Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 2 ระบบหายใจ

หน่วยที่ 2 ระบบหายใจ

Published by Jiab Chanchira, 2019-09-12 23:43:49

Description: หน่วยที่ 2 ระบบหายใจ

Search

Read the Text Version

การออกแบบการจัดการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ รายวชิ า ชวี วิทยา 3 รหสั วิชา ว30243 ระดับช้ัน มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 เรอ่ื ง ระบบหายใจ จดั ทาโดย นางสาวจันจิรา ธนนั ชัย ตาแหน่ง พนักงานราชการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ตาบลชา่ งเคิง่ อาเภอแมแ่ จ่ม จงั หวดั เชยี งใหม่ สานกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สานักงานการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ผังมโนทัศน์ รายวชิ า ชีววิทยา 3 รหสั วชิ า ว 32203 ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 5 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 เรื่อง ระบบหายใจ จานวน 15 ช่ัวโมง : 20 คะแนน ชื่อเรอ่ื ง โครงสร้างท่ใี ชใ้ นการแลกเปลี่ยนแก๊สของ สิ่งมชี วี ติ เซลลเ์ ดียวและของสัตว์ จานวน 3 ชั่วโมง : 5 คะแนน หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 เร่อื ง ระบบหายใจ จานวน 15 ชวั่ โมง ช่ือเรอื่ ง โครงสรา้ งที่ใช้ในการแลกเปล่ยี นแก๊สของคน จานวน 12 ช่วั โมง : 15 คะแนน

แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 เรอ่ื ง ระบบหายใจ แผนจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 เรื่อง โครงสร้างที่ใชใ้ นการแลกเปลี่ยนแก๊สของสิ่งมีชีวติ เซลลเ์ ดยี วและของสัตว์ รายวิชา ชวี วิทยา 3 รหัสวิชา ว 32203 ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 นา้ หนักเวลาเรยี น 1.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 3 ชวั่ โมง/สัปดาห์ เวลาทใ่ี ชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 6 ช่วั โมง ............................................................................................................................. ............................. 1. สาระสาคัญ ส่ิงมีชีวิตมโี ครงสรา้ งท่ีใชใ้ นการแลกเปล่ียนแก๊สแตกตา่ งกัน ท้งั นี้ขึ้นอยู่กบั ความซับซ้อนของโครงสรา้ ง ของร่างกาย สภาพแวดล้อมที่สิง่ มีชีวิตอาศัยอย่แู ละปริมาณแกส๊ ออกซเิ จนท่สี ่งิ มีชีวติ ต้องการเพ่ือนาไปใช้ใน กระบวนการเมแทบอลซิ มึ และส่วนหนึง่ ทาให้เกิดของเสยี ได้แก่ แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดแ์ ละของเสยี ท่ีมีธาตุ ไนโตรเจนเปน็ องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ แอมโมเนยี ยเู รยี และกรดยูริก ซึง่ ตอ้ งมีการขบั ถ่ายออกจากร่างกาย สิง่ มีชีวิตแตล่ ะชนิดมีวีการขับถา่ ยของเสยี แตกต่างกนั ข้นึ อยู่กับโครงสรา้ งของร่างกายและสภาพแวดล้อมท่ี อาศยั อยู่ พลานาเรียมเี ฟลมเซลล์ แมลงมีมัลพิเกยี นทิวบลู ทาหนา้ ที่กาจัดของเสยี และรักษาสมดุลของน้าและ แร่ธาตุในรา่ งกาย การลาเลียงสารในรา่ งกายของสิง่ มีชวี ติ ท่ีมโี ครงสร้างไม่ซบั ซอ้ นจะมีการแลกเปล่ยี นสารระหวา่ งเซลล์ กับสิ่งแวดล้อมโดยตรง ในขณะที่ส่งิ มชี ีวิตท่มี ีโครงสรา้ งซับซอ้ นจะมีระบบหมนุ เวยี นเลือดทาหนา้ ท่ลี าเลียงสาร ไปยงั ส่วนตา่ งๆ ของรา่ งกาย ระบบหมนุ เวียนเลือดมี 2 ระบบ คอื ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปดิ พบในสตั ว์ จาพวกกุง้ หอย แมลง สว่ นระบบหมุนเวียนเลอื ดแบบปดิ พบในไส้เดอื นดนิ และสัตวเ์ ล้ยี งลกู ด้วยน้านมรวมทั้ง คนด้วย ระบบหมนุ เวยี นเลือดของคนประกอบด้วยหวั ใจ ทาหน้าท่ีรับและสูบฉีดเลอื ดไปยงั เซลลท์ ัว่ รา่ งกาย ขณะที่หวั ใจบีบตวั สูบฉีดเลอื ดทาใหเ้ กดิ ความดันในหลอดเลือดและชีพจร ความดนั เลอื ดและชพี จรมี ความสมั พนั ธก์ ับปัจจัยหลายอยา่ ง เชน่ ปรมิ าณไขมนั ในหลอดเลอื ด กจิ กรรมตา่ งๆ ของร่างกาย อายุและเพศ เปน็ ต้น เลอื ดของคนประกอบดว้ ย พลาสมา เซลลเ์ ม็ดเลอื ดและเพลตเลต พลาสมาประกอบด้วยน้า โปรตีน สารอาหารและแร่ธาตุ ฯลฯ เซลล์เมด็ เลือดประกอบด้วยเซลล์เม็ดเลอื ดแดงทาหน้าทร่ี ับส่งแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์และแกส๊ ออกซเิ จน เซลล์เมด็ เลือดขาวทาหน้าทีท่ าลายเชือ้ โรคหรือสงิ่ แปลกปลอมและ สร้างภมู คิ ุ้มกัน สว่ นเพลตเลตทาหนา้ ท่ีเกยี่ วกบั การแขง็ ตัวของเลือด โครงสร้างทเี่ กี่ยวกบั ระบบภมู ิคมุ้ กัน ได้แก่ ไขกระดูก ไทมัส มา้ ม ต่อมนา้ เหลืองและเน้อื เยื่อ นา้ เหลืองท่ีบริเวณทางเดินอาหารและทางเดนิ หายใจ มีหน้าทแี่ ตกต่างกันโดยท่ัวไปจะทาหนา้ ทเ่ี ก่ยี วกับการ ทาลายเชือ้ โรคและลิมโพไซต์บางชนิดทเี่ กย่ี วข้องกับการสร้างภูมิคุ้มกันของรา่ งกาย

2. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชี้วัดชั้นป/ี ผลการเรียนร้/ู เป้าหมายการเรยี นรู้ 4. สบื ค้นข้อมลู อธิบาย และเปรยี บเทียบโครงสรา้ งท่ีทาหนา้ ทแ่ี ลกเปลี่ยนแก๊สของฟองนา้ ไฮดรา พลานาเรยี ไส้เดือนดิน แมลง ปลา กบ และนก 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 เน้อื หาสาระหลกั : นกั เรียนสามารถอธิบาย และเปรียบเทยี บโครงสร้างท่ีทาหนา้ ท่ีแลกเปลี่ยน แกส๊ ของฟองน้า ไฮดรา พลานาเรีย ไส้เดือนดนิ แมลง ปลา กบ และนกได้ 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : นักเรยี นสรุปองค์ความรู้และนาเสนอได้ 3.3 คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ : นกั เรยี นมีพฤติกรรมใฝเ่ รียนร้ใู นการเรียน 4. สมรรถนะสาคัญของนกั เรียน 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 5. คุณลกั ษณะของวิชา - ความรบั ผดิ ชอบ - ความรอบคอบ - กระบวนการกลุ่ม 6. คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ 1. ใฝเ่ รียนรู้ 2. มุง่ มนั่ ในการทางาน 7. ช้นิ งาน/ภาระงาน : - ใบงาน เร่ือง ระบบหายใจกับการรกั ษาสมดุลของร่างกาย 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. ขนั้ สร้างความสนใจ 1. ครใู หน้ ักเรียนศึกษาภาพการเลยี้ งเอม็ บริโอของสง่ิ มีชีวิตชนิดหนงึ่ ในห้องปฏบิ ัติการให้อยู่รอดใน สภาพแวดลอ้ มท่ีเหมาะสมในหลอดทดลอง และร่วมกันอภปิ ราย โดยใช้ตวั อย่างประเด็นอภปิ ราย ดังน้ี - ถ้าตอ้ งการใหเ้ อม็ บริโอสามารถมชี ีวติ อยู่รอดในหลอดทดลองได้ จะต้องจัดสภาพแวดล้อมให้อยู่ ในสภาพอยา่ งไร (มีอาหาร อากาศ อุณหภูมิ และสภาพแวดลอ้ มอนื่ ๆ ที่เหมาะสม และเพยี งพอตอ่ การ ดารงชวี ิต) - ถา้ สภาพแวดลอ้ มภายนอกเซลลเ์ ปล่ียนแปลงไปจากเดมิ นกั เรียนคิดวา่ เอม็ บริโอจะเจริญอยู่ได้ หรอื ไม่ เพราะเหตุใด (อาจจะอยู่ไม่ได้ หรอื ถา้ เปล่ียนแปลงไปมากเอ็มบริโออาจตายได้) - ในสิง่ มชี ีวติ หลายเซลลท์ มี่ ีโครงสรา้ งซบั ซ้อน สภาวะแวดล้อมมที งั้ สภาวะแวดล้อมภายนอก ร่างกายและสภาวะแวดล้อมภายในรา่ งกาย นกั เรียนคดิ ว่าสภาวะแวดล้อมมผี ลต่อการดารงชวี ติ ของส่งิ มชี วี ติ มากกวา่ กนั เพราะเหตุใด (สภาวะแวดลอ้ มภายในรา่ งกาย เพราะเซลลส์ ัมผัสกับสภาวะแวดล้อมภายใน ร่างกายมากกวา่ สภาวะแวดล้อมภายนอกร่างกาย หรือกล่าวอกี นัยหนง่ึ ว่าสภาวะแวดล้อมภายในร่างกาย คือ สภาวะแวดล้อมของเซลล์นั่นเอง)

- ในชวี ติ ประจาวนั สภาพแวดลอ้ มภายในร่างกายของนกั เรยี นมกี ารเปลี่ยนแปลงบา้ งหรือไม่ จง ยกตวั อย่าง (ในแตล่ ะวนั สภาพแวดลอ้ มภายในร่างกายและภายนอกรา่ งกายมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เช่น อุณหภมู ขิ องอากาศ ปริมาณนา แรธ่ าตุ และสารอาหารอื่นๆ ทรี่ ่างกายได้รับจากอาหาร ทาให้ สภาพแวดล้อมภายในรา่ งกาย เช่น ความเขม้ ขน้ ของสารตา่ งๆ ความเปน็ กรด - เบส และอุณหภูมิ เปล่ียนแปลงไป) - รา่ งกายของนกั เรยี นมกี ลไกอยา่ งไรในการรักษาดลุ ยภาพของสภาวะแวดลอ้ มภายในร่างกายไวใ้ ห้ คงท่ี (คาตอบขึนอยู่กบั ประสบการณ์ของนักเรียน ซง่ึ ครูยังไมบ่ อกวา่ ของใครผิดหรือถูก เมื่อนักเรยี นเรยี นจบ บทเรียนให้นกั เรียนลองตรวจสอบคาตอบของนักเรยี นอีกครัง) 2. ขน้ั สารวจและค้นหา 1. ครทู บทวนเกีย่ วกบั ระบบต่างๆ ของร่างกายทีท่ างานเพ่ือรักษาดุลยภาพของรา่ งกายแต่ละระบบจะ มีกลไกรกั ษาดลุ ยภาพของรา่ งกายแตกต่างกนั ซงึ่ นักเรยี นจะไดเ้ รยี นต่อไป 2. ครทู บทวนความรูเ้ ดมิ เก่ียวกับการทากิจกรรมต่างๆ ของเซลล์และร่างกายซง่ึ จาเป็นต้องใชพ้ ลงั งาน และพลังงานส่วนใหญ่ได้จากการสลายโมเลกลุ ของสารอาหารแบบใช้ออกซเิ จน และผลที่เกดิ ขึ้นจะได้แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์และน้า ซงึ่ ร่างกายจาเปน็ ตอ้ งกาจัดออก ครูให้นักเรยี นช่วยกันคดิ ว่า “สิ่งมีชีวิตมกี ารรับ ออกซเิ จนและปลอ่ ยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากร่างกายด้วยวธิ ใี ด และสง่ิ มีชวี ิตที่อยใู่ นสภาพแวดลอ้ ม ต่างกัน โครงสร้างร่างกายต่างกนั จะมวี ิธีการแลกเปล่ียนแก๊สเหมือนหรือตา่ งกันอยา่ งไร” 3. ครใู ห้นักเรยี นยกตัวอย่างส่ิงมชี วี ิตเซลล์เดยี วทน่ี ักเรียนรู้จกั เชน่ พารามีเซยี ม อะมีบา ยสี ต์ และให้นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายเกย่ี วกบั ความต้องการแก๊สออกซเิ จนของสงิ่ มีชีวติ เพ่อื นาไปใช้ในการสลาย สารอาหารใหไ้ ด้พลงั งาน ขณะเดยี วกันก็ตอ้ งกาจัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และของเสยี อ่ืนๆ ออกจากเซลล์ นกั เรยี นคดิ ว่าส่งิ มชี ีวติ เซลลเ์ ดียวจะใชโ้ ครงสร้างใดของเซลล์เพ่อื ทาหนา้ ท่ดี ังกล่าว และใชว้ ธิ กี ารลาเลียงสาร แบบใด โดยใหน้ ักเรยี นเชอ่ื มโยงกับเรอื่ งการลาเลยี งสารเข้าออกจากเซลลท์ เ่ี คยเรียนมาแลว้ 4. ครูใหน้ ักเรียนศึกษาเน้ือหา เก่ยี วกับโครงสรา้ งท่ีใชใ้ นการแลกเปล่ยี นแก๊สของฟองนา้ ไฮดรา พลา นาเรียน ไส้เดอื นดิน แมลง แมงมุม ปลา และนก ในใบความร้โู ดยครูอาจจะใช้แผน่ ภาพโปรง่ ใสหรอื โปสเตอรอ์ ธิบายประกอบในเรอ่ื งท่ีนักเรียนสงสัย เพ่ือใหน้ ักเรียนมีความรู้สมบรู ณย์ ิ่งข้ึน และใหน้ ักเรียน แบ่งกลุ่มอภิปราย เปรียบเทียบ และสรปุ เกยี่ วกับโครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปล่ยี นแก๊สของสัตว์ต่างๆ โดยใช้ ตัวอยา่ งคาถามในหนังสอื เรียนและคาถามเพิม่ เติม ดังนี้ - การแลกเปล่ียนแก๊สของฟองน้า ไฮดรา พลานาเรยี และไส้เดือนดินเหมือนหรือแตกต่างกนั อยา่ งไร (ฟองนา ไฮดรา พลานาเรยี จะใชเ้ ซลล์ที่ผวิ หนงั ที่สมั ผสั กบั สงิ่ แวดลอ้ มแลกเปล่ียนแก๊สกับ สงิ่ แวดลอ้ ม และมีการแพรข่ องแก๊สระหวา่ งเซลล์กับเซลล์ สว่ นไสเ้ ดือนดนิ มีการแลกเปล่ียนแก๊สโดยผ่านทาง ผวิ หนังคลา้ ยกบั พลานาเรยี แตไ่ ส้เดือนดินมีร่างกายขนาดใหญ่การแลกเปลยี่ นแกส๊ ใช้วธิ กี ารแพร่อย่างเดียวยงั ไมเ่ พยี งพอและรวดเรว็ จึงต้องมรี ะบบหมนุ เวียนเลือดช่วยในการลาเลยี งแกส๊ ไปยัง ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ทา ใหก้ ารแลกเปล่ยี นแก๊สมปี ระสิทธิภาพดขี ึน ซึ่งเหมาะสมกับโครงสร้างของร่างกาย)

- โครงสรา้ งของร่างกายที่ทาหน้าทแี่ ลกเปล่ียนแก๊สจะต้องมีลกั ษณะสาคญั อย่างไร (มีพืนทผี่ วิ มาก และบางพอทีจ่ ะแลกเปลย่ี นแก๊สได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ มีการลาเลียงแก๊สไปยังบริเวณอืน่ ๆ ได้อย่างรวดเร็ว มีการป้องกนั อันตรายให้กบั โครงสรา้ งทีใ่ ชแ้ ลกเปลีย่ นแก๊สและโครงสร้างในการแลกเปลยี่ นแกส๊ ต้องชมุ่ ชืนอยู่ เสมอ) - เพราะเหตใุ ด แมลงจงึ ไม่จาเป็นตอ้ งมีระบบหมนุ เวียนเลอื ดเป็นตวั นาแก๊สออกซิเจนไปใชเ้ ซลล์ ตา่ งๆ ท่ัวร่างกาย ( แมลงมรี ะบบทอ่ ลมซ่ึงแตกแขนงไปทว่ั ร่างกาย ระบบท่อลมนสี ามารถนาแก๊สไปใช้เซลล์ ต่างๆ ของร่างกายได้โดยตรง) - อวยั วะแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์นา้ มคี วามเหมาะสมตอ่ การดารงชวี ิตอยา่ งไร (ในนามีแกส๊ ออกซเิ จนท่ลี ะลายอยูใ่ นปรมิ าณนอ้ ยมาก และมกี ารแพร่ช้ามากเม่ือเทยี บกบั ในอากาศ สัตว์ที่อยู่ในนา เช่น ปลาและกุ้ง จึงพัฒนาโครงสรา้ งทีใ่ ช้แลกเปลย่ี นแกส๊ คือเหงือกให้มลี ักษณะเปน็ ซีๆ่ เรยี งกันเปน็ แผง เพ่ือเพ่ิม พืนท่ีผิวทีส่ ัมผสั กบั บอกซเิ จนในนา) - นักเรียนคดิ วา่ ถุงลมของนกทาหนา้ ท่ีแลกเปลีย่ นแกส๊ ได้หรอื ไม่ เพราะเหตุใด (ถุงลมของนกไม่ได้ ทาหน้าทีแ่ ลกเปลยี่ นแกส๊ เนื่องจากผนังของถงุ ลมไม่บาง ถงึ แม้ว่าจะมีหลอดเลือดฝอยมาล้อมรอบก็ตาม แต่ มีหน้าทีส่ ารองอากาศเพอื่ สง่ ให้ปอดแลกเปล่ียนแกส๊ ให้นกใช้ในขณะบนิ ) 5. ครูใหน้ ักเรยี นศึกษาโครงสร้างของสัตว์เลย้ี งลกู ด้วยนม โดยสารวจตรวจสอบโครงสร้างทใี่ ชใ้ นการ แลกเปลี่ยนแกส๊ ของสัตวเ์ ลยี้ งลกู ด้วยนม จากกจิ กรรมท่ี 6.1โครงสรา้ งภายนอกของปอดหมู หรือปอดวัว 6. ครแู จ้งจุดประสงคใ์ นการทากจิ กรรม ดังน้ี 6.1 สังเกตลกั ษณะภายนอก และภายในรวมท้งั ความยืดหยุน่ ของปอด 6.2 สังเกตลักษณะโครงสรา้ งของหลอดลม ท่อลม เนือ้ เยอื่ ปอด และหลอดเลือด 7. ในการทากิจกรรมที่ 6.1 ครูควรดาเนนิ การดังนี้ 7.1 ครูควรเตรยี มการล่วงหน้าโดยหาซือ้ ปอดหมู หรอื ปอดวัว ท่มี ีขายในทอ้ งตลาด ซง่ึ ตอ้ งสง่ั ผู้ขายลว่ งหน้า เพราะปอดววั น้ันแมค้ ้ามักจะหั่นขายเปน็ ชิน้ เลก็ ๆ จงึ ไม่เหมาะท่จี ะนามาศกึ ษา ควรให้ปอด หลอดลม และกล่องเสยี ง รวมทั้งหลอดเลือดอารเ์ ตอรีและหลอดเลอื ดเวนทเี่ ช่ือมกบั ปอด มีความสมบูรณ์ไม่ ฉกี ขาด 7.2 ก่อนให้นักเรียนลงมือศึกษา ควรให้นักเรยี นสวมถงุ มอื และนาปอดมาล้างใหส้ ะอาด 7.3 ควรนาส่วนของกล่องเสยี งทีม่ ีฝาปิดกล่องเสียงและหลอดอาหารมาอธิบายเร่ืองการกลนื อาหาร เพราะหลงั หลอดลมจะมีอาหารติดอยูด่ ้วย เพ่ือเปน็ การทบทวนเรอ่ื งการกลนื ในบทเรียนเร่ือง การย่อยอาหาร 7.4 การเป่าลมเข้าปอดเพ่ือศกึ ษาการขยายตวั ของปอดนัน้ ควรใชว้ ธิ ีกรีดเน้อื ปอดบางบรเิ วณให้ เหน็ หลอดลมฝอย แล้วใช้สายยางสอดเข้าหลอดลมฝอยนั้นแลว้ สบู ลมเข้า แลว้ หยดุ เอาสายยางออก 7.5 ไมค่ วรเป่าลมจากปากโดยตรงกบั ปอดท้งั หมด แต่ถ้าตอ้ งการจะศึกษาการขยายตัวของปอด ท้ังหมดควรใชเ้ คร่ืองสบู ลมแทนการเป่าจากปาก 7.6 ก่อนลงมือทากจิ กรรมควรใหน้ กั เรียนศึกษาขั้นตอนการทากจิ กรรมใหล้ ะเอยี ด ซ่ึงครูอาจเปน็ ผู้อธิบายพร้อมกับสาธติ ใหน้ ักเรยี นดูก่อน จนนกั เรยี นเขา้ ใจแลว้ จงึ ให้นักเรยี นลงมือปฏิบตั ิ

8. ขณะท่นี ักเรยี นทากจิ กรรมครูควรให้นักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายภายในกลุ่ม พร้อมกับศึกษาของจริง ประกอบไปพรอ้ มๆ กัน จะทาใหน้ กั เรียนเข้าใจดียิ่งขน้ึ หลงั จากทากจิ กรรมแล้ว 9. ครูใหน้ ักเรยี นทัง้ ชั้นรว่ มกนั อภิปรายโดยใช้ตวั อย่างคาถามในกิจกรรมท่ี 6.1 - ปอดมสี อี ะไร เพราะเหตใุ ดจึงมีสเี ชน่ น้ัน (ปอดมีสแี ดงเรือ่ เพราะตามถุงลมจะมหี ลอดเลือดฝอย ไปหล่อเลียง) - ลักษณะรูปร่างและขนาดของปอดซา้ ย และปอดขวาท่ีนกั เรยี นสงั เกตไดแ้ ตกตา่ งกันอยา่ งไร (ปอดซา้ ยมี 2 พู ปอดขวามี 3 พู ปอดซ้ายเลก็ กว่าและยาวกวา่ ปอดขวาเล็กนอ้ ย เน่ืองจากด้ายซ้ายมีหวั ใจอยู่ ด้วย) - เมอ่ื ใชน้ ิ้วมือบีบหลอดลมแลว้ ปลอ่ ย หลอดลมมีการเปลย่ี นแปลงอยา่ งไร (หลอดลมจะกลับคงรปู เดิม) - ลักษณะของหลอดลม การจัดเรยี งตัวของกระดกู ออ่ น และลักษณะของกระดกู ออ่ นและถุงลมมี ความเหมาะสมต่อการทาหน้าทีอ่ ยา่ งไร (หลอดลมมีกระดูกออ่ นเป็นวงเรยี งตวั ต่อๆ กัน และปลายกระดกู ออ่ น แตล่ ะชินจะไม่ชนกันมีกลา้ มเนอื ระหวา่ งปลาย จงึ มีลกั ษณะเหมือนกระดกู ซี่โครงงูหรอื รูปเกือกมา้ มีความ ยืดหยุ่นทาใหห้ ลอดลมไม่ตบี แบน สามารถขยายตัวได้เล็กน้อย จึงมีประโยชนท์ าให้อากาศเขา้ และออกจาก ปอดไดส้ ะดวก และการที่ถงุ ลมมีปรมิ าณมากชว่ ยให้มีพนื ทผ่ี ิวในการแลก เปลี่ยนแกส๊ ไดม้ าก) 10. ครเู ปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเน้ือหา เร่ือง โครงสร้างทใี่ ช้ในการแลกเปลยี่ นแกส๊ ของสงิ่ มชี ีวิต เซลล์เดียวและของสัตว์ วา่ มสี ่วนไหนที่ไม่เขา้ ใจและให้ความรู้เพม่ิ เติมในส่วนน้ัน 3. ขัน้ ลงขอ้ สรุป 1. ครูมอบหมายใหน้ ักเรียนสรปุ ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเนอ้ื หาที่ได้เรยี นในวันน้ี 2. ครใู หน้ ักเรยี นทาแบบทดสอบ เรือ่ ง โครงสรา้ งทีใ่ ชใ้ นการแลกเปลี่ยนแก๊สของส่งิ มชี วี ิตเซลล์เดยี ว และของสตั ว์ 3. ครูมอบหมายใหน้ ักเรียนทาใบงาน เรือ่ ง ระบบหายใจกับการรกั ษาสมดุลของรา่ งกาย 4. ครมู อบหมายใหน้ กั เรยี นไปศึกษาความรู้ เรือ่ ง โครงสรา้ งท่ีใชใ้ นการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน ซงึ่ จะ เรียนในคาบต่อไปมาล่วงหนา้ 9. สอ่ื การเรียนการสอน / แหลง่ เรยี นรู้ จานวน สภาพการใชส้ ่อื 1 ชุด ขั้นตรวจสอบความรเู้ ดิม รายการสอื่ 1 ชดุ ขนั้ สรา้ งความสนใจ 1. แบบทดสอบก่อนเรียน 2. ใบงาน เรอ่ื ง ระบบหายใจกับการรักษาสมดลุ ของ ร่างกาย

10. การวัดผลและประเมนิ ผล เปา้ หมาย หลักฐานการเรียนรู้ ประเด็น/ การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน วิธวี ดั เครอ่ื งมือวดั ฯ เกณฑก์ ารให้ คะแนน นักเรียนสามารถ ใบงาน เรอ่ื ง ระบบ ตรวจใบงาน เรื่อง ใบงาน เร่ือง ระบบหายใจ ทาได้ถกู ต้อง 70 % อธบิ าย และ หายใจกับการรักษา ระบบหายใจกบั กับการรกั ษาสมดลุ ของ ขน้ึ ไป การรกั ษาสมดลุ รา่ งกาย เปรยี บเทยี บ สมดุลของรา่ งกาย โครงสรา้ งท่ีทาหน้าท่ี ของร่างกาย แลกเปลี่ยน แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน ทาได้ถกู ต้อง 70 % แก๊สของฟองน้า กอ่ นเรียน ขนึ้ ไป ไฮดรา พลานาเรยี ไส้เดอื นดิน แมลง ปลา กบ และนกได้ 11. การบูรณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรยี น หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ครู ผเู้ รยี น 1. ความพอประมาณ พอดดี า้ นเทคโนโลยี พอดีด้านจิตใจ ร้จู ักใช้เทคโนโลยมี าผลติ สอ่ื ทเ่ี หมาะสม มจี ติ สานกึ ท่ีดี เออื้ อาทร ประนปี ระนอม และสอดคล้องเน้ือหาเป็นประโยชนต์ ่อ นึกถึงประโยชนส์ ว่ นรวม/กลุม่ ผูเ้ รยี นและพฒั นาจากภูมปิ ญั ญาของ ผูเ้ รยี น 2. ความมีเหตุผล - ยดึ ถือการประกอบอาชีพด้วยความ ไมห่ ยุดนงิ่ ทีห่ าหนทางในชวี ติ หลุดพน้ ถกู ตอ้ ง สจุ ริต แมจ้ ะตกอย่ใู นภาวะขาด จากความทกุ ขย์ าก (การคน้ หาคาตอบ แคลน ในการดารงชีวติ เพอื่ ให้หลุดพ้นจากความไม่รู้) 3. มภี มู คิ มุ กันในตัวท่ดี ี ภูมปิ ญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ระมัดระวงั ระมดั ระวัง สรา้ งสรรค์ 4. เงือ่ นไขความรู้ ความรอบรู้ เร่ือง ระบบหายใจกบั ความรอบรู้ เรอ่ื ง ระบบหายใจกับการ การรักษาสมดุลของร่างกาย รักษาสมดลุ ของรา่ งกาย 5. เงื่อนไขคณุ ธรรม มีความตระหนักใน คุณธรรม มี มคี วามตระหนักใน คณุ ธรรม มี ความซอ่ื สัตยส์ ุจรติ และมีความอดทน มี ความซ่อื สตั ย์สจุ ริตและมคี วามอดทน มี ความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนิน ความเพียร ใชส้ ตปิ ัญญาในการดาเนนิ ชีวติ ชีวติ

สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ครู ผู้เรยี น โครงสรา้ งทใ่ี ช้ในการแลกเปลย่ี น โครงสรา้ งท่ใี ชใ้ นการแลกเปล่ยี นแกส๊ โครงสร้างทใ่ี ช้ในการแลกเปล่ียนแก๊สของ แก๊สของสง่ิ มชี ีวติ เซลล์เดยี วและ ของส่ิงมชี ีวิตเซลล์เดียวและของสตั ว์ ส่งิ มีชวี ิตเซลล์เดยี วและของสัตว์ ของสัตว์ - โครงสรา้ งทท่ี าหนา้ ทีแ่ ลกเปลย่ี นแก๊ส - โครงสรา้ งทท่ี าหนา้ ท่แี ลกเปลย่ี นแก๊ส - โครงสร้างทที่ าหนา้ ท่ี ของฟองนา้ ไฮดรา พลานาเรีย ของฟองน้า ไฮดรา พลานาเรยี แลกเปลี่ยนแกส๊ ของฟองนา้ ไสเ้ ดือนดิน แมลง ปลา กบ และนก ไส้เดือนดนิ แมลง ปลา กบ และนก ไฮดรา พลานาเรยี ไส้เดอื นดนิ แมลง ปลา กบ และนก ครู ผู้เรยี น โครงสรา้ งทใ่ี ชใ้ นการแลกเปลยี่ นแกส๊ ของ โครงสรา้ งที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของ สิง่ แวดล้อม ส่ิงมชี ีวิตเซลลเ์ ดียวและของสัตว์ สิ่งมชี วี ติ เซลลเ์ ดียวและของสัตว์ - การแลกเปลยี่ นแก๊สของส่ิงมชี วี ิตเซลล์ - การแลกเปลี่ยนแก๊สของสง่ิ มชี วี ติ เซลล์ โครงสรา้ งทใี่ ชใ้ นการแลกเปลี่ยน เดียวและของสัตว์ เดียวและของสัตว์ แก๊สของสง่ิ มชี ีวิตเซลล์เดียวและ - กระบวนการการอนรุ ักษ์สงิ่ แวดล้อม - เสนอแนะแนวทางอนรุ กั ษส์ ิ่งแวดล้อม ของสัตว์ - การแลกเปล่ียนแก๊สของ ส่ิงมชี ีวิตเซลลเ์ ดียวและของสัตว์ - การอนุรักษส์ งิ่ แวดลอ้ ม ลงช่อื ..................................................ผ้สู อน (นางสาวจันจริ า ธนนั ชัย)

ใบงาน เร่อื ง ระบบหายใจกับการรกั ษาสมดุลของร่างกาย จงตอบคาถามต่อไปน้ีใหถ้ ูกต้อง 1.การแลกเปล่ียนแกส๊ ของฟองนา้ ไฮโดรา พลานาเรยี และไส้เดือนดนิ เหมือนหรือแตกต่างกนั อย่างไร คาตอบ . .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2.อวัยวะแลกเปลย่ี นแก๊สของสัตว์นา้ มีความเหมาะสมต่อการดารงชวี ติ อยา่ งไร คาตอบ . .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3.นักเรยี นคดิ ว่าถงุ ลมของนกทาหนา้ ทีแ่ ลกเปล่ยี นแก๊สได้หรอื ไม่ เพราะเหตุใด คาตอบ . .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4.เซลล์ของเน้ือเยอื่ ปอดต้องการออกซเิ จนหรือไม่ เพราะเหตใุ ด คาตอบ . .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5. ฮโี มโกลบินรวมตัวกับคาร์บอนไดออกไซดไ์ ด้ดกี ว่าออกซิเจนและไมย่ อมปลอ่ ยคารบ์ อนมอนอกไซด์ออกมา งา่ ยๆ นกั เรียนคิดวา่ จะเกิดผลอยา่ งไรถา้ ร่างกายไดร้ บั คาร์บอนไดออกไซด์ เปน็ ปริมาณมาก คาตอบ . .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................

คาชแี้ จง นักเรยี นศึกษากิจกรรมท่ี 6.1 แลว้ ตอบคาถาม ข้อ 1-4 หรอื ดูภาพแลว้ ตอบคาถามต่อไปน้ี 1.ปอดมสี อี ะไร เพราะเหตใุ ดจงึ มสี ีเชน่ นนั้ คาตอบ . .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. 2.ลกั ษณะรปู ร่างและขนาดของปอดซ้าย และปอดขวาทน่ี ักเรยี นสังเกตได้มีความแตกต่างกนั อย่างไร คาตอบ . .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. 3.จากกจิ กรรมที่ 6.1 เมอื่ ใชน้ ้ิวบบี หลอดลมแล้วปลอ่ ย หลอดลมมกี ารเปลยี่ นแปลงอย่างไร คาตอบ . .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. 4.ลักษณะของหลอดลม การจัดเรยี งตัวของกระดกู ออ่ น ลกั ษณะของกระดกู อ่อนและถงุ ลมมคี วามเหมาะสมต่อ การทาหน้าที่อย่างไร คาตอบ . .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2 เรือ่ ง ระบบหายใจ แผนจัดการเรยี นรู้ที่ 2 เร่ือง โครงสรา้ งท่ีใช้ในการแลกเปลี่ยนแกส๊ ของคน รายวิชา ชีววิทยา 3 รหัสวิชา ว 32203 ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 น้าหนกั เวลาเรียน 1.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาทีใ่ ช้ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 9 ช่ัวโมง ............................................................................................................................. ............................. 1. สาระสาคัญ สงิ่ มชี ีวิตมีโครงสร้างทใ่ี ช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สแตกตา่ งกนั ทง้ั น้ขี ้นึ อยู่กบั ความซับซ้อนของโครงสรา้ ง ของร่างกาย สภาพแวดล้อมที่สงิ่ มชี วี ิตอาศยั อยแู่ ละปริมาณแกส๊ ออกซเิ จนทส่ี ง่ิ มชี วี ติ ต้องการเพ่ือนาไปใช้ใน กระบวนการเมแทบอลิซึมและสว่ นหนึ่งทาใหเ้ กิดของเสียไดแ้ ก่ แกส๊ คาร์บอนไดออกไซดแ์ ละของเสยี ท่ีมธี าตุ ไนโตรเจนเป็นองคป์ ระกอบ ได้แก่ แอมโมเนีย ยเู รยี และกรดยรู กิ ซง่ึ ตอ้ งมกี ารขบั ถ่ายออกจากรา่ งกาย ส่ิงมชี ีวติ แต่ละชนิดมวี กี ารขบั ถ่ายของเสยี แตกต่างกันข้ึนอยู่กับโครงสรา้ งของร่างกายและสภาพแวดล้อมที่ อาศัยอยู่ พลานาเรียมีเฟลมเซลล์ แมลงมมี ัลพเิ กียนทวิ บูลทาหน้าทก่ี าจัดของเสยี และรักษาสมดุลของนา้ และ แรธ่ าตุในรา่ งกาย การลาเลียงสารในร่างกายของส่งิ มชี ีวติ ทม่ี โี ครงสรา้ งไม่ซบั ซอ้ นจะมกี ารแลกเปลี่ยนสารระหวา่ งเซลล์ กบั สงิ่ แวดล้อมโดยตรง ในขณะทสี่ ิ่งมชี วี ติ ทม่ี ีโครงสร้างซับซ้อนจะมรี ะบบหมนุ เวยี นเลอื ดทาหนา้ ที่ลาเลียงสาร ไปยงั ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ระบบหมุนเวยี นเลือดมี 2 ระบบ คือ ระบบหมุนเวยี นเลือดแบบเปดิ พบในสัตว์ จาพวกก้งุ หอย แมลง ส่วนระบบหมนุ เวยี นเลอื ดแบบปดิ พบในไส้เดอื นดินและสัตวเ์ ลี้ยงลกู ดว้ ยน้านมรวมท้ัง คนดว้ ย ระบบหมนุ เวยี นเลือดของคนประกอบด้วยหวั ใจ ทาหนา้ ท่ีรบั และสบู ฉดี เลือดไปยงั เซลล์ท่ัวร่างกาย ขณะทีห่ วั ใจบบี ตวั สูบฉดี เลอื ดทาใหเ้ กดิ ความดนั ในหลอดเลือดและชีพจร ความดนั เลอื ดและชีพจรมี ความสมั พนั ธ์กับปจั จยั หลายอย่าง เชน่ ปริมาณไขมันในหลอดเลือด กิจกรรมต่างๆ ของร่างกาย อายุและเพศ เป็นต้น เลือดของคนประกอบด้วย พลาสมา เซลล์เมด็ เลือดและเพลตเลต พลาสมาประกอบด้วยนา้ โปรตีน สารอาหารและแร่ธาตุ ฯลฯ เซลล์เม็ดเลอื ดประกอบดว้ ยเซลล์เม็ดเลอื ดแดงทาหนา้ ท่รี บั ส่งแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์และแกส๊ ออกซิเจน เซลลเ์ มด็ เลือดขาวทาหน้าทท่ี าลายเชอื้ โรคหรือสิ่งแปลกปลอมและ สร้างภูมิคุ้มกนั สว่ นเพลตเลตทาหนา้ ท่เี ก่ียวกับการแขง็ ตวั ของเลือด โครงสร้างที่เกี่ยวกับระบบภมู ิคุม้ กัน ได้แก่ ไขกระดูก ไทมัส มา้ ม ตอ่ มน้าเหลอื งและเน้อื เย่อื น้าเหลืองทบี่ ริเวณทางเดินอาหารและทางเดนิ หายใจ มีหน้าท่ีแตกต่างกันโดยท่วั ไปจะทาหนา้ ทีเ่ กีย่ วกับการ ทาลายเชอ้ื โรคและลิมโพไซต์บางชนดิ ท่ีเกย่ี วข้องกับการสร้างภมู คิ มุ้ กนั ของร่างกาย

2. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชี้วัดช้ันปี/ผลการเรยี นรู้/เปา้ หมายการเรยี นรู้ 5. สังเกต และอธบิ ายโครงสรา้ งของปอดในสัตว์เลีย้ งลกู ด้วยน้านม 6. สืบค้นข้อมลู อธบิ ายโครงสรา้ งท่ใี ช้ในการแลกเปลย่ี นแก๊ส และกระบวนการแลกเปลี่ยนแกส๊ ของ มนษุ ย์ 7. อธบิ ายการทางานของปอด และทดลองวัดปริมาตรของอากาศในการหายใจออกของมนุษย์ 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เนือ้ หาสาระหลกั : อธบิ ายโครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลย่ี นแกส๊ และกระบวนการแลกเปลย่ี น แกส๊ ของมนษุ ย์ได้ 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : นักเรยี นสรุปองคค์ วามรู้และนาเสนอได้ 3.3 คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ : นักเรยี นมีพฤตกิ รรมใฝเ่ รียนรใู้ นการเรยี น 4. สมรรถนะสาคัญของนกั เรยี น 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 5. คุณลักษณะของวิชา - ความรบั ผดิ ชอบ - ความรอบคอบ - กระบวนการกลมุ่ 6. คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ 1. ใฝเ่ รียนรู้ 2. มุ่งมนั่ ในการทางาน 7. ช้ินงาน/ภาระงาน : - ใบงาน เร่อื ง การจาลองการทางานของกลา้ มเน้อื กะบังลม 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ขั้นสรา้ งความสนใจ ครูทบทวนความรเู้ ดิมว่ามีอวยั วะใดท่เี ก่ยี วข้องกับการแลกเปลี่ยนแก๊สของคนบา้ งมีความคล้ายคลึงกบั ของสตั วเ์ ล้ียงลูกดว้ ยนมทน่ี กั เรียนได้ทากิจกรรม ไปแล้วหรอื ไม่อย่างไร 2. ขนั้ สารวจและค้นหา ชั่วโมงท่ี 1-6 1. ครใู หน้ ักเรียนสืบค้นข้อมลู เกี่ยวกบั โครงสรา้ งท่ีใช้ในการแลกเปล่ียนแก๊สของคน จากใบความรแู้ ละ ให้นกั เรยี นร่วมกนั อภิปรายและสรปุ ทางเดินหายใจของคน ซง่ึ เริ่มจากช่องจมกู จนถึงถุงลม โดยใชต้ วั อยา่ ง คาถามนาในการอภิปราย ดังน้ี - เมอื่ นักเรยี นสูดอากาศเข้าทางช่องจมูกแลว้ อากาศจะมีการเดนิ ทางผ่านอวัยวะใดบ้าง (ชอ่ งจมูก  โพรงจมกู  คอหอย  กล่องเสียง  หลอดลม  หลอดลมฝอย  ถุงลม) - ปอดของคนมีพน้ื ท่ีผิวทีใ่ ช้ในการแลกเปลยี่ นแกส๊ เพยี งพอกับความต้องการของรา่ งกาย หรือไม่ (ปอดของคนมีพืนทีผ่ ิวเพยี งพอกับความตอ้ งการของร่างกาย เพราะปอดของคนแต่ละข้างมีถุงลม 300 ล้าน

ถงุ แตล่ ะถุงมีเส้นผา่ นศนู ย์กลาง 0.25 มลิ ลิเมตร ถงุ ลมของปอดทังสองขา้ งมพี ืนทป่ี ระมาณ 40 เท่า ของ พืนที่ผวิ ของร่างกาย) - ปอดมีวธิ กี ารรักษาความช้นื ของโครงสรา้ งที่ใช้ในการแลกเปลย่ี นแกส๊ ได้อยา่ งไร (ปอดมีตาแหน่ง อยู่ภายในชอ่ งอกและมีเยื่อหุ้มปอดที่ช่วยรักษาความชืนให้ปอดอยเู่ สมอ) 2. ครตู ้ังคาถามนาเข้าสู่กจิ กรรม ดงั น้ี “นักเรยี นคิดว่ามอี วัยวะใดเกย่ี วข้องกบั การทาใหเ้ กดิ การ เปล่ยี นแปลงความดนั อากาศในปอดบ้าง” นักเรียนอาจจะใช้ประสบการณ์เดิมตอบ ครูยังไม่เฉลย แต่ให้ นกั เรยี นทากจิ กรรม การจาลองการทางานของกลา้ มเนื้อกะบงั ลม 3. ครแู จง้ จุดประสงคก์ ารทากิจกรรม เพื่อให้นักเรียนสามารถสารวจตรวจสอบ อภปิ รายและสรุป เกยี่ วกบั การทางานของกลา้ มเนือ้ กะบงั ลม 4. ครูใหน้ ักเรียนทากิจกรรม เพอ่ื ศึกษาการจาลองการทางานของกลา้ มเน้ือกะบังลมและใหน้ กั เรียน รว่ มกันอภปิ รายหลังการทดลอง โดยใช้คาถามทา้ ยกิจกรรมและคาถามเพ่มิ เติม ดงั นี้ - ผลการทดลองเป็นอยา่ งไร เพราะเหตใุ ด (ขณะทีป่ ิดรูเล็กท่กี ระบอกสบู เมื่อเลื่อนลูกสบู ไป ทางด้านหนา้ ปริมาตรอากาศในกระบอกสูบจะลดลง ความดนั อากาศในลูกโปง่ จะเพ่มิ ขึนดันใหอ้ ากาศภายใน ลกู โปง่ ออกจากลูกโปง่ ทาให้ลูกโปง่ หดตวั ดงั ภาพ ก. แตเ่ มื่อดึงลกู สูบกลบั ที่เดมิ อากาศภายในกระบอกสบู จะมี ปรมิ าตรเพ่ิมขึนความดันอากาศภายในกระบอกสบู ลดลงอากาศภายนอกมีความดันสูงกว่าจะไหลเข้าไปใน ลกู โปง่ ทาใหล้ ูกโป่งขยายขนาดเพ่ิมขนึ ดังภาพ ข.) - ลกู โปง่ เปรยี บไดก้ บั โครงสร้างใดในการแลกเปล่ยี นแก๊ส (เทยี บได้กับปอด) - ลูกสบู เปรยี บเทยี บไดก้ ับโครงสรา้ งใด (เปรยี บเทียบได้กบั กะบังลม) - ผลการทดลองครั้งแรกกับคร้งั ท่ีสองแตกตา่ งกันหรือไม่ เพราะเหตุใด (ผลการทดลองครังที่ 2 อากาศในกระบอกสบู ไม่มีการเปล่ยี นแปลงความดัน เน่อื งจากอากาศออกมาทางรเู ล็กทาให้ขนาดของลกู โป่ง ไม่เปล่ยี นแปลง) - นักเรียนจะนาผลการทดลองนี้ไปอธิบายการสูดลมหายใจเข้าออกร่างกายไดว้ า่ อย่างไร ( ถา้ กลา้ มเนือกะบังลมคลายตวั โค้งขึน ทาใหป้ ริมาตรช่องอกลดลง ความดนั ในช่องอกเพมิ่ ขึนเกิดการ หายใจออก แตถ่ ้ากล้ามเนือกะบงั ลมหดตัวกะบังลมจะแบนราบทาใหป้ ริมาตรช่องออกมากขึนความดันในช่อง ออกจะลดลงเกิดการหายใจเข้า) 5. ครูให้นักเรียนเปรียบเทยี บการเปลยี่ นแปลงในขณะดงึ ลูกสูบของกระบอกสบู กบั การเลอื่ นขึ้นลงของ กระดูกซีโ่ ครง วา่ จะมผี ลต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาตรและความดนั อากาศภายในชอ่ งออกและปอดหรือไม่ โดยใหน้ กั เรียนรว่ มกนั อภปิ รายและตอบคาถามดงั นี้ - นกั เรยี นลองจับกระดูกซ่ีโครงและกระดกู หน้าอก แล้วสดู ลมหายใจเข้าปอดแรงๆ จะพบการ เปลยี่ นแปลงอยา่ งไร (กระดกู ซ่โี ครงและกระดูกหนา้ อกยกตัวสูงขนึ ) - การท่ีกระดูกซ่โี ครงยกตัวสูงขึ้น จะมีผลต่อปรมิ าตรและความดนั ของอากาศภายในช่องอก อยา่ งไร (ปรมิ าตรภายในช่องออกมากขนึ ความดันอากาศภายในช่องออกลดลง อากาศภายนอกจะถูกดูดเข้า มาในปอด)

- ในทางตรงขา้ มขณะหายใจออกกระดกู ซี่โครงและกระดกุ หน้าอกลดต่าลงจะมผี ลอยา่ งไร (ปรมิ าตรช่องอกจะลดลง ความดันอากาศภายในช่องออกเพ่มิ ขึน อากาศจะถูกขับออกจากปอด) 6. ครูใหน้ ักเรียนสบื ค้นข้อมูล เก่ยี วกบั การทางานของกล้ามเน้ือท่ยี ึดซ่ีโครงทงั้ แถบนอกและแถบในที่ สมั พันธก์ ับการทางานของกล้ามเนือ้ กะบังลม ซง่ึ ทาใหเ้ กิดการสดู ลมหายใจเข้าออก โดยครูอาจจะใช้สอ่ื ภาพ แผ่นโปรง่ ใสหรือหนุ่ จาลอง หรือใหน้ ักเรียนทดลองนามอื แตะท่ีหน้าท้องขณะท่ีหายใจเข้าออก อธิบายเสรมิ ความรู้ให้นกั เรยี น และให้นักเรยี นรว่ มกันอภปิ รายและสรุปดังน้ี - การทางานของกล้ามเน้ือยดึ ซ่ีโครงและกล้ามเนอ้ื กะบงั ลม ขณะหายใจเข้าและหายใจออก สามารถ สรปุ เปน็ ตารางไดด้ ังนี้ กลา้ มเนอ้ื กล้ามเน้ือ กระดูก กลา้ มเนอื้ ปริมาตรช่อ ความดนั ยดึ ซ่ีโครง ยึดซีโ่ ครง ซีโ่ ครง กะบังลม งอก อากาศ แถบนอก แถบใน ภายในช่อ ยกตัวสงู ขนึ้ หดตัว เพิ่มข้นึ งอก ขณะสูดลม หดตวั คลายตัว ลดตา่ ลง คลายตวั หายใจเขา้ คลายตวั ลดลง ขณะสดู ลม หดตัว หายใจออก ลดลง เพมิ่ ขน้ึ - ถา้ กล้ามเน้ือกะบังลมหยดุ ทางาน นักเรยี นจะสามารถสูดลมหายใจได้หรือไม่ เพราะเหตุใด (ไม่ไดเ้ นื่องจากความดนั ของอากาศในปอดจะคงท่ี หรอื มีการเปลี่ยนแปลงนอ้ ยมาก อากาศจะไม่เคลือ่ นที่เขา้ และออกจากปอด) 10. ครเู ปิดโอกาสใหน้ ักเรียนสอบถามเนื้อหา เรื่อง โครงสร้างทใ่ี ช้ในการแลกเปล่ียนแก๊สของคน ว่ามี สว่ นไหนที่ไม่เข้าใจและใหค้ วามรเู้ พิม่ เติมในสว่ นน้ัน 3. ขัน้ ลงข้อสรุป 1. ครูมอบหมายใหน้ ักเรียนสรุปความคิดรวบยอดเกย่ี วกับเน้ือหาที่ไดเ้ รียนในวนั น้ี 2. ครูมอบหมายใหน้ ักเรียนไปศกึ ษาความรู้ เรือ่ ง การแลกเปลย่ี นแก๊ส ซง่ึ จะเรียนในคาบตอ่ ไปมา ลว่ งหนา้

การจัดกระบวนการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 7-10 1. ขน้ั สร้างความสนใจ ครใู หน้ กั เรยี นทุกคนทดลองวัดอัตราการสูดลมหายใจเข้าออกของตนเองในเวลา 1 นาที ขณะน่ังพัก และนาข้อมูลมาเปรียบเทียบกบั ข้อมูลอัตราการสูดลมหายใจของผใู้ หญ่ปกติขณะพัก จากน้นั ตง้ั คาถามวา่ ใน การหายใจเข้าออกแตล่ ะคร้งั มปี รมิ าตรเทา่ ไร และให้นักเรียนศึกษาปริมาตรอากาศในลมหายใจออก โดยทา กจิ กรรมท่ี 6.3 2. ขัน้ สารวจและคน้ หา 1. ครูแจง้ จุดประสงคก์ ารทากิจกรรม เพ่ือให้นกั เรียนสามารถสารวจตรวจสอบ อภปิ รายและสรปุ เก่ียวกับ ปริมาตรอากาศในลมหายใจออก ดงั นี้ - ทาการทดลองหาปริมาตรของลมหายใจออก - ออกแบบการทดลองเพื่อศึกษาปัจจัยทีม่ ีผลตอ่ ปริมาตรของอากาศทีห่ ายใจออก 2. เมือ่ นกั เรยี นแต่ละกลุ่มศกึ ษาวธิ ีการทดลอง และรบั อุปกรณเ์ รียบร้อยแล้ว ครใู หน้ ักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายก่อนการทดลอง โดยใชต้ วั อย่างคาถามนาดังนี้ - การวัดปรมิ าตรของอากาศในลมหายใจออก ทาได้อย่างไร (เป่าลมหายใจออกไปแทนท่นี า) - นกั เรยี นจะมีวิธกี ารอย่างไรจึงทาให้คา่ ที่ไดถ้ ูกตอ้ งมากทส่ี ุด ( 1. การทาสเกลทขี่ วดบรรจนุ าตอ้ งถูกตอ้ งและชัดเจน 2. การสูดลมหายใจเขา้ ตอ้ งสูดใหเ้ ต็มท่แี ล้วเป่าลมหายใจออกใหม้ ากท่สี ดุ 3. ทดลองทาซา 2 - 3 ครงั แล้วหาค่าเฉลีย่ ) 3. เม่ือนักเรยี นทดลองเสร็จเรียบรอ้ ยแล้ว ใหน้ กั เรยี นนาเสนอข้อมูลบนกระดานเพอื่ เปรยี บเทยี บกบั กลุ่มอื่นและอาจจะเปรยี บเทียบขอ้ มูลระหวา่ งเพศหญิงและชาย แลว้ ใหน้ กั เรยี นรว่ มกันอภิปรายหลังการ ทดลองโดยใช้ตัวอยา่ งคาถามทา้ ยกิจกรรม ดงั น้ี - ปริมาตรของอากาศท่หี ายใจออกเตม็ ทีแ่ ตล่ ะครง้ั เท่ากันหรอื ไม่ อย่างไร (คาตอบนีขึนอยกู่ ับผล การทดลองของนักเรยี น) - นักเรยี นมีวธิ กี ารตรวจสอบได้อย่างไรว่า อายุ เพศ ขนาดของร่างกาย และกิจกกรมที่รา่ งกาย กระทามีผลตอ่ ปริมาตรของอากาศท่ีหายใจออก (ทาการทดลองเหมือนกจิ กรรม 3 แต่กาหนดตัวแปรตน้ แตกตา่ งกันในแต่ละครัง เชน่ ตอ้ งการทราบวา่ ปรมิ าตรของอากาศท่ีหายใจออกของคนทอี่ ายุต่างกันเท่ากนั หรอื ไม่ ตวั แปรตน้ คือ คนท่ีอายุต่างกันกลมุ่ ละ 4 - 5 คน เพอ่ื หาค่าเฉลี่ย ตวั แปรตาม คือ ปรมิ าตรของ อากาศในลมหายใจออก ตัวแปรควบคุม คือ สภาพของรา่ งกาย เชน่ ขณะพกั สุขภาพของรา่ งกายแขง็ แรง สมบูรณ์และเพศเดียวกัน นาหนกั ส่วนสูงใกลเ้ คยี งกนั ) 4. ครสู ่งเสรมิ ให้นักเรยี นทสี่ นใจเป็นพิเศษทาการศึกษาเพมิ่ เตมิ และเก็บเปน็ ผลงานในแฟ้มสะสมงาน และอาจต้ังคาถามเพมิ่ เติมเพื่อให้นกั เรียนออกแบบการทดลอง เชน่ ให้นักเรยี นออกแบบการทดลองการวัดลม หายใจเข้า

5. ครใู ห้นกั เรยี นศึกษาภาพแสดงปรมิ าตรอากาศในปอดขณะหายใจเข้า - ออก ปกติและขณะหายใจ เข้า-ออก เต็มที่ ในภาพท่ี 6 -10 และรว่ มกนั อภปิ รายเพือ่ ตอบคาถามดังนี้ - จากกราฟการหายใจเข้าออกปกติ 1 คร้ัง อากาศจะมีปริมาตรเท่าใด (500 ลูกบาศก์เซนติเมตร) - นกั เรียนสามารหายใจเอาอากาศออกจากปอดจนหมดได้หรือไม่ เพราะเหตใุ ด (ไม่ได้ เพราะการทางานของกล้ามเนือกะบงั ลมและกลา้ มเนือแถบนอกทย่ี ึดซ่ีโครงทางานไดจ้ ากัด) - ปริมาตรของอากาศจากการบังคับใหม้ กี ารหายใจเข้าเต็มท่ีกับการบงั คับการหายใจออกเตม็ ที่ ต่างกนั อยา่ งไร (ขณะที่มกี ารหายใจเขา้ เตม็ ท่ี จะมีปรมิ าตรอากาศสงู สดุ ท่ี 6,000 ลกู บาศก์เซนตเิ มตร ขณะท่ี หายใจออกเตม็ ทแ่ี ล้ว ยงั คงมีอากาศตกค้างในปอดประมาณ 1,100 ลกู บาศก์เซนติเมตร) - เม่ือหายใจออกปกติจะมีปริมาตรของอากาศทต่ี กค้างในปอดเป็นเทา่ ไร (2,4000 ลูกบาศก์เซนตเิ มตร) 6. ครใู หค้ วามร้นู ักเรยี นเพ่ิมเติมและให้คานวณปริมาตรของอากาศ ที่นกั เรยี นหายใจเข้าภายใน 1 วนั และให้นักเรียนวิเคราะหว์ า่ ถา้ อากาศเหล่านั้นเป็นอากาศที่ไมบ่ รสิ ทุ ธม์ิ ีสารพษิ ฝุน่ ละออง หรอื เชื้อโรค ปนเป้อื นอยู่ดว้ ย นักเรียนจะมโี อกาสไดร้ ับสิ่งเหลา่ นนั้ เขา้ ไปในรา่ งกายมากน้อยเพียงใด 7. ครนู านกั เรียนเข้าสเู่ รือ่ ง การแลกเปลี่ยนแกส๊ โดยสนทนากบั นกั เรียนเก่ยี วกับอากาศท่ีนักเรยี น หายใจเข้าไปถงึ ถุงลมมีแกส๊ ออกซิเจนจานวนมาก “แก๊สออกซิเจนเหลา่ นจี้ ะเข้าสูเ่ ลอื ดได้อย่างไร เม่ือเลือด ลาเลยี งแกส๊ ออกซิเจนไปให้เซลลต์ า่ งๆ ทว่ั รา่ งกาย แก๊สออกซิเจนจะเข้าสู่เซลล์และแกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ จากเซลลจ์ ะเข้าสู่เลือดได้อยา่ งไร และร่างกายจะมีวิธกี ารอยา่ งไรในการกาจดั แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ออก จากรา่ งกาย” คาตอบของนักเรียนอาจมีหลากหลาย แต่ครูยงั ไม่เฉลย แต่เมือ่ เรียนจบหวั ข้อน้แี ล้วใหน้ กั เรียน ตรวจสอบความเขา้ ใจเดิมของนกั เรยี นอีกครัง้ 8. ครูใหน้ ักเรยี นสบื ค้นข้อมูลเก่ยี วกบั การแลกเปลี่ยนแกส๊ ออกซิเจนและแกส๊ คาร์บอนได ออกไซดว์ ่า มกี ระบวนการอยา่ งไร เกดิ ข้ึนทบ่ี ริเวณใดของร่างกาย รวมถึงสารทม่ี ีบทบาทในการแลกเปลย่ี นแก๊ส โดย ศึกษาแผนภาพแสดงการแลกเปลยี่ นแก๊สและการลาเลยี งแก๊สออกซเิ จนและแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ และ แผนภาพแสดงความหนาแน่นของแก๊สในบรรยากาศและในส่วนตา่ งๆ ของร่างกาย โดยใช้ใบความรู้ และให้ นักเรียนรว่ มกันอภปิ รายเพื่อตอบคาถาม ดงั นี้ - การแลกเปล่ยี นแก๊สเกดิ ข้นึ ท่สี ว่ นใดบ้าง (เกดิ ขนึ 2 แหง่ แห่งแรกเกดิ ท่ีถุงลมกับหลอดเลอื ดฝอย อีกแห่งหน่ึงเกิดขนึ ทีห่ ลอดเลือดฝอยกบั เซลลท์ ั่วไปของรา่ งกาย) - เซลลข์ องเนอื้ เยอื่ ปอดต้องการออกซเิ จนหรอื ไม่ เพราะเหตุใด (ต้องการ เพราะเนอื เยอ่ื ของปอด ตอ้ งใช้พลังงานในการทากิจกรรมในเซลล์ เช่นเดยี วกับเซลลอ์ ่ืนๆ ของรา่ งกาย) - เนื้อเยือ่ ของปอดไดร้ บั ออกซเิ จนโดยวิธีใด (แพรจ่ ากหลอดเลือดฝอยทม่ี าหล่อเลียงเนือเย่อื ของ ปอด) - ฮีโมโกลบินรวมตวั กบั คารบ์ อนมอนอกไซดไ์ ด้ดีกว่าออกซเิ จน และไมย่ อมปล่อยคารบ์ อน มอน อกไซด์ออกมาง่ายๆ นกั เรยี นคิดว่าจะเกิดผลอย่างไร ถ้ารา่ งกายไดร้ ับคาร์บอนมอนอกไซดเ์ ป็นปรมิ าณมาก (แก๊สนจี ะไปรวมตวั กับฮีโมโกลบินของเซลล์เม็ดเลือดแดงได้ดีกว่าแกส๊ ออกวเิ จนทาใหห้ ลอดเลอื ดลาเลียง

ออกซิเจนได้นอ้ ยลง หวั ใจจึงตอ้ งบบี ตัวเรว็ ขึน เพื่อใหม้ ีการลาเลยี งออกซิเจนไดน้ ้อยลง หัวใจจงึ ต้องบบี ตัว เร็วขึน เพือ่ ให้มกี ารลาเลียงออกซเิ จนไปยงั สว่ นต่างๆ ของร่างกายได้เพยี งพอ) - แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์ต่างๆ ที่เขา้ สหู่ ลอดเลอื ดฝอยจะมกี ารเปลีย่ นแปลงอยา่ งไรบ้าง (แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ส่วนใหญ่จะทาปฏิกริ ยิ ากับนาในเซลล์เม็ดเลอื ดแดงได้เปน็ กรด คาร์บอนิก ซึง่ จะแตกตัวเปน็ ไฮโดรเจนคารบ์ อเนตไอออนและไฮโดรเจนไอออนและแพร่ออกสพู่ ลาสมา) - สารใดมผี ลต่อการเปล่ียนแปลงค่า pH ของพลาสมา (แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์) - นกั เรยี นทราบหรอื ไมว่ า่ บรเิ วณใดในร่างกายมีโมเลกุลของออกซิเจนหนาแนน่ มากทีส่ ุดและน้อย ทีส่ ุด (มากท่สี ดุ คือทป่ี อดหรอื ในถุงลม และน้อยทีส่ ุดคือที่เนือเยอื่ ต่างๆ ของร่างกาย) - บรเิ วณใดมีโมเลกลุ ของคาร์บอนไดออกไซด์อยู่กันหนาแน่นมากท่สี ดุ และน้อยทีส่ ุด เพราะเหตุใด จึงเปน็ เช่นนัน้ (หนาแนน่ มากทสี่ ุดคอื ทเ่ี นอื เยื่อตา่ งๆ ของร่างกาย เพราะเซลล์ตา่ งๆ ของเนือเย่ือมีการสลาย สารอาหารโดยใชแ้ กส๊ ออกซเิ จน และปลอ่ ยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ สว่ นบรเิ วณนอ้ ยที่สุดคอื ที่ปอดหรือในถุง ลม เพราะเป็นอากาศที่หายใจเขา้ มามีแก๊สคาร์บอนไดออกไซดเ์ ป็นส่วนประกอบประมาณร้อยละ 0.03) - แก๊สออกซิเจนทีผ่ า่ นเข้าไปในปอดจะแพรเ่ ข้าสู่เลอื ดได้ทั้งหมดหรอื ไม่ เพราะเหตุใด (แก๊สออกซเิ จนท่ผี ่านเขา้ ไปในปอดจะแพรเ่ ข้าสเู่ ลือดไดไ้ ม่ทังหมด เพราะในลมหายใจออกยงั มปี รมิ าณ ออกซเิ จนจานวนหน่ึงออกมา) - เพราะเหตใุ ดในเนื้อเยอื่ จึงมโี มเลกุลของออกซเิ จนหนาแนน่ น้อย แตม่ ีโมเลกลุ ของ คาร์บอนไดออกไซด์อย่กู นั หนาแนน่ มาก (เพราะเนือเยื่อนาออกซเิ จนเขา้ ร่วมปฏกิ ริ ิยาการสลายสารอาหารและ ไดผ้ ลิตภัณฑ์คือ แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์) 9. ครเู ปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนสอบถามเน้อื หา เรื่อง การแลกเปลีย่ นแก๊ส วา่ มสี ่วนไหนทไ่ี ม่เขา้ ใจและให้ ความร้เู พ่ิมเตมิ ในสว่ นนน้ั 3. ข้นั ลงข้อสรุป 1. ครมู อบหมายใหน้ กั เรยี นสรปุ ความคดิ รวบยอดเก่ียวกบั เนอ้ื หาที่ได้เรียนในวนั น้ี 2. ครมู อบหมายใหน้ กั เรยี นไปศึกษาความรู้ เรอ่ื ง การควบคมุ การหายใจและความผดิ ปกตทิ เี่ กีย่ วขอ้ ง กับโรคของระบบทางเดินหายใจ ซ่ึงจะเรยี นในคาบต่อไปมาลว่ งหน้า การจดั กระบวนการเรียนรู้ 10-15 1. ข้นั สร้างความสนใจ ครเู ร่ิมนานกั เรยี นเข้าสูเ่ รอื่ งทเ่ี รยี น โดยให้นักเรียนลองกลัน้ หายใจ นักเรยี นจะกลน้ั หายใจไดร้ ะยะหนึ่ง แลว้ ถามคาถามนาเพอ่ื นาไปสู่การอภปิ รายว่า “เราสง่ั ใหร้ ่างกายกลน้ั หายใจได้นานกว่านั้นหรอื ไม่ เพราะเหตุ ใด หรือขณะทว่ี ่ิงออกกาลังกายเราหายใจหอบและถี่ เราส่ังร่างกายให้หายใจเปน็ ปกติได้หรือไม่ แสดงว่าเรา ควบคมุ การหายใจไดห้ รือไม่” 2. ขั้นสารวจและค้นหา

1. ครคู วรชแี้ จงเพ่ิมเติมว่า เราสง่ั รา่ งกายให้กลนั้ หายใจไดช้ ่ัวระยะหนง่ึ เท่านนั้ และจะสัง่ ใหห้ ายใจ เปน็ ปกติขณะที่หายใจหอบและถีไ่ ม่ได้ แต่ถึงอยา่ งไรรา่ งกายกม็ ีกลไกควบคุมการหายใจ “นักเรยี นคิดว่าส่วน ใดของร่างกายทีค่ อยควบคุมการหายใจ เพอ่ื ช่วยรักษาดลุ ยภาพภายในร่างกาย” คาตอบของนักเรยี นอาจมี หลายรูปแบบแตค่ รยู งั ไม่เฉลยคาตอบ 2. ครใู หน้ ักเรียนสืบคน้ ข้อมูลการควบคุมการหายใจ และร่วมกนั อภปิ รายเพื่อสรุปกลไกการควบคุม การหายใจของร่างกาย ซึง่ สัมพันธ์กับการรกั ษาดลุ ยภาพของร่างกาย และใหน้ ักเรยี นร่วมกนั อภิปรายคาถาม ในหนังสอื เรียนและอาจมีคาถามเพมิ่ เติม ดงั นี้ - นักเรียนจะอธบิ ายว่าอย่างไร ในกรณีทีร่ า่ งกายมีการหายใจเรว็ ขึ้นและลึกขึ้นในขณะท่ีออกกาลงั กาย (ขณะที่ออกกาลังกายรา่ งกายต้องการแกส๊ ออกซิเจนมากขึน เพ่ือนาไปใช้ในการรบั อเิ ล็ก ตรอนตวั สดุ ทา้ ย ในการสลายสารอาหารเพือ่ ให้ไดพ้ ลังงาน ขณะเดยี วกันก็ต้องเร่งกาจดั แก๊สคารบ์ อน ไดออกไซด์ทเ่ี กดิ มากขึน ออกจากรา่ งกาย ดงั นนั จึงต้องมีการหมนุ เวยี นแก๊สออกซเิ จนเขา้ สู่ร่างกายมากขึนและเรว็ ขนึ และต้องนาแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ออกจากร่างกายมากขึนและเร็วขนึ ดว้ ย) 3. ครนู านกั เรียนเข้าสู่หัวข้อเรื่อง ความผิดปกติทเี่ ก่ยี วข้องกับโรคระบบทางเดินหายใจโดยนา เหตกุ ารณป์ ัจจบุ นั ท่ีมผี ูป้ ่วยดว้ ยโรคระบบทางเดินหายใจเป็นจานวนมาก ซง่ึ หาได้จากข่าวทางหนงั สอื พิมพ์ หรือสถิตขิ องกระทรวงสาธารณสุข ให้นักเรียนศึกษาและอภิปรายถึงสาเหตุ อาการของโรค วธิ ีการ แพร่กระจาย วิธปี ้องกันตนเองไม่ใหเ้ ปน็ โรค ตอ่ จากนนั้ ครูให้นกั เรียนทากิจกรรมเสนอแนะท่ี 1 เรือ่ ง โรคที่เกยี่ วข้องกับระบบทางเดนิ หายใจ 4. ครูแจ้งจุดประสงค์ของกจิ กรรมเสนอแนะที่ 1 เพื่อใหน้ ักเรยี นสามารถ - สบื ค้นขอ้ มูล อภปิ ราย และสรุปเก่ยี วกบั โรคท่ีเกย่ี วข้องกบั ระบบทางเดนิ หายใจ - นาเสนอขอ้ มูลโดยจัดทาเปน็ ปา้ ยนิเทศ - นาความรู้ทไ่ี ดไ้ ปใช้ในการดแู ลรกั ษาสขุ ภาพของตนเองและครอบครัว ( ครูควรให้นกั เรยี นทางานเป็นกลมุ่ ในการสบื ค้นข้อมูลเกยี่ วกบั โรคของระบบทางเดนิ หายใจ จาก แหลง่ เรยี นรตู้ ่างๆ ตามท่ีนกั เรียนสนใจโดยไม่ควรซา้ กนั ดว้ ยวธิ ีสืบค้นถึงสาเหตุ อาการ การปอ้ งกัน และการ รกั ษาโรค การประเมนิ ผลครูอาจให้เพื่อนในชัน้ เรยี นรว่ มประเมนิ ดว้ ย สาหรับเร่ืองพษิ ภัยของบุหรน่ี ั้นครใู ห้ นักเรยี นพจิ ารณาข้อความและเอกสารแผน่ พับต่างๆ ทใ่ี ช้ในการรณรงค์ใหง้ ดสูบบหุ รี่ และรว่ มกันอภิปรายถึง ผลของการสบู บุหรี่ และให้ทากจิ กรรมเสนอแนะท่ี 2 เรือ่ ง คนทส่ี ูบบหุ ร่กี ับคนทไี่ ม่สบู บหุ รี่ 5. ครแู จง้ จุดประสงค์ของกิจกรรมเสนอแนะที่ 2 เพ่อื ให้นกั เรียนสามารถ - สารวจขอ้ มลู เก่ยี วกับคนทีส่ บู บหุ รแี่ ละคนทไี่ ม่สูบบุหร่ี - วิเคราะหข์ ้อมูล และจัดกระทาข้อมูลทีส่ ารวจได้ - นาเสนอผลการศกึ ษาและสารวจในชนั้ เรยี น (ครูใหน้ ักเรยี นทางานเป็นกลุ่มในการศกึ ษาและสารวจข้อมูล โดยกาหนดกลุ่มประชากรทจ่ี ะศึกษา และแบง่ หนา้ ทีใ่ นการสารวจ จากน้นั นาข้อมูลที่ได้มารวมกันแล้ววเิ คราะห์ข้อมูลจดั ทาเป็นรายงาน แล้ว นาเสนอในชนั้ เรยี น)

6. ครนู านักเรยี นเขา้ สหู่ ัวข้อเรื่อง การวดั อตั ราการหายใจ โดยให้นักเรียนอภิปรายอย่างสัน้ ๆ ถึง ความสัมพันธ์ระหวา่ งอตั ราการหายใจกับอตั ราการใช้ออกซเิ จน และอตั ราเมแทบอลซิ ึมของสง่ิ มี ชวี ติ เพื่อให้ เห็นว่าอาจใชอ้ ัตราการใช้ออกซิเจนเป็นเครื่องบอกถึงเมแทบอลิซมึ ของส่งิ มีชีวิตได้และให้นกั เรียนทากิจกรรม เสนอแนะที่ 3 การวัดอัตราการหายใจของสตั ว์ 7. ครแู จ้งจดุ ประสงคข์ องกิจกรรมเสนอแนะที่ 3 เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นสามารถ - ทากิจกรรมวัดอตั ราการหายใจของสตั ว์บางชนดิ - ออกแบบการทดลองเพื่อศกึ ษาปจั จยั ทมี่ ีอทิ ธิพลต่ออัตราการหายใจของสัตว์ โดยครคู วรให้นกั เรยี นรว่ มกนั อภิปรายเกย่ี วกับการทดลองในประเดน็ ทีว่ ่า “การทดลองนี้ควรจะ ควบคุมอะไรให้เหมือนกันบ้าง เราจะวดั อัตราการใช้ออกซิเจนทหี่ นใู ช้ไปอย่างไร และจะมวี ธิ กี ารอย่างไรใน การเก็บแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดท์ ีห่ นหู ายใจออกมา” พร้อมกับเนน้ ข้อควรระวังตา่ งๆ ท่ีไดร้ ะบุไว้ใน วิธีดาเนนิ การทดลองโดยเฉพาะในเรอ่ื งต่อไปน้ี -รอยรวั่ ตามรอยต่อตา่ งๆ ของสายยาง ฝาขวด การใชด้ นิ น้ามนั หรือวาสลนิ ปดิ รอยต่อต่างๆ - ต้องทาการทดลองตามลาดับข้ันอย่างเคร่งครัด - คอยเกลี่ยโซเดยี มไฮดรอกไซด์ให้มผี ิวหนา้ กว้างมากๆ เพอ่ื ให้มีพื้นทีผ่ วิ สัมผสั กบั อากาศ ไดม้ าก 8. ครใู หน้ กั เรียนดาเนนิ การทดลองเปน็ กล่มุ เสรจ็ แล้วคานวณหาอตั ราการหายใจ จากนั้น จึง อภิปรายถึงความสาคญั ของค่านี้ แล้วให้นกั เรียนตอบคาถามในบทเรยี นและคาถามท้ายกิจกรรมดังนี้ - จากกิจกรรม สิง่ มีชีวติ ทน่ี กั เรยี นศกึ ษามีอัตราการหายใจแตกต่างกับสิ่งมีชีวติ ที่เพ่ือนกลุ่มอน่ื ๆ ศกึ ษาหรือไมอ่ ยา่ งไร (ตอบตามข้อมูลของนกั เรียน แต่น่าจะแตกตา่ งกนั เพราะเปน็ ส่งิ มีชีวิตคนละชนิด ถ้าเป็น สิง่ มชี ีวิตชนดิ เดียวกนั ขนาดแตกต่างกนั ก็น่าจะมอี ัตราการหายใจแตกตา่ งกนั ด้วย) - การท่ีหยดน้าสเี คล่ือนที่ไปได้แสดงวา่ ส่วนประกอบของอากาศภายในขวดลดลงไปจากเดมิ แกส๊ ที่ลดลงไปนี้คือแก๊สอะไร (แก๊สออกซิเจน) - การทดลองซ้า 2 – 3 ครง้ั มปี ระโยชน์อย่างไร เหตใุ ดจึงต้องเปิดฝาขวดให้อากาศผา่ นเขา้ ไปทุก ครัง้ ก่อนการทดลอง (การทดลองซาจะช่วยให้ผลการทดลองคลาดเคลื่อนน้อยลง และเหตทุ ตี่ ้องเปิดฝาขวด เพ่ือให้อากาศภายนอกเขา้ ไปทดแทนอากาศทส่ี ัตวไ์ ด้ใช้ไปแลว้ ) - นกั เรียนคิดวา่ โซเดียมไฮดรอกไซด์ทาหน้าที่อะไร (ดูดแกส๊ คาร์บอนไดออกไซดจ์ ากการหายใจของ สัตว์) - ถา้ ตอ้ งการศึกษาปัญหาอื่นๆ ที่เก่ยี วข้อง เชน่ อุณหภมู ิของส่งิ แวดล้อมมผี ลต่ออตั ราการใช้ ออกซเิ จนอย่างไร นกั เรียนจะวางโครงการทดลองอย่างไร (จดั ชุดการทดลอง 3 ชดุ เหมือนกับกจิ กรรม เสนอแนะ โดยใชส้ ตั วช์ นดิ เดียวกัน ขนาด และความสมบูรณ์ของร่างกายเหมือนกนั วางไว้ในอุณหภมู ทิ ่ี ตา่ งกัน เชน่ ที่ 10C อุณหภมู ิห้องและที่ 40C ทาการทดลองซา 2 – 3 ครังและหาคา่ เฉลี่ย) 9. ครใู หน้ ักเรยี นศึกษาตารางท่ี 6.1 ในหนังสือเรยี น แล้วใหต้ อบคาถาม ดังนี้ - ขอ้ มูลจากตารางบอกเราเกย่ี วกับกจิ กรรมในการดารงชวี ติ ของสตั ว์ต่างชนิดกนั ว่าอย่างไร

(ตารางนีแสดงใหเ้ หน็ วา่ อัตราการหายใจของสตั ว์ขึนอยู่กับกจิ กรรมในการดารงชีวติ ของสตั ว์ เช่น ดอกไม้ทะเลเปน็ สัตวท์ ่เี กาะนิ่งอยู่กบั ท่แี ละมีระดับการดารงชีวติ อยา่ งงา่ ยๆ จงึ มีอตั ราการหายใจทตี่ ่ามาก และระหว่างหมึกยักษก์ บั หมึกซงึ่ เป็นสตั ว์อยู่ในคลาสเดยี วกันแต่เนือ่ งจากหมึกมกี ิจกรรม มาก กวา่ จึงมีค่าอตั รา การหายใจสงู กวา่ หมึกยักษ์ นกฮัมมงิ เปน็ เปน็ สตั ว์เลือดอุ่น และมีความวอ่ งไวมากจงึ มอี ัตราการหายใจสงู มาก) - สตั วช์ นดิ ใดมีอตั ราเมแทบอลซิ มึ ในขณะพักสงู สดุ และต่าสุด (สูงสุดคือ นกฮมั มิง ต่าสดุ คอื ดอกไมท้ ะเล) - สงิ่ มชี วี ิตทน่ี กั เรยี นศกึ ษาในกิจกรรมเสนอแนะ เมอื่ เปรยี บเทยี บกับคนแลว้ มีอัตราการหายใจ แตกต่างกันอย่างไร (ตอบตามขอ้ มลู ของนักเรียนเปรยี บเทยี บกับข้อมลู ของคนในตาราง) - นักเรยี นบอกได้หรือไมว่ ่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับอัตราการหายใจของสิง่ มีชีวติ มอี ะไรบ้าง (พฤติกรรมและการดารงชวี ติ ของสง่ิ มีชีวติ ) 10. ครูเปดิ โอกาสให้นักเรยี นสอบถามเน้ือหา เรื่อง การควบคุมการหายใจและความผดิ ปกติที่ เกีย่ วขอ้ งกบั โรคของระบบทางเดนิ หายใจ วา่ มสี ่วนไหนที่ไม่เขา้ ใจและให้ความรเู้ พ่ิมเติมในสว่ นนั้น 3. ขั้นลงข้อสรปุ 1. ครมู อบหมายใหน้ ักเรียนสรปุ ความคดิ รวบยอดเก่ยี วกบั เนอื้ หาที่ไดเ้ รยี นในวันนี้ 2. ครใู หน้ ักเรยี นทาแบบทดสอบ เรือ่ ง โครงสร้างท่ใี ชใ้ นการแลกเปลีย่ นแกส๊ ของคน (2) 3. ครูมอบหมายใหน้ กั เรยี นไปศกึ ษาความรู้ เร่ือง ระบบขับถา่ ยกับการรกั ษาดลุ ยภาพของรา่ งกาย ซ่งึ จะเรยี นในคาบตอ่ ไปมาลว่ งหน้า 9. สอ่ื การเรยี นการสอน / แหลง่ เรยี นรู้ จานวน สภาพการใช้สือ่ 1 ชุด ขน้ั ตรวจสอบความรูเ้ ดิม รายการส่อื 1 ชุด ขั้นสรา้ งความสนใจ 1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน 1 ชุด ขน้ั สร้างความสนใจ 2. ใบงาน เรื่อง การจาลองการทางานของกล้ามเนอ้ื กะบังลม 3. ใบงาน เรือ่ ง ปรมิ าตรอากาศในลมหายใจออก

10. การวดั ผลและประเมนิ ผล เป้าหมาย หลกั ฐานการเรยี นรู้ วิธีวัด เครอ่ื งมอื วัดฯ ประเด็น/ การเรียนรู้ ชิน้ งาน/ภาระงาน เกณฑก์ ารให้ ตรวจใบงาน เรือ่ ง ใบงาน เรื่อง การจาลอง นักเรยี นสามารถ ใบงาน เรื่องการจาลอง คะแนน อธิบายโครงสร้างท่ี การทางานของ การจาลองการ การทางานของกล้ามเน้ือ ทาได้ถกู ต้อง 70 % ใช้ในการแลกเปลย่ี น กลา้ มเนื้อกะบงั ลม ขึน้ ไป แก๊ส และ ทางานของ กะบงั ลม กระบวนการ แบบทดสอบก่อนเรยี น ทาได้ถูกต้อง 70 % แลกเปล่ยี น กลา้ มเนื้อกะบังลม ข้นึ ไป แกส๊ ของมนุษย์ได้ ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรยี น กอ่ นเรยี น

11. การบรู ณาการตามจดุ เนน้ ของโรงเรียน หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ครู ผู้เรียน 1. ความพอประมาณ พอดดี ้านเทคโนโลยี พอดีดา้ นจติ ใจ รู้จักใช้เทคโนโลยีมาผลิตสอ่ื ทเี่ หมาะสม มจี ติ สานึกที่ดี เอ้ืออาทร ประนปี ระนอม และสอดคลอ้ งเนอื้ หาเป็นประโยชน์ต่อ นกึ ถงึ ประโยชนส์ ว่ นรวม/กลุ่ม ผเู้ รียนและพฒั นาจากภูมิปัญญาของ ผ้เู รยี น 2. ความมเี หตผุ ล - ยึดถือการประกอบอาชีพดว้ ยความ ไมห่ ยุดน่งิ ท่หี าหนทางในชีวติ หลุดพน้ ถูกต้อง สจุ รติ แม้จะตกอย่ใู นภาวะขาด จากความทกุ ขย์ าก (การคน้ หาคาตอบ แคลน ในการดารงชีวติ เพอ่ื ให้หลดุ พน้ จากความไมร่ ู)้ 3. มภี ูมคิ ุมกันในตัวที่ดี ภมู ิปญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ภมู ิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ระมดั ระวงั ระมัดระวงั สร้างสรรค์ 4. เงอื่ นไขความรู้ ความรอบรู้ เรื่อง โครงสร้างท่ใี ชใ้ น ความรอบรู้ เร่อื ง โครงสรา้ งทใ่ี ช้ใน การแลกเปลยี่ นแก๊ส และกระบวนการ การแลกเปลย่ี นแก๊ส และกระบวนการ แลกเปล่ยี น แกส๊ ของมนษุ ย์ แลกเปล่ยี น แกส๊ ของมนษุ ย์ 5. เง่ือนไขคณุ ธรรม มคี วามตระหนกั ใน คณุ ธรรม มี มคี วามตระหนกั ใน คุณธรรม มี ความซ่ือสตั ย์สจุ รติ และมคี วามอดทน มี ความซื่อสัตย์สุจรติ และมีความอดทน มี ความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนนิ ความเพียร ใชส้ ติปญั ญาในการดาเนนิ ชวี ติ ชีวติ สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผูเ้ รยี น -- - ส่ิงแวดลอ้ ม ครู ผเู้ รียน -- - ลงชือ่ ..................................................ผสู้ อน (นางสาวจนั จริ า ธนันชยั )

ใบงานกจิ กรรม เรื่อง การจาลองการทางานของกลา้ มเนอื้ กะบังลม คาชแ้ี จง นักเรยี นศึกษากจิ กรรม แล้วตอบคาถามต่อไปนี้ 1. ลูกโปรง่ เปรยี บเทยี บได้กับโครงสร้างใดในการแลกเปลย่ี นแกส๊ คาตอบ . .............................................................................................................................................................. ........................................................................................................................ ...................................................... ............................................................................................................. ................................................................. ........................................................................................................................ ...................................................... 2.ลกู สบู เปรียบเทียบได้กบั โครงสร้างใด คาตอบ . .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................ ...................................................... ........................................................................................................................ ...................................................... 3.ผลการทดลองครงั้ แรกกบั ครงั้ ท่ีสองแตกตา่ งกนั หรอื ไม่ เพราะเหตุใด คาตอบ . .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................ ...................................................... ........................................................................................................................ ......................................................

ใบงาน เร่อื ง ปรมิ าตรอากาศในลมหายใจออก คาชี้แจง นักเรียนศกึ ษากิจกรรมที่ 6.3 แล้วตอบคาถามต่อไปน้ี 1. ปริมาตรของอากาศทหี่ ายใจออกเตม็ ที่แตล่ ะคร้ังเท่ากันหรอื ไม่ อยา่ งไร คาตอบ . .............................................................................................................................................................. ........................................................................................................................ ...................................................... .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................ ...................................................... 2.นักเรียนมีวธิ ีการตรวจสอบไดอ้ ยา่ งไรว่า อายุ เพศ ขนาดของร่างกาย และกจิ กรรมทร่ี า่ งกายกระทามีผลต่อ ปริมาตรของอากาศทห่ี ายใจออก คาตอบ . .............................................................................................................................................................. ........................................................................................................................ ...................................................... ........................................................................................................................ ...................................................... ........................................................................................................................ ......................................................

คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนศึกษากราฟแลว้ ตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1.จากกราฟการหายใจเข้าออกปกติ 1 ครัง้ จะมปี รมิ าตรของอากาศเท่าใด คาตอบ . .............................................................................................................................................................. ........................................................................................................................ ...................................................... ............................................................................................................ .................................................................. ........................................................................................................................ ...................................................... 2.นักเรียนสามารถหายใจเอาอากาศออกจากปอดจนหมดได้หรอื ไม่ เพราะเหตุใด คาตอบ . .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................ ...................................................... .............................................................................................................................................................................. 3.ปรมิ าตรของอากาศจากการบังคบั ใหม้ ีการหายใจเข้าเต็มทก่ี ับการบังคับการหายใจออกเต็มทีต่ ่างกนั หรือไม่ อยา่ งไร คาตอบ . .............................................................................................................................................................. ........................................................................................................................ ...................................................... ........................................................................................................................ ...................................................... .............................................................................................................................................................................. 4.เมอ่ื หายใจออกปกติจะมีปริมาตรของอากาศท่ีตกค้างในปอดเป็นเท่าไร คาตอบ . .............................................................................................................................................................. ........................................................................................................................ ...................................................... ........................................................................................................................ ...................................................... ..............................................................................................................................................................................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook