Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการดำเนินงานสถานศึกษาปลอดภัย

รายงานการดำเนินงานสถานศึกษาปลอดภัย

Published by Jiab Chanchira, 2019-06-16 12:42:07

Description: รายงานการดำเนินงานสถานศึกษาปลอดภัย

Search

Read the Text Version

โรงเรียนปลอดภยั สภาพแวดลอ้ มในการทางาน สขุ ภาพอนามยั ความปลอดภยั

แบบประเมนิ สำหรบั คณะกรรมกำรตรวจ โปรดทาเครื่องหมาย  ในช่อง  ทร่ี ะบุวา่ “ม/ี ใช่” หรอื “ไม่ม/ี ไมใ่ ช่” ทุกข้อ ถ้าตอบว่า “มี/ใช่” โปรดแนบรายละเอียดเอกสาร/หลักฐาน/ตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง และเติมหมายเลขในช่อง เอกสารแนบใหช้ ัดเจน เพอ่ื ประกอบการพจิ ารณาในแตล่ ะข้อ สว่ นที่ ๑ กำรเทดิ พระเกียรติสถำนบนั พระมหำกษัตรยิ ์ (ช่วงเดอื นมกราคม – ธันวาคม ๒๕๖๑) มี/ใช่ ไมม่ /ี เอกสารแนบ ไมใ่ ช่ หมายเลข ๑. มีบอร์ดหรอื นทิ รรศการเทิดพระเกียรตสิ ถาบันพระมหากษัตรยิ ์ในสถานศึกษา  ทช่ี ดั เจน   เอกสารแนบ ๒. มีการประชาสัมพนั ธ์ส่งเสริมเก่ยี วกับค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการใน หมายเลข สถานศึกษาทีช่ ดั เจน  สว่ นท่ี ๒ สถำนศึกษำปลอดภัย (ช่วงเดือนมกราคม – ธันวาคม ๒๕๖๑) ม/ี ใช่ ไมม่ /ี ไมใ่ ช่ ๑. มนี โยบายความปลอดภยั ในสถานศึกษา เป็นลายลกั ษณ์อักษรและมีการ  ประกาศนโยบายให้เห็นให้เห็นไดช้ ดั เจน  ๒. มีแผนงานและงบประมาณดาเนนิ การด้านความปลอดภัยในสถานศกึ ษาท่ี  ชัดเจน  ๓. มีบุคลากรผดู้ ูแลรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในสถานศึกษาที่ชดั เจน  ๔. มคี ณะทางานหรือคณะกรรมการความปลอดภัยของสถานศึกษาที่ชัดเจน   ๕. มกี ฎระเบียบหรือคู่มอื /แนวทางว่าดว้ ยความปลอดภยั ในสถานศึกษาท่ี   เหมาะสม  ๖. บคุ ลากรทกุ ระดับ เชน่ อาจารย์ ผู้บริหาร ลูกจ้าง ได้รบั การอบรมให้มคี วามรู้  เกีย่ วกบั ความปลอดภยั ในสถานศกึ ษาตามแผนงานทก่ี าหนด  ๗. มกี ารอบรมเกยี่ วกบั การปฐมพยาบาลเบื้องต้นแกบ่ ุคลากรในสถานศึกษา  ๘. มโี ครงการหรือการดาเนนิ การเพื่อรักษาความสะอาด ความเปน็ ระเบยี บ   เรยี บร้อยในสถานศึกษาที่ชดั เจนและมีประสทิ ธิภาพ  ๙. มีการดแู ล สารวจหรือตรวจสอบความปลอดภัยในสถานศกึ ษา โดยกาหนด  ผูร้ บั ผิดชอบทีช่ ัดเจน รวมทั้งนาผลไปปรับปรุงแก้ไข  ๑๐. มอี ปุ กรณ์ป้องกันอันตรายของเคร่ืองจักร เคร่ืองมือ (Safeguard) ใน  สถานศกึ ษาอย่างครบถว้ นและมีประสทิ ธิภาพ เช่น ฝาครอบใบมีดเครื่องตัดหญา้  ฝาครอบใบเล่ือย ฝาครอบสายพาน  ๑๑. มีระบบปอ้ งกันอนั ตรายจากไฟฟา้ รวั่ หรอื การต่อสายดินในสถานศกึ ษาท่ีมี  ประสทิ ธิภาพ เอกสารประกอบการประเมินสถานศกึ ษาปลอดภยั ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จังหวดั เชียงใหม่ ๑

สว่ นท่ี ๒ สถำนศึกษำปลอดภัย (ชว่ งเดือนมกราคม – ธันวาคม ๒๕๖๑) ม/ี ใช่ ไม่ม/ี เอกสารแนบ ไมใ่ ช่ หมายเลข ๑๒. มรี ะบบปอ้ งกนั และระงับอคั คภี ยั ในสถานศึกษา เชน่ สญั ญาณแจง้ เหตุเพลิง   ไหม้ ถังดบั เพลงิ เปน็ ตน้ รวมท้ังการตรวจสอบและบารุงรักษาที่ชดั เจน ๑๓. มีแผนปอ้ งกนั และระงับอัคคภี ัยในสถานศึกษาท่ีชัดเจน  ๑๔. มกี ารฝกึ อบรมการดบั เพลิงข้นั ต้นในสถานศึกษา  ๑๕. มกี ารฝึกซ้อมดบั เพลงิ และการฝึกอพยพหนีไฟในสถานศึกษาประจาปี  ๑๖. มีการฝกึ ซอ้ มตามข้อ ๑๕. โดยใช้หนว่ ยงานทีไ่ ดร้ บั การรบั รองเปน็ ผ้ฝู ึกสอน   ๑๗. มีห้องพยาบาล และอุปกรณใ์ นการปฐมพยาบาลเบื้องต้นในสถานศึกษา   พร้องผ้รู ับผดิ ชอบท่ีชัดเจน ๑๘. มมี าตรการปอ้ งกันการเกิดโรคระบาดหรือโรคติดตอ่ ให้กบั บคุ ลากรและมี   การเผยแพร่ให้ความรูเ้ ก่ยี วกับการปอ้ งกันการเจ็บป่วยหรือโรคอันเนือ่ งจาก ทางานในสถานศกึ ษา ๑๙. มีหอ้ งส้วม (ท่ีถ่ายอจุ จาระ และท่ีถ่ายปัสสาวะ) และอ่างล้างมอื สาหรับ   นกั เรยี น/นกั ศึกษา แยกชาย – หญงิ ท่พี อเพยี ง (หมายเหตุ จากกฎกระทรวงฉบับที่ ๖๓ (พ.ศ.๒๕๕๑) ออกตามความใน พระราชบญั ญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.๒๕๒๒) ๑. ตอ่ จานวนนักเรยี น/นักศึกษา ชาย ๕๐ คน กาหนดให้มหี อ้ งถา่ ย อุจจาระ ๑ หอ้ ง ท่ีถ่ายปัสสาวะ ๑ ท่ีและอา่ งลา้ งมอื ๑ ที่ (ส่วนทเ่ี กนิ ๕๐๐ คน ให้เพ่ิมหอ้ งถา่ ยอุจจาระ ท่ีถ่ายปัสสาวะ และอา่ งล้างมอื อยา่ ง ละ ๑ ที่ ต่อจานวนนกั เรียน/นักศึกษาชายทกุ ๑๐๐ คน) ๒. ต่อจานวนนกั เรยี น/นักศกึ ษาหญิง ๕๐ คน กาหนดใหม้ ีห้องถา่ ย อจุ จาระ ๒ หอ้ ง และอ่างล้างมอื ๑ ที่ (สว่ นท่ีเกนิ ๕๐๐ คน ใหเ้ พม่ิ ห้องถ่ายอจุ จาระ ๒ ห้อง และอ่างลา้ งมือ ๑ ที่ ต่อจานวนนักเรียน/ นกั ศึกษาหญิงทกุ ๑๐๐ คน) ๒๐. มกี ารจดั ท่รี ับประทานอาหารและที่พักที่เหมาะสมและถกู สขุ ลักษณะ เช่น   ระบบแสงสวา่ ง ระบบระบายอากาศ ระดบั ความดังของเสียง เป็นตน้ 21. มกี ารจัดท่รี ับประทานอาหาร และที่พักทเ่ี หมาะสม และถูกสุขลักษณะ  22. มีการจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและปลอดภยั ในสถานศกึ ษา เช่น ระบบ   แสงสวา่ ง ระบบระบายอากาศ ระดบั ความดงั ของเสียง เป็นตน้ 23. มีมาตรการเพื่อความปลอดภัยกับสารเคมีในสถานศึกษาเหมาะสมและ  ปลอดภัย 24. มีการรบั ฟังความคิดเหน็ หรอื ขอ้ เสนอแนะดา้ นความปลอดภัยใน  สถานศึกษาจากครู อาจารย์ นักเรยี น 25. มกี ารจดั เก็บข้อมลู สถติ ิอุบัติเหตหุ รือการเจ็บป่วยในการสถานศึกษา และ   การวางแผนปอ้ งกันท่เี หมาะสม เอกสารประกอบการประเมินสถานศึกษาปลอดภยั ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จงั หวัดเชียงใหม่ ๒

ส่วนท่ี ๒ สถำนศึกษำปลอดภัย (ชว่ งเดอื นมกราคม – ธันวาคม ๒๕๖๑) ม/ี ใช่ ไม่ม/ี เอกสารแนบ ไม่ใช่ หมายเลข 26. มีการจัดกจิ กรรมเพือ่ ส่งเสริมและกระตุ้นจติ สานกึ ให้แกน่ ักเรียน/นักศึกษา   ด้านความปลอดภัยในสถานศึกษาในรปู แบบต่าง ๆ ที่เหมาะสม 27. มีหนังสอื ตารา หรือมาตรฐานเกี่ยวกับความปลอดภยั อาชวี อนามัย และ   สภาพแวดลอ้ มในการทางาน เพอ่ื ใชใ้ นการศึกษาค้นควา้ 28. มีมาตรการดูแลเพ่ือความปลอดภยั ในการเดนิ ทาง เชน่ การจัดระบบจราจร   การสวมหมวกกันน็อค หรือการดูแลยานพาหนะรับ-ส่ง ใบอนญุ าตขับรถ เป็นต้น สาหรบั นักเรยี น/นกั ศึกษาในสถานศึกษา 29. มีการสร้างความร่วมมอื และกิจกรรมดาเนนกิ ารระหวา่ งชมุ ชน หรือ  หน่วยงานภาครฐั เพ่ือใหเ้ กิดความปลอดภยั ในสถานศึกษา 30. มกี ารจดั ต้งั ชมรมฯ และจัดตั้งคณะทางานหรอื คณะกรรมการเก่ียวกับความ   ปลอดภัยในสถานศึกษา ข้อเสนอแนะของผตู้ รวจ เอกสารประกอบการประเมินสถานศึกษาปลอดภยั ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จงั หวัดเชยี งใหม่ ๓

แบบรำยงำนกจิ กรรม “สถำนศกึ ษำปลอดภยั ” ประจำปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๒ 1. ข้อมลู เบ้ืองตน้ ของสถำนศกึ ษำ ๑.๑ ชอ่ื สถานศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จังหวดั เชียงใหม่ ๑.๒ สงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน (สพฐ.) ๑.๓ ระดบั การศกึ ษา  ระดับอนบุ าล – ประถมศึกษา  ระดบั มัธยมศึกษา  ระดับอาชวี ศกึ ษา  ระดับอุดมศกึ ษา  ระดบั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ๑.๔ ทต่ี งั้ เลขที่ 99 หมู่ 10 ตาบล ช่างเคิ่ง อาเภอ แม่แจ่ม จังหวัด เชยี งใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50270 โทรศัพท์ 053-106933 โทรสาร 053-106933 ๑.๕ ไดร้ บั การรบั รองมาตรฐาน  ISO  สมศ. รอบ ๓  อืน่ ๆ ๑.๖ จานวนบุคลากร ๑.๖.๑ จานวนครู/อาจารย์ 63 คน ชาย 27 คน หญงิ 36 คน ๑.๖.๒ จานวนครู/อาจารย์ (อัตราจ้าง) - คน ชาย - คน หญิง - คน ๑.๖.๓ จานวนนกั เรยี น 844 คน ชาย 219 คน หญงิ 625 คน ๑.๖.๔ จานวนบุคลากร/ผบู้ ริหาร 24 คน ชาย 13 คน หญิง 11 คน รวมท้งั หมด 931 คน ชาย 259 คน หญงิ 672 คน ๑.๗ บุคลากรผูด้ ูแลรับผดิ ชอบด้านความปลอดภยั ฯ จานวน 4 คน ๑.๗.๑ ชอื่ – สกลุ นายลิปปกร เหมืองคา ตาแหนง่ ครู คศ.2 ๑.๗.๒ ชือ่ – สกลุ นายวรวฒุ ิ อรชนุ ตาแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย ๑.๗.๓ ชอื่ – สกุล นางสาวอรณัชชา เจริญสขุ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ ๑.๗.๔ ชื่อ – สกุล นายนิทศั น์ อนิ ถานนั ท์ ตาแหน่ง พนกั งานราชการ ๑.๘ คณะทางานหรือคณะกรรมการความปลอดภยั ของสถานศึกษาจานวน 4 คน ๑.๘.๑ ชื่อ – สกุล นายลิปปกร เหมอื งคา ตาแหนง่ ครู คศ.2 ๑.๘.๒ ชอื่ – สกุล นายวรวุฒิ อรชุน ตาแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย ๑.๘.๓ ชื่อ – สกลุ นางสาวอรณชั ชา เจรญิ สขุ ตาแหนง่ พนักงานราชการ ๑.๘.๔ ชอื่ – สกุล นายนทิ ัศน์ อินถานนั ท์ ตาแหน่ง พนักงานราชการ เอกสารประกอบการประเมินสถานศึกษาปลอดภยั ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จงั หวัดเชียงใหม่ ๔

๑.๙ ขอ้ มลู สถิตอิ บุ ัตเิ หตุหรือการเจบ็ ป่วยในสถานศกึ ษา จากการดาเนินงานต่าง ๆ ท่ีได้ดาเนินการสามารถช่วยป้องกันภัยได้เป็นอย่างดียิ่ง จึงส่งผลให้ นักเรียนในโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ได้รับความปลอดภัยจากภัยตา่ ง ๆ ดังจะเห็นได้จากบันทึก สถิตกิ ารเขา้ รบั การรักษาในสถานพยาบาล หรือโรงพยาบาล 3 ปี ยอ้ นหลัง ปรากฏว่า มีสถติ ิลดลงอย่าง ต่อเน่ืองและไม่มีนักเรียนที่ได้รบั บาดเจ็บ จนถึงขน้ั ต้องนอนพักรักษาตัวท่โี รงพยาบาลเลย อีกทั้งยงั เป็น การส่งเสริมให้นักเรยี นสามารถป้องกันตนเอง สามารถถ่ายทอดความรู้และช่วยบุคคลอื่นได้อีกทางหน่ึง ดว้ ย (อา้ งอิงเอกสารหมายเลข ๑ ) ๑.๑๐ ข้อมลู การประกนั ภยั ในสถานศกึ ษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ได้เล็งเห็นความสาคัญในเร่ืองการทา ประกันอุบัติเหตุนักเรียน ฉะน้ันจึงได้ทาให้แก่นักเรียนทุกคนในโรงเรียนจานวนทั้งส้ิน 826 คน (อ้างอิง เอกสารหมายเลข 2) ๑.๑๑ ชื่อเจา้ หน้าทีผ่ ู้ประสานงาน : นายนทิ ัศน์ อนิ ถานันท์ ตาแหน่ง พนักงานราชการ โทรศัพท์ 090-4686240 ลงชือ่ (นางวลิ าวัลย์ ปาลี) ผู้อานวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จงั หวัดเชยี งใหม่ เอกสารประกอบการประเมินสถานศึกษาปลอดภยั ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จงั หวัดเชยี งใหม่ ๕

รายละเอยี ดเอกสาร/หลักฐาน ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง เพื่อประกอบการพจิ ารณา ดงั น้ี ส่วนที่ ๑ กำรเทิดพระเกียรติสถำนบนั พระมหำกษตั ริย์ (ช่วงเดอื นมกราคม – ธันวาคม ๒๕๖๑) มี/ใช่ ไม่ม/ี เอกสารแนบ ไม่ใช่ หมายเลข ๑. มีบอรด์ หรอื นทิ รรศการเทิดพระเกียรติสถาบนั พระมหากษัตริยใ์ นสถานศกึ ษา  3 ทช่ี ดั เจน  ๒. มีการประชาสมั พนั ธ์ส่งเสริมเก่ยี วกับค่านยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการใน 4 สถานศกึ ษาทีช่ ดั เจน เอกสารแนบ สว่ นที่ ๒ สถำนศกึ ษำปลอดภัย (ชว่ งเดือนมกราคม – ธันวาคม ๒๕๖๑) หมายเลข มี/ใช่ ไม่ม/ี 5 ไม่ใช่ 6 ๑. มีนโยบายความปลอดภัยในสถานศกึ ษา เป็นลายลกั ษณ์อักษรและมีการ  ประกาศนโยบายให้เห็นให้เห็นได้ชดั เจน 7 ๒. มีแผนงานและงบประมาณดาเนนิ การด้านความปลอดภัยในสถานศึกษาที่  8 ชดั เจน 9 ๓. มีบคุ ลากรผู้ดูแลรับผดิ ชอบดา้ นความปลอดภัยในสถานศึกษาทช่ี ดั เจน  ๔. มคี ณะทางานหรือคณะกรรมการความปลอดภัยของสถานศกึ ษาทช่ี ัดเจน  10 ๕. มกี ฎระเบียบหรอื คู่มอื /แนวทางวา่ ด้วยความปลอดภัยในสถานศกึ ษาท่ี  เหมาะสม 11 ๖. บคุ ลากรทุกระดบั เชน่ อาจารย์ ผู้บรหิ าร ลกู จ้าง ได้รบั การอบรมให้มีความรู้  12 เกยี่ วกับความปลอดภัยในสถานศกึ ษาตามแผนงานท่กี าหนด ๗. มีการอบรมเกีย่ วกบั การปฐมพยาบาลเบื้องตน้ แกบ่ คุ ลากรในสถานศึกษา  13 ๘. มโี ครงการหรอื การดาเนนิ การเพื่อรกั ษาความสะอาด ความเป็นระเบียบ  เรียบรอ้ ยในสถานศกึ ษาทช่ี ัดเจนและมปี ระสิทธิภาพ 14 ๙. มีการดแู ล สารวจหรอื ตรวจสอบความปลอดภยั ในสถานศึกษา โดยกาหนด  ผรู้ ับผดิ ชอบทีช่ ดั เจน รวมท้งั นาผลไปปรบั ปรงุ แก้ไข 15 ๑๐. มอี ุปกรณป์ ้องกันอันตรายของเคร่ืองจักร เคร่ืองมือ (Safeguard) ใน  สถานศึกษาอย่างครบถว้ นและมีประสิทธภิ าพ เช่น ฝาครอบใบมดี เครื่องตัดหญ้า 16 ฝาครอบใบเล่ือย ฝาครอบสายพาน  ๑๑. มรี ะบบปอ้ งกนั อันตรายจากไฟฟา้ รั่วหรือการต่อสายดินในสถานศึกษาที่มี 17 ประสิทธิภาพ  18 ๑๒. มรี ะบบปอ้ งกันและระงับอคั คภี ยั ในสถานศึกษา เช่น สญั ญาณแจ้งเหตุเพลิง ไหม้ ถังดับเพลิง เปน็ ตน้ รวมท้งั การตรวจสอบและบารุงรักษาทช่ี ดั เจน  ๑๓. มแี ผนปอ้ งกันและระงับอัคคภี ยั ในสถานศึกษาทชี่ ดั เจน  ๑๔. มกี ารฝกึ อบรมการดบั เพลิงขน้ั ต้นในสถานศึกษา เอกสารประกอบการประเมินสถานศกึ ษาปลอดภยั ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จงั หวดั เชยี งใหม่ ๖

สว่ นท่ี ๒ สถำนศกึ ษำปลอดภัย (ชว่ งเดอื นมกราคม – ธันวาคม ๒๕๖๑) ม/ี ใช่ ไมม่ /ี เอกสารแนบ ไมใ่ ช่ หมายเลข ๑๕. มีการฝกึ ซ้อมดบั เพลิงและการฝึกอพยพหนีไฟในสถานศกึ ษาประจาปี  19 ๑๖. มีการฝึกซอ้ มตามข้อ ๑๕. โดยใช้หน่วยงานที่ไดร้ บั การรบั รองเปน็ ผู้ฝึกสอน  20 ๑๗. มีห้องพยาบาล และอปุ กรณ์ในการปฐมพยาบาลเบื้องตน้ ในสถานศึกษา  21 พรอ้ งผู้รับผดิ ชอบท่ีชดั เจน ๑๘. มมี าตรการป้องกนั การเกิดโรคระบาดหรอื โรคติดต่อให้กับบุคลากรและมี  22 การเผยแพรใ่ ห้ความรู้เกีย่ วกับการปอ้ งกันการเจ็บปว่ ยหรือโรคอนั เนอื่ งจาก ทางานในสถานศกึ ษา ๑๙. มีห้องสว้ ม (ทีถ่ ่ายอจุ จาระ และที่ถ่ายปสั สาวะ) และอ่างล้างมอื สาหรบั  23 นักเรียน/นกั ศึกษา แยกชาย – หญงิ ทพ่ี อเพยี ง (หมายเหตุ จากกฎกระทรวงฉบับท่ี ๖๓ (พ.ศ.๒๕๕๑) ออกตามความใน พระราชบญั ญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.๒๕๒๒) ๓. ตอ่ จานวนนกั เรียน/นกั ศึกษา ชาย ๕๐ คน กาหนดใหม้ หี ้องถา่ ย อุจจาระ ๑ ห้อง ที่ถ่ายปัสสาวะ ๑ ทีแ่ ละอา่ งล้างมอื ๑ ท่ี (ส่วนท่ีเกนิ ๕๐๐ คน ใหเ้ พม่ิ ห้องถา่ ยอุจจาระ ท่ีถา่ ยปัสสาวะ และอ่างล้างมอื อย่าง ละ ๑ ที่ ตอ่ จานวนนกั เรียน/นกั ศกึ ษาชายทุก ๑๐๐ คน) ๔. ตอ่ จานวนนักเรียน/นักศกึ ษาหญงิ ๕๐ คน กาหนดให้มีห้องถ่าย อจุ จาระ ๒ หอ้ ง และอ่างลา้ งมอื ๑ ท่ี (ส่วนท่ีเกนิ ๕๐๐ คน ใหเ้ พม่ิ ห้องถ่ายอุจจาระ ๒ ห้อง และอา่ งล้างมือ ๑ ท่ี ตอ่ จานวนนักเรียน/ นักศึกษาหญงิ ทุก ๑๐๐ คน) ๒๐. มีการจดั ท่ีรับประทานอาหารและท่ีพกั ทเ่ี หมาะสมและถูกสุขลกั ษณะ เชน่  24 ระบบแสงสวา่ ง ระบบระบายอากาศ ระดับความดังของเสยี ง เปน็ ต้น 21. มกี ารจดั ทร่ี ับประทานอาหาร และทพ่ี ักทเ่ี หมาะสม และถกู สุขลกั ษณะ  25 22. มีการจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและปลอดภยั ในสถานศกึ ษา เชน่ ระบบ  26 แสงสว่าง ระบบระบายอากาศ ระดับความดังของเสียง เป็นตน้ 23. มีมาตรการเพ่ือความปลอดภยั กบั สารเคมีในสถานศึกษาเหมาะสมและ  27 ปลอดภัย 24. มกี ารรับฟังความคิดเห็นหรอื ข้อเสนอแนะดา้ นความปลอดภยั ใน  28 สถานศกึ ษาจากครู อาจารย์ นกั เรียน 25. มีการจัดเก็บข้อมูลสถติ ิอุบัติเหตุหรอื การเจ็บปว่ ยในการสถานศึกษา และ  29 การวางแผนปอ้ งกนั ทเ่ี หมาะสม 26. มกี ารจดั กิจกรรมเพ่อื สง่ เสริมและกระตุ้นจิตสานึกใหแ้ ก่นักเรียน/นกั ศึกษา  30 ด้านความปลอดภยั ในสถานศึกษาในรปู แบบตา่ ง ๆ ทเี่ หมาะสม 27. มหี นังสือ ตารา หรอื มาตรฐานเกยี่ วกบั ความปลอดภัย อาชวี อนามัย และ  31 สภาพแวดลอ้ มในการทางาน เพอื่ ใชใ้ นการศึกษาค้นคว้า เอกสารประกอบการประเมินสถานศกึ ษาปลอดภยั ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จงั หวดั เชยี งใหม่ ๗

ส่วนท่ี ๒ สถำนศกึ ษำปลอดภยั (ช่วงเดอื นมกราคม – ธันวาคม ๒๕๖๑) ม/ี ใช่ ไม่ม/ี เอกสารแนบ ไม่ใช่ หมายเลข 28. มีมาตรการดูแลเพ่ือความปลอดภัยในการเดนิ ทาง เชน่ การจดั ระบบจราจร  32 การสวมหมวกกันน็อค หรือการดแู ลยานพาหนะรบั -ส่ง ใบอนญุ าตขับรถ เปน็ ตน้ สาหรบั นกั เรยี น/นักศึกษาในสถานศกึ ษา 29. มกี ารสร้างความร่วมมือและกิจกรรมดาเนนิการระหวา่ งชมุ ชน หรอื  33 หนว่ ยงานภาครฐั เพอื่ ใหเ้ กิดความปลอดภยั ในสถานศึกษา 30. มีการจัดตั้งชมรมฯ และจัดตง้ั คณะทางานหรือคณะกรรมการเกีย่ วกับความ  34 ปลอดภัยในสถานศึกษา เอกสารประกอบการประเมินสถานศึกษาปลอดภยั ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จงั หวดั เชยี งใหม่ ๘

เอกสำรหมำยเลข ๑ แ ข้อมูลสถิติอบุ ัติเหตุหรือกำรเจบ็ ป่วยในสถำนศกึ ษำ แผนภูมสิ รุปสถิตกิ ารเขา้ รับบริการเรือนพยาบาลประจาปี 2561 แผนภูมแิ สดงสถิติกำรป่วยของนักเรยี น ปกี ำรศึกษำ 2561 จำนวนทัง้ หมด 778 ครง้ั 1% 0% 27% ปวดศรี ษะ 3% เปน็ ไข้-ไข้หวดั ไอ-เจ็บคอ-ทอนซินอักเสบ 26% ปวดท้อง/ท้องเสยี ลมพษิ -ผนื่ คนั 6% 15% ปวดตามกลา้ มเนือ้ 8% ทาแผลเก่า 12% อบุ ตั ิเหตุภายในโรงเรียน 2% อบุ ตั เิ หตภุ านอกโรงเรียน อืน่ ๆ จากตารางจะเห็นได้ว่า มีจานวนผู้มาใช้บริการเรือนพยาบาลในปี 2561 แยกตามประเภทไดด้ ังน้ี ปวด ศีรษะ คิดเป็นร้อยละ 27 ทาแผล คิดเป็นร้อยละ 26 ไข้-ไข้หวัด คิดเป็นร้อยละ 15 ไอเจ็บคอ คิดเป็น ร้อยละ 12 ลมพิษ-ผื่นคัน คิดเป็นรอ้ ยละ 8 ปวดกล้ามเนอื้ คิดเป็นร้อยละ 6 อาการอนื่ ๆ คิดเป็นร้อยละ -3 ปวดท้อง/ท้องเสีย คิด เป็นรอ้ ยละ 2 อบุ ัติเหตภุ ายในโรงเรียน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1 และการเกดิ อุบัตเิ หตภุ ายนอกโรงเรยี น คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.36 เอกสารประกอบการประเมินสถานศึกษาปลอดภยั ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จงั หวัดเชียงใหม่ ๙

ข้อมูลกำรประกันภยั ในสถำนศกึ ษำ แ เอกสำรหมำยเลข ๒ กำรทำประกนั อบุ ตั ิเหตุนกั เรียน โรงเรยี นรำชประชำนุเครำะห์ 31 เป็นเงิน 3,850 ท่ี หอนอน จำนวนนักเรียน จำนวนเงิน(คนละ) 3,710 1 พอเพียง 55 70 3,850 2 พวงผกา 53 70 3,640 3 สารภี 55 70 4,410 4 อนิ ทนิล 52 70 4,200 5 เฟอื่ งฟ้า 63 70 4,130 6 ชอ่ เอ้ือง 60 70 4,480 7 พทุ ธรกั ษา 59 70 4,340 8 ราชาวดี 64 70 4,340 9 กาซะลอง 1 62 70 4,550 10 กาซะลอง 2 62 70 4,480 11 ราชพฤกษ์ 65 70 1,400 12 ลลี าวดี 64 70 2,030 13 บา้ นพักขวญั ชัย 20 70 4,410 14 บ้านพักขวญั วัฒนา 29 70 57,820 15 อญั ชนั 63 70 826 รวมจำนวนนักเรยี นท้ังหมด 826 คน ยอดเงิน 57,820บำท เอกสารประกอบการประเมินสถานศกึ ษาปลอดภยั ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จังหวดั เชยี งใหม่ ๑๐

เอกสำรหมำยเลข ๓ - ๔ แ สว่ นที่ ๑ กำรเทิดพระเกยี รตสิ ถำนบันพระมหำกษัตริย์ ๑. มบี อรด์ หรือนทิ รรศการเทิดพระเกยี รตสิ ถาบันพระมหากษัตรยิ ใ์ นสถานศึกษาที่ชดั เจน โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ตระหนักถึงความสาคัญและเทิดทูลสถาบันพระมหากษัตริย์ เน่ืองจาก ประเทศไทยมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของประเทศตลอดมา พระมหากษัตริย์ของไทยได้ทรงปกครอง แผ่นดินด้วยทศพิธราชธรรม ได้ทรงบาบัดทุกข์บารุงสุขของประชาชน ได้ทรงทานุบารุงบ้านเมืองให้มีความ เจริญม่ันคงก้าวหน้าในด้านต่าง ๆ บางพระองค์ได้ทรง กอบกู้เอกราชของชาติด้วยความกล้าหาญและเสียสละ อาทิ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช บางพระองค์ได้ทรงดาเนินวิเทโศบายที่ชาญ ฉลาดทาให้ประเทศไทยสามารถรักษาเอกราช อธิปไตยไว้ได้จนทุกวันน้ี ซึ่งทางโรงเรียนได้จัดนิทรรศการเพื่อ เทิดพระเกยี รติสถาบันพระมหากษตั ริย์หลายจดุ เชน่ บรเิ วณหลังเสาธง ห้องสมดุ ๒. มีการประชาสัมพนั ธส์ ง่ เสริมเก่ยี วกับค่านยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการในสถานศึกษาท่ีชดั เจน นักเรียนโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จานวน 844 คน กล่าวค่านิยมไทยหลัก 12 ประการด้วย ความพร้อมเพียงกัน เพ่ือเป็นการปลูกจิตสานึก รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ความกตัญญู ความอดทน ซื่อสัตย์เสียสละ รักษาวฒั นธรรม มรี ะเบียนวนิ ยั มีสติมคี วามเข้มแขง็ เอกสารประกอบการประเมินสถานศกึ ษาปลอดภยั ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จงั หวัดเชยี งใหม่ ๑๑

เอกสำรหมำยเลข ๕ ส่วนที่ ๒ สถำนศึกษำปลอดภยั ๑. มีนโยบำยควำมปลอดภยั ในสถำนศกึ ษำ เปน็ ลำยลกั ษณ์อกั ษรและมีกำรประกำศนโยบำยให้เหน็ ให้เห็นได้ชดั เจน ประกาศ/คาส่งั นโยบายความปลอดภยั ของสถานศกึ ษา มำตรกำรรกั ษำควำมปลอดภัยของโรงเรยี นรำชประชำนเุ ครำะห์ ๓๑ 1) นโยบำยและกำรวำงแผนกำรรักษำควำมปลอดภัยของนักเรียนโรงเรียนรำชประชำนุ- เครำะห์31 นกั เรียน คือ หัวใจของการจดั การศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์31มีความตระหนัก ในความสาคัญ และเลง็ เหน็ ความจาเปน็ เร่งดว่ นที่ผทู้ ่ีมสี ่วนเกย่ี วขอ้ งทกุ ฝ่าย จะตอ้ งรว่ มกนั หาแนวทางทเ่ี ป็นรูปธรรม ใน การดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้ได้เรียนรู้อย่างมีความสุข เป็นไปตามหลักสูตร มีทักษะชีวิตที่จะดูแลตนเองให้ปลอดภัย ท่ามกลางสภาพแวดล้อมทางสังคม อุบัติเหตุ และอุบัติภัย ที่จะก่อให้เกิดความเสียหายแก่นักเรียน ดังนั้นโรงเรียนราช ประชานุเคราะห์31ซึ่งมีภารกิจและความรับผิดชอบในการจัดการศึกษา ต้องดาเนินการอย่างทั่วถึง มีคุณภาพ และ พฒั นาสูค่ วามเป็นเลศิ ตามมาตรฐานสากล (1) เปำ้ ประสงค์ (๑.1) เพื่อให้มีรูปแบบแนวทางการรักษาความปลอดภัยของโรงเรียน ด้าน อุบัติเหตุ ด้านอุบัติภัย และด้านปัญหาทางสังคม โดยอาศัยแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ภายใต้หลักการกระจายอานาจ การมีสว่ นร่วม และยึดประโยชนส์ งู สดุ ของนักเรียนเปน็ สาคัญ (1.2) เพ่ือสร้างความเข้มแข็งระบบการรักษาความปลอดภัยของโรงเรียน ให้มีความ พร้อม สามารถป้องกัน และแก้ไขสถานการณ์ปัญหาของนักเรียน ท้ังด้านอุบัติเหตุ อุบัติภัย และปัญหาทางสังคมท่ี จะเกดิ ข้นึ กบั นักเรยี นอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ (1.3) เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้รับการปกป้อง และคุ้มครองความปลอดภัย ท้ัง ด้านร่างกาย และจิตใจ โดยนักเรียนจะได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างปลอดภัยและมี ความสขุ (๑.4) เพ่ือสร้างความตระหนักในการรักษาความปลอดภัยของโรงเรียน โดยการให้ ความรู้ ความเขา้ ใจ แกผ่ ู้ท่ีรบั ผดิ ชอบ และผทู้ มี่ สี ว่ นเก่ียวขอ้ งกบั การรกั ษาความปลอดภยั ในโรงเรยี น (2) เป้ำหมำย (1.1) นกั เรยี นทุกคนในโรงเรยี นไดร้ ับการคุ้มครองดูแลความปลอดภยั (1.2) ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง นักเรียนมีแนวทางในการปอ้ งกนั และรักษาความปลอดภยั นักเรียน (1.3) เครือข่ายหน่วยงานภาครัฐและเอกชน มีส่วนร่วมในการดูแลความปลอดภัย ให้แก่นกั เรยี น (3) ยทุ ธศำสตร์ (1.๑) โรงเรยี นจัดระบบการรกั ษาความปลอดภัยของนกั เรียน โดยการมสี ว่ นร่วมของ ครู ผปู้ กครอง และเครือขา่ ยทง้ั ภาครฐั และเอกชนอย่างมีประสิทธิภาพ (๑.2) กาหนดมาตรการรักษาความปลอดภยั ของนกั เรยี น (๑.3) มีการกากับ ติดตาม ประเมินผลและรายงาน เอกสารประกอบการประเมินสถานศึกษาปลอดภยั ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จงั หวัดเชียงใหม่ ๑๒

2) กำรวำงแผนรกั ษำควำมปลอดภัยของโรงเรยี นรำชประชำนเุ ครำะห์31 แนวทางการวางแผนการรักษาความปลอดภัยให้แก่นักเรียน เน้นการมีส่วนร่วมระหว่าง นักเรียน ครู ชุมชน และเครือข่าย โดยร่วมกันวางแผนป้องกัน แก้ไข ควบคุม กากับ ติดตาม ประเมินผลและรายงานจึงจาเป็นต้องมีมาตรการและกิจกรรมเพ่ือให้รับประโยชน์สูงสุดตาม เจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2 ) พ.ศ.2545 และพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กพ.ศ.2546 พร้อมท้ังนโยบายของสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ดังน้ี ข้ันตอน ภำรกิจ 1.ศึกษำสภำพทว่ั ไป ศึกษาสภาพท่ัวไปของโรงเรยี น ชุมชน ความเขม้ แข็งของเครอื ข่ายเพ่ือ 2.กำหนดมำตรกำรหลกั วเิ คราะห์ความเส่ยี งจากการเกิดอบุ ตั ิเหตุ อบุ ตั ิภัย และภัยจาก สภาพแวดลอ้ ม กาหนดมาตรการหลกั เพอ่ื ป้องกัน และ/หรือ แก้ไข 3.กำหนดมำตรกำรเสรมิ กาหนดมาตรการเสริมใหเ้ หมาะสมกับความเชอื่ วฒั นธรรมและ ประเพณีของท้องถน่ิ และสภาพความเสยี่ งของท้องถิ่น 4.กำหนดกจิ กรรม กาหนดกจิ กรรมสนบั สนุนมาตรการหลักและมาตรการเสริม กาหนดเวลาและผูร้ บั ผิดชอบอย่างชดั เจน และสามารถปฏิบตั ไิ ด้ 5.กำหนดเวลำและ ผูร้ บั ผิดชอบ 3. มำตรกำรป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุ อุบัติภัย และปัญหำทำงสังคม สำเหตุ มำตรกำรปอ้ งกนั และแก้ไข ผรู้ ับผิดชอบ 1.ผบู้ รหิ าร ดำ้ นกำรป้องกันและแก้ไข 1.ตรวจสอบโครงสรา้ งและส่วนประกอบอาคารอย่าง โรงเรียน อุบัตเิ หตุ สมา่ เสมอ 2.ครปู ระจาช้ัน 1. อบุ ตั ิเหตุจำกอำคำร 2.แต่งตงั้ บุคลากรในการดูแลรักษาอาคารสถานที่ 3.นักการภารโรง 3.สร้างความตระหนักและใหค้ วามรูก้ ารรกั ษาความ 4.ชมุ ชน เรียนอำคำรประกอบ ปลอดภยั แกน่ ักเรยี น 4.จัดทาป้ายข้อควรระวังด้านความปลอดภยั ในจุด 1.ผู้บริหาร 2. อบุ ัตเิ หตุจำกบริเวณ อันตราย โรงเรยี น สถำนศกึ ษำ 5.ซ่อมแซมสว่ นประกอบอาคารใหอ้ ยู่ในสภาพท่ี 2.ครูเวรประจาวนั ปลอดภยั 3.ครอู นามยั 6.จดั ใหม้ ีแผนการป้องกนั และการเคลอื่ นย้ายกรณเี กิด โรงเรียน เหตุฉกุ เฉนิ 1.แต่งตั้งครูเวรประจาวนั คอยควบคุม กากับ ติดตาม ดูแลการรักษาความปลอดภัยตลอดทัง้ วนั 2.จัดให้มีผูร้ บั ผดิ ชอบปฐมพยาบาลเบือ้ งต้น และนาสง่ สถานพยาบาล 3.หลกี เล่ียงการจดั กิจกรรมที่เกยี่ วขอ้ งกับการปีนตน้ ไม้ เอกสารประกอบการประเมินสถานศกึ ษาปลอดภยั ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จังหวัดเชียงใหม่ ๑๓

สำเหตุ มำตรกำรปอ้ งกนั และแกไ้ ข ผู้รบั ผิดชอบ 3. อุบัติเหตุจำกบริเวณ 4.จดั ให้มเี จ้าหน้าท่ีตดั แต่งก่ิงไมใ้ หอ้ ยู่ในสภาพที่ 4.นักการภารโรง สถำนศกึ ษำ ปลอดภยั เสมอ 5.เจา้ หน้าที่ รพ. 4. อบุ ัตเิ หตุจำก สภำพแวดล้อมของ 5.จดั ให้ปา้ ยคาเตือนเพ่ือหลกี เลยี่ งการเกดิ อุบตั เิ หตุ สถำนศกึ ษำ 1.แตง่ ต้ังครเู วรประจาวันคอยควบคุม กากบั ติดตาม 1.ผู้บรหิ าร 5. อบุ ัติเหตุจำกเครอ่ื งมือ เครอ่ื งใช้ และอุปกรณ์ ดแู ลการรักษาความปลอดภัยตลอดทงั้ วัน โรงเรยี น ตำ่ ง ๆ 2.จดั ใหม้ ผี ้รู บั ผดิ ชอบปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้ และนาส่ง 2.ครูเวรประจาวนั สถานพยาบาล 3.ครอู นามยั 3.หลกี เลีย่ งการจดั กจิ กรรมทีเ่ ก่ียวข้องกับการปีนต้นไม้ โรงเรยี น 4.จัดให้มีเจา้ หน้าที่ตัดแตง่ ก่ิงไมใ้ หอ้ ยใู่ นสภาพท่ี 4.นักการภารโรง ปลอดภัยเสมอ 5.เจา้ หน้าที่ รพ. 5.จดั ใหป้ า้ ยคาเตือนเพื่อหลีกเลย่ี งการเกิดอุบัตเิ หตุ แมแ่ จ่ม 6.จดั ให้มีความรู้และแนวทางปฏบิ ัตแิ ก่นกั เรยี นในกรณี 6.นักเรียน ทีพ่ บวัตถุ สิ่งแปลกปลอม ซ่ึงอาจเป็นวตั ถรุ ะเบดิ หรือ 7.ผู้ปกครอง วัตถุอนั ตราย 7.ตดิ ตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง 8.จัดให้มีระบบการขออนุญาตออกนอกสถานศึกษา 9.จดั ใหม้ ีการบารงุ ดูแลรักษาความสะอาดโดยรอบ สม่าเสมอ 10.จดั ใหม้ ถี ังขยะแยะประเภทเพ่ือสะดวกในการ จัดเก็บและทาลาย 11.หลกี เล่ียงการจดั ซื้ออุปกรณก์ ีฬาหรอื เครื่องเลน่ ที่ อาจก่อให้เกิดอันตรายได้ง่าย 1.มีการสารวจสภาพปัญหาดา้ นส่ิงแวดล้อม มลภาวะใน 1.ผู้บรหิ าร สถานศกึ ษาและชุมชน เพอื่ หาแนวทางแก้ไข โรงเรยี น 2.แต่งตั้งคณะกรรมการ โดยใช้ชุมชนและองค์กร 2.ครู ปกครองส่วนท้องถ่ินมีส่วนร่วมในการหาแนวทาง 3.นักเรยี น ปอ้ งกันและแก้ไข 4.ผปู้ กครอง 3.ประสานงานกับหน่วยงานอื่น 5.ชุมชน 4.จัดกิจกรรมสร้างจิตสานึกและความตระหนักต่อ ปั ญ ห าสิ่งแวด ล้อม ให้ กับ นั กเรียน บุ คลากรใน สถานศกึ ษาและชมุ ชน 1.ตรวจสอบเครื่องมือ เคร่ืองใช้ และอุปกรณ์ต่าง ๆ 1.ผู้บรหิ าร กอ่ นใช้ทกุ คร้ัง โรงเรียน 2.ห้ามใช้เคร่ืองมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ 2.ครู ชารดุ 3.นกั การภารโรง 4.นกั เรียน เอกสารประกอบการประเมินสถานศึกษาปลอดภยั ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จังหวดั เชยี งใหม่ ๑๔

สำเหตุ มำตรกำรป้องกนั และแกไ้ ข ผูร้ ับผิดชอบ 5. อบุ ัติเหตจุ ำก เคร่อื งมอื เคร่ืองใช้ และ 3.แนะนา สาธิต และควบคุมการใช้อย่างถูกวิธีตาม 5.ผู้ปกครอง อุปกรณ์ ตำ่ ง ๆ (ต่อ) 6.ดำ้ นสตั ว์มีพิษ ประเภทของอปุ กรณ์ 6.ชมุ ชน 7. อบุ ตั ิเหตจุ ำกกำรพำ 4.จัดเก็บเครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ในที่เก็บทุกคร้ัง นักเรยี นไปศกึ ษำนอก สถำนศึกษำ อยา่ งเป็นระเบียบปลอดภัย 5.กากับ ดูแลนักเรียนในการใช้เครื่องมือ เคร่ืองใช้ อุปกรณใ์ ห้ถูกต้องเหมาะกับประเภทกิจกรรม 1.จัดสภาพแวดล้อมให้สะอาดร่มรื่น ตัดแต่งก่ิงไม้ 1.ผู้บรหิ าร กาจัดแหล่งท่ีอยู่อาศัยของสัตว์มีพิษเพื่อให้มีความ โรงเรียน ปลอดภยั แกน่ ักเรียน 2.ครู 2.ให้ความรู้แก่ครู บุคลากร และนกั เรียนเกี่ยวกับสัตว์มี 3.นกั การภารโรง พิษ ตลอดจนวิธีการป้องกันและปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น 4.นกั เรียน กรณีได้รบั พิษ 5.ผูป้ กครอง 3.จัดทาป้ายเตือนภัยจากสัตว์มีพิษในบริเวณที่เป็นจุด 6.ชมุ ชน เส่ียง เช่น บริเวณรั้วสถานศึกษา ต้นไม้ใหญ่ ซ่ึงมักจะ เป็นทีอ่ ยอู่ าศยั ของสตั วม์ ีพิษเบอื้ งตน้ 4.ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการ กาจัดแหล่งเพาะพันธ์ุสัตว์ เช่น กาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ ยุง 5.จัดเตรียมอุปกรณ์และเวชภัณฑ์ในการปฐมพยาบาล กรณีที่ได้รับพิษจากสตั ว์มีพิษ 6.จัดทาแผนฉุกเฉินและการฝึกซ้อม โดยความร่วมมือ กับหน่วยงานที่เก่ยี วขอ้ ง 1.ศึกษาและปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ 1.ผบู้ รหิ าร ว่าด้วยการพานักเรียนไปศึกษานอกสถานศึกษาโดย โรงเรียน เครง่ ครัด 2.ครปู ระจาชัน้ 2.เตรียมการและวางแผนการดาเนนิ การอย่างชัดเจน 3.นักการภารโรง 3.จัดทาประวัตินกั เรยี นทีร่ ่วมเดินทาง 4.ผปู้ กครอง 4.จัดครูคอยควบคมุ ดูแลให้อยู่ในระเบยี บวนิ ัย 5.ชุมชน 5.จัดใหม้ ปี ้ายช่อื แสดงรายละเอียดนกั เรยี น 6.นักเรียน 6.จัดใหม้ ีเวชภณั ฑ์ท่ีจาเปน็ ในการปฐมพยาบาลเบ้อื งต้น 7.ควบคมุ ดแู ลการซ้ืออาหารรบั ประทาน 8.หากมีการใช้พาหนะรถยนต์ต้องแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ ตรวจสภาพ รถยนต์ และตรวจประวัติคนขับเพ่ือความ ปลอดภัย เอกสารประกอบการประเมินสถานศกึ ษาปลอดภยั ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จงั หวดั เชยี งใหม่ ๑๕

สำเหตุ มำตรกำรปอ้ งกันและแกไ้ ข ผ้รู บั ผดิ ชอบ 8. อุบัตเิ หตจุ ำกกำรนำ นกั เรียนร่วมกจิ กรรม ๑.หลกี เล่ยี งกิจกรรมท่ีมีความเสี่ยงตอ่ การเกิดอนั ตราย 1.ผ้บู ริหาร สำคญั 2.จดั ระบบดูแลความปลอดภยั อยา่ งใกลช้ ดิ โรงเรียน ดำ้ นกำรป้องกันและแกไ้ ข อบุ ตั ภิ ยั 3.ให้ความรู้นักเรียนในการร่วมกิจกรรมอย่างปลอดภัย 2.ครปู ระจาช้นั 1. อัคคภี ัย ทกุ ครัง้ 3.นักการภารโรง 4.จัดครคู อยควบคุม ดแู ลใหอ้ ยู่ในระเบียบวินัยทุกครั้ง 4.ผปู้ กครอง 5.ตรวจดูความเหมาะสมของสถานท่ีทป่ี ลอดภยั 5.ชุมชน 6.ประสานงานเจ้าหน้าด้านการรักษาความปลอดภัย 6.เจ้าหนา้ ทตี่ ารวจ ทอ้ งถนน 7.นกั เรยี น 7.จดั เตรยี มหนว่ ยปฐมพยาบาลเบอ้ื งต้นทุกคร้งั 8.หากมีการใช้พาหนะรถยนต์ต้องแต่งต้ังเจ้าหน้าท่ี ตรวจสภาพ รถยนต์ และตรวจประวัติคนขับเพื่อ ความปลอดภัย 1.แต่งตั้งกรรมการรับผิดชอบตรวจสอบอุปกรณ์อย่าง 1.ผ้บู ริหาร สมา่ เสมอ โรงเรยี น 2.ให้ความรู้นักเรียนเกี่ยวกับการดบั ไฟ หนีไฟ 2.ครปู ระจาชั้น 3.จัดให้มีเจ้าหน้าท่ีอยู่เวรรักษาสถานท่ีราชการอย่าง 3.นักการภารโรง เคร่งครดั 4.ผ้ปู กครอง 4.วางแผนรับสถานการณไ์ ว้ลว่ งหนา้ 5.ชุมชน 5.จัดแหล่งข้อมูลท่ีสามารถติดต่อขอความช่วยเหลือไว้ 6.เจ้าหนา้ ทต่ี ารวจ ล่วงหน้า 7.นกั เรียน 6.ขจัดส่ิงรกรุงรังในบริเวณสถานศึกษา อาคารและห้อง ตา่ ง ๆ 7.รายงานตน้ สังกัดทนั ที 2. วำตภยั 1.ให้ความรู้ในการปฏิบัติตนแก่นักเรียนให้พ้นจาก 1.ผู้บรหิ าร อันตราย โรงเรยี น 2.จดั ให้มกี ารอยเู่ วรรกั ษาสถานทร่ี าชการ 2.ครูประจาช้ัน 3.ตรวจสอบสภาพอาคารต่าง ๆ อยา่ งสม่าเสมอ 3.นักการภารโรง 4.ตดั แต่งกิ่งไม้ท่ีอยู่ใกลอ้ าคาร 4.ผปู้ กครอง 5.ติดตามขา่ วพยากรณ์อากาศสม่าเสมอ 5.ชุมชน 6.จัดใหม้ ีเวชภณั ฑท์ ่ีจาเป็นในการปฐมพยาบาลเบื้องตน้ 6.นักเรียน 7.จัดให้มีเครือข่ายองค์กรภาครัฐเอกชนเพื่อสามารถ ติดต่อขอความช่วยเหลอื ทนั ที เอกสารประกอบการประเมินสถานศกึ ษาปลอดภยั ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จงั หวดั เชยี งใหม่ ๑๖

สำเหตุ มำตรกำรปอ้ งกันและแกไ้ ข ผู้รบั ผิดชอบ 3. อทุ กภยั 1.ให้ความรู้ในการปฏิบัติตนแก่นักเรียนให้พ้นจาก 1.ผบู้ ริหาร อนั ตราย โรงเรียน 2.จัดให้มีการอยูเ่ วรรักษาสถานทรี่ าชการ 2.ครปู ระจาชัน้ 3.ตรวจสอบสภาพอาคารต่างๆอยา่ งสม่าเสมอ 3.นักการภารโรง 4.ตดิ ตามขา่ วพยากรณ์อากาศสม่าเสมอ 4.ผปู้ กครอง 5.จดั ใหม้ เี วชภณั ฑ์ท่ีจาเปน็ ในการปฐมพยาบาลเบอื้ งต้น 5.ชมุ ชน 6.จัดให้มีเครือข่ายองค์กรภาครัฐเอกชนเพื่อสามารถ 6.นกั เรยี น ติดตอ่ ขอ ความชว่ ยเหลือทนั ที 4. ธรณีพิบตั ภิ ัย 1.ให้ความรู้ในการปฏิบัติตนแก่นักเรียนให้พ้นจาก 1.ผ้บู ริหาร อันตราย โรงเรยี น 2.จัดให้มีการอยเู่ วรรักษาสถานทีร่ าชการ 2.ครปู ระจาชนั้ 3.ตรวจสอบสภาพอาคารตา่ ง ๆ อยา่ งสม่าเสมอ 3.นักการภารโรง 4.ตดั แตง่ ก่ิงไม้ที่อยูใ่ กล้อาคาร 4.ผูป้ กครอง 5.ตดิ ตามขา่ วพยากรณ์อากาศสม่าเสมอ 5.ชุมชน 6.จัดใหม้ ีเวชภณั ฑ์ทจ่ี าเป็นในการปฐมพยาบาลเบือ้ งตน้ 6.นกั เรียน 7.จัดให้มีเครือข่ายองค์กรภาครัฐเอกชนเพื่อสามารถ ติดตอ่ ขอ ความชว่ ยเหลอื ทนั ที เอกสารประกอบการประเมินสถานศึกษาปลอดภยั ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จงั หวดั เชียงใหม่ ๑๗

สำเหตุ มำตรกำรป้องกันและแก้ไข ผู้รับผิดชอบ 5 ด้ำนกำรปอ้ งกนั และ แกไ้ ขปญั หำทำงสังคม 1.จัดให้มรี ะบบดูและช่วยเหลอื ผู้เรยี น 1.ผ้บู รหิ าร 2.จดั ใหม้ กี ารอยู่เวรรกั ษาสถานทร่ี าชการ โรงเรยี น ภาพประกอบ 3.จดั ใหม้ ีการวางแผนป้องกนั ภัย 2.ครปู ระจาช้ัน 4.จัดให้การบริการใหค้ าปรึกษา 3.นักการภารโรง 5.จัดกิจกรรมเสริมสร้างทักษะในการคิดวิเคราะห์ 4.ผปู้ กครอง แกป้ ัญหา 5.ชุมชน 6.จัดใหม้ ปี า้ ยนิเทศให้ความรเู้ กย่ี วกับสื่อต่าง ๆ 6.นกั เรยี น 7.จดั ให้มีเครอื ข่ายองค์กรภาครัฐเอกชนเพ่อื สามารถ ติดต่อขอ ความชว่ ยเหลือทันที 8.จัดประชุมผู้ปกครองเพ่ือหาแนวทางวางแผน ป้องกันและแก้ไข เอกสารประกอบการประเมินสถานศกึ ษาปลอดภยั ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จังหวัดเชียงใหม่ ๑๘

เอกสำรหมำยเลข ๖ ๒. มแี ผนงำนและงบประมำณดำเนินกำรดำ้ นควำมปลอดภัยในสถำนศกึ ษำทช่ี ัดเจน แผนงานดาเนินการโครงการ/กจิ กรรม ดา้ นความปลอดภยั ของสถานศึกษา ผลกำรดำเนินโครงกำร 1) บุคลากรของคณะครูโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 มีความรู้ความเข้าใจในหลักและทฤษฎีเก่ียวกับ การปอ้ งกนั อัคคภี ยั รวมทง้ั หลักการอพยพหนไี ฟ 2) บุคลากรของคณะครูโรงเรียนราชประชานุเคราะห์31 ตระหนักและให้ความสาคัญต่อการมีส่วนร่วมใน การป้องกนั อคั คภี ัย 3) ความเสย่ี งต่อการเกดิ อัคคภี ยั ลดลง แบบรายงานผลการดาเนินโครงการ เอกสารประกอบการประเมินสถานศกึ ษาปลอดภยั ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จงั หวัดเชียงใหม่ ๑๙

ภาพประกอบการดาเนนิ กจิ กรรมของโครงการ ภาพประกอบการดาเนินงานสรา้ งความรว่ มมือระหวา่ งหนว่ ยงานของรฐั และชมุ ชน เอกสารประกอบการประเมินสถานศึกษาปลอดภยั ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จงั หวดั เชยี งใหม่ ๒๐

เอกสำรหมำยเลข ๗ ๓. มีบคุ ลำกรผู้ดแู ลรบั ผิดชอบด้ำนควำมปลอดภยั ในสถำนศกึ ษำท่ชี ัดเจน คาส่ังแต่งตั้งให้เป็นบุคลากรดูแลรบั ผิดชอบเฉพาะด้านความปลอดภัยในสถานศึกษาที่ชัดเจน ซึ่งระบุวันท่ีท่ีลง นามในคาส่ังโดยท่านผู้บริหารลงนามมอบหมายให้เป็นบุคลากรดูแลรับผิดชอบด้านความปลอดภัยใน สถานศึกษาเฉพาะเรื่องตามกิจกรรม หรอื เป็นครั้งคราว เอกสารประกอบการประเมินสถานศกึ ษาปลอดภยั ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จงั หวดั เชยี งใหม่ ๒๑

เอกสำรหมำยเลข ๘ ๔. มีคณะทำงำนหรอื คณะกรรมกำรควำมปลอดภยั ของสถำนศกึ ษำทชี่ ัดเจน คาส่ังแต่งตัง้ เป็นคณะทางานหรือคณะกรรมการความปลอดภัยในสถานศึกษาท่ีชัดเจน ซ่ึงระบุวันท่ีที่ลงนามใน คาสั่งหรือหนังสือแต่งต้ัง โดยท่านผู้บริหารการลงนามมอบหมายให้เป็นคณะทางานดูแลรับผิดชอบด้านความ ปลอดภัยในสถานศกึ ษาเฉพาะเร่อื งตามกจิ กรรม เอกสารประกอบการประเมินสถานศกึ ษาปลอดภยั ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จงั หวัดเชยี งใหม่ ๒๒

เอกสำรหมำยเลข ๙ ๕. มีกฎระเบียบหรือคู่มือ/แนวทำงวำ่ ด้วยควำมปลอดภัยในสถำนศึกษำทเี่ หมำะสม โรงเรียนมีกฎระเบียบหรือคู่มือ/แนวทางว่าด้วยความปลอดภัยที่เป็นลายลักษณ์อักษร และมีเนื้อหา ครอบคลุมท้งั ๓ ด้าน คือ ความปลอดภยั สุขภาพอนามยั และสภาพแวดล้อม ในการทางาน และเหมาะสมกับ สถานศกึ ษา เอกสารประกอบการประเมินสถานศึกษาปลอดภยั ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จงั หวดั เชียงใหม่ ๒๓

เอกสำรหมำยเลข ๑๐ ๖. บคุ ลำกรทุกระดับ เช่น อำจำรย์ ผู้บริหำร ลกู จำ้ ง ไดร้ ับกำรอบรมให้มคี วำมรู้เกี่ยวกบั ควำมปลอดภยั ใน สถำนศกึ ษำตำมแผนงำนทกี่ ำหนด บุคลากรในโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ ทกุ คนได้มกี ารอบรมเกย่ี วกับความปลอดภัยฯ ซึ่งมเี น้อื หา เกี่ยวกับความปลอดภยั ทง้ั ดา้ นสุขภาพ และอคั คีภัย เอกสารประกอบการประเมินสถานศกึ ษาปลอดภยั ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จงั หวดั เชยี งใหม่ ๒๔

เอกสำรหมำยเลข ๑๑ ๗. มกี ำรอบรมเกี่ยวกบั กำรปฐมพยำบำลเบ้ืองตน้ แกบ่ ุคลำกรในสถำนศึกษำ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ได้จดั อบรมเกี่ยวกบั การปฐมพยาบาลเบื้องต้นแก่บุคลากรใน สถานศกึ ษา เจ้าหน้าทโ่ี รงพยาบาลเทพรัตนเวชชานุกลู เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา อบรมให้ความรู้เรอ่ื งการปฐม พยาบาลเบ้ืองตน้ แก่บุคลากรในสถานศึกษา กบั บุคลาดรโรงเรยี ราชประชานเุ คราะห์ 31 เอกสารประกอบการประเมินสถานศกึ ษาปลอดภยั ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จังหวดั เชยี งใหม่ ๒๕

เอกสำรหมำยเลข ๑๒ ๘. มโี ครงกำรหรือกำรดำเนินกำรเพอ่ื รกั ษำควำมสะอำด ควำมเป็นระเบียบเรียบรอ้ ยในสถำนศึกษำท่ชี ัดเจนและ มีประสิทธภิ ำพ โครงการหรือการดาเนินการเพื่อรักษาความสะอาดความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสถานศกึ ษาเปน็ ลาย ลกั ษณอ์ ักษรทช่ี ดั เจน และมีการประเมินควบคุมทมี่ ีประสิทธิภาพแสดงใหเ้ ห็นไดช้ ัดเจน กิจกรรมพัฒนาวันเสาร์ เป็นกิจกรรมพัฒนาบริเวณโดยรอบของโรงเรียน โดยนักเรียนจะมีจุดพัฒนา ตามจุดของตนเองในแต่ละอาทิตย์ เพ่ือรักษาความสอาดและเป็นระเบียบเรียบร้อยของบริเวณพื้นท่ีโดยรอบ โรงเรียน กจิ กรรมพัฒนาหอนอนวันอาทิตย์ เป็นกิจกรรมที่นักเรียนต้องพัฒนาหอนอนของตนเองในสะอาด ทั้ง บนหอนอน และบริเวณโดยรอบ ให้สะอาดและปลอดภัย เอกสารประกอบการประเมินสถานศึกษาปลอดภยั ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จังหวดั เชยี งใหม่ ๒๖

กจิ กรรมการจัดการสิง่ แวดลอ้ มและความปลอดภัยในโรงเรียนได้แก่ การลดปริมาณและใช้ประโยชน์จากขยะ การปอ้ งกนั อุบัติเหตุ พฤตกิ รรมอนามยั เป็นต้น โครงการ บริหารจัดการขยะ ประสบความสาเร็จชัดเจนในการลดปัญหาสุขภาพหรือส่ิงแวดล้อมในโรงเรียน และหรือชุมชน เอกสารประกอบการประเมินสถานศึกษาปลอดภยั ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จังหวัดเชียงใหม่ ๒๗

กำรทำน้ำหมักกำจัดกลิ่นจำกสับปะรด เอกสารประกอบการประเมินสถานศกึ ษาปลอดภยั ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จงั หวดั เชียงใหม่ ๒๘

ก่อสรำ้ งทำงเดนิ เท้ำเพอ่ื กำรปอ้ งกนั อบุ ัติเหตุทำงถนน กำรอบรมใหค้ วำมรู้เร่ืองกำรดแู ลสุขภำพในช่องปำก เอกสารประกอบการประเมินสถานศกึ ษาปลอดภยั ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จังหวดั เชียงใหม่ ๒๙

เอกสำรหมำยเลข ๑๓ ๙. มีกำรดูแล สำรวจหรอื ตรวจสอบควำมปลอดภัยในสถำนศึกษำ โดยกำหนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน รวมทั้งนำ ผลไปปรับปรุงแก้ไข ในสถานศึกษา ตามแบบสารวจหรือแบบตรวจ โดยกาหนดผู้รับผิดชอบท่ีชัดเจน และมีการนาผลไป ปรับปรุงแกไ้ ขอย่างชดั เจนและครบถว้ น ผลการดาเนนิ งาน ด้านการตรวจสอบความปลอดภยั ในสถานศึกษา เพ่ือนาผลไปปรับปรงุ แกไ้ ข เอกสารประกอบการประเมินสถานศกึ ษาปลอดภยั ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จงั หวัดเชียงใหม่ ๓๐

เอกสำรหมำยเลข ๑๔ ๑๐. มีอุปกรณ์ป้องกันอันตรำยของเคร่ืองจักร เครื่องมือ (Safeguard) ในสถำนศึกษำอย่ำงครบถ้วนและมี ประสิทธิภำพ เชน่ ฝำครอบใบมีดเครอ่ื งตดั หญำ้ ฝำครอบใบเล่อื ย ฝำครอบสำยพำน การป้องกันอนั ตรายจากเครือ่ งมือโดยมีการใชท้ ่ีถูกวธิ ี ชุดสวมใส่ ถงุ มอื ป้องกันอันตรายจากการใช้งาน เอกสารประกอบการประเมินสถานศึกษาปลอดภยั ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จังหวัดเชยี งใหม่ ๓๑

เอกสำรหมำยเลข ๑๕ ๑๑. มรี ะบบป้องกนั อนั ตรำยจำกไฟฟำ้ รัว่ หรือกำรตอ่ สำยดินในสถำนศึกษำที่มีประสิทธิภำพ มีระบบป้องกนั อนั ตรายจากไฟฟ้าร่วั หรอื การต่อสายดินในสถานศกึ ษาทีม่ ีประสิทธภิ าพเหมาะสม และ มคี วามถูกตอ้ ง ครอบคลุมท้ังหมดในสถานศึกษา มกี ารตดิ ตงั้ อปุ กรณ์ไฟฟ้าอย่างปลอดภยั และตรวจสอบใหอ้ ยูใ่ นสภาพพร้อมใชง้ าน ตูก้ ดนา้ เย็นมีการต่อสายดินเพื่อป้องกันไฟฟ้าดดู เอกสารประกอบการประเมินสถานศึกษาปลอดภยั ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จงั หวัดเชียงใหม่ ๓๒

เอกสำรหมำยเลข ๑๖ ๑๒. มีระบบป้องกันและระงับอัคคีภยั ในสถำนศกึ ษำ เช่น สัญญำณแจง้ เหตุเพลงิ ไหม้ ถงั ดบั เพลงิ เปน็ ตน้ รวมท้ังกำรตรวจสอบและบำรงุ รักษำท่ชี ดั เจน ๑๒.๑ มรี ะบบป้องกันและระงับอัคคภี ัยในสถานศึกษา รวมท้ังการตรวจสอบ และการบารงุ รกั ษา ระบบปอ้ งกนั และระงับอัคคภี ัยอย่างครบถว้ น ครอบคลมุ ทั้งหมดในสถานศึกษา ๑๒.๒ ผลการตรวจสอบและการบารุงรักษาระบบป้องกนั และระงับอัคคภี ยั ให้อยู่ในสภาพท่ปี ลอดภัย เอกสารประกอบการประเมินสถานศึกษาปลอดภยั ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จงั หวัดเชยี งใหม่ ๓๓

เอกสำรหมำยเลข ๑๗ ๑๓. มแี ผนปอ้ งกันและระงบั อคั คีภยั ในสถำนศึกษำทีช่ ดั เจน แผนป้องกนั และระงบั อัคคภี ัยในสถานศกึ ษาที่มรี ายละเอยี ดชัดเจน ครบทกุ เรื่อง ซ่ึงแสดง ใหเ้ หน็ วา่ มกี ารบังคบั ใช้ในสถานศกึ ษา เอกสารประกอบการประเมินสถานศึกษาปลอดภยั ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จังหวดั เชียงใหม่ ๓๔

เอกสำรหมำยเลข ๑๘ ๑๔. มีกำรฝกึ อบรมกำรดับเพลงิ ข้นั ตน้ ในสถำนศึกษำ การฝกึ อบรมการดับเพลงิ ข้ันต้นในสถานศึกษา อย่างน้อยร้อยละ ๔๐ขนึ้ ไป ของจานวนบคุ ลากร ทง้ั หมด ใช้หน่วยงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในพ้ืนท่ี หรือหนว่ ยงานทไ่ี ด้รบั การรับรองเป็นผู้ฝกึ สอน เอกสารประกอบการประเมินสถานศึกษาปลอดภยั ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จงั หวัดเชียงใหม่ ๓๕

เอกสำรหมำยเลข ๑๙ ๑๕. มีกำรฝกึ ซอ้ มดบั เพลงิ และกำรฝึกซ้อมอพยพหนีไฟใน สถำนศึกษำประจำปี เอกสารประกอบการประเมินสถานศึกษาปลอดภยั ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จงั หวดั เชียงใหม่ ๓๖

เอกสำรหมำยเลข ๒๐ ๑๖. มีกำรฝกึ ซอ้ มตำมข้อ ๑๕.โดยใช้หน่วยงำนป้องกันและบรรเทำสำธำรณภยั ในพ้นื ท่ี หรือหน่วยงำนทไี่ ด้รับกำร รบั รองเปน็ ผู้ฝกึ สอน เอกสารประกอบการประเมินสถานศกึ ษาปลอดภยั ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จงั หวัดเชียงใหม่ ๓๗

เอกสำรหมำยเลข ๒๑ ๑๗. มหี อ้ งพยำบำล และอุปกรณ์ ในกำรปฐมพยำบำลเบื้องตน้ ในสถำนศึกษำ พร้อมผู้รบั ผิดชอบที่ชัดเจน มีหอ้ งพยาบาลทีช่ ัดเจน และอุปกรณ์ในการปฐมพยาบาลเบอื้ งต้นครบทกุ รายการในสถานศึกษา รวมท้ัง กาหนดผู้รบั ผดิ ชอบท่ชี ัดเจน ๑๗.๑ หอ้ งพยาบาลอยชู่ ัน้ ล่างในอาคาร จดั เปน็ สดั สว่ น ไมอ่ ยู่ในทลี่ บั ตา อุปกรณ์ของใช้สะอาด สภาพดี ๑๗.๒ มียาเวชภัณฑ์ และวสั ดอุ ุปกรณ์ ทจ่ี าเปน็ จัดเก็บเป็นระเบียบ มปี า้ ยบอกช่ือยาชดั เจน และยาไม่ หมดอายุ ๑๗.๓ ในหอ้ งหรอื บริเวณใกล้เคียงมที ล่ี า้ งมอื และทาความสะอาดเคร่อื งมือ /อปุ กรณ์ เอกสารประกอบการประเมินสถานศกึ ษาปลอดภยั ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จังหวดั เชยี งใหม่ ๓๘

๑๗.๔ สาหรบั โรงเรียนสหศกึ ษา มเี ตยี งพักแยกสาหรบั ชาย-หญิงและมีท่ีกั้นชัดเจน - เตียงพกั สาหรบนักเรยี นหญิง - เตียงพกั สาหรบนักเรียนชาย เอกสารประกอบการประเมินสถานศึกษาปลอดภยั ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จังหวดั เชยี งใหม่ ๓๙

เอกสำรหมำยเลข ๒๒ ๑๘. มีมำตรกำรป้องกนั กำรเกิดโรคระบำดหรอื โรคตดิ ตอ่ ใหก้ บั บคุ ลำกร และมีกำรเผยแพรใ่ หค้ วำมรู้ เกี่ยวกบั กำรป้องกันกำรเจบ็ ปว่ ย หรือโรคอันเน่ืองจำกกำรทำงำนในสถำนศกึ ษำ แนวทำงกำรเฝำ้ ระวัง ปอ้ งกัน และควบคมุ โรคตดิ ต่อในโรงเรยี น โรงเรียนรำชประชำนุเครำะห์ 31 มำตรกำร 1. การใหค้ วามรูด้ า้ นการเฝา้ ระวัง ปอ้ งกัน และควบคมุ โรคตดิ ต่อในโรงเรียน 2. การวางแผนการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ท้ังในห้องเรียนและบริเวณโดยรอบโรงเรียน เพื่อให้ม สถานที่โปรง่ โลง่ อากาศถา่ ยเทสะดวก ไมม่ แี หล่งเพาะพนั ธยุ์ งุ ลาย 3. การจัดกจิ กรรมสนับสนนุ การป้องกันและควบคมุ โรคติดตอ่ ในโรงเรยี นและชุมชนโดยรอบ 4. การเฝา้ ระวังการเจบ็ ป่วยของเด็กนกั เรียน 5. การติดตามและประเมินผล วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อเฝ้าระวังการเกิดโรคติดต่อในโรงเรียน 2. เพื่อจัดการสภาพแวดล้อมท่ีสะอาด สถานที่โปร่ง โล่ง อากาศถ่ายเทสะดวก ไม่มีแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายใน โรงเรยี น 3. เพ่อื ป้องกนั และควบคุมการระบาด (กรณที เ่ี กิดการระบาดในชุมชมบริเวณใกล้เคียงโรงเรียน) กำรเฝ้ำระวังโรค 1. เฝ้าระวังเด็กป่วยในโรงเรยี น โดยมอบหมายให้ครปู ระจาช้นั และครหู ้องพยาบาลดูแล 2. เฝ้าระวังพาหะนาโรค โดยการสารวจแหลง่ เพาะพันธ์ุลูกน้ายุงลายท้งั ในบริเวณโรงเรียน และชมุ ชนใกล้เคียง เพอื่ ประเมินความเสีย่ งต่อการเกิดโรคในโรงเรยี น 3. โรงเรียนมีการติดตามสถานการณ์โรคในชุมชนใกล้เคียง โดยประสานข้อมูลสถานการณ์โรคจากหน่วยงาน สาธารณสุขในพ้ืนที่ กำรปอ้ งกนั โรค 1. ครูประจาชั้นคัดกรองนักเรียนที่มีอาการป่วยด้วยไข้ ไอ เจ็บคอ หลังเข้าแถวเคารพธงชาติ หากพบว่ามี นักเรยี นทเ่ี ป็นไข้หรอื มีอาการเป็นหวดั ไอ เจบ็ คอ หรอื มตี ุ่มในชอ่ งปาก จะส่งตอ่ ท่ีห้องพยาบาลเพ่ือตรวจอีกครั้ง ถ้าหาก เจ็บป่วยจริงนาส่งโรงพยาบาลเพอ่ื พบแพทย์ 2. ป้องกันการระบาดในห้องเรียนและหอนอน โดยให้นักเรียนที่ป่วยหยุดพักรักษาตัวที่บ้านอย่างน้อย 7 วัน เม่อื หายแล้วมีใบรับรองแพทย์จึงอนุญาตใหม้ าเรียนได้ ถ้าหากพบว่ามีการระบาดของโรคติดต่อในหอ้ งเรียนและหอนอน มีการแจง้ ให้หวั หน้าฝ่ายงานทราบเพอื่ รายงานตามขนั้ ตอนต่อไป 3. ทางโรงเรียนได้ประสานความร่วมมือกับทางโรงพยาบาลเทพรัตนเวชชานุกูล เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา ในการใหค้ วามรู้ ประชาสัมพนั ธ์ เพอ่ื รณรงค์ให้ความรู้แกเ่ ดก็ นักเรยี น ครู และบุคลากรในโรงเรยี น 4. รณรงค์ให้นักเรียนล้างมือด้วยสบู่หรือแอลกอฮอล์เจล ล้างมือบ่อย ๆ โดยเฉพาะหลังเข้าห้องน้าและก่อน รับประทานอาหารหรือหลังการสัมผัสกับน้ามูก น้าลาย และหากมีอาการไอ จามหรือเป็นหวัดให้สวมหน้ากากอนามัย ทกุ ครั้ง ปอ้ งกันการโดนยุงกดั โดยใช้สเปรยก์ นั ยุง นอนกางมงุ้ 5. นักเรียนกาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายทุกวันเสาร์ ใส่ทรายอะเบท และได้ขอความอนุเคราะห์จากองค์การ บริหารสว่ นตาบลช่างเคิ่ง เข้ามาพ่นสารเคมกี าจัดยุงลาย (ULV) เดือนละ 1 ครั้ง หากมีนักเรยี นเป็นไข้เลือดออกแนะนา ให้หยุดเรยี น พร้อมแจ้งหน่วยงานสาธารณสุขของรัฐท่ใี กลเ้ คยี ง เพ่ือดาเนนิ การควบคมุ โรค เพ่ือพ่นสารเคมีกาจัดยงุ ลาย เอกสารประกอบการประเมินสถานศึกษาปลอดภยั ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จงั หวัดเชียงใหม่ ๔๐

6. หากมีการระบาดในห้องเรียนและหอนอนมากกว่าร้อยละ 10 ทางโรงเรียนจะพิจารณาหยุดเรียนเป็นราย กรณแี ละจะมีจดหมายแจง้ ผู้ปกครองได้รับทราบ เพ่อื หยดุ การระบาดของโรค กรณีที่ 1 กำรคดั กรองหนำ้ แถวทุกวนั ครูประจำชั้นคดั กรอง นักเรียนมีอำกำรไข้ ไอ จำม เจ็บคอ ปวดศีรษะ มีน้ำมูกมีผ่นื แดง คล่ืนไส้ ปวดตำมเนื้อตำมตัว ปวดทอ้ ง มีตมุ่ ในปำก ครูประจำชนั้ ครหู อนอน นำสง่ ห้องพยำบำลเพ่อื ตรวจเบ้ืองตน้ ไมส่ บำย ปกติ - คร/ู พยาบาล ติดต่อผู้ปกครองมารับ - ส่งเข้าชั้นเรียนเพ่ือเรียนตามปกติ - ส่งโรงพยาบาล กรณเี รง่ ด่วน ปกติ (สวมหนา้ กาก/ให้ความร)ู้ แจ้งขอ้ มลู ใหห้ ัวหนำ้ ฝ่ำยงำน ครหู อนอน แจ้งผูอ้ ำนวยกำร เอกสารประกอบการประเมินสถานศกึ ษาปลอดภยั ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จังหวดั เชียงใหม่ ๔๑

กิจกรรมกำรเฝ้ำระวัง ป้องกัน และควบคมุ โรคตดิ ต่อในโรงเรยี น โรงเรียนรำชประชำนเุ ครำะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ 1. กำรให้ควำมร้ดู ้ำนกำรเฝำ้ ระวัง ป้องกันโรคตดิ ตอ่ และควบคุมโรคตดิ ต่อ การใหค้ วามร้โู ดยเร่ืองโรคตดิ ต่อโดยเจา้ หน้าที่สาธารณสขุ อาเภอแม่แจ่ม การใหค้ วามรโู้ ดยเรื่องการดูแลสุขภาพหน้าเสาธงทกุ วันพุธที่ 2 ของเดือน เอกสารประกอบการประเมินสถานศึกษาปลอดภยั ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จังหวดั เชยี งใหม่ ๔๒

2. กำรปรบั ปรงุ สิ่งแวดล้อมในโรงเรียนเพื่อให้มีควำมปลอดภยั การพฒั นาโรงเรยี นทุกวนั เสาร์ การทาความสะอาดหอนอนทุกวันอาทติ ย์ การสารวจและทาลายแหล่งเพาะพันธลุ์ ูกน้ายงุ ลาย เอกสารประกอบการประเมินสถานศกึ ษาปลอดภยั ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จงั หวดั เชยี งใหม่ ๔๓

3. การจัดกจิ กรรมสนบั สนุนการป้องกนั และควบคมุ โรคติดต่อในโรงเรยี นและชมุ ชนโดยรอบ การออกไปพัฒนาสงิ่ แวดล้อมในชมุ ชนและวดั ใกล้โรงเรยี น 4. การเฝ้าระวังการเจ็บป่วยของเด็กนกั เรยี น การเฝา้ ระวงั คัดกรองกรณที ี่มีนักเรยี นป่วย พร้อมกับเจา้ หน้าทีส่ าธารณสุขและองค์การบริหารสวน ตาบลชา่ งเคง่ิ เข้าร่วมควบคมุ การแพร่กระจายของโรค เอกสารประกอบการประเมินสถานศกึ ษาปลอดภยั ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จังหวดั เชยี งใหม่ ๔๔

เอกสำรหมำยเลข ๒๓ ๑๙. มีห้องสว้ ม (ท่ีถำ่ ยอุจจำระ และทถี่ ำ่ ยปัสสำวะ) และอำ่ งล้ำงมือ สำหรับนกั เรียน/นกั ศึกษำ แยกชำย- หญงิ ท่ีพอเพียง จานวนหอ้ งน้านกั เรียนโรงเรยี นราชประชสนเุ คราะห์ 31 จานวน 844 คน ตามกฎกระทรวงฉบับที่ ๖๓ (พ.ศ. ๒๕๕๑) ออกตามความในพระราชบัญญตั คิ วบคมุ อาคารพ.ศ. ๒๕๒๒ มกี ารจดั ห้องส้วมแยกชาย - หญิง และมอี ่างล้าง มอื จานวนเพียงพอต่อนกั เรียน นกั ศึกษา ตามหลกั เกณฑ์ที่กาหนด โดยหอ้ งสว้ มแบบน่งั ราด 237 ท่ี หอ้ งส้วมนกั เรยี น หญิง จานวน 157 ที่ หอ้ งส้วมชาย จานวน 80 ที่ โถปัสสวะชาย 8 ท่ี และอ่างลา้ งมือจานวน 42 จดุ เอกสารประกอบการประเมินสถานศกึ ษาปลอดภยั ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จงั หวัดเชยี งใหม่ ๔๕

เอกสำรหมำยเลข ๒๔ ๒๐. มกี ำรจดั น้ำดม่ื ที่ สะอำด ท่ี ลำ้ งมอื ทถี่ กู สุขลักษณะ เพ่อื ใหบ้ ุคลำกรไดใ้ ชก้ ่อน กำร-รบั ประทำนอำหำร หรอื ดื่ม เครอ่ื งดื่ม สรุปจานวนท่ีของการจัดน้าด่ืมที่สะอาด ที่ล้างมือที่เพียงพอต่อบุคลากร รวมท้ังสอดคล้องตามหลักเกณฑ์ กฎกระทรวงว่าด้วยการจัดสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ พ.ศ. ๒๕๔๘ ที่กาหนด 1 จุด : 40 คน โรงเรียน ราชประชานุเคราะห์ 31มีจานวนบุคลากรและนักเรียนบท้ังหมด 931 คน มีจุดน้าดื่มที่สะอาด จานวน 28 จุด คิดเป็น 1 จุด : 34 คน ซ่ึงเพยี งพอต่อบุคลากรไดใ้ ช้ก่อน การ-รับประทานอาหาร หรือดื่มเครื่องด่มื เอกสารประกอบการประเมินสถานศกึ ษาปลอดภยั ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จงั หวดั เชียงใหม่ ๔๖

เอกสำรหมำยเลข ๒๕ ๒๑. มกี ำรจัดทร่ี ับประทำนอำหำร และท่ีพกั ท่ีเหมำะสม และถกู สุขลักษณะ การจดั ที่รับประทานอาหาร และท่พี ักทเ่ี หมาะสมต่อบุคลากรและถกู สุขลกั ษณะ เช่น ความสะอาด มจี านวน เพยี งพอต่อบคุ ลากรฯลฯ เอกสารประกอบการประเมินสถานศึกษาปลอดภยั ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จังหวดั เชียงใหม่ ๔๗

เอกสำรหมำยเลข ๒๖ ๒๒. มกี ารจดั สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและปลอดภัยในสถานศกึ ษา เช่น ระบบแสงสว่างระบบระบายอากาศ ระดับ ความดงั ของเสียงเป็นต้น เอกสารประกอบการประเมินสถานศกึ ษาปลอดภยั ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จังหวดั เชยี งใหม่ ๔๘

เอกสำรหมำยเลข ๒๗ ๒๓. มีมำตรกำรเพอ่ื ควำมปลอดภัยเกี่ยวกับสำรเคมใี นสถำนศึกษำท่ีเหมำะสมและปลอดภยั มาตรการเพื่อความปลอดภัยในการเรียนการสอนเกยี่ วกับสารเคมี โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ การเรยี นการสอนและสาธิตการทดลองเคมที างวิทยาศาสตร์ นกั เรียนทาการทดลองโดยมีครูควบคมุ อย่างใกล้ชดิ เอกสารประกอบการประเมินสถานศกึ ษาปลอดภยั ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จังหวดั เชียงใหม่ ๔๙


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook