8.4 ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration) (10 นาท)ี (1) ครเู พม่ิ เตมิ ความรู้ให้นกั เรยี นดงั ตารางนี้ (เปิดรปู ภาพบนโปรเจกเตอร)์ 8.5 ขนั้ ประเมนิ (Evaluation) (10 นาท)ี (1) ครตู ัง้ คำถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของนักเรยี น (2) นกั เรียนถามในสงิ่ ท่สี งสยั และยังไม่รแู้ ละครูอธบิ ายเพม่ิ เติม (3) สังเกตความสนใจและความกระตือรือรน้ ของนกั เรยี น 9. สื่อการเรียนรู้ (1) สอ่ื การสอน PowerPoint (2) หนงั สอื วทิ ยาศาสตร์พื้นฐาน ม.1 เลม่ 1 (สสวท) (3) ใบกจิ กรรม เรอ่ื งจุดเดือดของสารบริสทุ ธิแ์ ละสารผสม
10. การวัดผลและประเมนิ ผล จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วธิ กี ารวดั ผล เคร่อื งมอื เกณฑก์ ารประเมิน ผปู้ ระเมิน ครผู สู้ อน 1.ดา้ นความรู้ (K) ค ว า ม ถ ู ก ต ้ อ ง ข อ ง ใบกิจกรรม ผเู้ รยี นผา่ นเกณฑ์ ระดบั พอใช้ขึน้ ไป ครูผู้สอน นักเรียนสามารถอธิบาย คำตอบในใบกจิ กรรม ผเู้ รยี นผ่านเกณฑ์ ครผู ู้สอน ผลการทดลองจุดเดือด ระดับพอใช้ขน้ึ ไป ของสารบริสุทธิ์และสาร ผ้เู รียนผา่ นเกณฑ์ ระดับพอใช้ข้ึนไป ผสมได้ 2.ด ้ า น ท ั ก ษ ะ / ดู ทัก ษะ ก าร ทำก าร แบบประเมินทักษะ กระบวนการ (P) ทดลองหาจุดเดือดของ การทำการทดลองหา นักเรียนสามารถทำการ สารบริสุทธิ์และสาร จ ุ ด เ ด ื อ ด ข อ ง ส าร ทดลองหาจุดเดือดของ ผสม บรสิ ทุ ธ์ิและสารผสม สารบริสุทธิ์และสารผสม ได้ 3.ด้านคุณลกั ษณะ(A) ประเมินความตั้งใจ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่น เร ียน ตั้ง ใจ ใน ก าร พ ฤ ต ิ ก ร ร ม บ ่ ง ช้ี ในการทำงาน และมวี ินัย ทำงาน และความตรง คุณลักษณะอ ัน พึง ในการเรยี น ตอ่ เวลาในการสง่ งาน ประสงค์
เกณฑก์ ารประเมิน เกณฑ์ประเมินดา้ น K รายการประเมิน ดี (3) ระดบั คุณภาพ ปรับปรงุ (1) พอใช้ (2) น ั ก เ ร ี ย น ส า ม า ร ถ นักเรียนสามารถอธิบายผล น ัก เร ียน อธ ิบายผลการ นักเรียนอธิบายผลการ อธิบายผลการทดลอง การทดลองจุดเดือดของ ทดลองจุดเดือดของสาร ทดลองจุดเดือดของสาร จ ุ ด เ ด ื อ ด ข อ ง ส า ร สารบริสุทธิ์และสารผสมได้ บริสุทธิ์และสารผสมได้ บริสุทธิ์และสารผสมได้ บริสุทธิ์และสารผสม อย่างถูกต้องและครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่(5- เพียงส่วนน้อย(ต่ำกว่า5 ได้ (8-10คะแนน) 7คะแนน) คะแนน) *หมายเหตุ นกั เรยี นตอ้ งผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดบั 2 ขน้ึ ไป เกณฑ์การตัดสินระดบั คุณภาพดา้ นคณุ ลักษณะ (K) 8-10 คะแนน อยใู่ นระดับ 3 หมายถึง ดี 5-7 คะแนน อย่ใู นระดับ 2 หมายถงึ พอใช้ ตำ่ กว่า 5 คะแนน อยใู่ นระดับ 1 หมายถงึ ปรับปรุง เกณฑป์ ระเมนิ ดา้ น P รายการประเมนิ ดี (3) ระดับคุณภาพ ปรบั ปรุง (1) พอใช้ (2) นักเรียนสามารถทำ นักเรียนสามารถทำการ นักเรียนทำการทดลองหาจุด นักเรียนทำการทดลองหา ก า ร ท ด ล อ ง ห า จุ ด ทดลองหาจุดเดือดของสาร เดอื ดของสารบริสุทธแ์ิ ละสาร จุดเดือดของสารบริสุทธ์ิ เดือดของสารบริสุทธิ์ บริสุทธิ์และสารผสมได้ ผสมได้ถกู ตอ้ งเป็นสว่ นใหญ่ ( และสารผสมได้เพียงส่วน และสารผสมได้ อย่างถกู ตอ้ งและครบถว้ น ( 5-7 คะแนน) นอ้ ย (ต่ำกว่า 5 คะแนน) 8-10 คะแนน) *หมายเหตุ นักเรยี นต้องผ่านเกณฑก์ ารประเมินระดับ 2 ขึ้นไป เกณฑ์การตัดสนิ ระดับคณุ ภาพดา้ นคุณลกั ษณะ (P) 8-10 คะแนน อยู่ในระดบั 3 หมายถงึ ดี 5-7 คะแนน อยูใ่ นระดบั 2 หมายถึง พอใช้ ต่ำกว่า 5 คะแนน อยู่ในระดบั 1 หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์ประเมนิ ด้าน A รายการประเมิน ดี (3) ระดับคุณภาพ ปรบั ปรุง (1) พอใช้ (2) นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน ไม่มีความตั้งใจเรียน ไม่ มุ่งมั่นในการทำงาน การทำงาน และส่งงานตรง การทำงาน และส่งงานตรง ตั้งใจในการทำงาน และส่ง และมีวินยั ในการเรียน เวลาทกุ ครัง้ (4คะแนน) เวลาบางครง้ั (2-3 คะแนน) งานไม่ตรงเวลา(ต่ำกว่า2 คะแนน) *หมายเหตุ นักเรียนต้องผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ระดบั 2 ข้ึนไป เกณฑ์การตัดสนิ ระดบั คุณภาพด้านคุณลกั ษณะ (A) 4 คะแนน อยู่ในระดับ 3 หมายถงึ ดี 2-3 คะแนน อยใู่ นระดบั 2 หมายถงึ พอใช้ ต่ำกวา่ 2 คะแนน อยู่ในระดับ 1 หมายถงึ ปรับปรงุ
วช-ร 06 แบบบนั ทกึ หลงั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ชือ่ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ……………… เร่ือง ……………………………………………………………….. แผนการเรียนร้ทู ี่ ………………… เรือ่ ง ……………………………………………………………….. รายวิชา……………………………….. ช้ัน…………………………. รหัสวชิ า ……………………………………. ครผู สู้ อน …………………………………………….. ตำแหน่ง …………………………………… เวลาทใี่ ช้ ……… ชว่ั โมง ************************* ผลการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ข้อค้นพบระหว่าง ปญั หาที่พบ แนวทางแก้ไข ทมี่ กี ารจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ เน้ือหา กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่อื ประกอบการเรยี นรู้ พฤตกิ รรม/การมีส่วนร่วมของ ผูเ้ รยี น ลงชื่อ …..........………….......................…….. ครผู ู้จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (นางสาวจันจิรา ธนันชยั ) ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย
11. ผลการประเมนิ นักเรียนทั้งหมด………………คน ดา้ น (K) นกั เรยี นสามารถอธิบายผลการทดลองจุดเดือดของสารบรสิ ุทธ์ิและสารผสมได้ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ มีคณุ ภาพอยู่ในระดบั ดี จำนวน……………….คน คดิ เป็นรอ้ ยละ……………. ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ มีคุณภาพอยใู่ นระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คิดเปน็ ร้อยละ…………….. ไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมนิ จำนวน………...........คน คดิ เป็นร้อยละ……………. ด้าน (P) นกั เรยี นสามารถทำการทดลองหาจุดเดือดของสารบรสิ ทุ ธแิ์ ละสารผสมได้ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ มีคุณภาพอยูใ่ นระดับดี จำนวน……………….คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ……………. ผ่านเกณฑ์การประเมนิ มีคุณภาพอยูใ่ นระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คิดเป็นร้อยละ…………….. ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมิน จำนวน………...........คน คดิ เป็นร้อยละ……………. ดา้ น (A) นักเรยี นใฝเ่ รยี นรู้ มุง่ มนั่ ในการทำงาน และมวี ินยั ในการเรียน ผ่านเกณฑ์การประเมนิ มีคณุ ภาพอยู่ในระดับดี จำนวน……………….คน คดิ เป็นรอ้ ยละ…………… ผ่านเกณฑ์การประเมินมีคณุ ภาพอยูใ่ นระดบั พอใช้ จำนวน……………….คน คิดเปน็ ร้อยละ…………….. ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ จำนวน………...........คน คดิ เปน็ ร้อยละ……………. รายชอ่ื นักเรยี นทไี่ มผ่ า่ นเกณฑ์การประเมนิ สาเหตุ-ปญั หา แนวทางแกไ้ ข ลำดับ ช่ือ-สกุล ลงช่ือ...............................................(ผสู้ อน) (..............................................)
ใบกจิ กรรม เรอื่ งจุดเดือดของสารบริสทุ ธิ์และสารผสม วตั ถปุ ระสงค์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สมมตฐิ านการทดลอง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… วสั ด/ุ อปุ กรณ์การทดลอง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตารางการทดลอง เวลา อณุ หภูมิ (°C) การเปลี่ยนแปลง (วนิ าท)ี สารละลาย โซเดียม คลอไรด์ น้ำกล่นั สารละลาย นำ้ กลนั่ โซเดียมคลอไรด์ 0 60 120 180 240 300 360 420 480 540 600 จงเขียนกราฟแสดงจุดเดือดของสารทงั้ 2 ชนดิ (กำหนดแกน y คืออณุ หภูมิ และแกน x เป็นเวลา)
คำถามทา้ ยกิจกรรม 1. นำ้ กลน่ั และสารละลายโซเดยี มคลอไรดเ์ มอ่ื ไดร้ ับความรอ้ นมีการเปลย่ี นแปลงอยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ทราบไดอ้ ย่างไรวา่ น้ำกลนั่ และสารละลายโซเดียมคลอไรด์กำลังเดอื ด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. จากกราฟ การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของน้ำกลั่นและสารละลายโซเดียมคลอไรด์เมื่อให้ความร้อนเป็น อย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. การเปลยี่ นแปลงอณุ หภูมขิ องน้ำกลัน่ และสารละลายโซเดยี มคลอไรดเ์ หมือนหรอื แตกต่างกนั อยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. อณุ หภมู ิขณะเดือดของนำ้ กลน่ั และสารละลายโซเดยี มคลอไรดเ์ ปน็ อยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. จากกจิ กรรม สรุปได้วา่ อยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เฉลยใบกิจกรรม วัตถุประสงค์ เพื่อวัดอุณหภูมิและเขียนกราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของน้ำกลั่นและสารละลายโซเดียม คลอไรดเ์ ม่ือไดร้ บั ความร้อน สมมตฐิ านการทดลอง ตามความคดิ ของนักเรยี นเอง วสั ด/ุ อุปกรณก์ ารทดลอง ไฟแชก็ สารละลายโซเดยี มคลอไรดเ์ ข้มข้น 10 % (w/v) 50 cm3 น้ำกลัน่ 50 cm3 เทอร์มอมิเตอรส์ เกล 0 - 200 °C 1 อัน บีกเกอรข์ นาด 100 cm3 2 ใบ ชดุ ตะเกยี งแอลกอฮอล์ 1 ชดุ ขาตง้ั พรอ้ มท่ีจับหลอดทดลอง 1 ชุด แทง่ แกว้ คน 1 อัน นาฬิกาจับเวลา 1 เรือน ตารางการทดลอง เวลา อุณหภูม(ิ °C) การเปลยี่ นแปลง (วนิ าท)ี สารละลาย โซเดยี ม คลอไรด์ น้ำกลัน่ สารละลาย นำ้ กล่นั โซเดยี มคลอไรด์ 0 -- 60 37 39 เรม่ิ มีฟองแกส๊ ขนาดเล็ก อยกู่ น้ บกี สารละลายมีการเคลอ่ื นท่ี เกอร์2-3 ฟอง 120 51 58 ฟองแก๊สเกิดข้นึ เร่อื ยๆ ฟองแกส๊ ขนาดเล็กๆ เกาะทีก่ ้น บกี เกอร์ และฟองแกส๊ บางสว่ นลอยขึ้น 180 62 75 ฟองแก๊สค่อยๆ ลอยข้ึนทีละเม็ด มีฟองแก๊สขนาดใหญก่ ว่าเดิม 240 70 90 มฟี องขนาดใหญเ่ กดิ ขึ้น และฟองแก๊ส ปริมาณฟองแกส๊ ขนาดใหญเ่ พ่มิ ข้นึ 300 75 ค่อยๆ ลอยข้นึ ที่ผวิ น้ำ 360 80 420 88 97 มฟี องขนาดใหญเ่ กิดขึ้น และฟองแก๊ส เกิดฟองท่ัวทง้ั บีกเกอรแ์ ละฟองแกส๊ คอ่ ยๆ ลอยขนึ้ ท่ีผิวน้ำ ลอยขน้ึ อย่างรวดเร็ว 98 มฟี องขนาดใหญ่เกิดข้นึ และฟองแก๊ส เกดิ ฟองทว่ั ทั้งบกี เกอร์และฟองแก๊ส คอ่ ย ๆ ลอยขน้ึ ที่ผิวน้ำ ลอยขน้ึ อย่างรวดเรว็ ทีผ่ ิวนำ้ 98.5 มีฟองขนาดใหญเ่ กิดข้นึ และฟองแกส๊ เกิดฟองทั่วทั้งบีกเกอรแ์ ละฟองแก๊ส ค่อย ๆ ลอยขึน้ ที่ผิวนำ้ ลอยข้นึ อยา่ งรวดเรว็
480 95 99 มีฟองขนาดใหญเ่ กดิ ข้นึ เป็นจำนวนมาก เกดิ ฟองทั่วท้งั บกี เกอร์และฟองแก๊ส 540 100 600 100 และฟองแกส๊ คอ่ ยๆ ลอยขน้ึ ที่ผิวน้ำ ลอยขน้ึ อย่างรวดเรว็ 101 เกิดฟองท่วั ทง้ั บกี เกอรแ์ ละฟองแก๊ส เกดิ ฟองทัว่ ทง้ั บีกเกอร์ และปรมิ าตร ลอยขึ้นที่ผวิ น้ำอยา่ งรวดเรว็ สารละลายลดลง 102 เกดิ ฟองท่ัวทั้งบกี เกอรแ์ ละฟองแก๊ส เกิดฟองทั่วทง้ั บกี เกอร์ และปริมาตร สารละลายลดลง ลอยขน้ึ ท่ีผิวน้ำอยา่ งรวดเร็วและ ปริมาตรน้ำลดลง
ตวั อย่างกราฟ
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 10 ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 สารรอบตวั เรา เวลา 2 ชัว่ โมง 2564 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 แผนการจัดการเรียนรเู้ รือ่ ง จุดหลอมเหลวสารบริสุทธแิ์ ละสารผสม ผู้สอนนางสาวจนั จิรา ธนันชยั 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง สถานะของสสารการเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี 2. ตัวชว้ี ัด เปรียบเทียบจุดเดือด จุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และสารผสม โดยการวัดอุณหภูมิ ว 2.1 ม.1/4 เขยี นกราฟแปลความหมายข้อมลู จากกราฟหรือสารสนเทศ 3. สาระสำคัญ สารบรสิ ทุ ธ์ิ (Pure Substance) เปน็ สารเนอ้ื เดยี วท่ีประกอบด้วยสารเพียงอย่างเดียว ไม่มีสารอื่นเจือ ปน จุดหลอมเหลว คอื อณุ หภมู ิท่ีของแข็งเปลยี่ นสถานะเป็นของเหลว ณ ความดัน ๑ บรรยากาศ ปกตจิ ะเป็น อุณหภูมิเดียวกันกับจดุ เยือกแข็งของสารเดียวกนั และวิธีการตรวจสอบสารบริสทุ ธ์ิดว้ ยการหาจุดหลอมเหลว การหาจุดหลอมเหลว จะสามารถทดสอบกับสารที่บริสุทธิ์และสารที่ไม่บริสุทธิ์ได้ โดยสารบริสุทธ์ิจะมีจุด หลอมเหลวคงที่ มีอณุ หภมู ิชว่ งการหลอมเหลวแคบ สารไมบ่ ริสุทธจ์ิ ะมีจุดหลอมเหลวไม่คงท่ี มอี ุณหภูมิในช่วง การหลอมเหลวกว้าง และสารบรสิ ุทธิ์แต่ละชนิดมีสมบัติบางประการที่เป็น ค่าเฉพาะตวั เช่น จุดเดือดและจุด หลอมเหลวคงที่ แต่สารผสมมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวไมค่ งท่ี ขึ้นอยู่กับชนิดและสดั ส่วนของสารท่ีผสมอยู่ ด้วยกัน 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ (1) นักเรียนสามารถบอกจุดหลอมเหลวของสารบริสทุ ธิ์และสารผสมได้ (K) (2) นักเรียนสามารถวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบช่วงอุณหภูมิที่หลอมเหลว และจุดหลอมเหลว ของสารตา่ งๆได้ (P) (3) นกั เรยี นใฝ่เรยี นรู้ ม่งุ ม่นั ในการทำงาน และมวี นิ ัยในการเรยี น (A) 5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน (1) ความสามารถในการส่อื สาร - การอธิบาย การเขยี น การตอบคำถาม (2) ความสามารถในการคดิ - การสงั เกต การสำรวจ การคดิ วเิ คราะห์ การสรา้ งคำอธบิ าย การอภิปราย การส่ือความหมาย การทำกจิ กรรมโดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
การสบื ค้นโดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (3) ความสามารถในการแกไ้ ขปัญหา - สามารถแกป้ ัญหาที่เกิดข้นึ ได้อยา่ งเหมาะสม 6. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ - มีวินัย - มงุ่ มั่นในการทำงาน - ใฝ่เรยี นรู้ 7. สาระการเรียนรู้ สารบริสทุ ธิ์ (Pure Substance) เป็นสารเนือ้ เดียวที่ประกอบด้วยสารเพียงอย่างเดยี ว ไม่มีสารอ่ืนเจือปน เช่น น้ำ นำ้ ตาล เกลอื คารบ์ อนไดออกไซด์ เปน็ ตน้ จุดหลอมเหลว (melting point) คือ อุณหภูมิทีข่ องแขง็ เปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว ซึ่งสารแต่ละชนิดมีจดุ หลอมเหลวแตกต่างกัน โดยสารบริสุทธิ์มจี ุดหลอมเหลวคงท่ี เนื่องจากประกอบดว้ ยสารเพียงอย่างเดยี ว จึงทำ ให้ความร้อนที่ใช้เปลย่ี นสถานะ จากของแข็งเปน็ ของเหลวมีคา่ เท่ากัน วิธกี ารตรวจสอบสารบรสิ ทุ ธ์ดิ ว้ ยการหาจุดหลอมเหลว การหาจุดหลอมเหลว ( Melting Point ) จะสามารถทดสอบกบั สารทบี่ ริสุทธ์ิ และสารท่ีไม่บริสุทธิ์ ได้โดย - สารบริสุทธ์ิจะมีจุดหลอมเหลวคงท่ี และมอี ุณหภูมิช่วงการหลอมเหลวแคบ - สารไม่บริสุทธิ์จะมีจุดหลอมเหลวไม่คงที่ และมีอุณหภูมิในช่วงการหลอมเหลวกว้าง ซึ่งอุณหภูมิ ฃองการหลอม หมายถึง อุณหภูมิที่สารเริ่มต้นหลอมจนกระทั่งสารนั้นหลอมหมดโดยในอุณหภูมิช่วงการ หลอม ถา้ แคบต้องไม่เกิน 2 องศาเซลเซยี ส โดยดจู ากรูปทแ่ี สดงเป็นกราฟ เมื่อให้ความร้อนกับของแข็งโดยทั่วไปของแข็งจะไมหลอมเหลวหมดที่อุณหภูมิเดียว แต่จะเร่ิม หลอมเหลวที่อุณหภูมิหนึง่ และหลอมเหลวหมดที่อีกอุณหภูมิหนึ่ง เรียกอุณหภูมิตั้งแต่สารเริ่มหลอมเหลวจน หลอมเหลวหมดว่า ชว่ งอุณหภูมทิ ีห่ ลอมเหลว ซ่งึ สัมพันธก์ บั ความบรสิ ุทธขิ์ องสาร เชน่ แนฟทาลีน ซึ่งเป็นสาร บริสุทธิ์ที่มีความบริสุทธิ์สูงมากๆ จะไม่มีช่วงอุณหภูมิที่หลอมเหลว โดยอุณหภูมิที่สารเริ่มหลอมเหลวและ อุณหภูมิที่สารหลอมเหลวหมดเป็นอุณหภูมเิ ดียวกัน แต่โดยทั่วไปสารบริสุทธิ์มักมีสิ่งเจอื ปนอยู่บา้ ง จึงมีช่วง อณุ หภมู ิทห่ี ลอมเหลวแคบ ส่วนสารผสมจะมีชว่ งอณุ หภมู ิท่หี ลอมเหลวกวา้ งกว่าสารบรสิ ทุ ธ์ิ เมื่อหาค่าเฉล่ียของอุณหภูมทิ ี่หลอมเหลวของสารจะได้ จุดหลอมเหลว (melting point) ของสารนน้ั สารแต่ละชนดิ มีจดุ หลอมเหลวต่างกัน โดยสารบรสิ ุทธมิ์ ีจดุ หลอมเหลวคงที่ เพราะประกอบด้วยสารเพียงอย่าง เดียว ซึ่งสังเกตได้จากจุดหลอมเหลวของแนฟทาลีน ส่วนสารสารผสมมีจุดหลอมเหลวไม่คงที่ เพราะมี องค์ประกอบตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป สังเกตได้จากจุดหลอมเหลวของกรดเบนโซอิกในแนฟทาลีนที่มีอัตราส่วน ระหวา่ งกรดเบนโซอกิ กับแนฟทาลีนตา่ งกัน จะมจี ุดหลอมเหลวไม่เท่ากนั วธิ ีทำ
ถา้ สารทีน่ ำมาตรวจสอบเป็นของแขง็ มวี ิธีการตรวจสอบ คือ นำไปหาจดุ หลอมเหลว (จุดหลอมเหลว การเปลี่ยนสถานะของสารจากของแข็งเป็นของเหลว ช่วงการหลอมเหลวคืออุณหภมู ิตั้งแต่เริ่มละลายจนสาร น้ันละลายหมด) ผลที่เกิดขนึ้ 1) ชว่ งการหลอมเหลวกว้าง สารน้นั เป็นสารละลาย 2) ช่วงการหลอมเหลวแคบ สารน้ันเป็นสารบรสิ ุทธ์ิ 8. กระบวนการจดั การเรียนรู้ (ใชร้ ปู แบบการสอนสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 8.1 ขน้ั สรา้ งความสนใจ (Engagement) (10 นาที) (1) กระตุน้ ความสนใจของนักเรียนโดยถามนกั เรียนวา่ สารบรสิ ุทธิ์มจี ุดเดือดคงท่ีในขณะท่ีสาร ผสมมจี ุดเดอื ดไมค่ งที่ แลว้ จดุ หลอมเหลวของสารบริสุทธ์แิ ละสารผสมจะเปน็ อย่างไรเพราะเหตุใด (ใหน้ ักเรียน ตอบตามความคดิ ของตวั เอง) (2) ครชู แี้ จงใหน้ ักเรยี นว่า วนั น้ีครูจะเรียนรู้เก่ียวกับจุดหลอมเหลวสารบรสิ ุทธิแ์ ละสารผสม 8.2 ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) (85 นาท)ี (1) ครูอธบิ ายความรูเ้ รื่องจุดหลอมเหลวสารบรสิ ุทธแิ์ ละสารผสมใหน้ ักเรียนฟงั โดยใช้ส่ือการ สอน PowerPoint (2) นักเรียนแบง่ เป็น 6 กลุ่ม และให้นกั เรยี นอ่านกจิ กรรมที่ 2.2 ในหน้า 19 (3) นกั เรยี นรบั ใบกิจกรรม เรือ่ งจดุ หลอมเหลวสารบริสทุ ธ์แิ ละสารผสมจากครู 8.3 ขน้ั อภปิ รายและลงข้อสรุป (Explain) (10 นาที) (1) นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายและสรุปความรู้ดังนี้ (สารบริสุทธิ์ (Pure Substance) เปน็ สารเนือ้ เดยี วทปี่ ระกอบด้วยสารเพยี งอย่างเดยี ว ไม่มีสารอ่ืนเจือปน จดุ หลอมเหลว คอื อณุ หภูมิท่ีของแข็ง เปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว ณ ความดัน ๑ บรรยากาศ ปกติจะเป็นอุณหภมู เิ ดียวกันกับจุดเยือกแข็งของสาร เดยี วกัน และวธิ กี ารตรวจสอบสารบรสิ ุทธ์ิด้วยการหาจุดหลอมเหลว การหาจุดหลอมเหลว จะสามารถทดสอบ กับสารทบ่ี รสิ ุทธ์แิ ละสารทไี่ ม่บริสุทธิไ์ ด้ โดยสารบริสุทธจ์ิ ะมีจุดหลอมเหลวคงที่ มอี ุณหภมู ิช่วงการหลอมเหลว แคบ สารไม่บรสิ ทุ ธจ์ิ ะมจี ุดหลอมเหลวไมค่ งท่ี มอี ณุ หภมู ใิ นช่วงการหลอมเหลวกวา้ ง) 8.4 ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) (10 นาท)ี
(1) ครูเพิ่มเติมความรู้โดยเปิดวีดโี อ เรื่องเส้นก๋วยเต๋ียว เลือกไม่ดี อันตรายถึงชีวติ ส่งผลเสีย ต่อสุขภาพ เสีย่ งเปน็ โรครา้ ยแรง จาก https://www.youtube.com/watch?v=Qm-AQcoZy4U ให้นกั เรียน ดู 8.5 ข้ันประเมนิ (Evaluation) (5 นาที) (1) ครูตั้งคำถามเพ่อื ตรวจสอบความเข้าใจของนกั เรียน (2) นกั เรียนถามในสิ่งที่สงสัยและยงั ไมร่ แู้ ละครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ (3) สังเกตความสนใจและความกระตอื รือรน้ ของนักเรียน 9. สอื่ การเรียนรู้ (1) สอ่ื การสอน PowerPoint (2) หนงั สือวิทยาศาสตรพ์ ื้นฐาน ม.1 เล่ม 1 (สสวท) (3) ใบ เรื่องกจิ กรรมจดุ หลอมเหลวสารบรสิ ทุ ธิ์และสารผสม (4) วีดโี อ เรื่องเสน้ กว๋ ยเตีย๋ ว เลือกไมด่ ี อนั ตรายถึงชีวิต ส่งผลเสียตอ่ สขุ ภาพ เสี่ยงเป็นโรครา้ ยแรง
10. การวัดผลและประเมนิ ผล จุดประสงค์การเรยี นรู้ วิธกี ารวดั ผล เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมิน ผูป้ ระเมนิ ครูผ้สู อน 1.ดา้ นความรู้ (K) ก า ร ต อ บ ค ำ ถ า ม คำถามระหวา่ งเรียน ผูเ้ รยี นผา่ นเกณฑ์ ครผู ูส้ อน ระดบั พอใช้ขึ้นไป นักเรียนสามารถบอกจุด ระหวา่ งเรียน ครผู ู้สอน ผู้เรยี นผา่ นเกณฑ์ หลอมเหลวของสาร ระดบั พอใชข้ น้ึ ไป บรสิ ุทธ์แิ ละสารผสมได้ ผ้เู รียนผ่านเกณฑ์ ระดบั พอใชข้ ้ึนไป 2.ด ้ า น ท ั ก ษ ะ / ดูทักษะในการวิเคราะห์ แบบประเมินทักษะใน กระบวนการ (P) ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบ การวิเคราะห์ข้อมูล น ั ก เ ร ี ย น ส า ม า ร ถ ช ่ ว ง อ ุ ณ ห ภ ู ม ิ ที่ เพื่อเปรียบเทียบช่วง วิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือ หลอมเหลว และจุด อุณหภูมิที่หลอมเหลว เปรยี บเทียบช่วงอุณหภูมิ หลอมเหลวของ สาร และจุดหลอมเหลว ที่หลอมเหลว และจุด ตา่ งๆ ของสารตา่ งๆ หลอมเหลวของสาร ตา่ งๆได้ 3.ด้านคุณลักษณะ(A) ประเมินความตั้งใจ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ัน เร ียน ตั้ง ใจ ใน ก าร พ ฤ ต ิ ก ร ร ม บ ่ ง ชี้ ในการทำงาน และมวี ินัย ทำงาน และความตรง คุณลักษณะอ ัน พึง ในการเรยี น ต่อเวลาในการสง่ งาน ประสงค์
เกณฑก์ ารประเมิน เกณฑ์ประเมินด้าน K รายการประเมนิ ดี (3) ระดับคณุ ภาพ ปรับปรงุ (1) พอใช้ (2) นักเรียนสามารถบอก นักเรียนสามารถบอกจุด นักเรียนบอกจุดหลอมเหลว น ั ก เ ร ี ย น บ อ ก จุ ด จุดหลอมเหลวของ หลอมเหลวของสารบริสุทธ์ิ ของสารบริสุทธิ์และสารผสม หลอมเหลวของสารบริสทุ ธ์ิ สารบริสุทธิ์และสาร และสารผสมได้ อย่าง ได้ ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่(5- และสารผสมได้ เพียงส่วน ผสมได้ ถูกต้องและครบถ้วน(8- 7คะแนน) น้อย(ตำ่ กว่า5คะแนน) 10คะแนน) *หมายเหตุ นักเรยี นตอ้ งผ่านเกณฑ์การประเมนิ ระดบั 2 ขึ้นไป เกณฑ์การตัดสนิ ระดับคุณภาพด้านคุณลักษณะ (K) 8-10 คะแนน อยใู่ นระดบั 3 หมายถงึ ดี 5-7 คะแนน อยใู่ นระดับ 2 หมายถงึ พอใช้ ต่ำกว่า 5 คะแนน อยู่ในระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุง เกณฑป์ ระเมินดา้ น P รายการประเมิน ดี (3) ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรุง (1) พอใช้ (2) น ั ก เ ร ี ย น ส า ม า ร ถ นักเรียนสามารถวิเคราะห์ นักเรียนวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือ นักเรียนวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือ ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบช่วง เปรียบเทียบช่วงอุณหภูมิท่ี เพื่อเปรียบเทียบช่ว ง เ ป ร ี ย บ เ ท ี ย บ ช ่ ว ง อุณหภูมิท่ีหลอมเหลว และ ห ล อ ม เ ห ล ว แ ล ะ จุ ด อณุ หภมู ิทห่ี ลอมเหลว และ อุณหภูมิที่หลอมเหลว จุดหลอมเหลวของสาร หลอมเหลวของสารต่างๆได้ จุดหลอมเหลวของสาร และจุดหลอมเหลว ต่างๆได้อย่างถูกต้องและ ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ( 5-7 ต่างๆได้เพียงสว่ นน้อย (ต่ำ ของสารต่างๆได้ ครบถ้วน ( 8-10 คะแนน) คะแนน) กวา่ 5 คะแนน) *หมายเหตุ นักเรียนตอ้ งผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดบั 2 ขึน้ ไป เกณฑ์การตัดสนิ ระดบั คุณภาพดา้ นคุณลกั ษณะ (P) 8-10 คะแนน อยใู่ นระดบั 3 หมายถึง ดี 5-7 คะแนน อย่ใู นระดบั 2 หมายถงึ พอใช้ ตำ่ กว่า 5 คะแนน อยใู่ นระดบั 1 หมายถึง ปรบั ปรุง
เกณฑป์ ระเมนิ ด้าน A รายการประเมิน ดี (3) ระดับคณุ ภาพ ปรบั ปรุง (1) พอใช้ (2) นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน ไม่มีความตั้งใจเรียน ไม่ มุ่งมั่นในการทำงาน การทำงาน และส่งงานตรง การทำงาน และส่งงานตรง ตั้งใจในการทำงาน และสง่ และมีวนิ ยั ในการเรยี น เวลาทุกครั้ง(4คะแนน) เวลาบางครัง้ (2-3 คะแนน) งานไม่ตรงเวลา(ต่ำกว่า2 คะแนน) *หมายเหตุ นกั เรียนต้องผ่านเกณฑ์การประเมินระดับ 2 ขนึ้ ไป เกณฑก์ ารตัดสนิ ระดับคณุ ภาพดา้ นคุณลกั ษณะ (A) 4 คะแนน อย่ใู นระดับ 3 หมายถงึ ดี 2-3 คะแนน อยูใ่ นระดบั 2 หมายถึง พอใช้ ตำ่ กว่า2 คะแนน อยู่ในระดับ 1 หมายถงึ ปรบั ปรงุ
วช-ร 06 แบบบนั ทกึ หลงั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ชือ่ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ……………… เร่ือง ……………………………………………………………….. แผนการเรียนร้ทู ี่ ………………… เรือ่ ง ……………………………………………………………….. รายวิชา……………………………….. ช้ัน…………………………. รหัสวชิ า ……………………………………. ครผู สู้ อน …………………………………………….. ตำแหน่ง …………………………………… เวลาทใี่ ช้ ……… ชว่ั โมง ************************* ผลการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ข้อค้นพบระหว่าง ปญั หาที่พบ แนวทางแก้ไข ทมี่ กี ารจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ เน้ือหา กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่อื ประกอบการเรยี นรู้ พฤตกิ รรม/การมีส่วนร่วมของ ผูเ้ รยี น ลงชื่อ …..........………….......................…….. ครผู ู้จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (นางสาวจันจิรา ธนันชยั ) ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย
11. ผลการประเมนิ นกั เรยี นทง้ั หมด………………คน ดา้ น (K) นกั เรียนสามารถบอกจดุ หลอมเหลวของสารบริสุทธแิ์ ละสารผสมได้ ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ มีคุณภาพอยู่ในระดับดี จำนวน……………….คน คิดเป็นร้อยละ……………. ผ่านเกณฑ์การประเมนิ มีคณุ ภาพอยูใ่ นระดบั พอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เป็นร้อยละ…………….. ไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมนิ จำนวน………...........คน คดิ เป็นร้อยละ……………. ด้าน (P) นักเรียนสามารถวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบช่วงอุณหภูมิที่หลอมเหลว และจุดหลอมเหลวของ สารตา่ งๆได้ ผา่ นเกณฑ์การประเมินมีคณุ ภาพอยูใ่ นระดับดี จำนวน……………….คน คดิ เป็นรอ้ ยละ……………. ผ่านเกณฑ์การประเมนิ มีคุณภาพอยใู่ นระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คิดเป็นร้อยละ…………….. ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมิน จำนวน………...........คน คิดเปน็ ร้อยละ……………. ดา้ น (A) นกั เรียนใฝเ่ รยี นรู้ ม่งุ มน่ั ในการทำงาน และมีวนิ ัยในการเรยี น ผ่านเกณฑ์การประเมินมีคณุ ภาพอยใู่ นระดบั ดี จำนวน……………….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ…………… ผา่ นเกณฑ์การประเมินมีคุณภาพอยู่ในระดบั พอใช้ จำนวน……………….คน คิดเป็นร้อยละ…………….. ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ จำนวน………...........คน คดิ เปน็ ร้อยละ……………. รายชือ่ นักเรียนที่ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ สาเหตุ-ปญั หา แนวทางแก้ไข ลำดบั ช่ือ-สกุล ลงชอ่ื ...............................................(ผู้สอน) (..............................................)
คำถามท้ายกจิ กรรม เร่ืองจุดหลอมเหลวสารบริสุทธแิ์ ละสารผสม คำชแี้ จง : จากกิจกรรมจงตอบคำถามต่อไปนใ้ี ห้ถูกตอ้ ง 1. ช่วงอณุ หภูมทิ ห่ี ลอมเหลวของแนฟทาลีนในแต่ละครง้ั เป็นอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. จดุ หลอมเหลวของแนฟทาลีนท้ังสามครงั้ เป็นอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ชว่ งอุณหภมู ิทีห่ ลอมเหลวของสารผสมระหว่างกรดเบนโซอกิ ในแนฟทาลีนท่ีมอี ัตราส่วนของสารต่างกันเป็น อย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. จดุ หลอมเหลวของสารผสมระหวา่ งกรดเบนโซอิกในแนฟทาลีนท่มี อี ตั ราสว่ นของสารตา่ งกนั เป็นอยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. จากกจิ กรรม สรุปไดว้ า่ อยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เฉลยคำถามทา้ ยกจิ กรรม
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 11 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 สารรอบตวั เรา ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 แผนการจดั การเรียนร้เู ร่อื ง ความหนาแนน่ ของสารบรสิ ุทธแ์ิ ละสารผสม 1 เวลา 2 ชวั่ โมง ผสู้ อนนางสาวจนั จริ า ธนนั ชยั โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง สถานะของสสารการเกิดสารละลาย และการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี 2. ตวั ชว้ี ัด อธบิ ายและเปรียบเทยี บความหนาแน่นของสารบรสิ ุทธ์แิ ละสารผสม ว 2.1 ม.1/5 ใชเ้ คร่ืองมือเพ่ือวดั มวลและปรมิ าตรของสารบรสิ ทุ ธ์ิและสารผสม ว 2.1 ม.1/6 3. สาระสำคญั ความหนาแน่น คือ อัตราส่วนของมวลตอ่ หนึง่ หน่วยปริมาตร ซึ่งเป็นสมบัติพื้นฐานทางกายภาพของ สสาร โดยวัตถทุ ่ีมมี วลในหนึง่ หน่วยพ้ืนที่ทกี่ ำหนดมากเท่าไหร่ ยงิ่ แสดงใหเ้ หน็ วา่ วตั ถุดงั กล่าวมีความหนาแน่น มากเท่านั้น ความหนาแน่นของวัตถุ คือ มวลของวัตถุ 1 หน่วยปริมาตร ความหนาแน่นเป็นสมบัติอยา่ งหนง่ึ ของสาร ซึ่งหาได้จากอัตราส่วนระหว่างมวลกับปริมาตรของสารหรือวัตถุนั้น และมีหน่วยเป็น กิโลกรัม/ ลูกบาศกเ์ มตร หรอื กรมั /ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร ดงั น้ันหา ความหนาแนน่ = มวลของวตั ถุ/ปริมาตรของวัตถุ และ การหาปริมาตรของวตั ถโุ ดยการแทนที่นำ้ ด้วยถว้ ยยูรีกา 4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ (1) นักเรียนสามารถอธบิ ายผลการทดลองความหนาแน่นของสารบรสิ ุทธแ์ิ ละสารผสมได้ (K) (2) นักเรยี นสามารถทำการทดลองหาความหนาแนน่ ของสารบริสุทธิ์และสารผสมได้ (P) (3) นักเรยี นใฝเ่ รยี นรู้ ม่งุ มนั่ ในการทำงาน และมีวินัยในการเรียน (A) 5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน (1) ความสามารถในการส่ือสาร - การอธบิ าย การเขยี น การตอบคำถาม (2) ความสามารถในการคิด - การสงั เกต การสำรวจ การคดิ วิเคราะห์ การสร้างคำอธิบาย การอภิปราย การสือ่ ความหมาย การทำกจิ กรรมโดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบค้นโดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (3) ความสามารถในการแกไ้ ขปัญหา - สามารถแกป้ ญั หาท่ีเกดิ ข้นึ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
6. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ - มีวนิ ัย - มุ่งมน่ั ในการทำงาน - ใฝ่เรียนรู้ 7. สาระการเรียนรู้ ความหนาแนน่ (Density) คอื อตั ราส่วนของมวลตอ่ หน่งึ หนว่ ยปริมาตร ซ่ึงเปน็ สมบัตพิ ืน้ ฐานทาง กายภาพของสสาร โดยวัตถุที่มีมวลในหนึ่งหน่วยพื้นที่ที่กำหนดมากเท่าไหร่ ยิ่งแสดงให้เห็นว่าวัตถุดังกลา่ วมี ความหนาแนน่ มากเท่านนั้ นอกจากนี้ ความหนาแนน่ ยังแปรผันตามมวลอะตอม (Atomic Mass) ของธาตุหรอื มวลโมเลกลุ ของสารประกอบอกี ด้วย ความหนาแน่นของวัตถุ คือ มวลของวัตถุ 1 หน่วยปริมาตร ความหนาแน่นเป็นสมบัติอย่างหนึง่ ของ สาร ซึ่งหาได้จากอัตราส่วนระหว่างมวลกับปริมาตรของสารหรือวตั ถุนั้น และมีหน่วยเป็น กิโลกรัม/ลูกบาศก์ เมตร หรือ กรัม/ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร ดังน้นั หา ความหนาแนน่ = มวลของวตั ถุ/ปรมิ าตรของวตั ถุ สูตรคำนวณความหนาแน่น ในการคำนวณหาความหนาแน่นของสสารความหนาแน่นมักถูกแสดงผลด้วยสญั ลกั ษณ์ p (โร) ซง่ึ เป็น ตวั อกั ษรตัวที่ 17 ในภาษากรีกโดยคำนวณผา่ นความสัมพนั ธร์ ะหว่างมวล (Mass) หรือปริมาณเน้ือของสสารที่ ถกู บรรจุอยูภ่ ายในวตั ถุต่อหนง่ึ หนว่ ยปรมิ าตร (Volume) p = m/v โดยหน่วยของความหนาแน่นที่ผู้คนนิยมใช้กันคือ กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (kg/m3) และกรัมต่อ ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร (g/cm3) และจากสตู รการคำนวณหาความหนาแนน่ ขา้ งตน้ แสดงใหเ้ ห็นว่า ความหนาแน่น นัน้ เป็นอตั ราส่วนของมวลตอ่ ปริมาตรทไี่ มไ่ ดค้ ำนงึ ถงึ ปรมิ าณของวตั ถุหรอื สารต้งั ตน้ ทั้งหมดทมี่ ีอยู่ในขณะนนั้ ดังนั้น ความหนาแน่นจึงเป็นสมบัติที่ไม่ได้ขึ้นอยู่กับปริมาณของสสาร (Intensive Property) ซึ่ง โดยทว่ั ไป เราอาจสับสนระหว่างความหนาแน่นกบั นำ้ หนัก เนอื่ งจากวัตถุ 2 ชนิ้ ที่มีปริมาตรเท่ากัน ช้ินทีม่ คี วาม หนาแน่นมากกวา่ มักมนี ้ำหนักท่มี ากกว่า ซงึ่ ในความเปน็ จรงิ ความหนาแน่นเป็นความสัมพนั ธ์ระหว่างมวลต่อ ปริมาตร จึงไมส่ ามารถหาข้อสรปุ จากการพจิ ารณามวลหรอื ปริมาตรของสสารเพยี งส่วนเดียว แตต่ อ้ งพิจารณา ตัวแปรท้ังสองควบคู่กนั ไป อย่างไรก็ตาม ความหนาแน่นของสสารบางชนิดอาจไม่คงที่ในทุกอณูหรือทุกพื้นที่ภายในเนื้อสาร อยา่ งเชน่ อากาศในชน้ั บรรยากาศโลก ซง่ึ ยง่ิ อากาศอยูส่ ูงข้ึนไปเหนือพื้นดินเทา่ ไหร่ ความหนาแนน่ ของอากาศ จะย่ิงลดนอ้ ยลงเทา่ นนั้ เช่นเดียวกับความหนาแนน่ ของน้ำทะเลในมหาสมุทร ความหนาแน่นของนำ้ จะย่ิงสูงขึ้น เมื่อระดับความลึกของน้ำทะเลเพิ่มมากขึ้นดังนั้น สูตรการคำนวณหาความหนาแน่นของสสารข้างต้นจึงเปน็ การคำนวณหาความหนาแน่นเฉลย่ี ของสารโดยท่วั ไป นอกจากนี้ ความหนาแน่นของสสารยังขึ้นอยู่กับปัจจัยทางสภาวะแวดล้อมอีกด้วยเช่น อุณหภูมิ (Temperature) และความดัน (Pressure) โดยเฉพาะความหนาแน่นของก๊าซที่มักจะเปลี่ยนแปลงไปตาม อณุ หภมู ิและความดนั ไดง้ ่ายกว่าสสารในสถานะอ่ืนซง่ึ โดยทัว่ ไป วตั ถุจำนวนมากจะขยายตวั เมือ่ ได้รบั ความร้อน
และจากการที่วัตถุขยายตัวขึ้นนั้น ส่งผลให้ปริมาตรของวัตถุเพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วย เมื่อปริมาตรเพิ่มมากข้ึน ความหนาแน่นของวัตถดุ งั กลา่ วจึงลดลง ซ่งึ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติน้ีสามารถเกิดข้ึนได้ในสสารทุกสถานะ ทงั้ ท่เี ป็นของแข็งของเหลวและก๊าซ การหาปริมาตรของวตั ถโุ ดยการแทนทน่ี ้ำด้วยถ้วยยรู ีกา (Water displacement can) เราไดร้ ้มู าแล้ววา่ ของแข็งตอ้ งการทอ่ี ยู่ เม่อื เราหยอ่ นของแข็งลงในน้ำระดับนำ้ ในภาชนะจะสงู ข้นึ หาก หย่อนของแขง็ นนั้ ในกระบอกตวงระดับน้ำทส่ี ูงข้นึ ตรงกบั ขดี บอกปรมิ าตรใดเมื่อนำปรมิ าตรสุดท้ายมาลบด้วย ปริมาตรเรม่ิ ตน้ กจ็ ะเป็นปรมิ าตรของของแข็งท่ีหย่อนลงไปนนั่ เอง อยา่ งไรก็ตาม การหาปรมิ าตรของของแขง็ โดยการแทนท่ีนำ้ เราอาจใชอ้ ุปกรณท์ ี่เรียกวา่ ถว้ ยยรู ีกาซ่ึงมี ลักษณะเป็น กระป๋องทรงกระบอกที่มีปากยื่นยาวออกมาจากตัวกระบอกการหาปริมาตรของวัตถุโดยการ แทนท่ีน้ำดว้ ยถ้วยยรู ีกา มีข้ันตอนดังน้ี 1. วางถ้วยยรู ีกาบนโต๊ะทมี่ ั่นคง นำภาชนะรองรับวางใต้ปากของถ้วยยูรีกา จากนั้นเติมน้ำลงไปในถ้วย ยูรีกาจน มนี ำ้ ไหลลงสู่ภาชนะรองรับ 2. รอจนกระทงั่ นำ้ หยดสุดทา้ ยหยดลงในภาชนะรองรับ 3. เปลี่ยนภาชนะรองรับน้ำใบใหม่ หรืออาจใช้กระบอกตวงมารองรับน้ำได้เลย (หมายเหตุ: หาก เลือกใช้กระบอกตวงมารองรบั น้ำ ในขั้นการเตรียมถ้วยยูรีกาในข้อ 1 ควรวางถ้วยยูรีกาให้สูง ในระดบั ที่พอดี กับความสูงของกระบอกตวงทีจ่ ะใช้ในขอ้ 3) 4. นำวตั ถุทีต่ ้องการหาปริมาตรมาผกู ดว้ ยเชือก แล้วคอ่ ย ๆ หย่อนวัตถุลงไปจนถึงก้นถ้วยยูรีกา 5. รอจนกระทั่งน้ำหยดสุดท้ายหยดลงในภาชนะรองรับ นำไปเทลงกระบอกตวงเพือ่ อ่านปริมาตรแต่ ถ้าใชก้ ระบอกตวง รองรับน้ำ กส็ ามารถอา่ นปรมิ าตรได้เลย
การเปรียบเทยี บความหนาแนน่ ของวัตถุ 3 ชนิด จากรูป วัตถุ A จมอยู่ที่ก้นภาชนะแสดงว่า ความหนาแน่นของวัตถุ A มากกว่าความ หนาแน่นของ ของเหลว วัตถุ B ลอยปริ่ม ๆ ผิวของเหลว แสดงว่าวัตถุ B มีความหนาแน่นเท่ากับ ความหนาแน่นของ ของเหลว วัตถุ C ลอยพ้นผวิ ของเหลว แสดงวา่ วตั ถุ C มีความหนาแนน่ นอ้ ยกวา่ ความหนาแน่นของของเหลว 8. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ (ใชร้ ปู แบบการสอนสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 8.1 ขน้ั สร้างความสนใจ (Engagement) (10 นาท)ี (1) กระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยให้นักเรียนทำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนใน หน้า 23 แล้วนำเสนอผลการทำกิจกรรม หากครูพบว่านักเรียน ยังทำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนไม่ ถูกตอ้ งครคู วรทบทวนหรือแกไ้ ขความเข้าใจผิดของนกั เรยี น (คำตอบดังภาพ) (2) ครูชี้แจงให้นักเรียนว่า วันนี้ครูจะสอนเกี่ยวกับความหนาแน่นของสารบริสุทธิ์และสาร ผสม 8.2 ขัน้ สำรวจและคน้ หา (Exploration) (85 นาท)ี (1) ทบทวนความร้พู ื้นฐานเก่ยี วกับเร่อื งมวลและปรมิ าตรโดยอาจใชค้ ำถามต่อไปน้ี - มวล คืออะไรและหน่วยของมวลคืออะไร (มวล คือ ปริมาตรของเนื้อทั้งหมดของสาร ท้ัง ของแขง็ ของเหลวและ แกส๊ ตา่ งกม็ ีมวล หนว่ ยของมวล คือ กรมั หรือกิโลกรมั ) - ปริมาตร คืออะไร และหน่วยของปริมาตรคืออะไร (ปริมาตร คือ ความจขุ องวัตถทุ ี่มีรูปทรง 3 มติ วิ ัตถุทุกชนดิ มี ปริมาตรทง้ั สิ้น หน่วยของปริมาตรท่ีเปน็ มาตรฐานมไี ด้หลากหลาย เช่น cm3 หรอื m3 หรือ อ่ืน ๆ) (2) ครูอธิบายความรู้เกี่ยวกับความหนาแน่นของสารให้นักเรียนฟัง โดยใช้สื่อการสอน PowerPoint และใหน้ ักเรียนศึกษาเน้อื หาเพมิ่ เติมและเกร็ดความรเู้ ก่ียวกบั การหาปริมาตรของสารด้วยถ้วยยูรี กาในหน้า 24 25 และ 27 พร้อมอธิบายวิธกี ารคำนวณตามตัวอยา่ งโจทย์ในหนา้ 24 ให้นกั เรยี นฟงั
(3) นักเรียนรับใบกิจกรรม เรื่องความหนาแน่นของสารบรสิ ุทธิแ์ ละสารผสมจากครู และทำ การทดลองตามขน้ั ตอนในหนังสอื หนา้ 26-27 (4) ตัวแทนนกั เรยี นทกุ กลุม่ สรุปผลการทดลองหน้าชัน้ เรยี น 8.3 ขั้นอภปิ รายและลงข้อสรุป (Explain) (10 นาที) (1) นักเรยี นและครูรว่ มกนั อภิปรายและสรปุ ความร้ดู ังน้ี (ความหนาแน่นของสาร เปน็ ปริมาณ แสดงความสัมพันธ์ระหว่างมวลของสารใน หนึ่งหน่วยปริมาตรของสารน้ัน โดยสารบริสุทธิ์แต่ละชนิดมีความ หนาแน่น หรือมวลต่อหนึง่ หน่วยปริมาตรคงท่ี เปน็ ค่าเฉพาะของสารน้นั ณ สถานะอณุ หภูมิและความดันหน่ึง แต่สารผสมมีความหนาแนน่ ไม่คงท่ีขน้ึ อยู่กับชนิดและอัตราสว่ นของสารท่ีผสมอยู่ดว้ ยกนั และจากการทดลอง สรปุ ได้ว่า บ ความหนาแน่นของเหล็กและทองแดงเหมอื นกนั คอื ความหนาแน่นเฉลีย่ ของเหล็กมคี า่ เทา่ กัน ท้ัง 2 ก้อนและความหนาแน่นเฉลย่ี ของทองแดงมีคา่ เท่ากันท้งั 2 กอ้ น สว่ นความหนาแน่นของ สารละลายโซเดียม คลอไรดแ์ ละสารละลายนำ้ ตาลทรายเหมือนกนั คือ ความหนาแน่นเฉลี่ยของ สารละลายทง้ั 2 ชดุ ทีม่ ีอตั ราส่วน ของสารทน่ี ำมาผสมกนั ตา่ งกันมคี วามหนาแน่นไมเ่ ทา่ กนั ดังนน้ั จงึ สรุปได้วา่ ความหนาแน่นของสารบรสิ ุทธ์ิแต่ ละชนิดมีค่าเท่ากัน สารบริสุทธิ์ต่างชนิดมีความ หนาแน่นต่างกัน สารผสมชนิดเดียวกัน แต่มีอัตราส่วนผสม ต่างกนั มีความหนาแน่นต่างกัน) 8.4 ข้นั ขยายความรู้ (Elaboration) (10 นาท)ี (1) ครเู พ่ิมเตมิ ความรู้ใหน้ ักเรยี นดงั นี้ สมบัติของน้ำ : ความหนาแน่นของน้ำ สมบัติของน้ำ ข้อที่หนึง่ ความหนาแน่นของน้ำ : ทำไมน้ำแขง็ ถึงลอยนำ้ ในชีวติ ประจำวนั เราคงเคยเหน็ วัตถุที่เป็นของแขง็ ส่วนใหญ่มกั จะจมน้ำ เช่น กอ้ นหนิ เหล็กเส้น และ กระเบื้อง เป็นต้น แต่น้ำแข็งซึ่งมีสถานะเป็นของแข็งกลับลอยอยู่ที่ผิวน้ำได้ นับเป็น สมบัติที่สำคัญของน้ำ อย่างหนึง่ การที่น้ำแข็งลอยนำ้ ไดน้ ้ันเก่ียวขอ้ งกับ “ความหนาแน่น” (ความหนาแนน่ คือ มวลของสารต่อหนึง่ หน่วยปริมาตร มีหนว่ ยเปน็ กิโลกรมั ต่อลูกบาศก์เมตร (Kg/m3) สสารส่วนใหญ่บนโลกประกอบด้วย 3 สถานะ ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ โดยทั่วไป สถานะ ของแขง็ จะมคี วามหนาแนน่ มากกว่าสถานะของเหลว แต่สำหรบั คณุ สมบัติของน้ำกลับพบวา่ ทีส่ ถานะของแข็ง หรือที่เรานิยมเรียกว่า “น้ำแข็ง” มีความหนาแน่นน้อยกว่าน้ำ เราจึงสามารถพบเห็นภูเขาน้ำแข็งก้อนมหึมา ลอยนำ้ ได้ ทะเลสาบกลายเป็นนำ้ แข็งในฤดหู นาว หรอื แมแ้ ต่นำ้ แขง็ ท่ลี อยอย่ใู นแก้วเครอื่ งดื่มของเรา สาเหตุท่คี วามหนาแน่นของน้ำแขง็ ตำ่ กว่าน้ำ เน่ืองจาก “โมเลกลุ ของนำ้ แขง็ ” อยชู่ ดิ กันเป็นกล่มุ และ มีชอ่ งวา่ งระหว่างโมเลกลุ เพิม่ ขนึ้ สง่ ผลให้ความหนาแนน่ ของน้ำแข็งลดลง 8.5 ขั้นประเมนิ (Evaluation) (5 นาที) (1) ครตู ั้งคำถามเพ่อื ตรวจสอบความเขา้ ใจของนักเรยี น (2) นกั เรียนถามในสงิ่ ทส่ี งสัยและยงั ไมร่ ู้และครูอธบิ ายเพ่ิมเตมิ (3) สงั เกตความสนใจและความกระตอื รอื ร้นของนกั เรียน 9. สือ่ การเรียนรู้ (1) ส่อื การสอน PowerPoint (2) หนงั สอื วิทยาศาสตร์พ้นื ฐาน ม.1 เล่ม 1 (สสวท) (3) ใบกิจกรรม เรือ่ งความหนาแน่นของสารบรสิ ุทธิแ์ ละสารผสม
10. การวัดผลและประเมนิ ผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วธิ กี ารวัดผล เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมิน ผูป้ ระเมนิ ครผู ูส้ อน 1.ดา้ นความรู้ (K) ค ว า ม ถ ู ก ต ้ อ ง ข อ ง ใบกิจกรรม ผเู้ รียนผา่ นเกณฑ์ ระดับพอใชข้ ้นึ ไป ครผู สู้ อน นักเรียนสามารถอธิบาย คำตอบในใบกิจกรรม ผ้เู รียนผา่ นเกณฑ์ ครูผู้สอน ผลการทดลองความ ระดบั พอใช้ข้นึ ไป หนาแนน่ ของสารบริสุทธิ์ ผูเ้ รยี นผ่านเกณฑ์ ระดับพอใช้ขึ้นไป และสารผสมได้ 2.ด ้ า น ท ั ก ษ ะ / ดู ทัก ษะ ก าร ทำก าร แบบประเมินทักษะ กระบวนการ (P) ท ด ล อ ง ห า ค ว า ม การทำการทดลองหา นักเรียนสามารถทำการ ห น า แ น ่ น ข อ ง ส า ร ความหนาแน่นของ ท ด ล อ ง ห า ค ว า ม บริสุทธ์แิ ละสารผสม สารบริสุทธิ์และสาร หนาแน่นของสารบริสุทธ์ิ ผสม และสารผสมได้ 3.ด้านคณุ ลักษณะ(A) ประเมินความตั้งใจ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ัน เร ียน ตั้ง ใจ ใน ก าร พ ฤ ต ิ ก ร ร ม บ ่ ง ช้ี ในการทำงาน และมวี ินัย ทำงาน และความตรง คุณลักษณะอ ัน พึง ในการเรียน ตอ่ เวลาในการส่งงาน ประสงค์
เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ประเมินด้าน K รายการประเมนิ ดี (3) ระดับคณุ ภาพ ปรบั ปรงุ (1) พอใช้ (2) น ั ก เ ร ี ย น ส า ม า ร ถ นักเรียนสามารถอธิบายผล น ัก เร ียน อธ ิบายผลการ นักเรียนอธิบายผลการ อธิบายผลการทดลอง การทดลองความหนาแน่น ทดลองความหนาแน่นของ ทดลองความหนาแน่นของ ความหนาแน่นของ ของสารบริสุทธิ์และสาร สารบริสุทธิ์และสารผสมได้ สารบรสิ ทุ ธ์ิและสารผสมได้ สารบริสุทธิ์และสาร ผสมได้อย่างถูกต้องและ ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่(5- เพียงส่วนน้อย(ต่ำกว่า5 ผสมได้ ครบถ้วน(8-10คะแนน) 7คะแนน) คะแนน) *หมายเหตุ นักเรยี นต้องผ่านเกณฑ์การประเมนิ ระดบั 2 ข้นึ ไป เกณฑก์ ารตัดสนิ ระดบั คุณภาพด้านคุณลกั ษณะ (K) 8-10 คะแนน อยู่ในระดบั 3 หมายถึง ดี 5-7 คะแนน อยใู่ นระดบั 2 หมายถึง พอใช้ ต่ำกว่า 5 คะแนน อยูใ่ นระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุง เกณฑป์ ระเมนิ ดา้ น P รายการประเมิน ดี (3) ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรงุ (1) พอใช้ (2) นักเรียนสามารถทำ นักเรียนสามารถทำการ นักเรียนทำการทดลองหา นักเรียนทำการทดลองหา การทดลองหาความ ทดลองหาความหนาแน่น ความหนาแน่นของ สาร ความหนาแน่นของสาร ห น า แ น ่ น ข อง สาร ของสารบริสุทธิ์และสาร บริสุทธิ์และสารผสมได้ บริสุทธิ์และสารผสมได้ บริสุทธิ์และสารผสม ผสมได้อย่างถูกต้องและ ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ( 5-7 เพียงส่วนน้อย (ต่ำกว่า 5 ได้ ครบถว้ น ( 8-10 คะแนน) คะแนน) คะแนน) *หมายเหตุ นกั เรยี นต้องผา่ นเกณฑก์ ารประเมินระดับ 2 ข้นึ ไป เกณฑ์การตัดสนิ ระดับคณุ ภาพด้านคณุ ลักษณะ (P) 8-10 คะแนน อย่ใู นระดับ 3 หมายถึง ดี 5-7 คะแนน อยู่ในระดับ 2 หมายถงึ พอใช้ ต่ำกวา่ 5 คะแนน อยใู่ นระดบั 1 หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑป์ ระเมนิ ด้าน A รายการประเมิน ดี (3) ระดับคณุ ภาพ ปรบั ปรุง (1) พอใช้ (2) นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน ไม่มีความตั้งใจเรียน ไม่ มุ่งมั่นในการทำงาน การทำงาน และส่งงานตรง การทำงาน และส่งงานตรง ตั้งใจในการทำงาน และสง่ และมีวินัยในการเรยี น เวลาทกุ ครั้ง(4คะแนน) เวลาบางครัง้ (2-3 คะแนน) งานไม่ตรงเวลา(ต่ำกว่า2 คะแนน) *หมายเหตุ นักเรียนต้องผ่านเกณฑ์การประเมินระดับ 2 ขนึ้ ไป เกณฑก์ ารตัดสนิ ระดับคณุ ภาพดา้ นคณุ ลกั ษณะ (A) 4 คะแนน อยใู่ นระดับ 3 หมายถงึ ดี 2-3 คะแนน อยูใ่ นระดบั 2 หมายถงึ พอใช้ ตำ่ กว่า2 คะแนน อยู่ในระดับ 1 หมายถึง ปรบั ปรงุ
วช-ร 06 แบบบนั ทกึ หลงั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ชือ่ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ……………… เร่ือง ……………………………………………………………….. แผนการเรียนร้ทู ี่ ………………… เรือ่ ง ……………………………………………………………….. รายวิชา……………………………….. ช้ัน…………………………. รหัสวชิ า ……………………………………. ครผู สู้ อน …………………………………………….. ตำแหน่ง …………………………………… เวลาทใี่ ช้ ……… ชว่ั โมง ************************* ผลการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ข้อค้นพบระหว่าง ปญั หาที่พบ แนวทางแก้ไข ทมี่ กี ารจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ เน้ือหา กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่อื ประกอบการเรยี นรู้ พฤตกิ รรม/การมีส่วนร่วมของ ผูเ้ รยี น ลงชื่อ …..........………….......................…….. ครผู ู้จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (นางสาวจันจิรา ธนันชยั ) ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย
11. ผลการประเมิน นักเรียนทง้ั หมด………………คน ดา้ น (K) นกั เรยี นสามารถอธบิ ายผลการทดลองความหนาแนน่ ของสารบรสิ ทุ ธแ์ิ ละสารผสมได้ ผา่ นเกณฑ์การประเมินมีคุณภาพอยูใ่ นระดบั ดี จำนวน……………….คน คดิ เป็นรอ้ ยละ……………. ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ มีคุณภาพอยใู่ นระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คิดเป็นร้อยละ…………….. ไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมนิ จำนวน………...........คน คิดเปน็ ร้อยละ……………. ดา้ น (P) นกั เรียนสามารถทำการทดลองหาความหนาแน่นของสารบรสิ ุทธิแ์ ละสารผสมได้ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ มีคณุ ภาพอยู่ในระดับดี จำนวน……………….คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ……………. ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ มีคุณภาพอยู่ในระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เป็นร้อยละ…………….. ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ จำนวน………...........คน คิดเป็นร้อยละ……………. ดา้ น (A) นักเรยี นใฝ่เรียนรู้ มุ่งมน่ั ในการทำงาน และมวี ินยั ในการเรยี น ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ มีคุณภาพอยู่ในระดบั ดี จำนวน……………….คน คดิ เป็นรอ้ ยละ…………… ผ่านเกณฑ์การประเมินมีคุณภาพอยใู่ นระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คดิ เปน็ ร้อยละ…………….. ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน………...........คน คิดเปน็ ร้อยละ……………. รายชอื่ นกั เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมนิ สาเหตุ-ปัญหา แนวทางแก้ไข ลำดบั ชอื่ -สกุล ลงชื่อ...............................................(ผสู้ อน) (..............................................)
ใบกจิ กรรม เร่อื งความหนาแน่นของสารบริสทุ ธแิ์ ละสารผสม รายชื่อสมาชกิ กล่มุ ที่………………….………………..ช้นั ………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… จดุ ประสงค์………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สมมติฐาน............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ตารางบนั ทกึ ผลการทำกจิ กรรม (ตอนท่ี 1) ตารางบันทกึ มวล ปรมิ าตร และความหนาแน่นของของแขง็ ทีไ่ ม่ใช่รปู ทรงเรขาคณติ วัตถุ มวลของวตั ถุ ปริมาตรของวัตถุ ความหนาแนน่ ของวัตถุ (g) (cm3) (g/cm3) เหล็กกอ้ นท่ี 1 ครั้งท่ี 1 ครั้งที่ 2 ครง้ั ท่ี 3 เฉลี่ย เหล็กก้อนท่ี 2 คร้งั ท่ี 1 ครง้ั ท่ี 2 ครง้ั ท่ี 3 เฉลย่ี ทองแดงกอ้ นท่ี 1 ครง้ั ท่ี 1 ครั้งท่ี 2 ครั้งท่ี 3 เฉลยี่ ทองแดงกอ้ นท่ี 2 ครั้งที่ 1 คร้ังท่ี 2 ครั้งท่ี 3 เฉล่ยี
ตารางบนั ทึกผลการทำกิจกรรม (ตอนที่ 2) ตารางบันทึกมวล ปริมาตร และความหนาแน่นของสารละลายท่มี ีอตั ราสว่ นผสมแตกตา่ งกนั มวลของสาร มวลของบกี มวลของสาร ปริมาตร ความหนาแน่น สาร พร้อมบกี เกอร์(g) (g) (cm3 ) ของวัตถุ เกอร์ (g) (g/cm3) สารละลายโซเดยี ม คลอไรด์ชุดท่ี 1 ครง้ั ท่ี 1 ครั้งท่ี 2 ครัง้ ท่ี 3 เฉลีย่ สารละลายโซเดยี ม คลอไรด์ชดุ ท่ี 2 ครง้ั ที่ 1 ครง้ั ท่ี 2 ครง้ั ที่ 3 เฉลีย่ สารละลายนำ้ ตาล ทรายชุดท่ี 1 ครั้งท่ี 1 ครง้ั ท่ี 2 ครง้ั ท่ี 3 เฉลย่ี สารละลายนำ้ ตาล ทรายชดุ ท่ี 2 ครั้งท่ี 1 คร้ังที่ 2 ครง้ั ท่ี 3 เฉลีย่
คำถามท้ายกิจกรรม ตอนที่ 1 1. ความหนาแนน่ คอื อะไร หาได้อยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ความหนาแนน่ ของเหล็กก้อนท่ี 1 และ 2 เปน็ อย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ความหนาแน่นของทองแดงก้อนท่ี 1 และ 2 เป็นอย่าไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ความหนาแน่นของเหล็กและทองแดงเหมอื นหรอื ตา่ งกันอยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. จากกิจกรรม สรุปไดว้ า่ อย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
คำถามทา้ ยกิจกรรม ตอนที่ 2 1. ความหนาแน่นของสารละลายโซเดยี มคลอไรด์ชดุ ท่ี 1 และ 2 เป็นอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ความหนาแนน่ ของสารละลายน้ำตาลทรายชุดที่ 1 และ 2 เป็นอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ความหนาแนน่ ของสารละลายโซเดยี มคลอไรด์และสารละลายน้ำตาลทราย เหมอื นหรือตา่ งกันอยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. จากกิจกรรมตอนที่ 2 สรุปได้ว่าอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. จากกจิ กรรมท้ัง 2 ตอน สรุปไดว้ า่ อย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เฉลยใบกิจกรรม วัตถปุ ระสงค์ 1. วดั มวลและปรมิ าตรเพอ่ื คำนวณหาความหนาแน่นของสารบรสิ ุทธิแ์ ละสารผสม 2. วเิ คราะหแ์ ละเปรยี บเทยี บความหนาแน่นของสารบรสิ ุทธ์ิและสารผสม
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 12 กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 สารรอบตัวเรา ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 แผนการจัดการเรยี นรูเ้ รื่อง ความหนาแนน่ ของสารบรสิ ุทธแ์ิ ละสารผสม 2 เวลา 2 ชวั่ โมง ผู้สอนนางสาวจันจริ า ธนนั ชยั โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง สถานะของสสารการเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี 2. ตวั ชี้วัด อธบิ ายและเปรยี บเทียบความหนาแน่นของสารบริสุทธแ์ิ ละสารผสม ว 2.1 ม.1/5 ใชเ้ คร่ืองมือเพือ่ วดั มวลและปริมาตรของสารบริสทุ ธแ์ิ ละสารผสม ว 2.1 ม.1/6 3. สาระสำคัญ ความหนาแน่น คืออัตราส่วนของมวลต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร ซึ่งเป็นสมบัติพื้นฐานทางกายภาพของ สสาร โดยวัตถุทม่ี มี วลในหนงึ่ หน่วยพนื้ ท่ีท่ีกำหนดมากเท่าไหร่ ยง่ิ แสดงใหเ้ หน็ ว่าวัตถุดังกล่าวมีความหนาแน่น มากเท่านั้น ความหนาแน่นของวัตถุ คือ มวลของวัตถุ 1 หน่วยปริมาตร ความหนาแน่นเป็นสมบัติอยา่ งหน่ึง ของสาร ซึ่งหาได้จากอัตราส่วนระหว่างมวลกับปริมาตรของสารหรือวัตถุนั้น และมีหน่วยเป็น กิโลกรัม/ ลูกบาศก์เมตร หรือ กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร ดังนั้นหา ความหนาแน่น = มวลของวัตถุ/ปริมาตรของวัตถุ การหาปรมิ าตรของวัตถโุ ดยการแทนทีน่ ้ำด้วยถ้วยยรู กี า 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ (1) นกั เรียนสามารถอธิบายวธิ ีการคำนวณหาความหนาแน่นของสารได้ (K) (2) นกั เรยี นมที กั ษะในการเขยี นแสดงวธิ ีการคำนวณหาความหนาแนน่ ของสารได้ (P) (3) นกั เรยี นใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมน่ั ในการทำงาน และมีวินัยในการเรยี น (A) 5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน (1) ความสามารถในการสอ่ื สาร - การอธิบาย การเขียน การตอบคำถาม (2) ความสามารถในการคดิ - การสงั เกต การสำรวจ การคิดวเิ คราะห์ การสรา้ งคำอธบิ าย การอภิปราย การส่อื ความหมาย การทำกิจกรรมโดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบคน้ โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (3) ความสามารถในการแกไ้ ขปัญหา - สามารถแก้ปัญหาทเ่ี กิดข้ึนได้อยา่ งเหมาะสม
6. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ - มีวนิ ัย - มุ่งมน่ั ในการทำงาน - ใฝ่เรียนรู้ 7. สาระการเรียนรู้ ความหนาแนน่ (Density) คอื อตั ราส่วนของมวลตอ่ หน่ึงหนว่ ยปรมิ าตร ซง่ึ เป็นสมบตั พิ น้ื ฐานทาง กายภาพของสสาร โดยวัตถุที่มีมวลในหน่ึงหน่วยพื้นที่ที่กำหนดมากเท่าไหร่ ยิ่งแสดงให้เห็นว่าวัตถุดังกลา่ วมี ความหนาแนน่ มากเท่านนั้ นอกจากนี้ ความหนาแน่นยังแปรผนั ตามมวลอะตอม (Atomic Mass) ของธาตุหรอื มวลโมเลกลุ ของสารประกอบอกี ดว้ ย ความหนาแน่นของวัตถุ คือ มวลของวัตถุ 1 หน่วยปริมาตร ความหนาแน่นเป็นสมบัติอย่างหนึ่งของ สาร ซึ่งหาได้จากอัตราส่วนระหว่างมวลกบั ปริมาตรของสารหรือวตั ถุนั้น และมีหน่วยเป็น กิโลกรัม/ลูกบาศก์ เมตร หรือ กรัม/ลกู บาศก์เซนตเิ มตร ดงั น้นั หา ความหนาแน่น = มวลของวัตถ/ุ ปริมาตรของวัตถุ สูตรคำนวณความหนาแน่น ในการคำนวณหาความหนาแนน่ ของสสารความหนาแนน่ มักถูกแสดงผลด้วยสญั ลกั ษณ์ p (โร) ซง่ึ เป็น ตวั อกั ษรตัวที่ 17 ในภาษากรีกโดยคำนวณผา่ นความสัมพนั ธ์ระหว่างมวล (Mass) หรอื ปรมิ าณเน้ือของสสารที่ ถกู บรรจุอยูภ่ ายในวตั ถุต่อหนงึ่ หน่วยปรมิ าตร (Volume) p = m/v โดยหน่วยของความหนาแน่นที่ผู้คนนิยมใช้กันคือ กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (kg/m3) และกรัมต่อ ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร (g/cm3) และจากสตู รการคำนวณหาความหนาแนน่ ข้างต้นแสดงให้เหน็ วา่ ความหนาแน่น นัน้ เป็นอตั ราส่วนของมวลตอ่ ปริมาตรท่ไี มไ่ ด้คำนงึ ถงึ ปริมาณของวตั ถุหรือสารตั้งต้นทงั้ หมดทม่ี ีอยูใ่ นขณะนน้ั ดังนั้น ความหนาแน่นจึงเป็นสมบัติที่ไม่ได้ขึ้นอยู่กับปริมาณของสสาร (Intensive Property) ซึ่ง โดยทว่ั ไป เราอาจสับสนระหว่างความหนาแน่นกบั น้ำหนกั เนอ่ื งจากวตั ถุ 2 ชิ้นท่มี ปี รมิ าตรเทา่ กนั ชนิ้ ทีม่ ีความ หนาแน่นมากกวา่ มักมนี ้ำหนักท่มี ากกว่า ซ่งึ ในความเป็นจรงิ ความหนาแนน่ เป็นความสมั พนั ธ์ระหว่างมวลต่อ ปริมาตร จึงไมส่ ามารถหาขอ้ สรปุ จากการพิจารณามวลหรอื ปรมิ าตรของสสารเพียงส่วนเดียว แต่ต้องพิจารณา ตัวแปรท้ังสองควบคู่กนั ไป อย่างไรก็ตาม ความหนาแน่นของสสารบางชนิดอาจไม่คงที่ในทุกอณูหรือทุกพื้นที่ภายในเนื้อสาร อยา่ งเชน่ อากาศในชน้ั บรรยากาศโลก ซึง่ ย่ิงอากาศอยูส่ ูงขนึ้ ไปเหนอื พื้นดินเท่าไหร่ ความหนาแนน่ ของอากาศ จะย่ิงลดนอ้ ยลงเทา่ นนั้ เชน่ เดียวกับความหนาแนน่ ของน้ำทะเลในมหาสมุทร ความหนาแน่นของน้ำจะย่ิงสูงข้ึน เมื่อระดับความลึกของน้ำทะเลเพิ่มมากขึ้นดังนั้น สูตรการคำนวณหาความหนาแน่นของสสารข้างต้นจึงเปน็ การคำนวณหาความหนาแน่นเฉลยี่ ของสารโดยทั่วไป นอกจากนี้ ความหนาแน่นของสสารยังขึ้นอยู่กับปัจจัยทางสภาวะแวดล้อมอีกด้วยเช่น อุณหภูมิ (Temperature) และความดัน (Pressure) โดยเฉพาะความหนาแน่นของก๊าซที่มักจะเปลี่ยนแปลงไปตาม อณุ หภมู ิและความดนั ไดง้ ่ายกว่าสสารในสถานะอนื่ ซ่ึงโดยทวั่ ไป วัตถุจำนวนมากจะขยายตัวเมื่อได้รับความร้อน
และจากการที่วัตถุขยายตัวขึ้นนั้น ส่งผลให้ปริมาตรของวัตถุเพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วย เมื่อปริมาตรเพิ่มมากขึ้น ความหนาแน่นของวัตถุดงั กล่าวจงึ ลดลง ซง่ึ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติน้ีสามารถเกิดขึน้ ได้ในสสารทุกสถานะ ทงั้ ท่เี ป็นของแข็งของเหลวและกา๊ ซ การหาปริมาตรของวัตถโุ ดยการแทนทน่ี ำ้ ด้วยถว้ ยยรู ีกา (Water displacement can) เราไดร้ ้มู าแลว้ ว่าของแข็งตอ้ งการทอ่ี ยู่ เม่ือเราหย่อนของแข็งลงในน้ำระดบั นำ้ ในภาชนะจะสูงขึ้น หาก หย่อนของแขง็ น้ันในกระบอกตวงระดับน้ำทีส่ ูงข้นึ ตรงกับขีดบอกปรมิ าตรใดเมอื่ นำปรมิ าตรสุดท้ายมาลบด้วย ปริมาตรเรม่ิ ตน้ ก็จะเปน็ ปริมาตรของของแขง็ ท่ีหย่อนลงไปน่นั เอง อยา่ งไรกต็ าม การหาปรมิ าตรของของแขง็ โดยการแทนท่ีน้ำ เราอาจใชอ้ ปุ กรณ์ที่เรยี กว่าถ้วยยรู ีกาซึ่งมี ลักษณะเป็น กระป๋องทรงกระบอกที่มีปากยื่นยาวออกมาจากตัวกระบอกการหาปริมาตรของวัตถุโดยการ แทนท่ีน้ำดว้ ยถว้ ยยรู ีกา มขี นั้ ตอนดงั น้ี 1. วางถว้ ยยรู ีกาบนโต๊ะที่ม่ันคง นำภาชนะรองรับวางใตป้ ากของถ้วยยรู กี า จากนั้นเติมนำ้ ลงไปในถ้วย ยูรีกาจน มนี ำ้ ไหลลงสูภ่ าชนะรองรบั 2. รอจนกระท่งั นำ้ หยดสุดทา้ ยหยดลงในภาชนะรองรบั 3. เปลี่ยนภาชนะรองรับน้ำใบใหม่ หรืออาจใช้กระบอกตวงมารองรับน้ำได้เลย (หมายเหตุ: หาก เลือกใช้กระบอกตวงมารองรับน้ำ ในขั้นการเตรียมถ้วยยูรีกาในข้อ 1 ควรวางถ้วยยูรกี าให้สูง ในระดบั ที่พอดี กับความสูงของกระบอกตวงท่ีจะใชใ้ นข้อ 3) 4. นำวัตถทุ ่ีตอ้ งการหาปรมิ าตรมาผกู ดว้ ยเชือก แล้วค่อย ๆ หย่อนวตั ถุลงไปจนถงึ ก้นถว้ ยยรู กี า 5. รอจนกระทั่งน้ำหยดสุดท้ายหยดลงในภาชนะรองรับ นำไปเทลงกระบอกตวงเพื่ออ่านปริมาตรแต่ ถ้าใชก้ ระบอกตวง รองรับน้ำ กส็ ามารถอ่านปริมาตรได้เลย
การเปรยี บเทียบความหนาแนน่ ของวัตถุ 3 ชนดิ จากรูป วัตถุ A จมอยู่ที่ก้นภาชนะแสดงว่า ความหนาแน่นของวัตถุ A มากกว่าความ หนาแน่นของ ของเหลว วัตถุ B ลอยปริ่ม ๆ ผิวของเหลว แสดงว่าวัตถุ B มีความหนาแน่นเท่ากับ ความหนาแน่นของ ของเหลว วัตถุ C ลอยพ้นผวิ ของเหลว แสดงวา่ วัตถุ C มคี วามหนาแน่นน้อยกวา่ ความหนาแนน่ ของของเหลว 8. กระบวนการจัดการเรียนรู้ (ใช้รปู แบบการสอนสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 8.1 ขั้นสรา้ งความสนใจ (Engagement) (10 นาท)ี (1) กระต้นุ ความสนใจของนกั เรยี นโดยตง้ั คำถามทบทวนความรู้ทน่ี กั เรยี นทดลองไปในช่ัวโมง ท่แี ลว้ (2) ครชู แ้ี จงให้นกั เรียนวา่ วนั นค้ี รูจะใหน้ กั เรยี นลองคิดคำนวณเกย่ี วกับการหาความหนาแนน่ ของสารตามโจทยท์ ่คี รูกำหนดให้ (3) นักเรียนและครูร่วมกันเฉลยใบงาน โดยให้ตวั แทนนักเรียนออกมาแสดงวิธที ำบนกระดาน แลว้ ใหน้ ักเรยี นชว่ ยกันพิจารณาวา่ ถูกหรือไม่ และครอู ธบิ ายเพิ่มเตมิ 8.2 ขนั้ สำรวจและคน้ หา (Exploration) (85 นาที) (1) ครูอธิบายวิธกี ารคำนวณใหน้ ักเรียนฟงั เพ่ือทบทวนความจำ (2) นกั เรียนรับใบงาน เรอ่ื งการหาความหนาแนน่ ของสารจากครู และลงมอื ทำใบงาน 8.3 ขน้ั อภิปรายและลงขอ้ สรุป (Explain) (5 นาท)ี (1) นักเรยี นและครูรว่ มกนั อภิปรายและสรุปความรู้ดังน้ี (ความหนาแนน่ คือ อัตราส่วนของ มวลตอ่ หนึง่ หนว่ ยปริมาตร วัตถุที่มีมวลในหน่ึงหนว่ ยพ้ืนท่ที ่ีกำหนดมากเท่าไหร่ ยง่ิ แสดงใหเ้ หน็ วา่ วัตถุดังกล่าว มีความหนาแน่นมากเท่านั้น ความหนาแน่นของวัตถุ คือ มวลของวัตถุ 1 หน่วยปริมาตร ความหนาแน่นเป็น สมบัติอยา่ งหนงึ่ ของสาร ซ่ึงหาไดจ้ ากอัตราส่วนระหวา่ งมวลกับปริมาตรของสารหรอื วัตถุน้นั และมีหน่วยเป็น กโิ ลกรัม/ลกู บาศก์เมตร หรือ กรมั /ลกู บาศก์เซนติเมตร ดังนัน้ หา ความหนาแน่น = มวลของวัตถุ/ปรมิ าตรของ วตั ถ)ุ 8.4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) (10 นาท)ี (1) ครูเพิ่มเติมความรู้เก่ียวกับความหนาแน่นของสสารใหน้ ักเรยี นดงั ตารางนี้ โดยนำรูปภาพ ขึ้นบนโปรเจกเตอร์
(2) ให้นักเรียนทำแบบฝกึ หัดท้ายบทในหนงั สอื หนา้ 34 8.5 ข้นั ประเมนิ (Evaluation) (10 นาท)ี (1) นักเรียนและครูร่วมกันเฉลยแบบฝึกหัดท้ายบท แล้วให้นักเรียนช่วยกันตอบ และครู อธิบายเพม่ิ เตมิ (2) ครตู งั้ คำถามเพอื่ ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน (3) นักเรยี นถามในสิ่งทส่ี งสัยและยังไมร่ ้แู ละครูอธิบายเพ่มิ เติม 9. ส่อื การเรียนรู้ (1) หนงั สอื วทิ ยาศาสตร์พ้ืนฐาน ม.1 เลม่ 1 (สสวท) (2) ใบงาน เร่อื งการหาความหนาแนน่ ของสาร
10. การวัดผลและประเมนิ ผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วธิ กี ารวดั ผล เคร่ืองมือ เกณฑก์ ารประเมนิ ผปู้ ระเมิน ครผู ู้สอน 1.ด้านความรู้ (K) การพูดอธิบายวิธีการ ใบงาน ผเู้ รยี นผ่านเกณฑ์ ครูผสู้ อน ระดบั พอใชข้ ้ึนไป นักเรียนสามารถอธิบาย คำนวณของนักเรยี น ครผู ูส้ อน ผูเ้ รียนผ่านเกณฑ์ วิธีการคำนวณหาความ ระดบั พอใช้ขนึ้ ไป หนาแนน่ ของสารได้ ผ้เู รยี นผ่านเกณฑ์ ระดบั พอใชข้ น้ึ ไป 2.ด ้ า น ท ั ก ษ ะ / ดูทักษะในการเขียน แบบประเมินทักษะใน กระบวนการ (P) แสดงวิธีการคำนวณหา การเขียนแสดงวิธีการ นักเรียนมีทักษะในการ ความหนาแนน่ ของสาร ค ำ น ว ณ ห า ค ว า ม เขียนแสดงวิธีการ หนาแนน่ ของสาร คำนวณหาความ หนาแนน่ ของสารได้ 3.ด้านคุณลกั ษณะ(A) ประเมินความตั้งใจ แ บ บ ป ร ะ เ มิ น นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ัน เร ียน ตั้ง ใจใน ก าร พ ฤ ต ิ ก ร ร ม บ ่ ง ช้ี ในการทำงาน และมีวินัย ทำงาน และความตรง คุณลักษณะอ ัน พึง ในการเรยี น ต่อเวลาในการสง่ งาน ประสงค์
เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์ประเมินด้าน K รายการประเมนิ ดี (3) ระดับคณุ ภาพ ปรับปรุง (1) พอใช้ (2) น ั ก เ ร ี ย น ส า ม า ร ถ นักเรียนสามารถอธิบาย น ัก เร ียนอ ธิบายวิธี การ นักเรียนอธิบายวิธีการ อ ธ ิ บ า ย ว ิ ธ ี ก า ร วิธีการคำนวณหาความ คำนวณหาความหนาแน่น คำนวณหาความหนาแน่น ค ำ น ว ณ ห า ค ว า ม หนาแน่นของสารได้ อย่าง ของสารได้ถูกต้องเป็นส่วน ของสารได้เพียงส่วนน้อย หนาแนน่ ของสารได้ ถูกต้องและครบถ้วน(8- ใหญ(่ 5-7คะแนน) (ตำ่ กว่า5คะแนน) 10คะแนน) *หมายเหตุ นักเรียนตอ้ งผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ระดบั 2 ข้นึ ไป เกณฑ์การตัดสนิ ระดับคุณภาพด้านคณุ ลักษณะ (K) 8-10 คะแนน อยูใ่ นระดับ 3 หมายถึง ดี 5-7 คะแนน อยใู่ นระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ต่ำกว่า 5 คะแนน อยูใ่ นระดบั 1 หมายถงึ ปรบั ปรุง เกณฑ์ประเมินดา้ น P รายการประเมนิ ดี (3) ระดบั คุณภาพ ปรับปรุง (1) พอใช้ (2) นักเรียนมีทักษะใน นักเรียนมีทักษะในการ นักเรียนมีทักษะในการเขียน นักเรียนมีทักษะในการ การเขียนแสดงวิธีการ เ ข ี ย น แ ส ด ง ว ิ ธ ี ก า ร แสดงวิธีการคำนวณหาความ เ ข ี ย น แ ส ด ง ว ิ ธ ี ก า ร ค ำ น ว ณ ห า ค ว า ม คำนวณหาความหนาแน่น หนาแน่นของสารได้ถูกต้อง คำนวณหาความหนาแน่น หนาแน่นของสารได้ ของสารได้อย่างถูกต้อง เปน็ สว่ นใหญ่ ( 5-7 คะแนน) ของสารได้เพียงส่วนน้อย และครบถ้วน ( 8-10 (ตำ่ กว่า 5 คะแนน) คะแนน) *หมายเหตุ นักเรยี นตอ้ งผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ระดับ 2 ข้นึ ไป เกณฑก์ ารตัดสนิ ระดบั คณุ ภาพด้านคุณลกั ษณะ (P) 8-10 คะแนน อยใู่ นระดบั 3 หมายถงึ ดี 5-7 คะแนน อยใู่ นระดับ 2 หมายถึง พอใช้ ตำ่ กวา่ 5 คะแนน อยู่ในระดับ 1 หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑป์ ระเมินด้าน A รายการประเมนิ ดี (3) ระดับคณุ ภาพ ปรับปรงุ (1) พอใช้ (2) นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน มีความตั้งใจเรียน ตั้งใจใน ไม่มีความตั้งใจเรียน ไม่ มุ่งมั่นในการทำงาน การทำงาน และส่งงานตรง การทำงาน และส่งงานตรง ตั้งใจในการทำงาน และส่ง และมีวนิ ัยในการเรยี น เวลาทุกครงั้ (4คะแนน) เวลาบางคร้ัง (2-3 คะแนน) งานไม่ตรงเวลา(ต่ำกว่า2 คะแนน) *หมายเหตุ นกั เรียนตอ้ งผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ระดบั 2 ขึ้นไป เกณฑก์ ารตัดสนิ ระดับคุณภาพด้านคุณลักษณะ (A) 4 คะแนน อยู่ในระดับ 3 หมายถงึ ดี 2-3 คะแนน อยใู่ นระดับ 2 หมายถงึ พอใช้ ต่ำกวา่ 2 คะแนน อยูใ่ นระดบั 1 หมายถงึ ปรับปรุง
วช-ร 06 แบบบนั ทกึ หลงั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ชือ่ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ……………… เร่ือง ……………………………………………………………….. แผนการเรียนร้ทู ี่ ………………… เรือ่ ง ……………………………………………………………….. รายวิชา……………………………….. ช้ัน…………………………. รหัสวชิ า ……………………………………. ครผู สู้ อน …………………………………………….. ตำแหน่ง …………………………………… เวลาทใี่ ช้ ……… ชว่ั โมง ************************* ผลการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ข้อค้นพบระหว่าง ปญั หาที่พบ แนวทางแก้ไข ทมี่ กี ารจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ เน้ือหา กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่อื ประกอบการเรยี นรู้ พฤตกิ รรม/การมีส่วนร่วมของ ผูเ้ รยี น ลงชื่อ …..........………….......................…….. ครผู ู้จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (นางสาวจันจิรา ธนันชยั ) ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย
11. ผลการประเมนิ นักเรยี นท้ังหมด………………คน ดา้ น (K) นกั เรียนสามารถอธิบายวธิ กี ารคำนวณหาความหนาแนน่ ของสารได้ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ มีคณุ ภาพอยใู่ นระดบั ดี จำนวน……………….คน คดิ เป็นร้อยละ……………. ผา่ นเกณฑ์การประเมินมีคุณภาพอย่ใู นระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คิดเป็นร้อยละ…………….. ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ จำนวน………...........คน คดิ เป็นร้อยละ……………. ดา้ น (P) นกั เรียนมที กั ษะในการเขยี นแสดงวิธกี ารคำนวณหาความหนาแน่นของสารได้ ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ มีคณุ ภาพอยใู่ นระดบั ดี จำนวน……………….คน คดิ เป็นร้อยละ……………. ผ่านเกณฑ์การประเมินมีคณุ ภาพอย่ใู นระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คิดเปน็ ร้อยละ…………….. ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมิน จำนวน………...........คน คดิ เป็นร้อยละ……………. ด้าน (A) นักเรยี นใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มัน่ ในการทำงาน และมวี ินัยในการเรียน ผ่านเกณฑ์การประเมนิ มีคณุ ภาพอยูใ่ นระดบั ดี จำนวน……………….คน คิดเป็นรอ้ ยละ…………… ผ่านเกณฑ์การประเมินมีคุณภาพอย่ใู นระดับพอใช้ จำนวน……………….คน คิดเปน็ ร้อยละ…………….. ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ จำนวน………...........คน คดิ เป็นร้อยละ……………. รายชื่อนกั เรียนทีไ่ ม่ผา่ นเกณฑ์การประเมิน สาเหตุ-ปญั หา แนวทางแกไ้ ข ลำดบั ชือ่ -สกลุ ลงช่ือ...............................................(ผ้สู อน) (..............................................)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154