Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวคิดเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

แนวคิดเกี่ยวกับอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

Published by Mont Noramon Poolbua, 2021-01-31 11:08:44

Description: 1.ทฤษฏีการชน (Collision Theory)
2.พลังงานก่อกัมมันต์ (Activation energy)

Search

Read the Text Version

แนวคิดเก่ียวกับ อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

แ น ว คิ ด เ ก่ี ย ว กั บ อั ต ร า ก า ร เ กิ ด ป ฏิ กิ ริ ย า เ ค มี

แ น ว คิ ด เ ก่ี ย ว กั บ อั ต ร า ก า ร เ กิ ด ป ฏิ กิ ริ ย า เ ค มี การเกิดปฏิกิริยาเคมีสามารถอธิบายได้โดยใช้ทฤษฎีการชนแล ะ ทฤษฎีสารเชิงซ้อนที่ถูกกระตุ้น 1. ทฤษฎีการชนกัน (Collision Theory) 2. พลังงานก่อกัมมันต์ (Activation energy)

ทฤษฎีการชนกัน (Collision Theory) ท ฤ ษ ฎี นี้ อ ธิ บ า ย ว่ า “ ป ฏิ กิ ริ ย า เ ค มี จ ะ เ กิ ด ขึ้ น ไ ด้ ก็ ต่ อ เ มื่ อ อ นุ ภ า ค ข อ ง ส า ร ตั้ ง ต้ น อ า จ เ ป็ น โ ม เ ล กุ ล อ ะ ต อ ม ห รื อ ไ อ อ อ น ก็ ไ ด้ จ ะ ต้ อ ง มี ก า ร เ ค ลื่ อ น ที่ ช น กั น ก่ อ น ” แ ต่ มิ ไ ด้ ห ม า ย ค ว า ม ว่ า ก า ร ช น กั น ข อ ง อ นุ ภ า ค ทุ ก ค รั้ ง จ ะ เ กิ ด ป ฏิ กิ ริ ย า ก า ร ช น กั น ข อ ง อ นุ ภ า ค ข อ ง ส า ร ต้ั ง ต้ น จ ะ เ กิ ด ป ฏิ กิ ริ ย า ไ ด้ ห รื อ ไ ม่ ข้ึ น อ ยู่ กั บ ปั จ จั ย ต่ อ ไ ป น้ี • พลังงานจลน์ของอนุภาคท่ีเคล่ือนท่ีชน • ทิศทางการชนของอนุภาค

ทฤษฎีการชนกัน (Collision Theory) พลังงานจลน์ของอนุภาคที่เคลื่อนที่ชนกัน อนุภาคของสารตั้งต้ นเมื่อชนกัน แล้วจะเกิดปฏิกิริยาได้ก็ต่อเมื่ออนุภาคที่ชนกันจะต้องเคล่ือนท่ี เร็วหรือมีพลังงานจลน์ คือ เมื่อชนกันแล้วพลังงานที่ได้จากการชน จะต้องสูงพอที่ทาให้พั นธะในสารตั้งต้น สลาย แล้วสร้างพันธะใหม่เกิดเป็นสารผลิตภัณฑ์ได้

ทฤษฎีการชนกัน (Collision Theory) ทิศทางการชนของอนุภาค การชนกันของอนุภาคจะเกิดปฏิกิริยาได้ นอกจากนี้ขึ้นอยู่กับพลังงานจลน์ของอนุภาคแล้วยังขึ้นอยู่กับทิ ศทางในการชนด้วย

ทฤษฎีการชนกัน (Collision Theory)

ทฤษฎีการชนกัน (Collision Theory) จากทฤษฏีการชนกัน สรุปได้ว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเป็นสัดส่วนโด ยตรงกับ 1. ความถี่ในการชนกันของอนุภาค 2. เปอร์เซ็นต์ในการชนกันของอนุภาคที่เป็นผลสาเร็จ (เกิดปฏิกิริยา) จ า ก ข้ อ มู ล ท่ี ก ล่ า ว ม า ส รุ ป ไ ด้ ว่ า ป ฏิ กิ ริ ย า เ ค มี เ กิ ด ขึ้ น ไ ด้ เ ม่ื อ 1. อนุภาคของสารต้ังต้นชนกัน 2. ชนในทิศทางที่เหมาะสม 3. พลังงานท่ีเกิดจากการชนกันอย่างน้อยท่ีสุดปริมาณหนึ่งซ่ึงเท่ ากับพลังงาน ก่ อ กั ม มั น ต์ ใ ช้ สั ญ ลั ก ษ ณ์ ย่ อ เ ป็ น

พลังงานก่อกัมมันต์ (Activation energy) ตามทฤษฎีจลน์ที่ได้ศึกษามาแล้วท่ีอุณหภูมิหนึ่งๆ โมเลกุลของแก๊สเคล่ื อนท่ีด้วย อัตราเร็วต่างกันถึงแม้ว่าจะเป็นโมเลกุลของแก๊สชนิดเดียวกันก็ตาม โมเลกุ ลท่ีเคล่ือนท่ีช้ามี พลังงานจลน์ตา่ ส่วนพลังงานท่ีเคลื่อนท่ีเร็วมีพลังงานจลน์สูง ถ้าโมเล กุลท่ีมาชนกันมี พลังงานสูง พลังงานท่ีได้จาการชนกันก็จะมีค่าสูงด้วย และถ้าพลังงานที่ ได้จากการชนมี ค่าสูงพอที่ทาให้เกิดการสลายพันธะในสารเดิมแล้วมีการสร้างพันธะใหม่เกิด เป็นผลิตภัณฑ์ แสดงว่าการชนกันนั้นเป็นผลสาเร็จ หรือเกิดปฏิกิริยา พลังงานจานวนน้อย ท่ีสุดท่ีได้จาก การชนกันแล้วทาให้เกิดปฏิกิริยา เรียกว่า พลังงานก่อกัมมันต์หรือพลังงานกระตุ้น

พลังงานก่อกัมมันต์ (Activation energy)

สรุปเร่ืองพลังงานก่อกัมมันต์ ในปฏิกิริยาเคมีต่างๆจะมีค่าพลังงานก่อกั มมันต์ไม่เท่ากัน จึงทาให้อัตราการ เกิดปฏิกิริยาเคมีไม่เท่ากัน ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการเกิดปฏิกิ ริยาเคมีกับค่า พลังงานก่อกัมมันต์ เป็นดังนี้ 1. ถ้าพลังงานก่อกัมมันต์มีค่าน้อยปฏิกิริยาจะเกิดเร็ว 2. ถ้าพลังงานก่อกัมมันต์มีค่ามากปฏิกิริยาจะเกิดช้า

พลังงานก่อกัมมันต์สาหรับปฏิกิริยาคายความร้อน และดูดความร้อน พิจารณาปฏิกริ ยิ า A + B --------> C + D



Thank you!


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook