกขุนต่อไป หากเป็นโคเพศเมียให้นาไปเปน็ แม่พันธ์ุดีต่อไป หากเปน็ ตัวผู้ ใหน้ าเขา้ คอกขนุ เปน็ ววั เนือ้ ต่อไป
25 ขอ้ พึงระวงั การตลาด โคตลาดนดั ขายเปน็ โคเปน็ โคตลาดเนอ้ื ระดับล่าง ต้ม ลาบ โคตลาดเนื้อระดบั บน เนอื้ สเต็ก ปง้ิ ย่าง โคตลาดแปรรูป เนอ้ื แห้ง ไสก้ รอก แหนม ผลิตภัณฑ์ เครือ่ งหนงั ไขมนั สัตว์ ผลิตภัณฑ์ผลพลอยได้ มูลโคสด ปุย๋ อนิ ทรยี ์ ป๋ยุ คอก ดนิ ปลูก 1. การป้องกนั โรคระบาด 2. การดแู ลและการจดั การฟาร์ม 3. การบรหิ ารห่วงโซ่อุปทานโคเนื้อทง้ั ระบบ
26 แบบบนั ทกึ องค์ควำมรจู้ ำกกำรสัมภำษณ์ปรำชญช์ ุมชน โครงกำรสรำ้ และพัฒนำผนู้ ำสมั มำชพี หลกั สูตร “วิทยำกรผนู้ ำสมั มำชพี ” ประจำปี 2562 ศนู ยศ์ ึกษำและพัฒนำชุมชนอุบลรำชธำนี ชอื่ ควำมร้/ู ควำมเชยี่ วชำญในอำชีพ เพำะเห็ดฟำงในท่อซเี มนต์ เจำ้ ขององค์ควำมรู้ นำงรัศมี ประก่ิง ท่อี ยู่ 221 ม.13 ต.นำหวำ้ อ.นำหว้ำ จ.นครพนม โทรศพั ท์ 097-3072491 ควำมเปน็ มำ แรงบนั ดำลใจ/เหตุผลทด่ี ำเนนิ กำร หมู่บ้านห่างจากตลาดสด ต้องการมีรายได้เสริม เห็ดเป็นที่ต้องการของตลาด เพาะง่ายไม่ ยงุ่ ยาก วัตถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื ใชป้ ระกอบอหารในครวั เรอื น 2. จาหน่ายเพือ่ เพิม่ รายได้ วตั ถดุ ิบ 1. ก้อนเชื้อเหด็ 2. ฟาง 3. กากนา้ ตาล 4. ปุย๋ สูตรเสมอ 5. ป๋ยุ ยเู รีย 6. แปง้ ขา้ วเหนียว/ขา้ วจ้าว 7. ฮอรโ์ มนไข่ 8. ปยุ๋ คอก อปุ กรณ์ 1. ทอ่ ซีเมนต์ขนาดเสน้ ผ่าศนู ยก์ ลาง 60 เซนตเิ มตร 2. ถังน้า 3. ผ้าพลาสติก 4. ผา้ ใบ กระบวนกำร/ข้นั ตอนกำรทำ (ทำอยำ่ งไร) เตรียมถังใส่น้าประมาณ 20 ลิตร เทส่วนผสมทุกอย่างลงในถังอยา่ งละ 1 ขีด คนให้เขา้ กัน นาฟางลงไปแช่ทิ้งไว้ 1 คืน นาฟางที่ผ่านการแช่มาใส่ลงท่อ เกล่ียให้เสมอกดให้แน่นให้ฟางมีความหนา 6 นวิ้ โรยปุ๋ยคอกให้ท่ัวนาเช้ือเห็ดฟางคร่ึงก้อนมายี้ให้เป็นชิ้นเลก็ ๆ นาแป้งขา้ วเหนียว 1 ขดี มาคลุกให้เข้ากัน นาเชื้อเห็ดฟางท่ีคลุกเสร็จมาโรยให้ทัว่ นาน้าที่เหลือจากการแช่ฟางมารดให้ท่ัวแล้วคลุมด้วยผ้าพลาสติกหา เชือกมารัดเพื่อไม่ให้อากาศเข้าบ่มไว้ 3 วัน วันที่ 4 ทาการตัดใยโดยการเปิดผ้าพลาสติกออกให้หมดใช้มือ สัมผัสดูความชื้น ถ้ายังรู้สึกเปียกมีน้าติดมือไม่ต้องรดน้าแต่ถ้าสัมผัสดูแล้วแห้งให้รดน้าให้ชุม โดยการใช้บัว รดน้ารด เราจะเปิดท้ิงไวเ้ ช้า 10 นาที เย็น 10 นาที เป็นเวลา 3 วัน จะเรม่ิ มีดอกเห็ดเล็กๆ เกิดขน้ึ และเรา ตอ้ งเปดิ ให้อากาศเช้า – เย็น ตอ่ อกี 5 วนั ดอกเหด็ จะโตพร้อมเกบ็ เกย่ี ว
27 ขอ้ พึงระวัง บ่อเพาะเห็ดฟางจะต้องไม่โดนแสงแดดโดยตรง หลังจากตัดเช้ือเห็ดแล้วควรคลุมให้มีแสงส่อง พออ่านหนงั สือออก เพอ่ื ให้เห็ดไดเ้ จริญเตบิ โต ขอ้ เสนอแนะ การเลือกซ้ือก้อนเห็ดฟางควรเลือกท่ีมีเส้นใยสีขาวเดินทั่วถุง ฟางถ้าเราไม่ทราบแหล่งที่มาควร ตม้ เพอ่ื ฆ่าเช้ือก่อนนามาเพาะเห็ด แบบบันทึกองค์ควำมรู้จำกกำรสมั ภำษณ์ปรำชญ์ชุมชน โครงกำรสร้ำงและพฒั นำผนู้ ำสัมมำชีพ หลักสตู ร “วิทยำกรผนู้ ำสัมมำชีพ” ประจำปี 2562 ศูนยศ์ ึกษำและพัฒนำชุมชนอุบลรำชธำนี ชือ่ ควำมร้/ู ควำมเช่ยี วชำญในอำชพี จกั สำน เจ้ำขององคค์ วำมรู้ นำยธนพงษ์ เปำวะนำ ท่อี ยู่ 148 ม.4 ต.นำคณู ใหญ่ อ.นำหวำ้ จ.นครพนม โทรศัพท์ 093-4959046 ควำมเป็นมำ แรงบันดำลใจ/เหตผุ ลท่ีดำเนินกำร บรรพบุรุษในตาบลอพยพมาจากจังหวัดอุบลราชธานี ได้นาภูมิปัญญาท้องถิ่นไปด้วย คือ การจักสานกระติบข้าว ปัจจุบันมีการพัฒนารูปแบบไปมาก เพราะมีการอบรมได้รับความรู้ และก่อให้เกิด รายไดใ้ นครัวเรือน ต้องการรกั ษา อนุรักษไ์ วใ้ หอ้ นชุ นร่นุ หลงั พัฒนารปู แบบ วตั ถุประสงค์ เปน็ การรักษา ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น สร้างงาน สร้างรายไดเ้ สริม วัตถดุ ิบ 1. ไมไ้ ผ่ อุปกรณ์ 2. หวาย 3. ไมย้ อ 4. ไม้ซาง 5. ดา้ ย 6. สายรดั พลาสตกิ 1. มีด – พร้า 2. เล่อื ย 3. เคร่อื งขูดตอก 4. เข็ม 5. กรรไกร 6. เหลก็ แหลม
28 กระบวนกำร/ข้ันตอนกำรทำ (ทำอย่ำงไร) นาไม้ไผ่ท่ีไม่อ่อน ไม่แก่จนเกินไป นามาตัดข้อ (ปล้อง) ออก และความยาวของปล้องตาม ขนาดท่ีต้องการ ผ่าเป็นซีกพอเหมาะ เอาด้านผิวของไม้ไผ่กะพอสมควร ถ้าต้องการเส้นตอกให้ใหญ่ผ่าเอา ด้านในออกนิดหน่อย แต่ถ้าต้องการเส้นตอกเล็กก็จะเอาด้านในออกมาก นาไม้ไผ่ผ่าซีกไปต้มในกะละมังให้ สุกเพื่อเป็นการป้องกันมอด แมลง ก่อนนามาจักเป็นเส้นตอก จักตอกเป็นเส้นแล้ว นาตอกมาตากให้แห้ง แล้วนาเส้นตอกไปขูด ก่อนขูดเส้นตอกให้นาตอกท่ีตากแห้งแล้วนาไปแช่น้า เพื่อให้เส้นตอกนุ่ม การขูดตอก เพ่ือใหเ้ ส้นตอกเรยี บได้ขนาดเท่ากันไมม่ ีเส้นแข็งเกินไปหรือออ่ นเกินไป และไมม่ ีขุย (ข้ีตอก) พอขดู เสร็จนาเส้น ตอกทขี่ ูดเสร็จแลว้ ไปตากให้แหง้ การสาน จะนาตอกท่ขี ูดแลว้ ตากแห้งแลว้ นามาก่อข้ึนรูปเป็นตัวเรือนและฝา การสานตัว เรือนและฝากระติบข้าวจะสานให้มีเส้นตอกห่างกัน 2 คู่ เช่น ตัวเรือนกระติบข้าวสาน 25 คู่ (50 เส้น) ฝา กระติบข้าวจะสาน 27 คู่ (54 เสน้ ) หากต้องการเขียนเปน็ ลาย หรือตัวหนังสือ ก่อนสานจะนาเสน้ ตอกไปย้อมสีตามต้องการ มีการ รมควันด้วย เพอื่ ความสวยงาม การเย็บเข้ารูป จะเย็บด้วยหวาย หรือด้าย ฐาน (ตีนติบข้าว) จะทามาจากไม้ยอ เย็บเข้า ดว้ ยกนั ฐานไม้ยอ (ตีนติบ) นาไม้ยอมาเขา้ เคร่อื งผ่าเป็นแผ่นแลว้ กบให้เรยี บ มว้ นเขา้ รูป ตากใหแ้ ห้ง การจาหน่ายตามขนาด ความปราณตี ความสวยงาม ข้อพงึ ระวงั 1. ไมไ้ ผ่ควรมีอายไุ มน่ ้อยกวา่ 1 ปี 2. เส้นตอกตอ้ งตากใหแ้ หง้ กนั กันการขึน้ รา 3. การอบ รมควนั ต้องใช้เวลาท่ีเหมาะสม
29 แบบบันทกึ องค์ควำมรู้จำกกำรสัมภำษณ์ปรำชญ์ชุมชน โครงกำรสร้ำงและพฒั นำผนู้ ำสัมมำชีพ หลักสูตร “วิทยำกรผู้นำสมั มำชีพ” ประจำปี 2562 ศนู ย์ศึกษำและพฒั นำชุมชนอุบลรำชธำนี ชอ่ื ควำมร้/ู ควำมเชย่ี วชำญในอำชีพ ปลูกมะนำว เจ้ำขององคค์ วำมรู้ นำยพิทย์ แก้วกณั หำ ท่ีอยู่ 14 ม.9 ต.กระหวัน อ.ขุนหำญ จ.ศรสี ะเกษ โทรศัพท์ 089-6304197 ควำมเปน็ มำ แรงบันดำลใจ/เหตผุ ลทีด่ ำเนินกำร เน่ืองจากมะนาวเป็นพืชผลไม้ท่ีทุกคนต้องใช้บริโภค และทุกคนรู้จักสามารถแปรรูปเป็น การต่อยอดได้ เช่น สบู่ ยาสระผม น้ายาทาความสะอาด ยาสมุนไพร หรือเครื่องใช้อื่น ๆ และบางช่วงฤดู ขาดแคลน ทาใหม้ ะนาวราคาสงู ขน้ึ ในบางโอกาส วัตถปุ ระสงค์ เพอ่ื เกษตรกรชมุ ชนมมี ะนาวไว้ใช้เองในครวั เรือน ลดตน้ ทุนการใชจ้ ่าย เสรมิ รายไดใ้ หก้ บั ครวั เรอื น วตั ถุดิบ ตน้ มะนาวขนาด 2 X 40 ซม. ป๋ยุ คอก แกลบขาว แกลบดา เศษไม้แห้ง กากมะพร้าว ดิน อปุ กรณ์ 1. ท่อซีเม้นต์ขนาด 80 X 50 ซม. พร้อมฝารองกน้ 2. ไมไ้ ผ่ขนาด 2 X 80 ซม. 3. จอบ 4. ถงั 5. กะบะพลาสติกผสมปยุ๋ 6. เชือกฟาง กระบวนกำร/ขั้นตอนกำรทำ (ทำอยำ่ งไร) ดิน 6 ส่วน ปุ๋ยคอก 2 ส่วน แกลบขาว 2 ส่วน แกลบดา 2 ส่วน ใบไม้แห้ง 2 ส่วน กาก มะพรา้ ว 2 สว่ น หรอื ข้ีเลอื่ ย 1. กากมะพร้าวสับละเอยี ดขนาด 1 – 2 เซนตเิ มตร 2. นาส่ิงทเี่ ตรยี มไวห้ กสว่ นลงกะบะผสมคลกุ เคลา้ ให้เข้ากัน 3. แล้วตักลงท่อมฝี ารองก้นทเ่ี ตรยี มไวแ้ ล้วกดอัดพอประมาณ 4. จากน้ันขุดหลุมขนาดพอดีถุงมะนาววางต้นมะนาวฉีกถุงลงแล้วถมสูงขึ้นไม่เกิน 3 เซนติเมตร 5. ปักไม้มดั ติดต้น รดน้า ข้อพงึ ระวัง ต้นมะนาวท่ีปลูกควรเลือกอายุไม่เกิน 8 เดือน หลังจากตัดต่อก่ิงมาควรสังเกตใบ หากพบ ใบเป็นรอยจดุ ดา่ งให้ตัดออกฝงั่ ดนิ หรอื จุดเผาไฟทิ้งทันที ข้อเสนอแนะ ปลูกระยะเวลา 15 วัน ควรใส่ปุ๋ย NPK ดินที่ปลูกควรเลือกดินหน้าดินในสวนที่อุดม สมบูรณล์ ึกไม่เกนิ 15 เซนตเิ มตร เม่ือพบโรคแคงเกอร์ระบาดควรใช้ไตรโคเดอรม์ าร์ผสมนา้ สะอาดฉีดพน่
30 แบบบนั ทึกองค์ควำมรูจ้ ำกกำรสัมภำษณ์ปรำชญ์ชุมชน โครงกำรสรำ้ งและพัฒนำผนู้ ำสัมมำชีพ หลักสูตร “วิทยำกรผู้นำสัมมำชีพ” ประจำปี 2562 ศนู ย์ศึกษำและพฒั นำชุมชนอบุ ลรำชธำนี ชอ่ื ควำมรู้/ควำมเชย่ี วชำญในอำชพี กำรปลกู ถัว่ ลิสงในชว่ งฤดูแล้ง เจำ้ ขององคค์ วำมรู้ นำยอุทยั ชลำลนิ ทร์ ท่อี ยู่ 5 ม.10 ต.โพนสวำ่ ง อ.ศรสี งครำม จ.นครพนม โทรศัพท์ 092-3561417 ควำมเป็นมำ แรงบนั ดำลใจ/เหตผุ ลที่ดำเนนิ กำร บริษัทโก๋แก่ จังหวัดสกลนคร ให้เมล็ดพันธุ์มา มีคนปลูกรวมกลุ่มกันแล้ว อยากทดลองดู ในชว่ งฤดูแลง้ มสี มาชิกในหมบู่ า้ น 20 – 30 ครวั เรือน วัตถุประสงค์ เพื่อหารายได้เสริมสาหรับครอบครัวในช่วงงานในฤดูแล้ง ทาเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ิมรายได้ ใหก้ บั คนในชมุ ชน วัตถุดิบ 1. เมลด็ พันธ์ุถัว่ ลสิ ง 2. ปนู ขาว 3. ป๋ยุ คอก อุปกรณ์ 1. รถไถเตรียมดิน ก่อนปลูก ตากดนิ ไว้ สัก 4 – 5 วัน 2. จอบ สาหรบั ปลกู 3. ถงั บรรจุเมลด็ พนั ธ์ุ ทจ่ี ะนาไปปลกู ในแปลงท่เี ตรยี มไว้ กระบวนกำร/ขัน้ ตอนกำรทำ (ทำอยำ่ งไร) 1. ตดั ตอฟาง 2. ไถเตรยี มไว้สัก 4 – 5 วนั ทาเป็นแปลงไว้หา่ ง 2 – 3 เมตร 3. ปลกู ระยะห่าง 20 – 30 เซนติเมตร 4. หลังจากปลกู 2 – 3 วนั ให้นา้ ถว่ั ลิสง จากน้ันมาสังเกตในแปลงว่าน้าในร่องถ่ัวลิสงแห้งมากน้อยปานใดแล้วเติมน้าในแปลง ถั่ว ลิสง3 – 4 เดือน ใหผ้ ลผลติ เก็บเกย่ี วได้ ขอ้ เสนอแนะ อยากให้ทางรัฐบาลช่วยสนบั สนุนให้ถวั่ ลิสงมีราคาดี ประกันราคาให้กิโลละ 50 – 60 บาท ต่อกิโลกรมั จะชว่ ยสง่ เสริมใหร้ าษฎรมรี ายไดม้ าเล้ียงครอบครวั การมีรายได้สู่ประชาชนชมุ ชนอยา่ งยง่ั ยืน
31 แบบบันทึกองค์ควำมรจู้ ำกกำรสัมภำษณป์ รำชญ์ชุมชน โครงกำรสร้ำงและพัฒนำผูน้ ำสัมมำชีพ หลักสูตร “วิทยำกรผูน้ ำสัมมำชีพ” ประจำปี 2562 ศนู ยศ์ กึ ษำและพฒั นำชุมชนอบุ ลรำชธำนี ชื่อควำมรู/้ ควำมเช่ียวชำญในอำชพี กำรทำดอกไมป้ ระดิษฐ์ เจ้ำขององคค์ วำมรู้ นำงพรรณผกำ อิ่มเพ็ง ท่ีอยู่ 209 ม.11 ต.นำทม อ.นำทม จ.นครพนม โทรศพั ท์ 085-7617521 ควำมเป็นมำ แรงบนั ดำลใจ/เหตุผลทด่ี ำเนนิ กำร โดยส่วนตัวเป็นคนชอบประดิดประดอยอยู่แล้ว ก็เลยลองประดิษฐ์ดออกไม้จากริบบ้ินทา แล้วรู้สึกชอบก็เลยทามาเรื่อยๆ ไม่ว่าจะเป็นเหรียญโปรยทาน หรือดอกไม้ติดหน้าอก และได้นาดอกไม้ติด หน้าอกไปบริจาคงานบญุ แลว้ หมู่บ้านอ่ืนก็มาสงั่ ซือ้ ก็เลยทาขายมาเรื่อยๆ เลยอยากแบ่งปนั ความรูใ้ ห้กับคน อ่ืน และอยากให้คนในชมุ ชนมีอาชีพเสริมเพื่อเพ่ิมรายได้ให้กับคนในครอบครัว และอยากให้สิ่งท่ีเราชอบอยู่ กับลูกหลานตลอดไป วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือใหค้ นในชมุ ชนมอี าชีพเสรมิ เพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว 2. เพอ่ื สร้างทีมงานท่เี ขม้ แข็งและสร้างความรักและสามัคคใี นชุมชน 3. เพ่ือถา่ ยทอดความรู้ใหก้ ับลูกหลานได้อนรุ กั ษไ์ ว้ 4. ป้องกันคนในชุมชนไปขายแรงงานในตา่ งถนิ่ วัตถดุ บิ 1. รบิ บน้ิ 2. ไม้ 3. ใบไมส้ าเรจ็ 4. หลอด 5. ลวด 6. เขม็ กลัด 7. กระดาษสาพนั ก้าน 8. กาวสองหนา้ 9. กาว อปุ กรณ์ 1. กรรไกร 2. ปนื กาว 3. ไม้บรรทัด กระบวนกำร/ขัน้ ตอนกำรทำ (ทำอย่ำงไร) เร่ิมแรกเราก็ตัดริบบ้ินตามขนาดที่เราจะทา ทั้งหมด 4 เส้น แล้วก็พับตามแบบท่ีเรา ตอ้ งการไม่วา่ จะเปน็ ดอกกุหลาบ ดาว ผลไม้ตา่ งๆ เชน่ การทาดอกกุหลาบ 1. ตดั ริบบิน้ มา 4 เสน้ ยาว 30 เซนติเมตร
32 2. พับเข้าประมาณ 10 เซนติเมตร แล้วหยิบข้ึนมา 2 เส้น แล้วคล้องเส้นใดเส้นหน่ึงเข้า หากันแล้วนาอีกสองเส้นมาคล้องกันให้ครบ 4 เส้น จากน้ันก็พับไปตามแบบ ทาดอกเสร็จก็ติดโบและเข็ม กลดั ก็เสร็จ ขอ้ พึงระวงั ต้องคอยระวงั อยา่ ใหร้ ิบบิน้ แตกเพราะจะทาใหอ้ อกมาไมส่ วย ขอ้ เสนอแนะ ให้ใส่สีให้เข้ากันผสมสีให้สวย และพยายามศึกษา Google พยายามศึกษาตลอดจะมี ข้อแนะนาใหม่ๆ อย่ตู ลอด
33 แบบบันทึกองค์ควำมรจู้ ำกกำรสมั ภำษณ์ปรำชญ์ชุมชน โครงกำรสร้ำงและพฒั นำผ้นู ำสัมมำชีพ หลักสตู ร “วิทยำกรผนู้ ำสมั มำชีพ” ประจำปี 2562 ศูนย์ศกึ ษำและพฒั นำชุมชนอุบลรำชธำนี ช่ือควำมรู/้ ควำมเช่ียวชำญในอำชพี แปรรปู ปลำนำ้ จืด “ปลำดกุ ร้ำ” เจำ้ ขององค์ควำมรู้ นำยพศิ ำล โทศก ทอ่ี ยู่ 108 ม.3 ต.สระเยำว์ อ.ศรรี ตั นะ จ.ศรีสะเกษ โทรศัพท์ 065-2371658 ควำมเปน็ มำ แรงบันดำลใจ/เหตุผลทด่ี ำเนนิ กำร สืบเนื่องมาจากปลาดุกเป็นสัตว์เศรษฐกิจชนิดหน่ึงท่ีเกษตรกรเลี้ยงกัน เพ่ือบริโภคอย่าง แพร่หลายแต่เมอื่ เล้ียงเป็นจานวนมากจึงทาให้มีผู้ผลิตมมี ากกว่าผู้บริโภคท่ีมีนอ้ ยกวา่ เมื่อจะนามาจาหน่ายก็ จะมีราคาที่ถูกกว่าต้นทุน ดังนั้น จึงคิดค้นวิธีการแปรรูปอาหารข้ึนมาจึงกาเนิดเป็น “ปลาดุกร้า” เพ่ือเพิ่ม มูลค่าและถนอมอาหารไว้บริโภคต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพอื่ การถนอมอาหารไวบ้ รโิ ภคในครัวเรอื น 2. เพือ่ ได้อาหารแปลกใหม่ มีผลิตภณั ฑ์อาหารใหม่ 3. เพื่อเพ่มิ มลู ค่าอาหาร เสรมิ สร้างรายไดใ้ นครัวเรือน วตั ถุดิบ 1. ปลาดกุ 20 กิโลกรมั ขนาด 4 – 5 ตวั ต่อกิโลกรมั 2. เกลอื 1 กิโลกรัม (เกลือสนิ เธาว์) 3. นา้ ตาลทราย 1 กิโลกรมั (ใช้นา้ ตาลทรายแดงหรือขาวก็ได้) อปุ กรณ์ 1. กะละมังพลาสติกขนาดกลาง 1 ใบ 2. ถงุ มือพลาสติก 1 คู่ 3. ถงั พลาสติกมฝี าปดิ 1 ใบ 4. ตตู้ าก หรอื ที่ตากอาหารทัว่ ไป 1 ตู้ 5. ถาดรอง 6. เขียง 1 เขียง 7. มีดอโี ต้ 1 เล่ม กระบวนกำร/ขัน้ ตอนกำรทำ (ทำอย่ำงไร) 1. นาปลาดุกมาตัดหัวออกควักไส้ออกให้หมดล้างให้สะอาด จากน้ันนามาพักไว้ เพื่อให้ สะเดด็ นา้ พอสมควร 2. ในช่วงท่ีเรารอใหป้ ลาดกุ สะเดด็ น้า กท็ าการผสมนา้ ตาลกบั เกลือเข้าดว้ ยกนั ในภาชนะ 3. เม่ือปลาสะเด็ดน้าแล้วนาปลามาคลุกเข้ากับเกลือน้าตาลที่เราผสมกันไว้ โดยการนาเกลือ นา้ ตาลที่เราผสมกนั ยัดเขา้ ไปทท่ี อ้ งปลา และทาทีต่ ัวปลาทั่วตัวพอประมาณ 4. แล้วนามาวางท่ีถังพลาสติกท่ีเตรียมไว้เพอ่ื การหมักปลาทาเช่นนี้จนแลว้ เสรจ็ 5. เม่ือเสร็จแล้วทาการปิดฝาให้มิดชิด ทาการหมักไว้ 3 คืน ทุกคืนเราต้องทาการพลิกปลา ส่วนทอ่ี ย่ดู ้านล่างให้ขึ้นมาดา้ นบนทกุ คนื
34 การบรโิ ภค 6. เมื่อระยะเวลาครบกาหนดให้นาปลาท่ีหมักมาตากแดดในที่ตากท่ีเตรียมไว้ หรือในตู้ตาก อาหารปลอดแบบลาโน เป็นเวลา 3 – 5 แดด ตามสภาพแสงแดด ข้อพงึ ระวัง ขอ้ เสนอแนะ 7. จากนัน้ นามาบรรจุหอ่ ด้วยกระดาษซบั มัน ตามแตจ่ ะบรรจุเปน็ กโิ ล หรือเปน็ ถงุ อาหารเปด็ 1. นาไปทอดใช้ไฟอ่อนๆ หรือย่างหอ่ ใบเตย หรือใบตอง 2. ทาการซอยพริก หอมแดง หรือกระเทียม และบีบมะนาวใส่ ก็จะ ไดร้ สชาตอิ อกเป็นปลาดกุ ร้าทรงเคร่ือง 3 รส เปรี้ยว หวาน เค็ม 1. ต้องพลกิ ปลาทุกคนื เพือ่ ใหเ้ กลือ น้าตาล ซมึ เข้าทว่ั ตวั ปลา 2. ตอ้ งปิดฝาถังหมกั ใหม้ ดิ ชดิ กับแมลงวันเขา้ ไปไข่ 1. ส่วนหัวของปลาดกุ เรานามาทานา้ หมัก โดยใชส้ ารเรง่ พด.2 หมกั ไว้ฉีดพน่ พืชผกั 2. หรือจะนามาย่างเพื่อไว้ใส่แกงหน่อไม้เพ่ิมกล่ินหอมหรือนาไปสับละเอียดเพ่ือให้เป็น
35 แบบบันทกึ องคค์ วำมรจู้ ำกกำรสมั ภำษณ์ปรำชญ์ชุมชน โครงกำรสรำ้ งและพัฒนำผ้นู ำสัมมำชีพ หลักสูตร “วิทยำกรผู้นำสัมมำชีพ” ประจำปี 2562 ศูนย์ศกึ ษำและพัฒนำชุมชนอุบลรำชธำนี ชอ่ื ควำมรู/้ ควำมเชยี่ วชำญในอำชพี กำรแซวเสอ้ื เจำ้ ขององค์ควำมรู้ นำงศริ ิวรรณ โสกำลี ที่อยู่ 48 ม.1 ต.จำน อ.กันทรำรมย์ จ.ศรีสะเกษ โทรศัพท์ 093-4719767 ควำมเปน็ มำ แรงบันดำลใจ/เหตุผลทีด่ ำเนนิ กำร เรามีความสนใจในงานประดิษฐ์เป็นทุนเดิมอยู่แล้ว งานแซวเสื้อก็เป็นงานเบา งานสบาย ในเมื่อเห็นเขาทาจึงเกิดการสนใจจึงได้ไปเรยี นแล้วมาฝึกทาเสื้อตัวเองท่ีบ้าน ทาเสร็จแล้วจึงนาผลงานไปให้ คนที่สอนงานเราดู เขาเลยบอกว่าทาได้แล้วนี่ แต้ยังไม่สวยเท่าที่ควร เราก็เลยรับคาแนะนาจากเขาไป ปรับปรุงแก้ไขจนปจั จบุ ัน มีงานรบั จา้ งมรี ายได้เข้าสูค่ รอบครัว วตั ถปุ ระสงค์ เมื่อเราเรียนทาแซวเส้ือแล้วทาเป็นแล้วเราก็อยากจะถ่ายทอดวิชาความรู้ให้กับคนที่สนใจ หรอื คนที่วา่ งงานมาเรยี น เพอ่ื จะได้มีรายไดเ้ สรมิ และทาเวลาวา่ งให้เกิดประโยชน์ วัตถดุ ิบ เสื้อท่ีจะนามาแซว เช่น เสื้อไหม เส้ือฝ้าย เสื้อม่อฮ่อม เป็นต้น ส่วนมากเสื้อที่นามาแซวจะ เปน็ สดี า หรอื สคี ราม หรอื เสอ้ื สีอื่นๆ ก็ได้ อุปกรณ์ 1. เขม็ 2. ดา้ ย 3. เสอ้ื ท่นี ามาแซว 4. ไมบ้ รรทดั 5. ชอลก์ เขียนผ้า กระบวนกำร/ขน้ั ตอนกำรทำ (ทำอยำ่ งไร) เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมแล้วดูลายเสื้อที่จะทา แต่ถ้าเราทารับจ้างก็ต้องถามลูกค้ า เอาลายแบบไหน เมื่อตกลงกันได้แล้วเราก็ลงมือทา ใช้เวลาประมาณ 3 – 4 วัน ต่อ 1 ตัว หรือมากกว่า นน้ั กไ็ ด้ แลว้ แต่ว่าเรามีเวลามากนอ้ ยแค่ไหน ลูกค้าบางคนเขา้ ก็จะกาหนดวันและเวลาใหแ้ ละจะตอ้ งทาใหไ้ ด้ ตามทีล่ ูกคา้ เขากาหนด แตถ่ า้ เราทาไม่ทัน จะไม่รบั งานเพอ่ื ท่ีจะไดไ้ ม่เสยี ลกู คา้ ข้อพงึ ระวัง การทาเส้ือแซวเวลาใช้เข็มปักลงไปท่ีตัวเสื้อเราอย่างดึงเส้นด้ายให้ตึงมาก เพราะจะทาให้ เส้ือมันตงึ ทาให้ผลงานไมส่ วย งานประดิษฐเ์ ราต้องทาใจเย็นๆ ค่อยเป็นค่อยไป เพื่อผลงานออกมาจะได้เป็นที่ พึงพอใจของลูกคา้ ขอ้ เสนอแนะ เสื้อแซวใส่แล้วสวย ใส่ออกงานประเพณีต่างๆ ได้ หรือจะใส่ไปทางานก็ได้ เพราะทุกวันน้ี เน้นการแต่งกายวัฒนธรรมไทยอยู่แล้ว ถ้าสนใจติดต่อได้ ตอนนี้ทางเรารับปักอย่างเดียวยังไม่มีเสื้อให้ เสื้อจะ เปน็ ของลกู ค้าส่วนมาก
36 แบบบันทึกองค์ควำมรูจ้ ำกกำรสัมภำษณป์ รำชญ์ชุมชน โครงกำรสรำ้ งและพัฒนำผู้นำสัมมำชีพ หลักสตู ร “วิทยำกรผูน้ ำสัมมำชีพ” ประจำปี 2562 ศนู ย์ศกึ ษำและพฒั นำชุมชนอุบลรำชธำนี ชื่อควำมร/ู้ ควำมเชี่ยวชำญในอำชีพ กำรทอผ้ำไหมมดั หมี่ เจ้ำขององค์ควำมรู้ นำยสชุ ำติ สุภำพันธ์ ที่อยู่ 38 ม.3 ต.จะกง อ.ขุขนั ธ์ จ.ศรสี ะเกษ โทรศัพท์ 062-1545669 ควำมเปน็ มำ แรงบนั ดำลใจ/เหตุผลทดี่ ำเนนิ กำร เป็นอาชีพเสริมของชุมชนที่ทาหลังจากการทานา ซึ่งทาสืบต่อกันมาแต่อดีตและได้รวมตัวกัน จัดต้ังเป็นกลุ่มอาชีพ และมีการพัฒนาข้ึนเรื่อยๆ ซึ่งเป็นอาชีพที่สร้างรายได้ให้แก่คนในชุมชนเป็นอย่างดี ซ่ึง ปัจจุบันทางกลุ่มทอผ้าไหมมัดหม่ีบ้านตาตู้ได้จดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน ทาเป็นสินค้าโอทอปของชุมชน ส่งติด ดาวได้ระดับ 4 ดาว และทางกลุ่มได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนากลุ่มจากหน่วยงานต่างๆ จนกลมุ่ ประสบผลสาเรจ็ เปน็ อย่างดี วัตถุประสงค์ 1. เพื่อใหค้ นในชุมชนมีงานทา 2. เพอ่ื สร้างรายได้ ลดรายจา่ ยให้คนในชมุ ชน 3. เพ่ือใหค้ นในชมุ ชนไดพ้ ฒั นาอาชพี และเรยี นรู้การทางานเป็นกลุ่ม วัตถดุ ิบ 1. เส้นไหม 2. สยี ้อมไหม 3. ด่างฟอกไหม 4. ด่างลา้ งไหม 5. เชอื กฟาง อปุ กรณ์ 1. ก่ีกระตุก 2. กง 3. อกั 4. หลอดด้าย 5. สะดงึ ขึงด้าย 6. ระหัด 7. กรรไกร 8. ทป่ี ้ันด้าย กระบวนกำร/ขั้นตอนกำรทำ (ทำอย่ำงไร) ขั้นตอนการมัดหม่ี 1. นาวัสดุอุปกรณ์ที่เตรียมไว้มาเพื่อจะทาการมัดหม่ี มีเส้นไหม ด่างฟอก ด่างล้าง สีย้อม ไหม เชอื กฟางกรรไกร สะดึง อัก กง 2. นาไหมที่เตรียมไว้มาฟอกดว้ ยด่างฟอก และล้างดว้ ยน้าสะอาดแล้วผึ่งแดดไว้ให้แห้ง
37 ข้อพึงระวัง 3. นาไหมทผี่ ่านการฟอกแหง้ แลว้ มาย้อมสแี ล้วล้างน้าสะอาดแล้วผ่งึ แดดให้แห้ง 4. นาไหมท่ีย้อมแห้งเสรจ็ แล้วมาดน้ ใส่อักให้เรียบรอ้ ย 5. นาไหมในอกั มาดึงใหเ้ ป็นลาเป็นหัวเพื่อเตรียมมัด 6. ทาการมดั หม่ตี ามลายที่ต้องการโดยใช้เชือกฟาง 7. เมื่อมดั เสรจ็ ทาการยอ้ มสีพืน้ ตามตอ้ งแล้วล้างดว้ ยนา้ สะอาดผ่งึ แดดให้แหง้ 8. นาไหมทมี่ ัดหมเ่ี รยี บรอ้ ยมาขึงในสะดึงเพ่ือตดั เชือกฟางออก 9. นาไปดน้ ใสอ่ ักแลว้ ปั่นใส่หลอดสาหรบั ทอ 10. นาหลอดที่ปน้ั เสรจ็ แลว้ มาทอจนเตม็ พืน้ โดยผ้าผืน 1 จะกว้าง 1 เมตร ยาว 2 เมตร 11. นาผา้ ท่ีทอแล้วตัดออก จาหนา่ ยตามลูกคา้ สงั่ ได้เลย 12. การจัดจาหน่ายผ้าไหมมัดหม่ีของชุมชน จะมีสมาชิกซึ่งเป็นตัวแทนนาผ้าไปขายตาม งานโอทอปต่างๆ รวมถึงขายส่งขายปลีกให้ลูกค้าที่มาซื้อท่ีกลุ่มและจาหน่ายผ่าน เฟสบ๊คุ ไลน์ ผ่านเฟสบคุ๊ กลมุ่ ทอผ้าไหมมัดหมีบ่ ้านตาตู้ 1. ในการมัดหม่ีควรมัดให้แน่นเพ่อื ป้องกนั สซี ึม 2. การตัดเชือกฟางควรระวงั กรรไกร จะตัดถกู ไหมด้วย
38 แบบบันทึกองค์ควำมรู้จำกกำรสัมภำษณ์ปรำชญช์ ุมชน โครงกำรสรำ้ งและพัฒนำผู้นำสัมมำชีพ หลักสตู ร “วิทยำกรผนู้ ำสัมมำชีพ” ประจำปี 2562 ศูนยศ์ ึกษำและพัฒนำชุมชนอบุ ลรำชธำนี ชอ่ื ควำมรู้/ควำมเช่ียวชำญในอำชพี จักสำนมวยนึ่งขำ้ วเหนียวจำกไมไ้ ผ่ เจำ้ ขององค์ควำมรู้ นำงแก่นจนั ทร์ นุวงศรี ท่อี ยู่ 102 ม.4 ต.ทุ่งแต้ อ.เมอื ง จ.ยโสธร โทรศพั ท์ 063-8851632 ควำมเปน็ มำ แรงบนั ดำลใจ/เหตุผลทดี่ ำเนินกำร แต่ก่อนชุมชนของตาบลทุ่งแต้ อาชีพหลัก คือ การเกษตรกรรม ทาไร่ทานา เกือบ 90 เปอรเ์ ซนต์ แต่โชคดีทม่ี บี ุคคลทม่ี ีฝมี ือทางการจักสานในชมุ ชน จึงได้ขยายทากนั ภายในครอบครัว เกดิ รายได้ ข้ึน ต่อมาก็ขยายในหมู่บ้าน และปัจจุบันขยายไปท้ัง 10 หมู่บ้าน ภายในชุมชนตาบลทุ่งแต้ และจัดตั้งกลุ่ม จักสาน เพ่ือรบั ซอ้ื จากสมาชกิ เพ่อื ขายให้กบั พอ่ คา้ คนกลางไปรบั ซ้ือ ผลกาไรปนั คนื สมาชิก วตั ถุประสงค์ เพ่อื เกิดความสามคั คีในชมุ ชน เกิดรายไดภ้ ายในครอบครัว วตั ถุดิบ ไม้ไผ่สด (เฉพาะไมไ้ ผบ่ ้าน) อายุ 1 ปี ไมเ่ กนิ 3 ปี อุปกรณ์ 1. เลือ่ ย 2. มดี (มีดตอก หรือมีดทแ่ี ตล่ ะบุคคลถนดั มือ) 3. กบ (เคร่ืองมอื ท่ีผลิตใชข้ ้นึ เองในการทา) 4. ลวดเส้นเล็ก หรือหวาย 5. เหล็กแหลม (เหลก็ ชี) กระบวนกำร/ขัน้ ตอนกำรทำ (ทำอย่ำงไร) 1. นาไม้ไผท่ ่ีซ้อื มาเลอื่ ยให้ได้ขนาดตามต้องการ 2. ผา่ ปลอ้ งไม้ไผ่ออกเป็นกบี กวา้ งประมาณ 4 – 5 ซม. เป็นแนวนอน 3. นาไปหลาบ เพ่อื ออกทรงมวย 4. นากบี ไมไ้ ผ่มาถกั เปน็ เสน้ บางๆ ทเ่ี รยี กวา่ ตอก 5. นาตอกท่ถี ักแล้วไปขดู ดว้ ยเคร่อื งมอื ท่ีเรียกวา่ กบเหลาตอก 6. นาตอกทข่ี ูดแลว้ ไปผง่ึ ให้แห้ง เพอ่ื ไม่ใหเ้ กดิ เชอ้ื รา 7. เมอ่ื ตอกแหง้ แล้ว จงึ นามาก่อใหน้ ับจานวนเปน็ คู่ๆ เพ่ือจะได้ตามทรงท่ีต้องการ เพราะ จะมีหลายขนาด 1.ขนาดจว๋ิ 2.ขนาดกลาง 3.ขนาดใหญ่ 8. เมื่อสานเป็นทรงแล้ว จึงนามาขอบท้ังข้างบน และข้างลา่ ง ซ่ึงตอนขอบนนั้ จะนามวย 2 อนั มาซ้อนกนั ถึงจะแขง็ แรง 9. แล้วนามาเย็บด้วยลวด หรอื หวายจึงจะได้มวยนง่ึ ข้าว 1 ใบ ขอ้ พึงระวัง ต้องเก็บตอกท่ีตากแล้วในที่คิดว่าไม่มีฝน หรือน้าถูก เพราะจะทาให้เกิดเชื้อราได้ และ อุปกรณ์ทใี่ ชก้ ็ให้ระวงั เพราะอาจจะบาดมือได้
39 แบบบนั ทึกองคค์ วำมรู้จำกกำรสัมภำษณ์ปรำชญช์ ุมชน โครงกำรสร้ำงและพฒั นำผ้นู ำสมั มำชีพ หลักสูตร “วิทยำกรผู้นำสัมมำชีพ” ประจำปี 2562 ศนู ย์ศกึ ษำและพัฒนำชุมชนอุบลรำชธำนี ช่ือควำมร/ู้ ควำมเชีย่ วชำญในอำชพี ไขเ่ คม็ สมนุ ไพร เจ้ำขององค์ควำมรู้ นำงสำวสวุ ภัทร เสนสอน ท่อี ยู่ 2 ม.2 ต.ปรำสำทเยอ อ.ไพรบึง จ.ศรีสะเกษ โทรศัพท์ 061-0322161 ควำมเป็นมำ แรงบันดำลใจ/เหตผุ ลทด่ี ำเนนิ กำร มีสมนุ ไพรปลูกเองรอบบ้าน มองเห็นประโยชน์ของพืชใกล้มือ ชอบปรงุ อาหาร ชอบคิดค้น ชอบทดลอง เพ่ืออยากใชท้ รพั ยากรให้เปน็ ประโยชน์ วตั ถุประสงค์ เพ่ือสร้างอาชีพเสริมรายได้ ลดค่าใช้จ่ายให้กับครอบครัว และใช้ทรัพยากรให้เกิด ประโยชน์ และอยากให้เป็นทร่ี ู้จักกนั ในหลายๆ ชมุ ชน วตั ถดุ ิบ 1. ไขเ่ ปด็ ดบิ 2. เกลอื สนิ เธาว์ 3. ใบเตยสด 4. ขม้ินสด 5. ขมน้ิ ผง 6. น้าสะอาด อุปกรณ์ 1. แปน้ เทป 2. เทปใส 3. ถาด 4. พลาสติกใส กระบวนกำร/ข้นั ตอนกำรทำ (ทำอยำ่ งไร) สตู รสมนุ ไพรใบเตย 1. เตรียม วตั ถุดบิ ไข่เปด็ เกลือ ดินสอพอง ใบเตย 2. ไข่เป็ดล้างสะอาด 100 ใบ ดินสอพอง 3 กิโลกรัม เกลือ 1 กิโลกรัม ใบเตย ห่ันโขก หยาบ 1 กิโลกรัม นา้ สะอาด 1 – 2 ลติ ร 3. นาดินสอพอง เกลือ น้าสะอาด คลุกเคล้าให้เข้ากันผสมได้ท่ีโรยด้วยกากใบเตยโขก หยาบคลุกเคล้าให้เขา้ กัน เพิ่มความหอมไดด้ ี นามาหอ่ โอบไข่ และใบเตยโขกหยาบห่อหุม้ อีกรอบ เพื่อสีสันท่ี สวยงามแลว้ ห่อด้วยพลาสตกิ เพอื่ เกบ็ ความเค็ม หรือดองเคม็ ไวไ้ ด้อยา่ งดี ระยะเวลา 5 – 7 วนั ทอดไขด่ าวมีรสชาติเคม็ นอ้ ย ระยะเวลา 10 – 15 วนั ต้มไข่ต้มมีรสชาติเคม็ นอ้ ย ระยะเวลา 15 – 20 วัน ต้มไข่เค็มเก็บไว้ทาน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192