Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 3 ระบบขับถ่าย

หน่วยที่ 3 ระบบขับถ่าย

Published by Jiab Chanchira, 2019-09-12 23:44:28

Description: หน่วยที่ 3 ระบบขับถ่าย

Search

Read the Text Version

การออกแบบการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ รายวชิ า ชวี วทิ ยา 3 รหัสวชิ า ว30243 ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 2 เรอ่ื ง ระบบขบั ถ่าย จดั ทาโดย นางสาวจนั จริ า ธนนั ชยั ตาแหนง่ พนกั งานราชการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ตาบลชา่ งเค่งิ อาเภอแม่แจม่ จังหวดั เชียงใหม่ สานกั บริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สานกั งานการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

ผังมโนทัศน์ รายวชิ า ชีววิทยา 3 รหสั วิชา ว 32203 ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 5 หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 3 เร่อื ง ระบบขับถ่าย จานวน 18 ช่ัวโมง : 20 คะแนน ชอ่ื เรื่อง การขบั ถ่ายของสง่ิ มีชีวติ เซลลเ์ ดยี ว จานวน 6 ชว่ั โมง : 7 คะแนน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรื่อง ระบบขับถา่ ย จานวน 16 ชัว่ โมง ชื่อเรื่อง การขบั ถา่ ยของสตั ว์ ช่อื เรอื่ ง การขับถ่ายของคน จานวน 6 ชั่วโมง : 7 คะแนน จานวน 6 ช่วั โมง : 6 คะแนน

แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เร่ือง ระบบขับถา่ ย แผนจดั การเรียนรู้ที่ 1 เรือ่ ง การขบั ถ่ายของส่ิงมีชีวิตเซลล์เดยี ว รายวชิ า ชวี วทิ ยา 3 รหัสวิชา ว 32203 ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 5 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 นา้ หนักเวลาเรียน 1.5 (นน./นก.) เวลาเรียน 3 ช่วั โมง/สัปดาห์ เวลาทีใ่ ช้ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 6 ช่วั โมง ............................................................................................................................. ............................. 1. สาระสาคัญ สิ่งมีชวี ติ มโี ครงสร้างทใี่ ชใ้ นการแลกเปลย่ี นแกส๊ แตกต่างกนั ทั้งนข้ี ้นึ อยู่กับความซับซ้อนของโครงสร้าง ของร่างกาย สภาพแวดล้อมท่ีส่ิงมีชีวิตอาศัยอยู่และปริมาณแก๊สออกซิเจนท่ีส่ิงมีชีวิตต้องการเพ่ือนาไปใช้ใน กระบวนการเมแทบอลิซึมและส่วนหน่ึงทาให้เกิดของเสียได้แก่ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และของเสียท่ีมีธาตุ ไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ ได้แก่ แอมโมเนีย ยูเรียและกรดยูริก ซึ่งต้องมีการขับถ่ายออกจากร่างกาย สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีวีการขับถ่ายของเสียแตกต่างกันข้ึนอยู่กับโครงสร้างของร่างกายและสภาพแวดล้อมท่ี อาศยั อยู่ พลานาเรยี มีเฟลมเซลล์ แมลงมีมัลพิเกียนทิวบูลทาหน้าท่ีกาจัดของเสียและรักษาสมดุลของน้าและ แรธ่ าตุในรา่ งกาย การลาเลียงสารในร่างกายของส่ิงมีชีวิตท่ีมีโครงสร้างไม่ซับซ้อนจะมีการแลกเปล่ียนสารระหว่างเซลล์ กับสง่ิ แวดล้อมโดยตรง ในขณะทีส่ ง่ิ มีชวี ติ ท่ีมโี ครงสร้างซบั ซ้อนจะมรี ะบบหมุนเวยี นเลือดทาหน้าทลี่ าเลยี งสาร ไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย ระบบหมุนเวียนเลือดมี 2 ระบบ คือ ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิดพบในสัตว์ จาพวกกุ้ง หอย แมลง ส่วนระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิดพบในไส้เดือนดินและสัตวเ์ ล้ียงลกู ด้วยน้านมรวมท้งั คนด้วย ระบบหมุนเวียนเลือดของคนประกอบด้วยหัวใจ ทาหน้าที่รับและสูบฉีดเลือดไปยังเซลล์ทั่วร่างกาย ขณะท่ีหัวใจบีบตัวสูบฉีดเลือดทาให้เกิดความดันในหลอดเลือดและชีพจร ความดันเลือดและชีพจรมี ความสัมพันธ์กับปัจจัยหลายอย่าง เช่นปริมาณไขมนั ในหลอดเลือด กิจกรรมต่างๆ ของร่างกาย อายุและเพศ เป็นตน้ เลือดของคนประกอบด้วย พลาสมา เซลล์เม็ดเลือดและเพลตเลต พลาสมาประกอบด้วยน้า โปรตีน สารอาหารและแร่ธาตุ ฯลฯ เซลล์เม็ดเลือดประกอบด้วยเซลล์เม็ดเลือดแดงทาหน้าท่ีรับส่งแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สออกซิเจน เซลล์เม็ดเลือดขาวทาหน้าที่ทาลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมและ สร้างภมู ิคุ้มกัน ส่วนเพลตเลตทาหน้าท่ีเกย่ี วกบั การแขง็ ตวั ของเลือด

โครงสร้างท่ีเก่ียวกับระบบภูมิคุ้มกัน ได้แก่ ไขกระดูก ไทมัส ม้าม ต่อมน้าเหลืองและเนื้อเยื่อ น้าเหลืองที่บริเวณทางเดินอาหารและทางเดินหายใจ มีหน้าที่แตกต่างกันโดยทั่วไปจะทาหน้าท่ีเก่ียวกับการ ทาลายเชื้อโรคและลมิ โพไซตบ์ างชนิดท่ีเกีย่ วข้องกับการสรา้ งภมู คิ ุม้ กนั ของรา่ งกาย 2. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ช้ีวดั ชั้นป/ี ผลการเรียนร/ู้ เป้าหมายการเรียนรู้ 18. สืบคน้ ขอ้ มูล อธิบาย และเปรยี บเทยี บโครงสร้างและหนา้ ท่ีในการกาจดั ของเสยี ออกจากรา่ งกาย ของฟองน้า ไฮดรา พลานาเรีย ไส้เดอื นดนิ แมลง และสตั ว์มีกระดูกสนั หลัง 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 เน้ือหาสาระหลกั : นักเรยี นสามารถอธิบายอธบิ าย และเปรียบเทียบโครงสร้างและหนา้ ท่ใี นการ กาจัดของเสยี ออกจากรา่ งกายของฟองน้า ไฮดรา พลานาเรีย ไสเ้ ดือนดนิ แมลง และสัตว์มกี ระดูกสนั หลงั ได้ 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : นักเรียนสรุปองคค์ วามรู้และนาเสนอได้ 3.3 คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ : นักเรยี นมพี ฤตกิ รรมใฝเ่ รียนรใู้ นการเรยี น 4. สมรรถนะสาคญั ของนกั เรยี น 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 5. คุณลกั ษณะของวิชา - ความรบั ผิดชอบ - ความรอบคอบ - กระบวนการกลุ่ม 6. คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มงุ่ มัน่ ในการทางาน 7. ชิ้นงาน/ภาระงาน : - ใบงาน เรอื่ ง ระบบหายใจกบั การรกั ษาสมดุลของร่างกาย 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ 1-3 1. ข้ันสรา้ งความสนใจ 1. ครูทบทวนความรู้เดมิ เกย่ี วกับสารทเี่ กิดขึ้นจากการสลายโมเลกลุ ของสารอาหารเพื่อให้ได้พลงั งาน และกระบวนการเมแทบอลิซึมของร่างกาย และใหน้ ักเรยี นร่วมกนั อภิปราย วเิ คราะห์ว่าสารเหลา่ นัน้ มี ประโยชน์และโทษอย่างไร ถา้ รา่ งกายมีการเก็บสะสมไว้ร่างกายจะมวี ธิ ีการจดั การกับสารตา่ งๆ เหลา่ น้ันได้ อยา่ งไร ครูใหน้ ักเรียนรว่ มกันสรุปว่าสารตา่ งๆ ซ่ึงเกิดจากกระบวนการเมแทบอลซิ ึมทรี่ ่างกายต้องกาจัดออก เรียกว่าของเสยี 2. นกั เรยี นอาจสบั สนระหว่างคาวา่ ของเสียกับอจุ จาระ จึงตอ้ งทาความเข้าใจ โดยใชค้ าถามดังน้ี - ของเสียทเ่ี กดิ จากเมแทบอลซิ ึมมีอะไรบา้ ง (คารบ์ อนไดออกไซด์ นา้ ทเ่ี กนิ ต่อความต้องการของ ร่างกาย ยเู รีย แอมโมเนยี ยรู กิ )

- การขับถา่ ยกับการอจุ จาระออกจากรา่ งกายเหมือนหรือต่างกนั อยา่ งไร ( ต่างกนั การขบั ถ่าย หมายถงึ การกา้ จดั ของเสียที่เกดิ จากกระบวนการเมแทบอลซิ มึ ในเซลล์ แตก่ ารถ่ายอุจจาระออกจากรา่ งกาย หมายถงึ การก้าจัดกากอาหารท่ีอยู่ในทางเดินอาหาร ซงึ่ รา่ งกายย่อยไม่ได้หรือไม่ทันยอ่ ยออกจากรา่ งกาย) 3. ครตู ั้งคาถามเพ่ือนาเขา้ ส่หู ัวขอ้ ต่อไปน้ี ดงั นี้ - กระบวนการขับถ่ายมีความสาคญั ต่อการรักษาดลุ ยภาพของรา่ งกายอยา่ งไร - สง่ิ มีชวี ิตต่างชนดิ กันอยใู่ นสภาพแวดล้อมตา่ งกัน มวี ธิ กี ารกาจัดของเสยี ออกจากรา่ งกายเหมือน หรือตา่ งกันอยา่ งไร 2. ขั้นสารวจและค้นหา 1. ครนู านกั เรียนเข้าสู่บทเรียนโดยรว่ มกนั อภปิ ราย โดยใช้คาถาม ดังนี้ - ส่ิงมีชวี ติ เซลล์เดียวมีของเสียเกดิ ขน้ึ ภายในเซลล์เหมือนกับสิ่งมชี ีวติ อนื่ ๆ หรือไม่ อย่างไร (สิง่ มีชวี ติ เซลลเ์ ดยี วจะด้ารงชีวติ อยไู่ ดจ้ ะต้องมกี ระบวนการเมแทบอลิซมึ เหมือนกับส่งิ มชี ีวติ อนื่ ๆ ซึ่งจะต้องมี ของเสยี เกิดขนึ ภายในเซลล์เช่นกัน) - เซลลเ์ หล่าน้ีมีวิธกี าจดั ของเสยี ออกจากเซลลอ์ ย่างไร (ล้าเลยี งผ่านเยอ่ื หุ้มเซลล์โดยการแพร่และบาง ชนิดอาจใช้คอนแทร็กไทลแ์ วคิวโอลช่วยก้าจัดน้าที่มากเกนิ ออกจากเซลล์) - ถา้ สง่ิ มีชีวิตเซลลเ์ ดยี วอย่ใู นสภาพแวดล้อมที่มีสภาพไฮโพทอนิกจะเกดิ อะไรข้ึนกบั เซลลบ์ ้าง (นา้ จากสภาพแวดล้อมจะแพรเ่ ขา้ สเู่ ซลลท์ า้ ให้เซลลไ์ ดร้ ับน้ามากเกนิ ไป เซลลจ์ ึงไม่สามารถรักษาสมดลุ ของน้า ในเซลล์ได้ ท้าใหเ้ ซลล์บวมและแตกได้) 2. ครใู หน้ กั เรียนเชอื่ มโยงกบั เรอื่ ง ออสโมซสิ ทเ่ี รยี นมาแล้ว และร่วมกนั อภปิ ราย เพื่อสรุปวา่ สิง่ มชี วี ติ เซลลเ์ ดียวไม่มีออรแ์ กเนลล์ที่ทาหน้าท่ขี บั ถ่ายโดยเฉพาะ แต่จะมีคอนแทรก็ ไทลแ์ วควิ โอลทาหน้าทรี่ ักษาสมดลุ ของนา้ ของเสียสว่ นใหญจ่ ะปนออกมากับนา้ ท่ีขบั ออกนอกเซลล์ ส่วนสง่ิ มีชวี ติ เซลลเ์ ดยี วทไ่ี มม่ ีคอนแทรก็ ไทล์ แวควิ โอลของเสียจะถูกกาจัดออกทางเยื่อหุ้มเซลล์ 3. ครูนานักเรียนเข้าสู่เรอ่ื งการขบั ถา่ ยของสตั ว์ โดยให้นักเรยี นแต่ละกลมุ่ สังเกตภาพแสดงโครงสร้าง ภายในเกี่ยวกับการขับถ่ายของสัตว์ไมม่ ีกระดูกสันหลงั บางชนิด ไดแ้ ก่ ฟองนา้ ไฮดรา พลานาเรีย ไสเ้ ดอื น ดิน และต๊ักแตน ในใบความรู้ และใหน้ กั เรยี นพจิ ารณาเปรยี บเทียบและรว่ มกันอภิปราย โดยใชต้ วั อยา่ ง คาถามนาในการอภปิ ราย ดังนี้ - สตั วท์ ั้ง 5 ชนิดมโี ครงสร้างและกระบวนการขับถ่ายเหมือนหรือแตกต่างกันอยา่ งไร สตั วท์ งั 5 ชนิดมโี ครงสรา้ งและกระบวนการขับถ่ายแตกต่างกัน ดงั นี ช่ือสิ่งมีชวี ติ อวัยวะขับถ่าย กระบวนการขบั ถ่าย ฟองน้า/ไฮดรา ไมม่ ี การแพร่ออกจากเซลล์ ซิเลียในเฟลมเซลล์โบกพัดเกิดแรงดงึ น้าพร้อมของเสียที่ละลาย พลานาเรีย เฟลมเซลล์ อยู่ในน้าจากเซลล์และของเหลวทีล่ ้อมรอบเซลล์ เข้าส่เู ฟลม

ไส้เดอื นดิน เนฟรเิ ดยี ม เซลล์ และล้าเลยี งเข้าสทู่ ่อรบั ของเหลว เพ่ือไปก้าจดั ออกท่ี แมลง ท่อมัลพเิ กยี น ช่องเปิดของท่อขับถ่าย เนโฟสโตมทเี่ ปน็ ปลายเปิดของเนฟริเดยี มจะรบั ของเสียท่ีอยู่ใน ช่องของเหลวภายในล้าตัวและล้าเลยี งออกสู่ช่องเปดิ ท่ผี วิ หนงั ปลายทอ่ ของมลั พเิ กียนจะรับของเสียจากของเหลวภายในชอ่ ง ของลา้ ตวั และลา้ เลียงไปยงั ทางเดินอาหารซ่งึ จะมกี ารดดู นา้ และสารท่มี ีประโยชนก์ ลับเข้าสู่หลอดเลอื ดจะเหลือของเสียที่ เป็นสารประกอบไนโตรเจนท่ีมีลักษณะเปน็ ผลึกคอื กรดยรู ิก - เพราะเหตใุ ด ฟองนา้ และไฮดราจึงดารงชีวติ อยู่ไดโ้ ดยไม่มโี ครงสรา้ งพเิ ศษท่ีใช้ในการขบั ถา่ ย (เพราะเซลล์ทกุ เซลล์ของฟองน้าและไฮดราสามารถสัมผัสกับนา้ จึงมีการขบั ถา่ ยของเสียพวกแอมโมเนียออก สู่น้าไดโ้ ดยตรง) 4. ครูใหน้ ักเรยี นยกตวั อยา่ งสัตวม์ กี ระดูกสันหลังทีน่ ักเรยี นรจู้ กั เชน่ หมู แมว สนุ ัข ปลา ไก่ เปน็ ตน้ และบอกโครงสรา้ งที่สัตว์เหล่านน้ั ใช้ในการขับถา่ ย และให้นกั เรียนร่วมกันสบื ค้นขอ้ มูลเกีย่ วกบั การกาจดั ของ เสยี ทเ่ี ปน็ สารประกอบไนโตรเจน และอภิปรายโดยใช้คาถามดงั น้ี - สตู รโมเลกลุ ของแอมโมเนีย ยเู รีย และกรดยรู ิกเหมือนหรือตา่ งกันอย่างไร ( สารทงั 3 ชนิด ประกอบด้วยธาตุ N และ H เหมอื นกนั แต่แอมโมเนยี จะมีเฉพาะ N และ H มีสูตรโมเลกลุ NH3 ส่วนยูเรยี และกรดยรู ิกจะมีธาตุ C และ O เปน็ องค์ประกอบด้วย ยูเรยี มสี ูตรโมเลกุลเป็น NH2CONH2 กรดยูริกมี สตู รโมเลกลุ เป็น C5O3N4H4 ) - นกั เรยี นทราบหรือไมว่ า่ เพราะเหตุใดสัตวท์ ี่กนิ สตั ว์เป็นอาหารจึงมีปริมาณของเสียท่ีมไี นโตรเจน เป็นองคป์ ระกอบในน้าปสั สาวะสูงกว่าสัตวท์ ่ีกนิ พืชเปน็ อาหาร (เมอ่ื สตั วก์ ินสัตว์เปน็ อาหาร โปรตีนในเนอื สตั วจ์ ะถูกยอ่ ยจนได้สารท่ีมโี มเลกุลขนาดเลก็ คอื กรดอะมโิ น เมื่อ สัตวน์ ้ากรดอะมิโนเหลา่ นีไปใชใ้ นการสลายเพ่ือให้ได้พลังงานจะได้ยูเรยี ซึ่งแตกต่างไปจากสัตวท์ ก่ี นิ พืชเป็น อาหาร เพราะอาหารของสตั ว์กนิ พืชส่วนใหญเ่ ปน้ พวกคาร์โบไฮเดรตและมโี ปรตนี น้อยกว่าอาหารของสัตว์กนิ สตั ว์ ซ่ึงสลายแล้วได้ยูเรียเพยี งเลก็ น้อย) - การท่ีสตั ว์จาพวกแมลงและสตั วเ์ ล้ือยคลานขับถ่ายของเสียออกมาในรปู กรดยูริก มีความ สมั พนั ธ์ กับการดารงชวี ติ อย่างไร (การขับถ่ายของเสียในรปู กรดยูรกิ เป็นการช่วยสงวนนา้ ไว้ในรา่ งกาย เพราะสัตว์ เหล่านไี ดร้ ับนา้ ส่วนใหญจ่ ากอาหารเทา่ นัน ไม่คอ่ ยไดด้ ืม่ น้าและมีโอกาสสญู เสยี น้าได้ง่าย) - นักเรยี นคดิ วา่ อะไรเปน็ สาเหตสุ าคัญทที่ าให้สตั วม์ ีกระดูกสนั หลงั ท่ีอาศัยอยู่ในน้าและบนบก มี การขับถ่ายของเสียในรูปที่แตกตา่ งกนั (สภาพแวดลอ้ มที่สัตวอ์ าศัยอยู่ เชน่ ในน้า หรอื บนบก มีผลต่อการ ได้รบั นา้ และการสูญเสียน้าของร่างกาย ท้าให้สัตวต์ ้องขับถ่ายของเสียในรปู ทต่ี า่ งกนั เช่น ปลาจะขบั ถ่ายของ เสยี ในรูปของแอมโมเนยี ซ่ึงเป็นสารพิษสา้ หรบั ร่างกายแต่ละลายน้าไดด้ ี ส่วนนก แมลง และสัตวเ์ ลือยคลาน

บางชนดิ จา้ เปน็ ตอ้ งสงวนนา้ ไวใ้ ชใ้ นร่างกายจงึ ต้องมีการดดู นา้ จากสาร ละลายทีม่ ีของเสียกลบั ไปใชใ้ นรา่ งกาย ของเสียที่เป็นสารประกอบไนโตรเจนจึงอยูใ่ นรปู ผลกึ ของ กรดยรู กิ ) 5. ครเู ปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นสอบถามเนื้อหา เรือ่ ง การขบั ถ่ายของส่ิงมชี วี ติ เซลล์เดยี ว ว่ามสี ว่ นไหนท่ี ไมเ่ ขา้ ใจและให้ความรูเ้ พิ่มเติมในสว่ นน้ัน 3. ข้นั ลงข้อสรุป 1. ครูมอบหมายให้นักเรยี นสรปุ ความคดิ รวบยอดเก่ยี วกับเน้ือหาท่ีได้เรียนในวนั น้ี 2. ครมู อบหมายใหน้ ักเรยี นไปศกึ ษาความรู้ เรอ่ื ง โครงสรา้ งของไตกบั การขับถ่ายของคน ซง่ึ จะเรียน ในคาบต่อไปมาล่วงหน้า กระบวนการการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ชั่วโมงที่ 4-6 1. ข้นั สร้างความสนใจ (Engagement) (20 นาท)ี 1.1 ครูใหน้ กั เรียนดูบตั รภาพแลว้ ใหต้ อบวา่ สิ่งมีชีวทิ ี่เห็นใชอ้ วยั วะใดในการขบั ถ่ายของเสีย

2. ข้นั สารวจและค้นหา (Exploration) (40 นาท)ี 2.1 ครูทาการแบ่งกลุ่มโดยคละเดก็ เก่ง ปานกลาง ออ่ น สมาชิกแต่ละคนคนตอ้ ง รับผดิ ชอบท่ีจะเรียนเก่ียวกบั หวั ขอ้ ท่ีกลุ่มไดร้ ับมากท่ีสุด แตล่ ะกลุ่มเป็นผเู้ ชี่ยวชาญในหวั ขอ้ น้นั มีหนา้ ท่ีจะ สอนกลุ่มอื่นๆดว้ ย 2.2 ผสู้ อนแจง้ กฎเกณฑท์ ี่ตอ้ งปฏิบตั ิระหวา่ งการประชุมกลุ่ม 1 หา้ มคนใดออกจากกลุ่มก่อนที่จะเสร็จงานกลุ่ม 2 แตล่ ะคนในกลุ่มตอ้ งรับผดิ ชอบที่จะใหส้ มาชิกทุกคนเขา้ ใจและทางานให้ เสร็จ สมบูรณ์ 3 ถา้ ผเู้ รียนคนใดไม่เขา้ ใจเรื่องใด ตอ้ งขอความช่วยเหลือจากเพ่ือนในกลุ่ม ก่อนที่ จะถามผสู้ อน 4 ใชก้ ระบวนการจ๊ิกซอ โดยสร้างกลุ่มผเู้ ชี่ยวชาญ โดยผสู้ อนแจกเอกสารหวั ขอ้ ต่าง ๆ ซ่ึงภายในบรรจุดว้ ย เน้ือหา ถา้ มีกลุ่ม 6 กลุ่ม ผสู้ อนตอ้ งเตรียมเอกสาร 6 ชุด ผเู้ รียนท่ีไดร้ ับหวั ขอ้ เดียวกนั จะศึกษา เรื่องน้นั ดว้ ยกนั เมื่อทุกคนเขา้ ใจดีแลว้ กเ็ ตรียมตวั วางแผนกการสอนเพือ่ กลบั ไปสอน สมาชิกใน กลุ่มเดิมของตน ประกอบดว้ ยหวั ขอ้ ระบบขบั ถ่ายของสัตวด์ งั น้ี - ฟองน้าและไฮดรา - หนอนตวั แบน - ไส้เดือนดิน - แมลง - นกและสตั วเ์ ล้ือยคลาน 6.2.3 แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานกลุ่ม 3. ข้นั ข้นั อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) (30 นาท)ี 6.3.1 ผเู้ ช่ียวชาญกลบั กลุ่มของตนเอง 6.3.2 ผเู้ ชี่ยวชาญสอนเพ่ือนในกลุ่ม ทุกคนจะผลดั กนั สอนเร่ืองท่ีไปศึกษามา ตรวจสอบความ เขา้ ใจ และช่วยเพอ่ื นสมาชิกในการเรียน 4. ข้ันขยายความรู้ (Elaboration) (20 นาท)ี 4.1 ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปโดยใชใ้ บงานที่ 1 เรื่อง การขบั ถ่ายของสัตวเ์ พื่อประเมิน ทกั ษะความสามารถบรรยายและการสรุปข้นั ตอนการขบั ถ่าย และเช่ือมโยงไปยงั การขบั ถ่ายของคนโดยต้งั คาถามนาวา่ 1. คนมีการขบั ถ่ายหรือไม่ (ตามความเขา้ ใจ) 2. คนสามารถขบั ถ่ายดว้ ยวธิ ีใดบา้ ง (ตามความเขา้ ใจ) 4.2 มอบหมายงานใหไ้ ปหาความรู้เพมิ่ เติมเก่ียวกบั ระบบขบั ถ่ายของคน 5. ข้นั ประเมินผล (Evaluation) (10 นาท)ี

5.1 นกั เรียนทาแบบทดสอบยอ่ ย 5.2 นกั เรียนส่งใบงานใหค้ รูตรวจ และเปิ ดโอกาสใหน้ กั เรียนในเร่ืองท่ียงั ไม่เขา้ ใจ 9. สอื่ การเรยี นการสอน / แหล่งเรยี นรู้ จานวน สภาพการใชส้ ่ือ 1 ชุด ขน้ั ตรวจสอบความรู้เดิม รายการสอ่ื 1 ชดุ ขนั้ สรา้ งความสนใจ 1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 2. ใบงาน เรอื่ ง ระบบหายใจกับการรักษาสมดุลของ รา่ งกาย 10. การวัดผลและประเมินผล เป้าหมาย หลักฐานการเรียนรู้ ประเดน็ / การเรียนรู้ ชน้ิ งาน/ภาระงาน วิธวี ัด เคร่ืองมือวัดฯ เกณฑก์ ารให้ คะแนน นกั เรยี นสามารถ ใบงาน เร่อื ง ระบบ ตรวจใบงาน เรอ่ื ง ใบงาน เรื่อง ระบบหายใจ ทาได้ถูกต้อง 70 % อธิบาย และ หายใจกบั การรักษา ระบบหายใจกบั กบั การรักษาสมดลุ ของ ข้นึ ไป เปรยี บเทียบ สมดุลของร่างกาย การรักษาสมดุล รา่ งกาย โครงสรา้ งทีท่ าหนา้ ที่ ของรา่ งกาย แลกเปลี่ยน แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรยี น ทาได้ถูกต้อง 70 % แก๊สของฟองน้า ก่อนเรยี น ขึน้ ไป ไฮดรา พลานาเรยี ไสเ้ ดอื นดนิ แมลง ปลา กบ และนกได้ 11. การบรู ณาการตามจดุ เนน้ ของโรงเรียน หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ครู ผู้เรียน 1. ความพอประมาณ พอดดี ้านเทคโนโลยี พอดีดา้ นจติ ใจ รจู้ กั ใช้เทคโนโลยมี าผลติ สื่อทเ่ี หมาะสม มจี ิตสานึกท่ีดี เออ้ื อาทร ประนปี ระนอม และสอดคล้องเนอื้ หาเปน็ ประโยชนต์ อ่ นึกถึงประโยชนส์ ่วนรวม/กล่มุ ผเู้ รียนและพฒั นาจากภูมปิ ญั ญาของ ผเู้ รียน

2. ความมีเหตผุ ล - ยดึ ถอื การประกอบอาชพี ดว้ ยความ ไมห่ ยุดน่ิงท่หี าหนทางในชีวติ หลดุ พ้น 3. มีภูมคิ ุมกนั ในตัวท่ดี ี ถกู ต้อง สจุ ริต แมจ้ ะตกอยใู่ นภาวะขาด จากความทกุ ขย์ าก (การคน้ หาคาตอบ 4. เงอ่ื นไขความรู้ แคลน ในการดารงชวี ิต เพอื่ ให้หลดุ พ้นจากความไมร่ )ู้ ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภูมปิ ัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ระมดั ระวัง ระมัดระวงั สรา้ งสรรค์ ความรอบรู้ เรือ่ ง ระบบหายใจกับ ความรอบรู้ เรอ่ื ง ระบบหายใจกบั การ การรกั ษาสมดลุ ของร่างกาย รกั ษาสมดลุ ของรา่ งกาย 5. เง่อื นไขคุณธรรม มคี วามตระหนักใน คุณธรรม มี มคี วามตระหนักใน คณุ ธรรม มี ความซื่อสัตยส์ ุจริตและมคี วามอดทน มี ความซื่อสัตย์สุจรติ และมคี วามอดทน มี สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนิน ความเพียร ใชส้ ตปิ ญั ญาในการดาเนิน โครงสร้างทีใ่ ช้ในการแลกเปลี่ยน ชีวติ ชวี ิต แก๊สของส่ิงมีชวี ิตเซลลเ์ ดียวและ ของสตั ว์ ครู ผู้เรยี น - โครงสร้างทที่ าหนา้ ท่ี โครงสร้างท่ีใชใ้ นการแลกเปลยี่ นแกส๊ โครงสรา้ งที่ใชใ้ นการแลกเปลยี่ นแกส๊ ของ แลกเปล่ียนแกส๊ ของฟองนา้ ของส่งิ มีชวี ิตเซลลเ์ ดียวและของสตั ว์ สิ่งมชี วี ิตเซลล์เดียวและของสัตว์ ไฮดรา พลานาเรีย ไส้เดอื นดนิ - โครงสรา้ งทท่ี าหนา้ ทีแ่ ลกเปลยี่ นแก๊ส - โครงสร้างทท่ี าหนา้ ทีแ่ ลกเปลยี่ นแก๊ส แมลง ปลา กบ และนก ของฟองน้า ไฮดรา พลานาเรีย ของฟองน้า ไฮดรา พลานาเรยี ไส้เดอื นดิน แมลง ปลา กบ และนก ไส้เดือนดิน แมลง ปลา กบ และนก สง่ิ แวดลอ้ ม โครงสรา้ งท่ใี ช้ในการแลกเปลยี่ น ครู ผู้เรียน แกส๊ ของส่ิงมชี วี ติ เซลลเ์ ดยี วและ โครงสรา้ งที่ใชใ้ นการแลกเปลย่ี นแก๊สของ โครงสรา้ งทีใ่ ช้ในการแลกเปลย่ี นแก๊สของ ของสตั ว์ สง่ิ มชี ีวิตเซลล์เดยี วและของสัตว์ สง่ิ มชี วี ติ เซลลเ์ ดยี วและของสัตว์ - การแลกเปล่ียนแกส๊ ของ - การแลกเปลีย่ นแก๊สของสิ่งมชี วี ติ เซลล์ - การแลกเปลี่ยนแกส๊ ของสิ่งมชี วี ติ เซลล์ สิ่งมชี วี ิตเซลลเ์ ดียวและของสัตว์ เดยี วและของสัตว์ เดียวและของสตั ว์ - การอนุรักษส์ งิ่ แวดล้อม - กระบวนการการอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม - เสนอแนะแนวทางอนรุ ักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม ลงชอื่ ..................................................ผ้สู อน (นางสาวจันจิรา ธนนั ชัย)

สรุปสาระสาคญั เรอื่ ง การขับถ่ายของสง่ิ มชี ีวติ เซลล์เดียวและสัตวบ์ างชนิด 1. Contractile vacuole (ชอ่ งหด) เป็นอวัยวะขับถา่ ยของพวกโพรโตซัวนา้ จดื เชน่ อมบี า พารา มเี ซยี ม ยูกลนี า โดยจะกาจัดออกไปในรปู ของของเหลวและกาซโดยเฉพาะกาซ NH3 การขบั น้าออกไป จากรา่ งกาย เปน็ การรกั ษาสภาวะสมดลุ ของน้าไวใ้ ห้อยู่ในระดบั สมดลุ

พารามีเซยี ม มี Contractile vacuole ไว้เพ่ือกาจัดน้าท่ีมากเกนิ ไปออกจากเซลล์ โดยสามารถหด ตัวและขยายตัวได้ โดยมี radiating canals นาน้าจาก cytoplasm เข้าสู่ Contractile vacuoleเมื่อ พองเต่งมากขึน้ จะถกู ขบั ออกโดยผ่านรเู ล็ก ๆออกมานอกเซลล์ 2. การขบั ถา่ ยโดยการแพร่ (diffusion) ผ่านผนงั ลาตวั (body surface) การขบั ถ่ายโดยวิธีน้พี บ ในสตั วน์ า้ ท่ีมขี นาดเล็ก เนอื่ งจากมีส่วนของลาตวั สมั ผสั กับนา้ ท่ีอาศยั อยู่ โดยผนังลาตัวจะเปียกชื้นอยู่เสมอ การขบั ถ่ายโดยวธิ นี พ้ี บในสตั ว์พวก ฟองนา้ ไฮดรา แมงกระพรนุ 3. Flame cell (เฟลมเซลล์) เป็นอวยั วะขับถ่ายของสัตว์พวกหนอนตัวแบน เช่นพลานาเรยี พยาธิใบไม้ เน่ืองจากสตั วด์ งั กล่าวมีเซลลจ์ านวนมากรวมกันเปน็ เนอื้ เยอ่ื 3 ชน้ั เซลลท์ อ่ี ยใู่ นไม่สามารถสัมผสั กบั ส่งิ แวดล้อมภายนอก เพือ่ การขบั ถ่ายโดยตรง จึงมีความจาเป็นทจี่ ะตอ้ งมรี ะบบขับถ่าย ซ่งึ ประกอบดว้ ย เซลลพ์ ิเศษบางชนดิ นาสารท่ีกรองไดเ้ ข้าสูร่ ะบบท่อท่ีเปิดออกนอกรา่ งกายทผี่ วิ ข้างลาตัว 4. Nephridia (เนฟริเดยี ) เป็นระบบขับถ่ายทพ่ี บในหนอนมีปล้อง (Phylum Annelida) เชน่ ไสเ้ ดือนดนิ มีวิวฒั นาการสูงกวา่ เฟลมเซลล์ มี 1 คู่ ในแตล่ ะปล้อง ระบบนจี้ ะเร่มิ จากปลายทอ่ ที่มีลกั ษณะ คล้ายปากแตร เรยี กว่า เนโฟรสดตม (nephrostome) ซง่ึ มี ซิเลีย อยรู่ อบ ๆทาหน้าท่รี บั ของเหลวในลาตัว เขา้ มาโดยการพัดโบกของซเิ ลีย แลว้ สง่ ไปตามท่อ ซ่ึงมรี ะบบเส้นเลือดฝอย เปน็ รา่ งแห (capillary network) เข้ามาสมั ผัสและพันอยโู่ ดยรอบ ซง่ึ บรเิ วณน้เี ป็นบรเิ วณท่ีมีการแลกเปล่ียนสารต่าง ๆขน้ึ สารใดมี ประโยชน์จะถูกดูดกลับเข้าเส้นเลอื ดฝอย สว่ นสารใดทไ่ี ม่ต้องการจะถูกขับถา่ ยออกมา โดยไปรวมกันท่ีทอ่ ขนาดใหญ่ คลา้ ยถุงกระเพาะปัสสาวะ (bladder) ซง่ึ จะเปิดออกนอกรา่ งกายทางรูเปดิ เรยี กวา่ เนฟริดิโอ พอร์ (phridiopore) ท่ีผนงั ลาตัว ไส้เดอื นดิน ขับถ่ายของเสีย N- waste ออกมาในรปู ของแอมดมเนียย และยูเรีย 5. Malphighian tubule (ท่อมาลฟิเกียน) เปน็ ระบบขับถา่ ยท่ีพบในสตั ว์พวกแลงตา่ ง ๆเชน่ แมลงสาป ตัก้ แตน แมลงมุมประกอยบด้วยท่อเลก็ ๆฝอย ๆจานวนมากมาย ตดิ ต่ออย่กู ับระบบทางเดนิ อาหาร บรเิ วณตอ่ ระหว่างกระเพาะอาหารตอนกลาง (midgut) และตอนปลาย (hindgut) หรือลาไสhเลก็ (intestine ) ทอ่ เลก็ ๆเหล่านม้ี ีลักษณะเปน็ ถงุ ปลายตันแทรกอยู่ภายในลาตัว ผนงั ของท่อบางยอมให้ ของเหลวจากชอ่ งท้องซึมผ่านเข้มาได้ และรวมกนั ภายในท่อ เปดิ รวมกันกบั กากอาหาร ขบั ถ่ายออกทางกวาร หนกั (anus) ระบบขบั ถ่ายของแมลง คือทอ่ มาลฟเิ กยี น Malphighian tubule ถอื ว่าเป็นระบบขับถา่ ยทีม่ ี ความสมั พันธก์ ับระบบทางดนิ อาหารมากทีส่ ุด เพราะเป็นส่วนที่ย่นื ออกมาจากระเพาะอาหาร แมลง ขับถา่ ยของเสยี ออกมาในรูปของ กรดยูรคิ (uric acid) ซงึ่ การเปลีย่ นสารประกอบ ไนโตรเจน ใหเ้ ปน็ กรดยรู ิคน้ันมีผลดี 2 ประการ คือ ช่วยประหยดั น้าในรา่ งกาย และการท่ีกรดยรู คิ ไม่ละลาย นา้ ชว่ ยป้องกันไม่ให้สารนซี้ งึ่ เปน็ พิษต่อร่างกาย แพร่เขา้ สู่เซลล์อน่ื ๆของรา่ งกาย การขับถ่ายโดยใชไ้ ต (Kidney) เป็นอวยั วะขบั ถ่ายของเสียในสตั ว์มกี ระดูกสนั หลังชั้นสูงต้งั แต่ปลา ข้ึนไปจนถึง คน ซึ่งมีอยู่ 1 คู่ในช่องท้องด้านหลัง โดยทางานร่วมกับระบบหมุนเวียนเลือดในการนาสารมาก รองหรือสกัดสิง่ ขับถ่ยออกและรบั สารทีร่ กองไดโ้ ดยการดดู กลบั เพื่อนาไปใช้ประโยชนไ์ ด้อกี

ปลาน้าจืด ขับถ่ายปสั สาวะออกมาทางไต ในรปู ของ ammonia (ปสั สาวะมากและเจอื จางมาก) สัตวค์ ร่งึ บกครึ่งน้า (กบ) ขับถ่ายปัสสาวะออกมาในรูปของยูเรีย (ปัสสาวะมาก และค่อนข้างเจือจาง) แตเ่ สยี น้าน้อยกวา่ กาจัดในรูปของ NH3 สตั วเ์ ลื้อยคลานและสัตว์ปกี ขบั ถา่ ย ของเสยี เกือบจะเปน็ ของแขง็ solid โดยออกมาในรุปของ uric acid ไมเ่ สียนา้ มากเกินไป เหมาะสมในการอยูบ่ นบก หนทู ะเลทราย (gangaroo rat) ขบั ถา่ ยของเสีย ทเ่ี ข้มข้นมาก ประมาณ 10-17 เทา่ ของพลาสมา เนอ่ื งจากมี Henle , s loop ยาวมาก -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ใบงาน เรอื่ ง ระบบขับถา่ ยกับการรกั ษาดลุ ยภาพของร่างกาย จงตอบคาถามต่อไปน้ใี ห้ถูกต้อง 1. ของเสยี ทเี่ กดิ จากเมทาบอลิซึมได้แกอ่ ะไรบ้าง คาตอบ . ...........................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .............................................. ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. 2.การอจุ จาระออกจากร่างกายถอื วา่ เปน็ การขับถ่ายหรอื ไม่ เพราะเหตุใด คาตอบ . ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ........................................................................................................................................................................... 3.นักเรยี นคิดว่า อะไรเป็นสาเหตสุ าคญั ทีท่ าใหส้ ัตว์มกี ระดูกสันหลังทอี่ าศยั อยใู่ นน้า และบนบกมีการบั ถ่ายของ เสียท่ีแตกต่างกนั คาตอบ . ........................................................................................................................................................... ............................................................................................... ............................................................................ ............................................................................................................................. .............................................. ................................................................................................................................ ........................................... ........................................................................................... ................................................................................ ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. .................................................................................... ....................................................................................... ศึกษาตารางต่อไปน้แี ลว้ ตอบคาถาม ขอ้ 4-6 ตารางเปรียบเทยี บสารในของเหลว 3 ชนดิ คอื พลาสมา ของเหลวทก่ี รองผา่ นโกเมอรลู ัส และ ปัสสาวะ สาร พลาสมา ของเหลวที่กรองผ่านโก ปสั าวะ (กรมั /100 cm3) เมอรลู สั (กรัม/100 cm3) (กรัม/100 cm3) น้า 92 90-93 95 โปรตีน 6.0-8.4 0.01-0.02 0

ยเู รีย 0.0008-0.25 0.03 2 กรดยูรกิ 0.003-0.007 0.003 0.05 แอมโมเนีย 0.0001 0.05 กลโู คส 0.0001 0.01 0 โซเดียม 0.07-0.11 0.32 0.6 คลอไรด์ 0.31-0.33 0.37 0.6 0.35-0.40 4.สารใดท่พี บในปัสสาวะมคี วามเขม้ ข้นสงู กว่าที่พบในของเหลวที่กรองผา่ นโกเมอรลู ัส คาตอบ . ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. .................................................................................... ....................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. 5.สารใดมกี ารดูดกลบั น้อยที่สุด คาตอบ . ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. .............................................. ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................ ............................................... ............................................................................................................................. .............................................. 6.จะคานวณไดอ้ ยา่ งไรว่าโปรตนี และกลูโคสถูกดดู กลบั วนั ละกี่กรัม ถ้าร่างกายมีสารท่ีกรองผา่ น โกลเมอรูลสั ประมาณวันละ 180 ลติ ร และขับถ่ายปัสสาวะประมาณวันละ 1.5 ลิตร คาตอบ . ........................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................. ..............................................

แบบทดสอบย่อย เรื่อง การขับถ่ายของสัตว์ 1. อวยั วะขบั ถ่ายแบบง่ายท่ีสุด คือ ก. contractile vacuole ข. flame cell ค. nephridia ง. green gland 2. nephridia ของไส้เดือนดินแตกตา่ งจาก flame cell ของพลานาเรีย คือ ก. nephridia มีท่อ ส่วน flame cell ไม่มี ข. nephridia สกดั พวกยเู รีย ส่วน flame cell สกดั ของเสียอยา่ งอ่ืนๆ ค. nephridia มีเส้นเลือดอยรู่ อบๆ ส่วน flame cell ไมม่ ีเส้นเลือด ง. nephridia ไม่มี cilia ส่วน flame cell มี cilia 3. nephridia มีลกั ษณะคลา้ ย nephron มาก แตต่ า่ งกนั ท่ี ก. nephron มีขนาดใหญก่ วา่ nephridia มาก ข. nephron ดูดนา้ กลบั ได้ ส่วน nephridia ดูดนา้ กลบั ไมไ่ ด้ ค. nephron สกดั สารพวกยเู รีย ส่วน nephridia สกดั สารพวกยรู ิก ง. nephron มีเส้นเลือดฝอย glomerulus แต่ nephridia ไมม่ ี 4. สัตวจ์ าพวกนก และสัตวเ์ ล้ือยคลานขบั ถ่ายของเสียจาก โปรตีนออกมาในรูป ก. ยเู รีย ข. กรดยรู ิก ค. แอมโมเนีย ง. แอนแลนตอยส์ 5. จากขอ้ 4 การกาจดั ของเสียในรูปแบบน้นั มีขอ้ ดี คือ ก. ทาใหส้ ูญเสียนา้ ออกมานอ้ ยมาก ข. เป็นสารที่ไม่ละลายนา้ ทาใหไ้ ม่เกิดการแพร่ไปทา อนั ตรายเซลลอ์ ่ืน ค. เป็นวธิ ีท่ีง่ายกวา่ การขบั ถ่ายในรูปแบบอ่ืน ง. ขอ้ ก. และ ข. ถูก

6. สัตวท์ ่ีมีความจาเป็ นในการสงวนน้าไวใ้ นร่างกาย มกั กาจดั ของเสียจาพวก ไนโตรเจน ในรูปของ ก. แอมโมเนียและกรดยรู ิก ข. กรดยรู ิกและยเู รีย ค. แอมโมเนียและยเู รีย ง. กรดยรู ิกและกรดอะมิโน 7. พลานาเรียตวั ที่หน่ึง(1) อยใู่ นนา้ เกลือเจือจาง ตวั ที่สอง (2) อยใู่ นนา้ ฝน เฟลมเซลลข์ องท้งั สองตวั จะมี กิจกรรม อยา่ งไร ก. (1) มีกิจกรรมมากกวา่ (2) ข. (1) มีกิจกรรมนอ้ ยกวา่ (2) ค. ไมต่ า่ งกนั เพราะเป็นโครงสร้างท่ีซบั ซอ้ น ปรับตวั ไดด้ ี ง. ไม่ต่างกนั เพราะการทางานถูกควบคุมโดยของเสียใน ร่างกาย 8. อวยั วะขบั ถ่ายของสตั วใ์ นขอ้ ใดที่มีลกั ษณะและทาหนา้ ท่ี คลา้ ยกนั ก. ทอ่ มลั พิเกียน , เนฟริเดียม ข. เนฟริเดียม , เฟลมเซลล์ ค. คอนแทรกไทล์ แวคิวโอล , ท่อมลั พเิ กียน ง. เฟลมเซลล์ , คอนแทรกไทล์ แวคิวโอล 9. ฟองน้าและไฮดรา กาจดั ของเสียโดยวธิ ีใด ก. การแพร่ ข. การออสโมซิส ค. ฟาซิลิเทต ง. แอกทีฟทรานสปอร์ต 10. ไตมีหนา้ ท่ีอะไร ก. ขบั ถ่ายของเสียและรักษาสมดุลของน้าและแร่ธาตุ ทางานร่วมกบั ระบบหมุนเวยี นเลือด ข. กาจดั น้า แอมโมเนีย เกลือแร่ท่ีร่างกายไมต่ อ้ งการ ค. กาจดั ของเสีย ประกอบดว้ ยท่อปลายตนั สานเป็นตาข่าย ง. กาจดั ของเสีย เป็ นทอ่ ขดไปมา มีปลายเปิ ดท้งั สองขา้ ง

เฉลยแบบทดสอบย่อย เร่ือง การขบั ถ่ายของสัตว์ 1. ก 2. ค 3. ง 4. ข 5. ก 6. ก 7. ข 8. ง 9. ก 10. ก

ใบงานที่ 1 เร่ือง การขบั ถ่ายของสัตว์ 1. หนอนตวั แบนที่หากินอิสนะ เช่น พลานาเรียกาจดั ของเสียโดยวธิ ีใด 2. พลานาเรียกาจดั ของเสียประเภทแอมโมเนียไดโ้ ดยวธิ ีใด 3. ของเสียประเภทยเู รีย กรดยรู ิก และแอมโมเนียเกิดจาก 4. สตั วท์ ่ีอาศยั อยใู่ นน้าจืดกาจดั ของเสียในรูปของสารใด 5. ไส้เดือนใชอ้ วยั วะใดในการขบั ถ่าย 6. สตั วช์ นิดใดบา้ งที่ขบั ถ่ายของเสียในรูปกรดยรู ิก 7. แมลงใชอ้ วยั วะใดในการขบั ถ่าย 8. กุง้ ใชอ้ วยั วะใดในการขบั ถ่ายของเสีย 9. นกและสตั วเ์ ล้ือยคลานใชอ้ วยั วะใดในการขบั ถ่าย 10. การท่ีสตั วบ์ กบางชนิดขบั ถ่ายของเสียในรูปกรดยรู ิกที่มีลกั ษณะเป็นผลึกก่ึงแขง็ ก่ึงเหลวมีประโยชนต์ ่อ สัตวน์ ้นั อยา่ งไร

เฉลยใบงานท่ี 1 เรื่อง การขับถ่ายของสัตว์ 1. หนอนตวั แบนท่ีหากินอิสนะ เช่น พลานาเรียกาจดั ของเสียโดยวธิ ีใด ใชเ้ ฟรมซลล์ 2. พลานาเรียกาจดั ของเสียประเภทแอมโมเนียไดโ้ ดยวธิ ีใด การแพร่ 3. ของเสียประเภทยเู รีย กรดยรู ิก และแอมโมเนียเกิดจากเมเทบอลิซึมของสารใด โปรตีน 4. สัตวท์ ่ีอาศยั อยใู่ นน้าจืดกาจดั ของเสียในรูปของสารใด แอมโมเนีย และยเู รีย 5. ไส้เดือนใชอ้ วยั วะใดในการขบั ถ่าย เนฟริเดียม 6. สตั วช์ นิดใดบา้ งท่ีขบั ถ่ายของเสียในรูปกรดยรู ิก แมลง นก และสตั วเ์ ล้ือยคลาน 7. แมลงใชอ้ วยั วะใดในการขบั ถ่าย ท่อมลั พิเกียน 8. กงุ้ ใชอ้ วยั วะใดในการขบั ถ่ายของเสีย ต่อมเขียว 9. นกและสตั วเ์ ล้ือยคลานใชอ้ วยั วะใดในการขบั ถ่าย ไต 10. การท่ีสัตวบ์ กบางชนิดขบั ถ่ายของเสียในรูปกรดยรู ิกที่มีลกั ษณะเป็นผลึกก่ึงแขง็ ก่ึงเหลวมีประโยชนต์ ่อ สตั วน์ ้นั อยา่ งไร ลดการขบั น้าออกนอกร่างกาย

ใบความรู้ เรื่อง การขบั ถ่ายของเสียของสัตว์ 1. โพรโทซวั - แอมโมเนียและ CO2 ดว้ ยการแพร่ผา่ นเย่ือหุม้ เซลลโ์ ดยตรง เพราะแอมโมเนียและ CO2 มีขนาด เลก็ แพร่ผา่ นเซลลไ์ ด้ - น้าท่ีมากเกินพอจะใชค้ อนแทรกไทล์ แวคิวโอล (contractile vacuole) ซ่ึงเป็นโครงสร้างควบคุม แรงดดั ออสโมติก (osmoregulator) ทา้ หนา้ ท่ีคลา้ ยไตของสตั วช์ ้นั สูง 2. หนอนตวั แบน หนอนตวั แบน เช่น พลานาเรีย ใชเ้ ฟลมเซลล์ (Flame cell) ขจดั น้าท่ีมากเกินพอ (excess water) อตั ราการทา้ งานของเฟลมเซลล์ (R) แปรผกผนั กบั ความเขม้ ขน้ ของสารละลายนอก เซลล์ (C) ดงั สมการและกราฟ 3. แอนีลิต

แอนีบิด เช่น ไส้เดือนดิน ใช้ เนฟริเดีย (nephridia) โดยเนฟริเดีย เป็ นอวยั วะขบั ถ่ายของสตั วท์ ี่มี โครงสร้างและการทา้ หนา้ ที่คลา้ ยหน่วยไต (nephron) ของสัตวช์ ้นั สูงมากที่สุด 4. อาร์โทรพอด อาร์โทรพอด เช่น แมลง จะใช้ มลั พิเกียน ทิวบูล มลั พเิ กียน ทิวบลู (Malpighian tubule) พบในแมลง มีลกั ษณะเป็นถุงหลายถุงยนื่ ออกมา โดยมีตา้ แหน่งอยรู่ ะหวา่ งทางเดินอาหารส่วนกลางและส่วนทา้ ย ซ่ึงปลายขา้ งหน่ึงเปิ ดเขา้ สู่ทางเดินอาหาร ขอ้ เสีย ประกอบดว้ ย กากอาหาร + กรดยรู ิก + แร่ธาตุ มลั พิเกียน ทิวบลู เป็นอวยั วะขบั ถ่ายของเสียที่สัมพนั ธ์กบั ทางเดินอาหารมากที่สุด 5. หอยและสตั วม์ ีกระดูกสนั หลงั หอยและสตั วม์ ีกระดูกสันหลงั ใชไ้ ต (kidney) ในการขบั ถ่ายของเสีย สรุปโครงสร้างขบั ถ่ายของเสียและรูปแบบสาคัญของของเสียทขี่ บั ทงิ้ สิ่งมชี ีวติ โครงสร้างขับถ่าย ชนิดของเสีย

โพรโทซวั เช่น อมีบาและ คอนแทรกไทล์ แวคิวโอล น้า พารามีเซียม (contractile vacuole) น้า เฟลมเซลล์ (Flame cell) ยเู รีย หนอนตวั แบน เช่น พลานาเรีย กรดยรู ิก แอนีลิด เช่น ไส้เดือนดิน เนฟริเดียม (Nephridium) อาร์โทรพอด เช่นแมลง มลั พิเกียน ทิวบูล ยเู รีย (Malpighian tubule) สตั วม์ ีกระดูกสันหลงั เช่น กรดยรู ิก 1. ปลา, สตั วส์ ะเทินน้าสะเทิน ไต บก และสัตวเ์ ล้ียงลูกดว้ ยน้านม 2. สตั วเ์ ล้ือนคลานและนก ไต

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 เร่อื ง ระบบขับถา่ ย แผนจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 เร่อื ง โครงสรา้ งของไตและการขบั ถา่ ยของคน รายวิชา ชวี วทิ ยา 3 รหสั วิชา ว 32203 ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2562 น้าหนกั เวลาเรียน 1.5 (นน./นก.) เวลาเรยี น 3 ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลาทใ่ี ชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 10 ชัว่ โมง ............................................................................................................................. ............................. 1. สาระสาคัญ สิ่งมชี วี ิตมโี ครงสรา้ งท่ใี ชใ้ นการแลกเปลีย่ นแก๊สแตกต่างกนั ท้ังนขี้ ้ึนอยู่กบั ความซบั ซ้อนของโครงสรา้ ง ของร่างกาย สภาพแวดล้อมท่ีส่งิ มีชีวิตอาศยั อยู่และปริมาณแกส๊ ออกซเิ จนท่ีสง่ิ มีชวี ิตตอ้ งการเพ่ือนาไปใช้ใน กระบวนการเมแทบอลซิ ึมและสว่ นหนงึ่ ทาใหเ้ กิดของเสยี ไดแ้ ก่ แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์และของเสียที่มีธาตุ ไนโตรเจนเปน็ องคป์ ระกอบ ได้แก่ แอมโมเนีย ยูเรียและกรดยูริก ซ่งึ ต้องมีการขับถ่ายออกจากร่างกาย สิ่งมีชีวติ แต่ละชนดิ มวี ีการขับถ่ายของเสียแตกตา่ งกนั ขึ้นอยู่กบั โครงสรา้ งของร่างกายและสภาพแวดล้อมท่ี อาศัยอยู่ พลานาเรียมเี ฟลมเซลล์ แมลงมมี ัลพเิ กยี นทิวบูลทาหน้าท่ีกาจัดของเสยี และรักษาสมดลุ ของนา้ และ แรธ่ าตุในรา่ งกาย การลาเลยี งสารในร่างกายของสิง่ มชี วี ติ ท่มี ีโครงสร้างไม่ซับซอ้ นจะมีการแลกเปลี่ยนสารระหว่างเซลล์ กับสิง่ แวดล้อมโดยตรง ในขณะทส่ี ิ่งมีชีวติ ทีม่ โี ครงสร้างซับซ้อนจะมรี ะบบหมนุ เวยี นเลอื ดทาหนา้ ทลี่ าเลียงสาร ไปยังส่วนตา่ งๆ ของรา่ งกาย ระบบหมุนเวยี นเลือดมี 2 ระบบ คือ ระบบหมนุ เวยี นเลอื ดแบบเปดิ พบในสตั ว์ จาพวกกุ้ง หอย แมลง สว่ นระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิดพบในไส้เดือนดินและสตั ว์เลย้ี งลูกดว้ ยน้านมรวมท้งั คนดว้ ย ระบบหมนุ เวยี นเลือดของคนประกอบด้วยหวั ใจ ทาหน้าที่รบั และสบู ฉดี เลอื ดไปยังเซลล์ทัว่ ร่างกาย ขณะท่ีหวั ใจบบี ตวั สูบฉีดเลือดทาให้เกิดความดนั ในหลอดเลือดและชีพจร ความดนั เลือดและชพี จรมี ความสัมพนั ธก์ ับปจั จยั หลายอย่าง เชน่ ปรมิ าณไขมันในหลอดเลือด กิจกรรมตา่ งๆ ของร่างกาย อายุและเพศ เป็นต้น เลือดของคนประกอบดว้ ย พลาสมา เซลล์เมด็ เลือดและเพลตเลต พลาสมาประกอบด้วยน้า โปรตีน สารอาหารและแรธ่ าตุ ฯลฯ เซลลเ์ มด็ เลือดประกอบดว้ ยเซลลเ์ มด็ เลือดแดงทาหนา้ ทร่ี บั ส่งแกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สออกซเิ จน เซลล์เม็ดเลอื ดขาวทาหนา้ ทท่ี าลายเช้ือโรคหรือส่ิงแปลกปลอมและ สรา้ งภมู ิคุม้ กัน สว่ นเพลตเลตทาหน้าทเ่ี กีย่ วกบั การแข็งตวั ของเลือด โครงสร้างท่เี กยี่ วกับระบบภูมิคุม้ กัน ได้แก่ ไขกระดูก ไทมัส มา้ ม ตอ่ มนา้ เหลืองและเน้ือเย่ือ น้าเหลืองท่ีบริเวณทางเดนิ อาหารและทางเดนิ หายใจ มหี น้าท่ีแตกต่างกันโดยทวั่ ไปจะทาหนา้ ที่เกย่ี วกบั การ ทาลายเชื้อโรคและลิมโพไซต์บางชนดิ ท่ีเก่ียวข้องกับการสร้างภมู คิ ุ้มกนั ของรา่ งกาย

2. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชี้วัดช้ันปี/ผลการเรยี นรู้/เป้าหมายการเรยี นรู้ 5. สังเกต และอธบิ ายโครงสรา้ งของปอดในสัตวเ์ ลีย้ งลกู ด้วยน้านม 6. สืบค้นข้อมลู อธบิ ายโครงสร้างท่ใี ช้ในการแลกเปลย่ี นแกส๊ และกระบวนการแลกเปลี่ยนแกส๊ ของ มนษุ ย์ 7. อธบิ ายการทางานของปอด และทดลองวัดปริมาตรของอากาศในการหายใจออกของมนุษย์ 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เนือ้ หาสาระหลกั : อธบิ ายโครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลย่ี นแก๊ส และกระบวนการแลกเปลย่ี น แกส๊ ของมนษุ ย์ได้ 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : นักเรยี นสรุปองคค์ วามรู้และนาเสนอได้ 3.3 คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ : นักเรยี นมีพฤตกิ รรมใฝเ่ รียนรใู้ นการเรยี น 4. สมรรถนะสาคัญของนกั เรยี น 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 5. คุณลักษณะของวชิ า - ความรบั ผดิ ชอบ - ความรอบคอบ - กระบวนการกลมุ่ 6. คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ 1. ใฝเ่ รียนรู้ 2. มุ่งมนั่ ในการทางาน 7. ช้ินงาน/ภาระงาน : - ใบงาน เรอื่ ง การจาลองการทางานของกลา้ มเน้อื กะบังลม 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ขั้นสรา้ งความสนใจ ครูทบทวนความรเู้ ดิมว่ามีอวยั วะใดท่เี ก่ยี วข้องกบั การแลกเปลี่ยนแก๊สของคนบา้ งมีความคล้ายคลึงกบั ของสตั วเ์ ล้ียงลูกดว้ ยนมทน่ี กั เรียนได้ทากิจกรรม ไปแล้วหรอื ไม่อย่างไร 2. ขนั้ สารวจและค้นหา ชั่วโมงท่ี 1-3 1. ครใู หน้ ักเรยี นสืบค้นข้อมลู เกี่ยวกบั โครงสรา้ งท่ีใช้ในการแลกเปล่ียนแกส๊ ของคน จากใบความรแู้ ละ ให้นกั เรยี นรว่ มกนั อภิปรายและสรปุ ทางเดินหายใจของคน ซง่ึ เริ่มจากช่องจมูกจนถึงถุงลม โดยใชต้ วั อยา่ ง คาถามนาในการอภิปราย ดังน้ี - เมอื่ นักเรียนสูดอากาศเข้าทางช่องจมูกแลว้ อากาศจะมีการเดนิ ทางผ่านอวัยวะใดบ้าง (ชอ่ งจมูก  โพรงจมกู  คอหอย  กล่องเสียง  หลอดลม  หลอดลมฝอย  ถุงลม) - ปอดของคนมีพน้ื ท่ีผิวทีใ่ ช้ในการแลกเปลยี่ นแกส๊ เพยี งพอกับความต้องการของรา่ งกาย หรือไม่ (ปอดของคนมีพืนทีผ่ ิวเพยี งพอกับความตอ้ งการของร่างกาย เพราะปอดของคนแต่ละข้างมีถุงลม 300 ล้าน

ถงุ แตล่ ะถุงมีเสน้ ผา่ นศูนย์กลาง 0.25 มิลลิเมตร ถุงลมของปอดทังสองข้างมพี นื ท่ปี ระมาณ 40 เทา่ ของ พนื ท่ีผวิ ของร่างกาย) - ปอดมีวิธกี ารรกั ษาความชน้ื ของโครงสรา้ งที่ใชใ้ นการแลกเปลย่ี นแกส๊ ได้อยา่ งไร (ปอดมตี า้ แหนง่ อยภู่ ายในช่องอกและมเี ย่ือหุ้มปอดที่ช่วยรกั ษาความชืนให้ปอดอย่เู สมอ) 2. ครูต้งั คาถามนาเข้าส่กู ิจกรรม ดังนี้ “นักเรยี นคิดว่ามอี วัยวะใดเกีย่ วข้องกับการทาใหเ้ กดิ การ เปล่ยี นแปลงความดนั อากาศในปอดบา้ ง” นักเรยี นอาจจะใชป้ ระสบการณ์เดิมตอบ ครยู ังไมเ่ ฉลย แตใ่ ห้ นกั เรยี นทากจิ กรรม การจาลองการทางานของกล้ามเนื้อกะบังลม 3. ครแู จ้งจดุ ประสงคก์ ารทากิจกรรม เพ่ือใหน้ ักเรยี นสามารถสารวจตรวจสอบ อภปิ รายและสรุป เกี่ยวกบั การทางานของกล้ามเนอื้ กะบังลม 4. ครูใหน้ กั เรยี นทากจิ กรรม เพอ่ื ศึกษาการจาลองการทางานของกล้ามเนื้อกะบงั ลมและให้นักเรียน ร่วมกันอภปิ รายหลังการทดลอง โดยใช้คาถามทา้ ยกิจกรรมและคาถามเพ่มิ เติม ดงั นี้ - ผลการทดลองเปน็ อยา่ งไร เพราะเหตุใด (ขณะที่ปิดรเู ลก็ ทีก่ ระบอกสูบ เมอื่ เล่ือนลูกสูบไป ทางดา้ นหนา้ ปริมาตรอากาศในกระบอกสูบจะลดลง ความดันอากาศในลูกโปง่ จะเพมิ่ ขึนดนั ให้อากาศภายใน ลูกโป่งออกจากลูกโปง่ ท้าให้ลูกโป่งหดตวั ดังภาพ ก. แต่เม่ือดึงลูกสูบกลับท่ีเดิมอากาศภายในกระบอกสูบจะมี ปรมิ าตรเพิ่มขนึ ความดันอากาศภายในกระบอกสบู ลดลงอากาศภายนอกมีความดันสงู กวา่ จะไหลเข้าไปใน ลูกโป่ง ท้าใหล้ ูกโปง่ ขยายขนาดเพ่มิ ขึน ดังภาพ ข.) - ลกู โปง่ เปรียบได้กบั โครงสรา้ งใดในการแลกเปลี่ยนแก๊ส (เทยี บได้กบั ปอด) - ลกู สูบเปรียบเทยี บไดก้ ับโครงสร้างใด (เปรยี บเทียบได้กบั กะบังลม) - ผลการทดลองครั้งแรกกับคร้งั ทสี่ องแตกตา่ งกนั หรือไม่ เพราะเหตใุ ด (ผลการทดลองครังท่ี 2 อากาศในกระบอกสูบไม่มีการเปล่ียนแปลงความดนั เนอ่ื งจากอากาศออกมาทางรูเลก็ ท้าให้ขนาดของลูกโปง่ ไม่เปล่ยี นแปลง) - นกั เรียนจะนาผลการทดลองนไี้ ปอธบิ ายการสดู ลมหายใจเข้าออกร่างกายได้วา่ อย่างไร ( ถา้ กลา้ มเนือกะบงั ลมคลายตวั โคง้ ขึน ทา้ ให้ปริมาตรชอ่ งอกลดลง ความดนั ในช่องอกเพ่มิ ขึนเกิดการ หายใจออก แต่ถ้ากล้ามเนือกะบงั ลมหดตัวกะบังลมจะแบนราบท้าให้ปริมาตรช่องออกมากขนึ ความดนั ในช่อง ออกจะลดลงเกิดการหายใจเข้า) 5. ครใู ห้นักเรยี นเปรยี บเทียบการเปล่ยี นแปลงในขณะดงึ ลูกสูบของกระบอกสบู กับการเลือ่ นข้ึนลงของ กระดูกซีโ่ ครง วา่ จะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาตรและความดนั อากาศภายในช่องออกและปอดหรือไม่ โดยใหน้ กั เรียนรว่ มกันอภปิ รายและตอบคาถามดังนี้ - นกั เรยี นลองจบั กระดูกซ่ีโครงและกระดกู หน้าอก แล้วสดู ลมหายใจเข้าปอดแรงๆ จะพบการ เปลยี่ นแปลงอยา่ งไร (กระดกู ซ่ีโครงและกระดูกหนา้ อกยกตัวสูงขึน) - การทก่ี ระดกู ซ่ีโครงยกตัวสงู ข้นึ จะมผี ลต่อปรมิ าตรและความดนั ของอากาศภายในช่องอก อยา่ งไร (ปริมาตรภายในชอ่ งออกมากขนึ ความดนั อากาศภายในชอ่ งออกลดลง อากาศภายนอกจะถูกดดู เข้า มาในปอด)

- ในทางตรงขา้ มขณะหายใจออกกระดกู ซี่โครงและกระดกุ หน้าอกลดต่าลงจะมผี ลอยา่ งไร (ปรมิ าตรช่องอกจะลดลง ความดันอากาศภายในช่องออกเพ่มิ ขึน อากาศจะถูกขับออกจากปอด) 6. ครูใหน้ ักเรียนสบื ค้นข้อมูล เก่ยี วกบั การทางานของกล้ามเน้ือท่ยี ึดซ่ีโครงทงั้ แถบนอกและแถบในที่ สมั พันธก์ ับการทางานของกล้ามเนือ้ กะบังลม ซง่ึ ทาใหเ้ กิดการสดู ลมหายใจเข้าออก โดยครูอาจจะใช้สอ่ื ภาพ แผ่นโปรง่ ใสหรือหนุ่ จาลอง หรือใหน้ ักเรียนทดลองนามอื แตะท่ีหน้าท้องขณะท่ีหายใจเข้าออก อธิบายเสรมิ ความรู้ให้นกั เรยี น และให้นักเรยี นรว่ มกันอภปิ รายและสรุปดังน้ี - การทางานของกล้ามเน้ือยดึ ซ่ีโครงและกล้ามเนอ้ื กะบงั ลม ขณะหายใจเข้าและหายใจออก สามารถ สรปุ เปน็ ตารางไดด้ ังนี้ กลา้ มเนอ้ื กล้ามเน้ือ กระดูก กลา้ มเนอื้ ปริมาตรช่อ ความดนั ยดึ ซ่ีโครง ยึดซีโ่ ครง ซีโ่ ครง กะบังลม งอก อากาศ แถบนอก แถบใน ภายในช่อ ยกตัวสงู ขนึ้ หดตัว เพิ่มข้นึ งอก ขณะสูดลม หดตวั คลายตัว ลดตา่ ลง คลายตวั หายใจเขา้ คลายตวั ลดลง ขณะสดู ลม หดตัว หายใจออก ลดลง เพมิ่ ขน้ึ - ถา้ กล้ามเน้ือกะบังลมหยดุ ทางาน นักเรยี นจะสามารถสูดลมหายใจได้หรือไม่ เพราะเหตุใด (ไม่ไดเ้ นื่องจากความดนั ของอากาศในปอดจะคงท่ี หรอื มีการเปลี่ยนแปลงนอ้ ยมาก อากาศจะไม่เคลือ่ นที่เขา้ และออกจากปอด) 10. ครเู ปิดโอกาสใหน้ ักเรียนสอบถามเนื้อหา เรื่อง โครงสร้างทใ่ี ช้ในการแลกเปล่ียนแก๊สของคน ว่ามี สว่ นไหนที่ไม่เข้าใจและใหค้ วามรเู้ พิม่ เติมในสว่ นน้ัน 3. ขัน้ ลงข้อสรุป 1. ครูมอบหมายใหน้ ักเรียนสรุปความคิดรวบยอดเกย่ี วกับเน้ือหาที่ไดเ้ รียนในวนั น้ี 2. ครูมอบหมายใหน้ ักเรียนไปศกึ ษาความรู้ เรือ่ ง การแลกเปลย่ี นแก๊ส ซง่ึ จะเรียนในคาบตอ่ ไปมา ลว่ งหนา้

การจัดกระบวนการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 4-6 1. ขน้ั สรา้ งความสนใจ ครูใหน้ กั เรียนทุกคนทดลองวัดอัตราการสูดลมหายใจเข้าออกของตนเองในเวลา 1 นาที ขณะนั่งพัก และนาข้อมลู มาเปรยี บเทียบกับข้อมลู อัตราการสูดลมหายใจของผ้ใู หญป่ กติขณะพัก จากนนั้ ตงั้ คาถามว่าใน การหายใจเขา้ ออกแตล่ ะครงั้ มีปริมาตรเทา่ ไร และให้นักเรียนศึกษาปริมาตรอากาศในลมหายใจออก โดยทา กิจกรรมที่ 6.3 2. ขัน้ สารวจและคน้ หา 1. ครแู จ้งจดุ ประสงค์การทากิจกรรม เพ่ือใหน้ ักเรียนสามารถสารวจตรวจสอบ อภปิ รายและสรุป เก่ยี วกับ ปริมาตรอากาศในลมหายใจออก ดังน้ี - ทาการทดลองหาปรมิ าตรของลมหายใจออก - ออกแบบการทดลองเพ่ือศึกษาปัจจยั ท่ีมผี ลตอ่ ปริมาตรของอากาศทีห่ ายใจออก 2. เมือ่ นกั เรียนแต่ละกลุ่มศกึ ษาวิธีการทดลอง และรบั อุปกรณ์เรยี บร้อยแลว้ ครใู หน้ กั เรียนร่วมกนั อภปิ รายก่อนการทดลอง โดยใชต้ ัวอย่างคาถามนาดังนี้ - การวัดปรมิ าตรของอากาศในลมหายใจออก ทาไดอ้ ย่างไร (เป่าลมหายใจออกไปแทนท่นี ้า) - นักเรียนจะมีวิธกี ารอย่างไรจงึ ทาให้ค่าท่ีได้ถูกต้องมากทสี่ ุด ( 1. การท้าสเกลท่ขี วดบรรจุน้าต้องถูกต้องและชัดเจน 2. การสดู ลมหายใจเข้าตอ้ งสดู ใหเ้ ต็มทีแ่ ล้วเป่าลมหายใจออกใหม้ ากท่ีสุด 3. ทดลองทา้ ซ้า 2 - 3 ครัง แลว้ หาคา่ เฉลยี่ ) 3. เม่อื นักเรียนทดลองเสร็จเรียบรอ้ ยแล้ว ให้นักเรียนนาเสนอข้อมูลบนกระดานเพือ่ เปรียบเทียบกบั กลุม่ อื่นและอาจจะเปรยี บเทียบขอ้ มูลระหวา่ งเพศหญงิ และชาย แล้วให้นักเรยี นร่วมกันอภิปรายหลังการ ทดลองโดยใช้ตวั อยา่ งคาถามทา้ ยกิจกรรม ดงั น้ี - ปรมิ าตรของอากาศทหี่ ายใจออกเตม็ ท่ีแต่ละครง้ั เท่ากันหรือไม่ อย่างไร (คา้ ตอบนีขนึ อยู่กับผล การทดลองของนกั เรียน) - นกั เรยี นมวี ธิ ีการตรวจสอบได้อย่างไรวา่ อายุ เพศ ขนาดของร่างกาย และกิจกกรมท่รี า่ งกาย กระทามีผลต่อปริมาตรของอากาศทห่ี ายใจออก (ทา้ การทดลองเหมือนกจิ กรรม 3 แต่ก้าหนดตวั แปรต้น แตกตา่ งกันในแต่ละครัง เชน่ ต้องการทราบว่าปรมิ าตรของอากาศที่หายใจออกของคนทอ่ี ายุต่างกนั เท่ากัน หรอื ไม่ ตวั แปรตน้ คือ คนที่อายตุ ่างกันกลมุ่ ละ 4 - 5 คน เพือ่ หาค่าเฉล่ยี ตวั แปรตาม คอื ปรมิ าตรของ อากาศในลมหายใจออก ตัวแปรควบคุม คือ สภาพของรา่ งกาย เชน่ ขณะพกั สุขภาพของร่างกายแขง็ แรง สมบรู ณแ์ ละเพศเดยี วกนั น้าหนกั ส่วนสงู ใกลเ้ คียงกนั ) 4. ครสู ง่ เสรมิ ใหน้ กั เรียนท่สี นใจเปน็ พิเศษทาการศึกษาเพิม่ เตมิ และเกบ็ เป็นผลงานในแฟ้มสะสมงาน และอาจต้ังคาถามเพ่ิมเติมเพื่อใหน้ กั เรียนออกแบบการทดลอง เชน่ ใหน้ กั เรยี นออกแบบการทดลองการวัดลม หายใจเข้า

5. ครใู ห้นักเรียนศึกษาภาพแสดงปรมิ าตรอากาศในปอดขณะหายใจเข้า - ออก ปกติและขณะหายใจ เข้า-ออก เต็มท่ี ในภาพท่ี 6 -10 และร่วมกันอภิปรายเพอื่ ตอบคาถามดังน้ี - จากกราฟการหายใจเข้าออกปกติ 1 ครง้ั อากาศจะมีปริมาตรเท่าใด (500 ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร) - นกั เรยี นสามารหายใจเอาอากาศออกจากปอดจนหมดได้หรือไม่ เพราะเหตใุ ด (ไม่ได้ เพราะการทา้ งานของกลา้ มเนือกะบังลมและกลา้ มเนือแถบนอกทีย่ ึดซ่โี ครงท้างานได้จ้ากัด) - ปรมิ าตรของอากาศจากการบังคบั ให้มีการหายใจเข้าเตม็ ทกี่ ับการบงั คับการหายใจออกเตม็ ท่ี ต่างกนั อย่างไร (ขณะท่ีมกี ารหายใจเขา้ เต็มที่ จะมีปริมาตรอากาศสงู สุดที่ 6,000 ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร ขณะท่ี หายใจออกเต็มทแ่ี ล้ว ยงั คงมีอากาศตกค้างในปอดประมาณ 1,100 ลกู บาศก์เซนติเมตร) - เม่ือหายใจออกปกตจิ ะมีปรมิ าตรของอากาศทตี่ กคา้ งในปอดเป็นเท่าไร (2,4000 ลกู บาศก์เซนตเิ มตร) 6. ครใู หค้ วามรู้นักเรยี นเพิ่มเติมและให้คานวณปรมิ าตรของอากาศ ทนี่ ักเรยี นหายใจเข้าภายใน 1 วนั และให้นักเรยี นวิเคราะหว์ า่ ถ้าอากาศเหล่าน้ันเปน็ อากาศที่ไม่บริสทุ ธิม์ ีสารพิษ ฝุน่ ละออง หรอื เชื้อโรค ปนเป้อื นอยู่ด้วย นกั เรียนจะมีโอกาสได้รับส่ิงเหลา่ นั้นเขา้ ไปในรา่ งกายมากน้อยเพียงใด 7. ครูนานักเรียนเข้าสูเ่ ร่อื ง การแลกเปล่ยี นแก๊ส โดยสนทนากบั นักเรยี นเก่ยี วกบั อากาศที่นกั เรียน หายใจเข้าไปถงึ ถุงลมมีแกส๊ ออกซิเจนจานวนมาก “แก๊สออกซิเจนเหล่านจ้ี ะเขา้ สูเ่ ลือดได้อยา่ งไร เม่ือเลอื ด ลาเลยี งแก๊สออกซิเจนไปให้เซลลต์ า่ งๆ ทว่ั ร่างกาย แกส๊ ออกซเิ จนจะเข้าสูเ่ ซลลแ์ ละแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ จากเซลลจ์ ะเข้าสูเ่ ลือดไดอ้ ย่างไร และรา่ งกายจะมีวธิ ีการอย่างไรในการกาจัดแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ออก จากรา่ งกาย” คาตอบของนักเรียนอาจมหี ลากหลาย แตค่ รยู ังไม่เฉลย แตเ่ ม่อื เรยี นจบหวั ข้อนแี้ ลว้ ให้นักเรยี น ตรวจสอบความเขา้ ใจเดิมของนกั เรยี นอีกครง้ั 8. ครูให้นกั เรียนสืบคน้ ข้อมูลเก่ยี วกบั การแลกเปลยี่ นแกส๊ ออกซิเจนและแกส๊ คารบ์ อนได ออกไซด์วา่ มกี ระบวนการอย่างไร เกดิ ข้ึนทีบ่ รเิ วณใดของร่างกาย รวมถงึ สารท่มี บี ทบาทในการแลกเปลี่ยนแกส๊ โดย ศึกษาแผนภาพแสดงการแลกเปลย่ี นแกส๊ และการลาเลียงแกส๊ ออกซเิ จนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และ แผนภาพแสดงความหนาแนน่ ของแกส๊ ในบรรยากาศและในสว่ นตา่ งๆ ของร่างกาย โดยใชใ้ บความรู้ และให้ นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือตอบคาถาม ดงั น้ี - การแลกเปลีย่ นแก๊สเกดิ ขึ้นทสี่ ่วนใดบ้าง (เกิดขึน 2 แห่ง แหง่ แรกเกดิ ท่ถี งุ ลมกบั หลอดเลือดฝอย อีกแห่งหน่ึงเกิดขึนที่หลอดเลือดฝอยกับเซลล์ทัว่ ไปของร่างกาย) - เซลล์ของเน้ือเยือ่ ปอดต้องการออกซิเจนหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด (ต้องการ เพราะเนือเยื่อของปอด ตอ้ งใช้พลังงานในการท้ากิจกรรมในเซลล์ เชน่ เดยี วกับเซลลอ์ ืน่ ๆ ของรา่ งกาย) - เนื้อเยื่อของปอดไดร้ ับออกซเิ จนโดยวธิ ีใด (แพรจ่ ากหลอดเลือดฝอยที่มาหล่อเลียงเนือเยื่อของ ปอด) - ฮีโมโกลบินรวมตัวกบั คาร์บอนมอนอกไซด์ไดด้ ีกว่าออกซเิ จน และไม่ยอมปล่อยคารบ์ อน มอน อกไซด์ออกมาง่ายๆ นักเรียนคดิ ว่าจะเกิดผลอยา่ งไร ถา้ ร่างกายได้รับคารบ์ อนมอนอกไซดเ์ ป็นปริมาณมาก (แก๊สนจี ะไปรวมตวั กบั ฮโี มโกลบนิ ของเซลลเ์ ม็ดเลือดแดงได้ดกี ว่าแก๊สออกวเิ จนท้าให้หลอดเลือดลา้ เลยี ง

ออกซเิ จนได้น้อยลง หวั ใจจึงต้องบีบตวั เรว็ ขนึ เพื่อให้มีการลา้ เลยี งออกซเิ จนไดน้ ้อยลง หวั ใจจึงตอ้ งบีบตัว เรว็ ขนึ เพ่ือให้มีการล้าเลียงออกซิเจนไปยงั ส่วนตา่ งๆ ของร่างกายไดเ้ พยี งพอ) - แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์จากเซลล์ต่างๆ ทเี่ ขา้ สูห่ ลอดเลอื ดฝอยจะมีการเปลยี่ นแปลงอย่างไรบ้าง (แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์สว่ นใหญ่จะท้าปฏิกิรยิ ากบั นา้ ในเซลลเ์ ม็ดเลือดแดงไดเ้ ป็นกรด คารบ์ อนิก ซงึ่ จะแตกตัวเปน็ ไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออนและไฮโดรเจนไอออนและแพร่ออกสพู่ ลาสมา) - สารใดมีผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงค่า pH ของพลาสมา (แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์) - นกั เรียนทราบหรอื ไม่ว่า บริเวณใดในรา่ งกายมีโมเลกุลของออกซเิ จนหนาแนน่ มากท่ีสุดและน้อย ที่สุด (มากทสี่ ุดคือที่ปอดหรอื ในถงุ ลม และน้อยทีส่ ดุ คือที่เนอื เยือ่ ต่างๆ ของรา่ งกาย) - บรเิ วณใดมโี มเลกลุ ของคาร์บอนไดออกไซด์อย่กู ันหนาแน่นมากที่สดุ และน้อยทส่ี ดุ เพราะเหตุใด จึงเป็นเชน่ นน้ั (หนาแน่นมากทสี่ ุดคือท่เี นอื เยื่อต่างๆ ของร่างกาย เพราะเซลลต์ า่ งๆ ของเนอื เยอ่ื มกี ารสลาย สารอาหารโดยใชแ้ ก๊สออกซิเจน และปล่อยแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ ส่วนบริเวณน้อยท่สี ุดคอื ที่ปอดหรือในถุง ลม เพราะเปน็ อากาศทห่ี ายใจเข้ามามีแก๊สคารบ์ อนไดออกไซดเ์ ป็นส่วนประกอบประมาณรอ้ ยละ 0.03) - แกส๊ ออกซิเจนที่ผา่ นเข้าไปในปอดจะแพร่เข้าสเู่ ลอื ดได้ท้ังหมดหรอื ไม่ เพราะเหตุใด (แกส๊ ออกซเิ จนที่ผา่ นเข้าไปในปอดจะแพรเ่ ขา้ สเู่ ลือดได้ไม่ทังหมด เพราะในลมหายใจออกยงั มีปรมิ าณ ออกซเิ จนจ้านวนหนงึ่ ออกมา) - เพราะเหตใุ ดในเนื้อเย่อื จึงมโี มเลกุลของออกซิเจนหนาแน่นนอ้ ย แตม่ ีโมเลกุลของ คารบ์ อนไดออกไซด์อยูก่ ันหนาแน่นมาก (เพราะเนือเยอื่ น้าออกซิเจนเขา้ รว่ มปฏิกิริยาการสลายสารอาหารและ ไดผ้ ลิตภณั ฑค์ ือ แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์) 9. ครเู ปิดโอกาสใหน้ ักเรียนสอบถามเนือ้ หา เรื่อง การแลกเปลย่ี นแก๊ส ว่ามสี ว่ นไหนทไ่ี ม่เขา้ ใจและให้ ความรู้เพิม่ เตมิ ในส่วนนั้น 3. ข้นั ลงข้อสรปุ 1. ครูมอบหมายใหน้ ักเรยี นสรปุ ความคิดรวบยอดเก่ยี วกับเน้อื หาที่ได้เรยี นในวนั น้ี 2. ครมู อบหมายใหน้ กั เรียนไปศึกษาความรู้ เร่อื ง การควบคุมการหายใจและความผิดปกติที่เกยี่ วขอ้ ง กับโรคของระบบทางเดนิ หายใจ ซ่ึงจะเรียนในคาบต่อไปมาลว่ งหน้า การจัดกระบวนการเรยี นรู้ 7-10 1. ข้นั สรา้ งความสนใจ ครูเร่ิมนานักเรยี นเข้าสู่เรอื่ งท่ีเรยี น โดยให้นกั เรยี นลองกล้ันหายใจ นกั เรียนจะกลน้ั หายใจไดร้ ะยะหน่ึง แล้วถามคาถามนาเพอ่ื นาไปสู่การอภิปรายว่า “เราส่ังใหร้ า่ งกายกลัน้ หายใจได้นานกวา่ นั้นหรอื ไม่ เพราะเหตุ ใด หรอื ขณะทว่ี ิง่ ออกกาลงั กายเราหายใจหอบและถ่ี เราสั่งร่างกายให้หายใจเปน็ ปกติได้หรือไม่ แสดงว่าเรา ควบคมุ การหายใจไดห้ รือไม่” 2. ขั้นสารวจและค้นหา

1. ครคู วรชีแ้ จงเพมิ่ เติมวา่ เราส่ังร่างกายให้กลัน้ หายใจได้ชั่วระยะหนึ่งเท่าน้นั และจะสงั่ ใหห้ ายใจ เปน็ ปกติขณะที่หายใจหอบและถีไ่ ม่ได้ แต่ถงึ อย่างไรร่างกายก็มีกลไกควบคุมการหายใจ “นกั เรยี นคดิ วา่ ส่วน ใดของร่างกายทีค่ อยควบคุมการหายใจ เพอื่ ช่วยรักษาดลุ ยภาพภายในรา่ งกาย” คาตอบของนักเรียนอาจมี หลายรูปแบบแต่ครยู งั ไมเ่ ฉลยคาตอบ 2. ครใู หน้ ักเรยี นสืบค้นข้อมูลการควบคุมการหายใจ และรว่ มกนั อภปิ รายเพ่ือสรปุ กลไกการควบคุม การหายใจของร่างกาย ซ่ึงสัมพันธ์กับการรักษาดุลยภาพของรา่ งกาย และใหน้ ักเรียนร่วมกนั อภิปรายคาถาม ในหนังสอื เรียนและอาจมีคาถามเพ่ิมเติม ดงั น้ี - นักเรียนจะอธบิ ายวา่ อย่างไร ในกรณีทร่ี ่างกายมีการหายใจเรว็ ขึน้ และลึกขึ้นในขณะที่ออกกาลงั กาย (ขณะที่ออกก้าลังกายรา่ งกายต้องการแก๊สออกซิเจนมากขนึ เพ่ือนา้ ไปใช้ในการรบั อิเลก็ ตรอนตัวสุดทา้ ย ในการสลายสารอาหารเพ่อื ให้ได้พลงั งาน ขณะเดยี วกันก็ต้องเรง่ ก้าจดั แก๊สคาร์บอน ไดออกไซด์ท่เี กดิ มากขึน ออกจากรา่ งกาย ดังนนั จึงต้องมีการหมนุ เวยี นแกส๊ ออกซเิ จนเข้าสู่ร่างกายมากขนึ และเร็วขึน และต้องนา้ แก๊ส คารบ์ อนไดออกไซด์ออกจากร่างกายมากขนึ และเรว็ ขนึ ดว้ ย) 3. ครนู านกั เรียนเข้าสู่หัวขอ้ เรื่อง ความผิดปกติท่เี ก่ียวข้องกับโรคระบบทางเดินหายใจโดยนา เหตุการณป์ ัจจบุ ันที่มีผูป้ ่วยดว้ ยโรคระบบทางเดนิ หายใจเป็นจานวนมาก ซงึ่ หาได้จากข่าวทางหนงั สือ พิมพ์ หรอื สถิตขิ องกระทรวงสาธารณสขุ ให้นกั เรยี นศึกษาและอภิปรายถงึ สาเหตุ อาการของโรค วิธีการ แพรก่ ระจาย วิธปี อ้ งกนั ตนเองไม่ใหเ้ ป็นโรค ตอ่ จากนนั้ ครูใหน้ กั เรียนทากิจกรรมเสนอแนะท่ี 1 เร่ือง โรคที่เกยี่ วข้องกับระบบทางเดินหายใจ 4. ครูแจ้งจุดประสงค์ของกิจกรรมเสนอแนะท่ี 1 เพื่อให้นักเรียนสามารถ - สบื คน้ ข้อมูล อภปิ ราย และสรุปเกีย่ วกบั โรคทเี่ กยี่ วข้องกบั ระบบทางเดินหายใจ - นาเสนอข้อมลู โดยจดั ทาเป็นปา้ ยนิเทศ - นาความรทู้ ่ีได้ไปใชใ้ นการดแู ลรกั ษาสขุ ภาพของตนเองและครอบครวั ( ครูควรให้นักเรยี นทางานเป็นกลุ่มในการสืบคน้ ข้อมูลเกี่ยวกับโรคของระบบทางเดินหายใจ จาก แหลง่ เรยี นรตู้ ่างๆ ตามทน่ี กั เรียนสนใจโดยไมค่ วรซ้ากัน ด้วยวธิ ีสืบค้นถงึ สาเหตุ อาการ การป้องกัน และการ รักษาโรค การประเมินผลครูอาจให้เพื่อนในชั้นเรียนรว่ มประเมินดว้ ย สาหรับเรอ่ื งพิษภัยของบหุ รน่ี ้ันครูให้ นกั เรยี นพจิ ารณาข้อความและเอกสารแผ่นพบั ต่างๆ ท่ีใชใ้ นการรณรงค์ใหง้ ดสูบบุหรี่ และรว่ มกนั อภิปรายถงึ ผลของการสบู บุหร่ี และใหท้ ากิจกรรมเสนอแนะท่ี 2 เร่อื ง คนทสี่ บู บุหร่ีกับคนทไ่ี มส่ ูบบุหรี่ 5. ครแู จง้ จุดประสงคข์ องกิจกรรมเสนอแนะที่ 2 เพือ่ ให้นกั เรียนสามารถ - สารวจข้อมูลเกยี่ วกับคนที่สูบบหุ ร่แี ละคนทไ่ี ม่สบู บหุ ร่ี - วิเคราะหข์ ้อมูล และจัดกระทาข้อมลู ทส่ี ารวจได้ - นาเสนอผลการศกึ ษาและสารวจในชั้นเรียน (ครูใหน้ ักเรียนทางานเป็นกลุ่มในการศกึ ษาและสารวจข้อมูล โดยกาหนดกลมุ่ ประชากรทีจ่ ะศึกษา และแบง่ หนา้ ท่ใี นการสารวจ จากนนั้ นาข้อมูลที่ได้มารวมกันแลว้ วิเคราะหข์ ้อมลู จัดทาเป็นรายงาน แล้ว นาเสนอในชนั้ เรยี น)

6. ครูนานกั เรยี นเข้าสูห่ วั ข้อเรื่อง การวัดอัตราการหายใจ โดยใหน้ ักเรยี นอภปิ รายอย่างสัน้ ๆ ถึง ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งอัตราการหายใจกบั อตั ราการใช้ออกซิเจน และอตั ราเมแทบอลิซึมของสง่ิ มี ชวี ติ เพื่อให้ เหน็ วา่ อาจใช้อัตราการใช้ออกซเิ จนเปน็ เคร่อื งบอกถึงเมแทบอลซิ มึ ของส่ิงมีชวี ิตไดแ้ ละให้นกั เรยี นทากจิ กรรม เสนอแนะที่ 3 การวดั อัตราการหายใจของสตั ว์ 7. ครูแจ้งจุดประสงคข์ องกิจกรรมเสนอแนะท่ี 3 เพือ่ ให้นกั เรยี นสามารถ - ทากจิ กรรมวดั อัตราการหายใจของสตั ว์บางชนิด - ออกแบบการทดลองเพ่ือศึกษาปจั จัยท่มี ีอิทธิพลต่ออัตราการหายใจของสตั ว์ โดยครคู วรใหน้ ักเรียนรว่ มกันอภปิ รายเกี่ยวกับการทดลองในประเดน็ ที่วา่ “การทดลองนี้ควรจะ ควบคมุ อะไรใหเ้ หมือนกันบ้าง เราจะวดั อัตราการใช้ออกซิเจนทหี่ นูใช้ไปอย่างไร และจะมีวิธีการอยา่ งไรใน การเกบ็ แก๊สคาร์บอนไดออกไซดท์ หี่ นูหายใจออกมา” พรอ้ มกบั เนน้ ข้อควรระวังตา่ งๆ ท่ีไดร้ ะบุไวใ้ น วธิ ีดาเนนิ การทดลองโดยเฉพาะในเรอื่ งตอ่ ไปน้ี -รอยรวั่ ตามรอยตอ่ ตา่ งๆ ของสายยาง ฝาขวด การใชด้ ินน้ามันหรือวาสลินปดิ รอยต่อต่างๆ - ตอ้ งทาการทดลองตามลาดบั ข้นั อย่างเคร่งครัด - คอยเกล่ยี โซเดียมไฮดรอกไซดใ์ ห้มผี วิ หน้ากวา้ งมากๆ เพอื่ ให้มพี ื้นที่ผิวสมั ผัสกับอากาศ ได้มาก 8. ครใู หน้ ักเรยี นดาเนินการทดลองเปน็ กล่มุ เสร็จแล้วคานวณหาอตั ราการหายใจ จากน้ัน จึง อภิปรายถึงความสาคญั ของค่าน้ี แล้วให้นกั เรยี นตอบคาถามในบทเรยี นและคาถามท้ายกิจกรรมดังน้ี - จากกจิ กรรม สิง่ มชี วี ติ ที่นกั เรยี นศกึ ษามีอตั ราการหายใจแตกต่างกับส่งิ มีชีวิตทเ่ี พื่อนกลุม่ อืน่ ๆ ศกึ ษาหรือไมอ่ ย่างไร (ตอบตามขอ้ มลู ของนักเรียน แตน่ ่าจะแตกตา่ งกันเพราะเปน็ ส่งิ มชี ีวติ คนละชนดิ ถา้ เป็น สง่ิ มีชีวติ ชนิดเดยี วกนั ขนาดแตกต่างกนั กน็ า่ จะมีอตั ราการหายใจแตกต่างกนั ดว้ ย) - การทีห่ ยดน้าสเี คล่ือนท่ีไปไดแ้ สดงว่าสว่ นประกอบของอากาศภายในขวดลดลงไปจากเดมิ แก๊ส ท่ีลดลงไปน้คี ือแก๊สอะไร (แก๊สออกซิเจน) - การทดลองซ้า 2 – 3 คร้ังมีประโยชนอ์ ยา่ งไร เหตุใดจึงตอ้ งเปดิ ฝาขวดให้อากาศผ่านเข้าไปทกุ คร้งั ก่อนการทดลอง (การทดลองซา้ จะชว่ ยใหผ้ ลการทดลองคลาดเคล่ือนนอ้ ยลง และเหตุทต่ี ้องเปิดฝาขวด เพอื่ ให้อากาศภายนอกเขา้ ไปทดแทนอากาศทสี่ ัตวไ์ ด้ใช้ไปแลว้ ) - นกั เรยี นคดิ วา่ โซเดียมไฮดรอกไซดท์ าหน้าที่อะไร (ดดู แก๊สคาร์บอนไดออกไซดจ์ ากการหายใจของ สตั ว์) - ถา้ ตอ้ งการศึกษาปัญหาอืน่ ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง เช่น อุณหภูมิของสง่ิ แวดล้อมมผี ลตอ่ อัตราการใช้ ออกซเิ จนอย่างไร นักเรียนจะวางโครงการทดลองอย่างไร (จดั ชดุ การทดลอง 3 ชุด เหมือนกบั กจิ กรรม เสนอแนะ โดยใชส้ ัตวช์ นิดเดียวกัน ขนาด และความสมบูรณ์ของร่างกายเหมือนกัน วางไวใ้ นอุณหภูมิท่ี ต่างกนั เช่น ท่ี 10C อุณหภูมหิ อ้ งและท่ี 40C ทา้ การทดลองซ้า 2 – 3 ครงั และหาคา่ เฉลี่ย) 9. ครใู ห้นักเรยี นศึกษาตารางท่ี 6.1 ในหนงั สอื เรยี น แลว้ ให้ตอบคาถาม ดงั นี้ - ขอ้ มลู จากตารางบอกเราเกีย่ วกบั กจิ กรรมในการดารงชวี ิตของสตั ว์ต่างชนิดกนั วา่ อยา่ งไร

(ตารางนแี สดงให้เหน็ ว่า อตั ราการหายใจของสัตว์ขนึ อยู่กบั กจิ กรรมในการดา้ รงชีวิตของสตั ว์ เช่น ดอกไมท้ ะเลเปน็ สตั วท์ ีเ่ กาะน่ิงอยกู่ ับทแี่ ละมีระดบั การด้ารงชวี ิตอยา่ งง่ายๆ จึงมีอัตราการหายใจที่ตา่้ มาก และระหวา่ งหมึกยกั ษก์ บั หมึกซงึ่ เปน็ สัตว์อยใู่ นคลาสเดยี วกันแตเ่ นื่องจากหมึกมีกจิ กรรม มาก กวา่ จึงมีค่าอัตรา การหายใจสงู กวา่ หมึกยักษ์ นกฮัมมิงเป็นเป็นสตั วเ์ ลือดอุ่น และมคี วามว่องไวมากจึงมีอัตราการหายใจสูง มาก) - สตั วช์ นดิ ใดมอี ตั ราเมแทบอลิซึมในขณะพักสูงสดุ และต่าสุด (สงู สุดคือ นกฮมั มิง ตา่้ สุดคอื ดอกไม้ทะเล) - สิง่ มีชวี ิตทนี่ ักเรยี นศึกษาในกจิ กรรมเสนอแนะ เมื่อเปรียบเทยี บกบั คนแล้วมอี ตั ราการหายใจ แตกตา่ งกนั อย่างไร (ตอบตามขอ้ มลู ของนักเรียนเปรยี บเทยี บกับข้อมลู ของคนในตาราง) - นกั เรยี นบอกไดห้ รือไมว่ ่า ปัจจัยทเ่ี กยี่ วข้องกับอัตราการหายใจของสิ่งมีชีวติ มอี ะไรบ้าง (พฤติกรรมและการดา้ รงชีวติ ของส่งิ มชี ีวิต) 10. ครูเปดิ โอกาสให้นักเรยี นสอบถามเนื้อหา เรื่อง การควบคุมการหายใจและความผิดปกตทิ ่ี เกี่ยวขอ้ งกบั โรคของระบบทางเดินหายใจ ว่ามีส่วนไหนที่ไม่เข้าใจและให้ความร้เู พ่ิมเติมในส่วนนัน้ 3. ข้ันลงข้อสรุป 1. ครมู อบหมายให้นักเรยี นสรปุ ความคดิ รวบยอดเก่ียวกบั เน้ือหาท่ีได้เรียนในวันน้ี 2. ครูให้นกั เรยี นทาแบบทดสอบ เรือ่ ง โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปล่ียนแก๊สของคน (2) 3. ครูมอบหมายให้นกั เรียนไปศึกษาความรู้ เร่ือง ระบบขบั ถา่ ยกบั การรกั ษาดลุ ยภาพของรา่ งกาย ซึ่ง จะเรียนในคาบต่อไปมาล่วงหน้า กระบวนการการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ช่ัวโมงท่ี 11-15 1. ข้นั สร้างความสนใจ (Engagement) 1.1 ครูถามนกั เรียนวา่ “นกั เรียนคิดวา่ การอุจาระเป็นการขบั ถ่ายหรือไม่” สุ่มเลือกนกั เรียน ออกมาแสดงความคิดเห็นและใหเ้ พ่ือนร่วมช้นั ร่วมกนั วิเคราะห์ 1.2 ครูบอกนกั เรียนวา่ การอุจจาระไมใ่ ช่การขบั ถ่าย วนั น้ีเราจะมาหาวา่ เหตุใดจึงเป็น เช่นน้นั และอะไรคือการขบั ถ่าย 2. ข้นั สารวจและสืบค้น (Exploration) (40 นาท)ี 2.1 ครูทาการแบง่ กลุ่มโดยคละเดก็ เก่ง ปานกลาง อ่อน (แนวคาตอบ ตามคะแนนสอบ) สมาชิกแต่ละคนคนตอ้ งมีตาแหน่ง เช่น ประธาน รองประธาน เลขา ผสู้ ่ือสาร 2.2 นกั เรียนทากิจกรรมที่ 1 เรื่องการศึกษาโครงสร้างของไต แลว้ สังเกตพฤติกรมการ ทางานกลุ่มโยใช้ แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานกลุ่ม 2.3 ครูถามนกั เรียนวา่ “นกั เรียนคิดวา่ มนุษยส์ ามารถใชอ้ วยั วะขบั ถ่ายเหมือน ไส้เดือนดิน และแมลงไดห้ รือไม่” (แนวคาตอบ ไมไ่ ดเ้ พราะมนุษยม์ ีระบบร่างกายที่ซบั ซอ้ นกวา่ )

2.4 ครูทบทวนความรู้เดิมของนกั เรียนเกี่ยวกบั ไต และใหน้ กั เรียนชมวีดิทศั นเ์ ร่ือง Introduction to renal function พร้อมสงั เกตพฤติกรรมใฝ่ เรียนรู้โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมใฝ่ เรียนรู้ 2.5 ครูใชก้ ระบวนการจดั ระบบความคิดโดยใชแ้ ผนผงั โดยใหน้ กั เรียนแต่ละคนเขียนแผนผงั การไหลของเลือดและของเสียผา่ นไตและหน่วยไต 3. ข้ันอภิปรายและลงข้อมูล (Explanation) 3.1 ครูสุ่มนกั เรียน 2-3 คน แสดงแผนผงั การไหลของเลือดและของเสียผา่ นไต และหน่วย ไต ร่วมกนั อภิปรายและเปรียบเทียบกบั นกั เรียนคนอ่ืนในหอ้ งเรียน 3.2 ครูอธิบายเก่ียวกบั แรงดนั ออสโมติกและความเขม้ ขน้ ของเลือด แลว้ ถามนกั เรียนวา่ หากร่างกายนกั เรียนขาดน้าจะส่งผลอยา่ งไรต่อความเขม้ ขน้ และแรงดนั ออสโมติก (แนวคาตอบ ทาใหค้ วาม เขม้ ขน้ และแรงดนั ออสโมติกของเลือดสูงข้ึน) 3.3 ครูวดี ิทศั น์การทางานของสมองในการควบคุมสมดุลน้าและแร่ธาตุโดยใช้ ADH และ aldoseterone 4. ข้ันขยายความรู้และประยุกต์ (Elaboration) 4.1 ครูถามนกั เรียนวา่ หากร่างกายนกั เรียนขาด ADH จะส่งผลอยา่ งไร (แนวคาตอบ จะทา้ ใหเ้ ป็นโรคเบาจืด เพราะ collecting duct ไมส่ ามารถดูดกลบั น้าไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ 4.2 จากที่นกั เรียนไดเ้ รียนมา นกั เรียนคิดวา่ “เหตุใดการอุจจาระจึงไม่ใช่การขบั ถ่าย” (แนว คาตอบ เพราะไม่ไดเ้ ป็นการขบั ของเสียจากกระบวนการ metabolism แต่เป็นการขบั กากอาหารที่ยอ่ ยไมไ่ ด้ ออกมา) 4.3 ครูใหน้ กั เรียนทาใบงานท่ี 1 เรื่อง ผงั มโนทศั น์สรุปเร่ืองการขบั ถ่าย 5. ข้นั ประเมิลผล (Evaluation) 5.1 นกั เรียนทาแบบทดสอบยอ่ ย 5.2 นกั เรียนส่งใบงานใหค้ รูตรวจ และเปิ ดโอกาสให้นกั เรียนในเร่ืองท่ียงั ไม่เขา้ ใจ 9. ส่ือการเรยี นการสอน / แหล่งเรียนรู้ จานวน สภาพการใชส้ ่ือ 1 ชุด ขน้ั ตรวจสอบความรู้เดิม รายการสือ่ 1 ชดุ ขนั้ สร้างความสนใจ 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น 1 ชุด ขั้นสรา้ งความสนใจ 2. ใบงาน เร่อื ง การจาลองการทางานของกลา้ มเน้อื กะบงั ลม 1 ชดุ ขน้ั สรา้ งความสนใจ 3. ใบงาน เรื่อง ปรมิ าตรอากาศในลมหายใจออก 1 ชดุ ขน้ั สรา้ งความสนใจ 4. ใบงานท่ี 1 เรอ่ื ง การขับถ่ายของสตั ว์ 1 ชุด ข้นั สร้างความสนใจ 5. ใบกจิ กรรมที่ 1 เรือ่ ง โครงสรา้ งของไต 6. ใบงาน เรอ่ื ง แผนผังความคิดสรุปผลการเรยี นรู้

10. การวดั ผลและประเมนิ ผล เป้าหมาย หลกั ฐานการเรยี นรู้ วิธีวัด เครอ่ื งมอื วัดฯ ประเด็น/ การเรียนรู้ ชิน้ งาน/ภาระงาน เกณฑก์ ารให้ ตรวจใบงาน เรือ่ ง ใบงาน เรื่อง การจาลอง นักเรยี นสามารถ ใบงาน เรื่องการจาลอง คะแนน อธิบายโครงสร้างท่ี การทางานของ การจาลองการ การทางานของกล้ามเน้ือ ทาได้ถกู ต้อง 70 % ใช้ในการแลกเปลย่ี น กลา้ มเนื้อกะบงั ลม ขึน้ ไป แก๊ส และ ทางานของ กะบงั ลม กระบวนการ แบบทดสอบก่อนเรยี น ทาได้ถูกต้อง 70 % แลกเปล่ยี น กลา้ มเนื้อกะบังลม ข้นึ ไป แกส๊ ของมนุษย์ได้ ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรยี น กอ่ นเรยี น

11. การบรู ณาการตามจดุ เนน้ ของโรงเรียน หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ครู ผู้เรียน 1. ความพอประมาณ พอดดี ้านเทคโนโลยี พอดีดา้ นจติ ใจ รู้จักใช้เทคโนโลยีมาผลิตสอ่ื ทเี่ หมาะสม มจี ติ สานึกที่ดี เอ้ืออาทร ประนปี ระนอม และสอดคลอ้ งเนอื้ หาเป็นประโยชน์ต่อ นกึ ถงึ ประโยชนส์ ว่ นรวม/กลุ่ม ผเู้ รียนและพฒั นาจากภูมิปัญญาของ ผ้เู รยี น 2. ความมเี หตผุ ล - ยึดถือการประกอบอาชีพดว้ ยความ ไมห่ ยุดน่งิ ท่หี าหนทางในชีวติ หลุดพน้ ถูกต้อง สจุ รติ แม้จะตกอย่ใู นภาวะขาด จากความทกุ ขย์ าก (การคน้ หาคาตอบ แคลน ในการดารงชีวติ เพือ่ ให้หลดุ พน้ จากความไมร่ ู)้ 3. มภี ูมคิ ุมกันในตัวที่ดี ภมู ิปญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ภมู ิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ระมดั ระวงั ระมัดระวงั สร้างสรรค์ 4. เงอื่ นไขความรู้ ความรอบรู้ เรื่อง โครงสร้างท่ใี ชใ้ น ความรอบรู้ เร่อื ง โครงสรา้ งทใ่ี ช้ใน การแลกเปลยี่ นแก๊ส และกระบวนการ การแลกเปลย่ี นแก๊ส และกระบวนการ แลกเปล่ยี น แกส๊ ของมนษุ ย์ แลกเปล่ยี น แกส๊ ของมนษุ ย์ 5. เง่ือนไขคณุ ธรรม มคี วามตระหนกั ใน คณุ ธรรม มี มคี วามตระหนกั ใน คุณธรรม มี ความซ่ือสตั ย์สจุ รติ และมคี วามอดทน มี ความซื่อสัตย์สุจรติ และมีความอดทน มี ความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนนิ ความเพียร ใชส้ ติปญั ญาในการดาเนนิ ชวี ติ ชีวติ สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผูเ้ รยี น -- - ส่ิงแวดลอ้ ม ครู ผเู้ รียน -- - ลงชือ่ ..................................................ผสู้ อน (นางสาวจนั จริ า ธนันชยั )

ใบงานกิจกรรม เรื่อง การจาลองการทางานของกล้ามเนอื้ กะบงั ลม คาช้ีแจง นักเรยี นศึกษากิจกรรม แลว้ ตอบคาถามต่อไปนี้ 1. ลกู โปรง่ เปรียบเทียบได้กบั โครงสรา้ งใดในการแลกเปลย่ี นแกส๊ คาตอบ . .............................................................................................................................................................. ................................................................................................ .............................................................................. ........................................................................................................................ ...................................................... ........................................................................................................................ ...................................................... 2.ลกู สูบเปรียบเทยี บได้กบั โครงสรา้ งใด คาตอบ . .............................................................................................................................................................. ........................................................................................................................ ...................................................... ........................................................................................................................ ...................................................... .............................................................................................................................................................................. 3.ผลการทดลองครง้ั แรกกบั ครั้งท่ีสองแตกต่างกันหรอื ไม่ เพราะเหตุใด คาตอบ . .............................................................................................................................................................. ........................................................................................................................ ...................................................... ........................................................................................................................ ...................................................... ..............................................................................................................................................................................

ใบงาน เรื่อง ปรมิ าตรอากาศในลมหายใจออก คาชี้แจง นกั เรียนศึกษากิจกรรมที่ 6.3 แลว้ ตอบคาถามต่อไปน้ี 1. ปรมิ าตรของอากาศที่หายใจออกเต็มที่แต่ละครง้ั เทา่ กนั หรอื ไม่ อยา่ งไร คาตอบ . .............................................................................................................................................................. ........................................................................................................................ ...................................................... ........................................................................................................ ...................................................................... ........................................................................................................................ ...................................................... 2.นกั เรียนมีวิธีการตรวจสอบได้อย่างไรว่า อายุ เพศ ขนาดของร่างกาย และกิจกรรมท่ีรา่ งกายกระทามีผลต่อ ปริมาตรของอากาศท่ีหายใจออก คาตอบ . .............................................................................................................................................................. ........................................................................................................................ ...................................................... .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................ ......................................................

คาช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นศกึ ษากราฟแล้ว ตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1.จากกราฟการหายใจเขา้ ออกปกติ 1 ครง้ั จะมีปริมาตรของอากาศเทา่ ใด คาตอบ . .............................................................................................................................................................. ........................................................................................................................ ...................................................... ........................................................................................................................ ...................................................... ........................................................................................................................ ...................................................... 2.นกั เรียนสามารถหายใจเอาอากาศออกจากปอดจนหมดได้หรือไม่ เพราะเหตุใด คาตอบ . .............................................................................................................................................................. ........................................................................................................ ...................................................................... ........................................................................................................................ ...................................................... ........................................................................................................................ ...................................................... 3.ปรมิ าตรของอากาศจากการบงั คบั ใหม้ ีการหายใจเขา้ เตม็ ทีก่ ับการบังคับการหายใจออกเต็มที่ต่างกนั หรือไม่ อยา่ งไร คาตอบ . .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................ ...................................................... ........................................................................................................................ ...................................................... 4.เมือ่ หายใจออกปกตจิ ะมปี ริมาตรของอากาศท่ีตกคา้ งในปอดเปน็ เท่าไร คาตอบ . .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................ ...................................................... ........................................................................................................................ ......................................................

แบบทดสอบย่อย เรื่อง การขบั ถ่ายของคน 1. nephron ประกอบดว้ ย ก. Bowman’s capsule และ glomerulus ข. Bowman’s capsule, glomerulus และ renal tubule ค. Bowman’s capsule, glomerulus และ proximal tubule ง. Bowman’s capsule, glomerulus , proximal tubule และ loop of Henle 2. บริเวณใดของหน่วยเนฟรอนของไตที่มีการดูดกลบั ของ น้าและสารท่ีเป็นประโยชน์ต่อร่างกายไดม้ าก ท่ีสุด ก. Loop of Henle ข. collecting tubule ค. distal convoluted tubule ง. proximal convoluted tubule 3. เมื่อดื่มน้ามาก น้าปัสสาวะจะออกมามาก ท้งั น้ีเนื่องจาก ก. แรงดนั ออสโมติกในเลือดต่า , ADH ออกมานอ้ ย , การดูดกลบั ของน้านอ้ ย ข. แรงดนั ออสโมติกในเลือดต่า , ADH ออกมานอ้ ย , การดูดกลบั ของน้ามาก ค. แรงดนั ออสโมติกในเลือดสูง , ADH ออกมามาก , การดูดกลบั ของน้านอ้ ย ง. แรงดนั ออสโมติกในเลือดสูง , ADH ออกมามาก , การดูดกลบั ของน้ามาก 4. การที่คนปกติไมม่ ีกลูโคสอยใู่ นปัสสาวะเป็นเพราะ ก. Bowman’s capsule ไมย่ อมใหก้ ลูโคสผา่ นเขา้ ไปในหน่วยเนฟรอน ข. glomerulus ไมย่ อมใหก้ ลูโคสผา่ นเขา้ ไปที่ Bowman’s capsule ค. หลอดของหน่วยเนฟรอนดูดกลูโคสกลบั เขา้ สู่เลือด ง. เอนไซมใ์ นหน่วยเนฟรอนสลายกลูโคสจนหมด 5. ฮอร์โมน ADH มีอิทธิพลต่อการทางานของ ส่วนไหนของหน่วยไตมากท่ีสุด ก. convoluted tubules ข. หลอดเลือดแดงเลก็ ๆ ท่ีไปท่ีไต ค. collecting tubule ง. glomerulus และ Bowman’s capsule

6. จะเกิดอะไรข้ึน ถา้ เราใหส้ ุนขั ด่ืมนา้ ทะเล ก. ตาย ข. กระหายน้ามากข้ึน ค. ระดบั ความเขม้ ของสารในเลือดเพิ่มสูงข้ึน ง. สุนขั ขบั เกลือออกมาที่ต่อมเหง่ือบริเวณผวิ หนงั 7. สารท่ีกรองผา่ นโกลเมอรูลสั ของหน่วยเนฟรอนของไตจะ อยใู่ นสภาพคลา้ ยคลึงกบั ก. น้าเหลืองภายในเซลลล์ าไส้เล็ก ข. สารที่ถูกขบั ออกจากตบั ทางหลอดเลือดดา ค. ของเหลวที่อยรู่ อบๆเซลล์ ง. ส่วนของพลาสมาของเลือดที่แยกเอาโปรตีนออกแลว้ 8. ชายผหู้ น่ึงหลงทางกลางทะเลทราย ขาดน้าด่ืม จึง ดื่มปัสสาวะตนเองแกก้ ระหาย จะเกิดอะไรข้ึนใน ช่วงเวลา 24 ชว่ั โมง หลงั จากน้ี ก. ถ่ายปัสสาวะออกมามีปริมาณนอ้ ยกวา่ ท่ีดื่มเขา้ ไป ข. ถ่ายปัสสาวะออกมามีปริมาณเทา่ กบั ที่ดื่มเขา้ ไป ค. ถ่ายปัสสาวะออกมามีปริมาณมากกวา่ ท่ีด่ืมเขา้ ไป ง. ไมม่ ีการถ่ายปัสสาวะอีกเลย 9. ศูนยก์ ลางที่ทาหนา้ ท่ีในการควบคุมการกระหายนา้ อยทู่ ี่สมองส่วนใด ก. ทาลามสั ข. ไฮโพทาลามสั ค. เมดลั ลา ออบลองกาตา ง. พอนส์ 10. อาการผดิ ปกติเริ่มแรกสุดของหน่วยไตท่ีเกิดกบั ผปู้ ่ วย โรคเบาหวาน คืออะไร ก. หลอดของเนฟรอนไมส่ ามารถดูดน้าตาลกลบั เขา้ สู่เลือด ไดห้ มด ข. หลอดของเนฟรอนดูดน้าตาลจากเลือดเพิม่ ข้ึน ค. โบวแ์ มนแคปซูล ทางานบกพร่อง ง. โกลเมอรูลสั ทางานบกพร่อง

เฉลยแบบทดสอบย่อย เรื่อง การขบั ถ่ายของคน 1. ข 2. ง 3. ก 4. ค 5. ก 6. ข 7. ง 8. ก 9. ข 10. ก

ใบกจิ กรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างของไต วสั ดุอุปกรณ์ 1. ไตหมู 2. เครื่องมือผา่ ตดั 3. ถาดผา่ ตดั 4. แวน่ ขยาย วธิ ีการทดลอง 1. ศึกษาโครงสร้างภายนอกของไตหมู 2. ใชม้ ีดผา่ คร่ึงไตตามยาว แลว้ ใชแ้ วน่ ขยายส่องดูลกั ษณะและโครงสร้างภายในของไต 3. วาดภาพโครงสร้างของไต พร้อมช้ีส่วนประกอบที่สาคญั โดยเปรียบเทียบกบั ของจริง สรุปผลการทดลอง .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................

ใบงานท่ี 1 เรื่อง แผนผงั ความคิดสรุปผลการเรียนรู้ ใหน้ กั เรียนสรุป เรื่อง ระบบขบั ถ่ายของคน

ใบความรู้ เรื่ออง การขับถ่ายของเสียของคน ไต (Kidney) คนมีไต 2 ขา้ ง อยแู่ นบกบั พ้ืนทางดา้ นหลงั ของช่องทอ้ งสองชา้ งของกระดูกสนั หลงั บริเวณเอว หนา้ ท่ีของไต คือ กรองของเสียออกจากเลือดโดยเฉพาะของเสียจากเมแทบอลิซึมของสารโปรตีน และช่วย กาจดั สารบางอยา่ งซ่ึงอาจมิใช่ของเสีย โครงสร้างของไตในมนุษย์ 1. เน้ือไต ประกอบดว้ ย 2 ช้นั คือ 1.1 ช้นั นอก (Cortex) ประกอบดว้ ยหน่วยไต (Nephron) ขา้ งละ 1ลา้ นหน่วย แตท่ า้ งานสุทธิ เพยี งขา้ งละ 5 แสนหน่วย แต่ถา้ มีไต 1 ขา้ ง หน่วยไตท้งั 1 ลา้ นจะทา้ หนา้ ที่ท้งั หมด 1.2 ช้นั ใน (Medulla) ประกอบดว้ ย ท่อของหน่วยไตส่วน Henle loop 2. ท่อรวม (Collecting duct) เป็นตา้ แหน่งแรกสุดที่ของเหลวภายในหน่วยไตเรียกเป็นปัสสาวะ 3. กรวยไต (Pelvis) รวบรวมน้าปัสสาวะจากทอ่ รวมตา่ งๆ 4. หลอดไต (Ureter) ลา้ เลียงปัสสาวะไปยงั กระเพาะปัสสาวะ 4.1 หน่วยไต (Nephron) มนสตั วต์ ่างชนิดกนั จะมีจา้ นวนหน่วยไตแต่ละขา้ งไม่เทา่ กนั หนู ถีบจกั รขา้ งละประมาณ 25,000 หน่วย

ในคนมีขา้ งละประมาณ 1 ลา้ นหน่วย แต่ทา้ งานสุทธิขา้ งละ 5 แสนหน่วย แต่ถา้ มีไตเหลือ ขา้ งเดียว หน่วยไตท้งั 1 ลา้ นหน่วยจะทา้ หนา้ ที่ท้งั หมดเหมือนมีไต 2 ขา้ ง 4.2 โครงสร้างของหน่วยไต 1. คอร์พสั เซิล (Corpuscle) ประกอบดว้ ย 2 ส่วน คือ 1.1 Bowman capsule พองออกเป็นลูกกลมๆ มีรอยบุ๋มตรงกลาง 1.2 Glomerulus เป็นกลุ่มหลอดเลือดฝอยท่ีเป็นแขนงของหลอดเลือดแดง Renal artery ที่ เขา้ มาในไต สานเป็ นลูกกลมๆ บรรจุอยเู่ ตม็ 2. ท่อหน่วยไต (convoluted tubule) แบง่ เป็น 3 ส่วน คือ ท่อหน่วยไตตอนตน้ (proximal convoluted tubule), Henle loop และทอ่ หน่วยไตตอนปลาย (Distal convoluted tubule) ส่วนอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง 1 Collecting duct หรือ Collecting tubule เป็ นท่อที่ติดต่อกบั แต่ละ Distal convoluted tubule พบในส่วนคอร์เทกซ์และเมดุลลา 2 Renal pelvis (กรวยไต) 3 Ureter (หลอดไต) หลอดเลือดท่ีบริเวณเนฟรอน เป็นระบบเลือดที่มีออกซิเจนสูง แตกแขนงมาจาก Renal artery โดยพนั เป็นกลุ่มโกลเมอรูลสั ผา่ นท่ีโบวแ์ มน แคปซูลก่อน แลว้ จึงแตกเป็นแขนงพนั รอบๆ ส่วนของ Convoluted tubule เรียก Vasa recta การทางานของหน่วยไต 1 การกรองท่ีโกลเมอรูลสั (glomerular filtration) - การกรองสารเกิดที่กลุ่มหลอดเลือดฝอยโกลเมอรูลสั ที่สมั ผสั กบั โบวแ์ มน แคปซูน โดยอาศยั แรงดนั เลือด (blood pressure) ในหลอกเลือดแดงท่ีเขา้ มาในไต (Renal artery)

- สารท่ีกรองไดเ้ รียกพลาสมาที่กรองได้ หรือ Glomerular filtrate ซ่ึงปราศจากเมด็ เลือดแดง โปรตีนและไขมนั โมเลกุลใหญ่ - อตั ราเร็วของการหรองในคน 125 ml ต่อนาที 180 ลิตรต่อวนั (กรองจากเลือดท่ีเขา้ มาไตจา้ นวน 1,200 มิลลิลิตรต่อนาที) สดั ส่วนของสารในของเหลวท่ีกรองไดเ้ ป็น ดงั น้ี น้า > โปรตีน > คลอไรด์ > โซเดียม > กลูโคส > ยเู รีย > ซลั เฟต = ยรู ิก > แอมโมเนีย 2 การดูดสารมีประโยชน์กลบั คืนที่หลอดไต (Tubular reabsorption) 2.1 Proximal convoluted tubule (ท่อหน่วยไตตอนตน้ ) - ดูดสารจา้ พวกกลูโคสและวติ ามินกลบั หมดในสภาพปกติ การดูดกลูโคสจะอยใู่ ตอ้ ิทธิพล ของฮอร์โมน อินซูลิน (insulin) ถา้ ขาดอินซูลิน จะดูดกลูโคสกลบั นอ้ ย ทา้ ใหส้ ูญเสียกลโู คสไปยงั ปัสสาวะ เรียกวา่ เกิด เบาหวาน - น้าถูกดูดกลบั คือ 80% - โซเดียม, คลอไรด์, กรดอะมิโน, ซลั เฟตและวติ ามินบางชนิด เซลลข์ องหลอดไตส่วนน้ีจะ ดูดกลบั ไปใช้ - มีการดูดสารมีประโยชนก์ ลบั คืนมากท่ีสุด 2.2 Henle loop (ห่วงเฮนเล) - บริเวณตอนตน้ (descending limb หรือส่วนลง) พบวา่ 1. น้าถูกดูดซึมออกมา 2. โซเดียมและยเู รียถูกขบั เขา้ ไป ทา้ ใหค้ วามเขม้ ขน้ เพ่ิมข้ึนเรื่อยๆ จนมีความเขม้ ขน้ สูงสุดที่ ฐานรูปตวั ยขู อง Henle loop - บริเวณตอนปลาย (ascending limb) หรือส่วนข้ึนของห่วงเฮนเล 1. โซเดียมจะถูกลา้ เลียงออก 2. น้าไมถ่ ูกดูดกลบั ทา้ ใหค้ วามเขม้ ขน้ เพ่มิ ข้ึนเร่ือยๆ 2.3 Distal convoluted tubule (ท่อหน่วยไตตอนปลาย) - น้าถูกดูดกลบั เพ่มิ ข้ึน โดยอยภู่ ายใตก้ ารควบคุมของฮอร์โมน ADH ถา้ ขาด ADH จะสูญเสีย น้ามากเรียก เบาจืด - NA+ จะถูกดูดกลบั โดยอยภู่ ายใตก้ ารควบคุมของฮอร์โมน Aldosterone จาก adrenal cortex ถา้ ขาด Aldosterone จะสูญเสีย Na+ ไปกบั ปัสสาวะเรียก เบาเคม็ 3 ลกั ษณะและปริมาณของน้าปัสสาวะ - Glomerular filtrate เมื่อมาถึง Collectting duct จะเรียกเป็ นน้าปัสสาวะ (Urine) เป็นตา้ แหน่ง แรกสุด

- Glomerular filtrate 125 มิลลิลิตรตอ่ นาที จะกลายเป็นน้าปัสสาวะ 1 มิลลิลิตรต่อนาที หรือ 1.4 ลิตรต่อวนั แสดงวา่ การดูดสารกลบั คืนกวา่ 99% - สัดส่วนของน้าปัสสาวะพบวา่ - น้า > ยเู รีย > คลอไรด์ = โซเดียม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook