Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จันจิรา

จันจิรา

Published by Jiab Chanchira, 2021-08-12 10:41:52

Description: จันจิรา

Search

Read the Text Version

รายงานผล การอบรมการจดั การศึกษา อบรมหลกั สูตรออนไลน์ผ่านเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ต ประจําปี การศึกษา 2564 ชื่อ – สกลุ นางสาวจันจิรา ธนันชัย ตําแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ สํานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐานกระทรวงศึกษาธิการ

ก คำนำ รายงานฉบับนี้เปน็ สว่ นหนึ่งของการอบรมการจัดการศึกษา หลักสูตรออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เนต็ ระหว่างปิดภาคเรียน (กิจกรรมพัฒนาตนเอง ในช่วงกักตัวอยู่บ้าน ยุค COVID-19) ประจำปีการศึกษา 2564 เพื่อพัฒนาศักยภาพ เพิ่มเติมความรู้ แหล่งเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์นั้นสามารถนำมาช่วยพัฒนาศักยภาพ ของครูผู้สอนและสถานศึกษาได้ ผ่านการเพิ่มเติมองค์ความรู้ โดยพัฒนาจากองค์ความรู้เดิมให้มีศักยภาพเพิ่มเติม ตลอดจนเรียนรสู้ ิง่ ใหมๆ่ เพื่อพฒั นาทักษะใหม่ๆ ใหเ้ พม่ิ ขึ้นไดด้ ้วย ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน วิทยากรผู้ให้ความรู้ และได้แลกเปลี่ยน ความคิดเห็น วิธีการดำเนินการ รวมทั้งแลกเปลี่ยนข้อเสนอแนะอันเป็นประโยชน์ที่สามารถนำไปปรับใช้ ในการประเมินผลการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้จัดทำหวังว่ารายงานฉบับนี้จะให้ความรู้ และ เปน็ ประโยชนแ์ กผ่ ู้อา่ นทกุ ๆ ทา่ น ลงชอ่ื .................................................... (นางสาวจนั จิรา ธนนั ชัย) ตำแหนง่ ครผู ชู้ ่วย ๑๗ พฤษภาคม 256๔ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑

สารบัญ ข คำนำ หนา้ สารบัญ 1. แบบรายงานผลการอบรมสมั มนา ก ข 1.1ขอ้ มูลทว่ั ไป 1 1.2เนื้อหาการอบรม 1 1.3วิธกี ารอบรม 9 1.4หลักสูตรอบรมออนไลน์จากหน่วยงานต่าง 10 10 - หลกั สตู รการพฒั นาตามหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารท่ี ก.ค.ศ. กำหนด (ว 22/2560) 10 - หลกั สูตรการพฒั นาการจดั การศึกษาหลักสตู รออนไลน์ผ่านเครอื ข่ายอินเทอร์เนต็ 10 1.5ความรู้ต่าง ๆ ท่ีได้รบั จากอบรม 10 1.6ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติม 12 ภาคผนวก ค 1. หลักสูตรกรรมการคมุ สอบ ง 2. หลักสตู รลดความเสี่ยงภัยพบิ ัติธรรมชาติและการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ฉ 3. หลกั สูตรสจุ รติ ไทย ช 4. หลกั สตู รโควดิ 19 และการระบาดวิทยา ซ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑

๑ แบบรายงานผลอบรมการจดั การศกึ ษา การอบรมหลักสตู รออนไลนผ์ า่ นเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต (การอบรมและพัฒนาตนเอง ระหวา่ งปิดภาคเรยี น ยุค COVID-19) ระหวา่ ง เดอื น เมษายน – พฤษภาคม 256๔ 1. ข้อมูลท่ัวไป 1.1 ผู้รายงาน : นางสาวจันจริ า ธนันชยั โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 สังกดั สำนักบรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ สำนกั งานการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 1.2 หวั ขอ้ การประชุม : การอบรมการจดั การศึกษา หลกั สูตรออนไลนผ์ ่านเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ (กิจกรรมพัฒนาตนเอง ระหวา่ งปดิ ภาคเรยี น ยุค COVID-19) หนว่ ยงานท่จี ัด : (แทรกในรายละเอยี ดแตล่ ะหลักสูตร) สถานท่ีจดั : (เว็บไซต์) 1.3 ระยะเวลา : วนั ที่ 1 เมษายน – วันท่ี ๑๗ พฤษภาคม 256๔ 1.4 เอกสารประกอบ  มี  ไมม่ ี 1.5 ประกาศนียบตั ร / วุฒิบตั ร  มี  ไมม่ ี 2. เน้ือหาการอบรม มีดังนี้ ยุคดิจิตอลสร้างความสะดวกสบายให้กับชีวิตมนุษย์ได้หลากหลายอย่าง และสร้างประโยชน์ให้กับมนุษย์ ได้อย่างไรขีดจำกัดอีกด้วยแล้วหนึ่งในสิ่งที่โลกดิจิตอลสร้างประโยชน์ได้มากที่สุดอีกอย่างหนึ่งก็คือเรื่องของ การศึกษานั่นเอง ทั้งการศึกษาแบบเป็นทางการ เป็นวิชาชีพ องค์ความรู้ ตลอดจนการศึกษาในรูปแบบ ตามอัธยาศยั การเผยแพรค่ วามรทู้ ่วั ไป ไปจนถงึ การเรียนรตู้ ลอดชีวิต ยุคดิจิตอลทำให้เกิดการเรียนการสอนในรูปแบบ Online ขึ้นมากมาย ทำให้ผู้เรียนสามารถเลือกเรียน ได้ตามเวลาที่สะดวก อยู่ที่ไหนบนโลกก็สามารถเรียนได้ แม้จะอยู่คนละประเทศก็ตาม ตลอดจนเรียนซ้ำได้อย่าง ไม่จำกัด ทำใหม้ อี งคค์ วามร้มู ากมายอยู่บนโลกออนไลนท์ กุ วันน้ี การประสบความสำเร็จที่แท้จริง ไม่ใช่เพียงการบรรลุเป้าหมายในการทำงานเท่านั้นแต่หมายรวมถึง การมีความสขุ กับการทำงานนั้น ๆ ด้วย ดังน้ันการพฒั นาตัวเองจึงต้องให้ความสำคญั ท้ังด้านความรู้ ความสามารถ (Hard Skill) และการจดั การอารมณข์ องตวั เอง (Soft Skill) ควบคู่กนั ไป เพราะหากขาดดา้ นใดด้านหนึ่งไป ก็จะทำให้ประสบความสำเร็จยาก การทำงานให้ประสบความสำเร็จ (ทำงานเก่ง) เป็นการวัดคุณภาพของบุคลากร อย่างหนึง่

๒ การทจี่ ะทำให้งานประสบความสำเร็จนนั้ มีทักษะต่าง ๆ ทม่ี ีความสำคญั เช่น 1. การกำหนดเป้าหมาย แผนงาน และแนวทางการปฏบิ ัติ 2. การบรหิ ารเวลาใหเ้ กิดประสิทธิผลสงู สุด 3. การจัดลำดบั ความสำคญั ของงาน (วินัยในการทำงาน) 4. การแกไ้ ขปัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ การจดั การอารมณ์ของตัวเองในการทำงาน (มีความสขุ ) จะยิง่ ทำให้งานน้นั ประสบความสำเร็จได้มากข้ึน และได้ผลงานอย่างมีคุณภาพ เพราะในการทำงานทุกครั้งย่อมเจอปญั หาและอุปสรรค และเกิดเป็นอารมณ์เชงิ ลบ ขึ้น ดังนั้นการปรับเปลี่ยนความคิดใหม่ด้วยทัศนคติเชิงบวก และการจัดการอารมณ์เชิงลบของตัวเอง (EQ) ได้ดี ย่อมทำให้ยอมรับกับสิ่งที่เกิดขึ้น แล้วดำเนินการแก้ไขปัญหาไปได้ ก็ย่อมเกิดความสุขมากขึ้น มีกำลังใจในการ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทีต่ ่อไปใหป้ ระสบความสำเรจ็ ตามทตี่ ้องการ หลักสูตรอบรมออนไลน์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อการศึกษาพัฒนาตนเอง และบางหลักสูตรสามารถนับช่วั โมงขอทำวทิ ยฐานะ ตามเกณฑ์ ว21/2560 หลกั เกณฑแ์ ละวิธีการให้ข้าราชการ ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครูมีวทิ ยฐานะและเลอื่ นวิทยฐานะ หลักสตู รกรรมการคมุ สอบ พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 แกไ้ ขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 กำหนดให้การจัดกร ศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มี จริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข โดยการจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศกึ ษา ยึดหลกั มีเอกภาพดา้ น นโยบาย และมีความหลากหลายในการปฏิบัติ มกี ารกระจาย อำนาจ ที่มีประสิทธิภาพ และมีการทดสอบที่ได้มาตรฐานไปสู่ ระดับชาติ สถานศึกษาและองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น มี การกำหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกัน คุณภาพการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท การศึกษา ดังนั้นจึงจำเป็นที่รัฐต้องตรวจสอบประเมินผลว่าการจัด การศึกษาที่เป็นการให้บริการสาธารณะแก่ ประชาชนทีร่ ัฐ จะต้องจัดให้ทั่วถงึ นั้น มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาที่ กำหนดและมีคุณภาพเทา่ เทียมกนั มาก น้อยเพียงใด จึงได้จัดตั้ง สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ(องค์การมหาชน) ขึ้นเรียกโดยย่อว่า \"สทศ\" ใช้อ เป็นภาษาองั กฤษ ว่า \"National Institute of Educational Testing Service (Public Organization)\" เรียกโดย ย่อ วา่ \"NIETS\" จดั ตง้ั ข้นึ ตามพระราชกฤษฎกี าจัดตัง้ สถาบนั ทดสอบทางการศึกษาแหง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน) เมอ่ื วนั ที่ 3 กันยายน 2548 อยู่ภายใตก้ ารกำกบั ดแู ลของกระทรวงศึกษาธิการ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อบริหารจัดการ และดำเนินการเกี่ยวกับการศึกษา วิจัย พัฒนา และให้บริการทางการประเมินผล ทางการศึกษาและทดสอบทาง การศึกษาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งเป็น ศูนย์กลางความร่วมมือด้านการทดสอบทางการศึกษาในระดับชาติและ นานาชาติ ซึ่ง สทศ. มพี นั ธกิจ ดงั นี้ 1) จัดทำระบบ วิธีการทดสอบ และพฒั นาเคร่อื งมอื วัดและประเมนิ ผลตามมาตรฐานการศึกษา โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑

๓ 2) จัดการประเมินผลการจัดการศึกษา และการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ให้ความร่วมมือและ สนบั สนนุ การทดสอบทงั้ ระดบั เขตพน้ื ที่การศึกษา และสถานศึกษา 3) จดั การทดสอบทางการศกึ ษา บริการสอบวดั ความรู้ความสามารถ และการสอบวัดมาตรฐาน วิชาการและวชิ าชพี ผลทไี่ ดน้ ำไปใชเ้ ปน็ ส่วนหนึง่ ในการเทียบระดบั และเทียบโอนผลการเรียนที่มาจาก การศึกษาในระบบเดียวกัน 4) จดั การศึกษาวจิ ัย และเผยแพร่นวตั กรรมดา้ นการทดสอบทางการศึกษา เผยแพร่เทคนิคการวัดและ ประเมนิ ผลการศึกษา 5) เป็นศูนยก์ ลางข้อมูลการทดสอบทางการศึกษา สนบั สนนุ และให้บริการผลการทดสอบแก่ หนว่ ยงานต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ 6) พฒั นาและสงเสมวชาการดานกาทดสอบและประเนผลทางกรศกษา พัฒนาบุคลากรดานการ ทดสอบและประเมินผล ติดตามและประเมินผลคณุ ภาพบัณฑิต การรับรองมาตรฐานของระบบ วธิ ีการ เคร่อื งมือวัดของหนว่ ยงานด้านการประเมินผลและทดสอบทางการศกึ ษา 7) เปน็ ศูนย์กลางความร่วมมอื ด้านการทดสอบทางการศกึ ษาทัง้ ในระดบั ประเทศและระดับนานาชาติ ในปัจจบุ นั สถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาติ(องคก์ ารมหาชน) ให้บรกิ ารจัดสอบตา่ งๆ ดงั นี้ 1) การทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ัน้ พนื้ ฐาน (Ordinary National Educational Test : O-NET) 2) การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอิสลามศึกษา (Islamic National Educational Test : HNET) 3) การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา Vocational National Educational Test : V- NET) 4) การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (Non-Formal National EducationalTest : N-NET) 5) การทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตดิ า้ นพระพทุ ธศาสนา (Buddhism National Educational Test : B-NET) 6) การทดสอบความถนัดความถนดั ทัว่ ไป (General Aptitude Test : GAT) 7) การทดสอบความถนัดทางวิชาชีพและวิชาการ (Professional and Academic Aptitude Test : PAT) 8) การติดตามและประเมินผลคุณภาพบณั ฑิต (University National Educational Test : U-NET) 9) การบรกิ ารการทดสอบวชิ าสามัญ 9 วิชา (University Direct Access Test : U-DAT) 10) การทดสอบวดั สมรรถนะครูทางด้านการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ การทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้นั พ้นื ฐาน (Ordinary National Educational Test : O-NET) เปน็ การทดสอบให้กับนกั เรียนท่กี ำลงั ศกึ ษาชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 และชัน้ มัธยมศึกษา ปที ี่ 6 รวมทงั้ นักเรยี นเทยี บเท่าในแตล่ ะระดบั ชั้น โดยมวี ัตถุประสงคด์ งั นี้ 1) เพ่ือทดสอบความรู้และความคิดของนักเรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ตามหลกั สูตรแกนกลาง โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑

๔ การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 2) เพื่อทดสอบความรู้และความคิดของนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามหลกั สูตรแกนกลาง การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 3) เพื่อทดสอบความรู้และความคิดของนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ตามหลกั สูตรแกนกลาง การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 4) เพื่อนำผลการทดสอบไปใชเ้ ปน็ องค์ประกอบหน่งึ ในการจบการศกึ ษาตามหลักสตู รแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 5) เพอ่ื นำผลการสอบไปใชใ้ นการปรบั ปรุงคุณภาพการเรียนการสอนของโรงเรยี น 6) เพอ่ื นำผลการทดสอบไปใช้การประเมนิ ผลการเรียนรู้ของนกั เรียนระดับชาติ 7) เพือ่ นำผลการทดสอบไปใช้ในวตั ถปุ ระสงค์อืน่ ในปจั จบุ ันสถาบนั ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) มีการสง่ เสรมิ การนำผลการ ทดสอบ O-NET ไปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นการสอน โดยมีระบบการยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน หรือเรียกสั้นวา่ OLE ดังแผนภาพ การที่เราจะยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้นั้น จำเป็นต้องถักทอร้อยทั้งหลักสูตร การจัดการเรียน การสอน การวัดและประเมินผลให้ไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งหลังจากการทดสอบ ทางศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) เสร็จสิ้น นักเรียน ผู้ปกครอง ครู และผู้บริหารทางการศึกษา สามารถนำผลการทดสอบไปใช้ประโยชน์ เพอื่ ให้เกิดประสิทธภิ าพ และประสิทธิผล หลกั สูตรการลดความเส่ียงภัยพิบัตธิ รรมชาติและการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ 1. ความเสี่ยงภยั ธรรมชาติและการปรบั ตวั รับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ วัตถุประสงค์ - เพือ่ ให้ตระหนักร้ถู งึ ผลกระทบของภัยธรรมขาตมิ ตี ่อชวี ิตมนษุ ยแ์ ละภาคการศกึ ษา โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑

๕ - เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจหลักการลดความเส่ียงภัยพิบตั ิในสถานศกึ ษา - เพือ่ ใหร้ จู้ กั วธิ ีประเมินความเสยี่ งภยั ธรรมชาติ แนวคิดสำคญั - การลดความเสีย่ งภัยพบิ ตั ิ (ภัย ภัยพิบตั ิ ความเสีย่ ง ความเปราะบาง ความสามารถในการรับมือ) - การจัดการภัยพิบตั ิ 2. อาคารสถานทีป่ ลอดภยั วัตถุประสงค์ - เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจการประเมินความเสยี่ งของอาคารสถานที่ ส่วนประกอบอาคาร - เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจหลกั การจัดพื้นทใี่ ชส้ อยในอาคารและสภาพแวดล้อม - เพื่อใหส้ ามารถจัดสภาพแวดลอ้ มการใชพ้ ้นื ที่ให้ปลอดภยั 1 .การประเมินความปลอดภัยของอาคารสถานท่ี การเลือกที่ตั้งสถานศึกษาให้ปลอดภัยความเสี่ยง ต่อภัยพิบัติของอาคารเรียน อาคารประกอบ วัสดุ ครุภัณฑ์ที่อยู่ในอาคารความเสี่ยงของสภาพแวดล้อมภายนอก อาคารและระบบสาธารณปู โภค 2. การจดั สภาพแวดล้อมใหป้ ลอดภัยการจัดสภาพแวดลอ้ มโดยคำนึงถึงการลดความเสย่ี งภัยพบิ ตั ิ การจัดเส้นทางปลอดภัยและจดุ รวมพลเพื่อการหนีภัยภายในโรงเรียนการจดั สิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อคนพิการ ตัวอย่างการปรับปรุงอาคารสถานท่ี 3. แบบประเมินเร่อื งอาคารสถานที่ สถานที่ตัง้ สภาพอาคารเรยี น อาคารประกอบ (structural and non-structural) วัสดุ ครุภัณฑ์ (ต้อง link กฎหมายควบคุมอาคาร) สภาพแวดล้อมภายนอกอาคาร (environment) ระบบสาธารณปู โภค infrastructure น้ำ ไฟ ระบบระบายนำ้ ถนน ระบบส่อื สาร เสาไฟฟ้า การประเมินการเขา้ ถึงหรือการจัดสิง่ อำนวยความสะดวกคนพกิ าร 3. การจดั การภยั พิบตั ิในสถานศกึ ษา วัตถปุ ระสงค์ - เพื่อให้เข้าใจแนวคิดทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั การจดั การภัยพบิ ัตใิ นสถานศึกษา - เพอ่ื ให้เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจหลักการและสามารถทำแผนบริหารจัดการภัยพิบัตใิ นสถานศึกษาได้อย่าง ถูกตอ้ ง - เพือ่ ใหเ้ ข้าใจวธิ ีการจดั ซ้อมอพยพและสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในสถานศึกษา - เพ่ือใหเ้ ข้าใจทักษะในการตัดสนิ ใจและสามารถเผชญิ เหตฉุ ุกเฉินได้เบอ้ื งต้น - เพอื่ ให้เข้าใจหลกั การจัดท่พี ักพงิ ชั่วคราวในสถานศึกษา - เพ่ือใหเ้ ขา้ ใจความจำเปน็ ในการให้การคุม้ ครองเดก็ ในสถาณการณ์ภยั พิบัติ - เพื่อใหเ้ ข้าใจความจำเป็นในการจัดการเรยี นการสอนให้ต่อเน่ืองในสถานการณ์ภยั พิบตั ิ 1. กลไกในการจัดการภัยพบิ ตั ิในสถานศึกษา 1.1 แนวทางการประเมินความเปราะบางและศักยภาพ 1.2 แนวทางการตัดสินใจสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑

๖ 1.3 หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งกับการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั 2. การดำเนนิ การตามแผน 2.1 มาตรการลดความเสย่ี งภยั พบิ ตั ใิ นสถานศกึ ษา 2.2 แผนการแจ้งเตือนภัยและอพยพ 2.2.1 องค์ประกอบของแผน 2.2.2 ระบบเตือนภยั ที่มีเดก็ เปน็ ศนู ย์กลาง 2.2.3 วธิ ีการปฏิบัตนิ การอพยพ 2.2.4 การจัดกระเป๋าฉุกเฉนิ ประจำห้องเรยี น 2.3 การซ้อมแผนเตือนภัยและอพยพ (วดิ โี อจาก save the children) 2.3.1 กระบวนการซอ้ มแผนอพยพ 2.3.2 การประเมนิ ผลการซ้อม 2.4 การใช้สถานศกึ ษาเป็นศนู ย์พักพงิ ช่ัวคราวสำหรบั ผปู้ ระสบภัย 2.5 การจัดการเรียนการสอนให้ตอ่ เนอ่ื งในสถานการณภ์ ัยพิบตั ิ 2.6 การคุม้ ครองเดก็ ในสถานการณภ์ ยั พิบัติ 2.7 การปฐมพยาบาล 2.8 การประเมนิ ผลตามแผนบริหารจัดการภยั พบิ ัติ 2.9 มาตรฐานการปฏิบตั ิเม่ือเกดิ ภัย 4. การจัดเรยี นการสอน วตั ถปุ ระสงค์ - เพือ่ ใหเ้ ข้าใจเน้อื หาการจดั การเรียนร้ตู ามหลกั สูตรการลดความเสี่ยงภยั พิบัติและการปรบั ตัว เขา้ กบั สภาพอากาศเปลยี่ นแปลง - เพ่อื ใหค้ รผู ู้สอนและครูผ้ชู ่วยสามารถจัดกิจกรรมเสริมหลกั สตู รและพฒั นานักเรยี น - เพือ่ ให้เขา้ ใจกระบวนการพัฒนาสอื่ การเรียนการสอนและส่อื รณรงค์ 1. หลักการจดั การเรยี นรเู้ รือ่ งการลดความเสีย่ งภัยพบิ ตั ิ 2. การจัดการเรยี นการสอนเร่ืองจัดการภัยพบิ ัตใิ นหลักสตู รแกนกลางฯ 2.1 ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 3 2.2 ระดับชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4-6 2.3 ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1-3 2.4 ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 4-6 2.5 แหลง่ ข้อมลู และเนอื้ หาเกี่ยวกบั ภัยพิบัติธรรมชาติ 2.6 การประเมนิ และวัดผลการจัดการเรยี นการสอน 3. การจดั กจิ กรรมเสรมิ สตู รและพฒั นาผู้เรยี น โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑

๗ 3.1 ทักษะชีวิต life skill good practice 3.2 แนวทางจัดกจิ กรรมเสริมหลกั สูตร 3.3 ตวั อย่างกจิ กรรมเสริมหลักสูตร 4. บทบาทอาสาสมคั รในสถานการณภ์ ัยพิบัติ 5. แนวทางการพัฒนาส่ือการเรยี นการสอนและส่อื รณรงค์ หลักสตู รสุจรติ ไทย 1. ปรับปรุงกฎหมายเพิ่มโทษ คอรัปชั่น ในด้านต่าง ๆ เช่น บทลงโทษที่หนักขึ้น อายุความที่ยาวนานขึ้น และการเร่งรัดการดำเนินคดี ให้เร็วขึ้น และการลงโทษอย่างจริงจัง ไม่ว่าผู้กระทำความผิดจะมีตำแหน่งใหญ่โต เพยี งใด เพราะถ้าคอรร์ ปั ชน่ั แลว้ ไมถ่ กู ลงโทษ กจ็ ะแก้ปัญหาคอร์รัปช่นั ไม่ได้ ในหลายประเทศ กำหนดโทษและดำเนินการอย่างจริงจังต่อคนที่มีตำแหนง่ ซึ่งทำการคอร์รัปชั่น เพื่อทำให้สังคม ปลอดการคอรร์ ปั ช่ัน เชน่ - อดีตประธานาธิบดีเกาหลใี ต้ 2 คน คือ Chun Doo-hwan และ Roh Tae-woo ติดคุกเพราะคดี คอร์รปั ชั่น - อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญของอินโดนีเซีย Akil Mochtar ถูกตัดสินจำคุกตลอดชีวิตในข้อหา คอร์รปั ชั่นและฟอกเงนิ - ประธานาธิบดีไต้หวัน Chen Shui-bian และภรรยา ยังคงอยู่ในคุกตั้งแต่ปี 2009 มีความผิด ใน คดีคอร์รปั ชั่นรับเงินสนิ บนเกือบ 14 ล้านเหรียญฮ่องกง ซงึ่ ในอดีต เคยเต็มไปดว้ ยการคอร์รปั ช่ัน แต่ได้ใชม้ าตรการจริงจงั ลงโทษขา้ ราชการชน้ั ผใู้ หญม่ ากมาย จนปัจจบุ นั กลายเป็นสังคมทมี่ ีการคอรร์ ัปช่นั ตำ่ มาก 2. ลดอำนาจการอนุมัติ วิธีการนี้ คอื การทำให้คนมีอำนาจในการอนุมัติสั่งจ่ายในวงเงินทีจ่ ำกัด เพราะ เงินจำนวนสูง เป็นการเพ่ิมแนวโน้ม ใหต้ ัดสนิ ใจทำการทจุ ริตไดง้ ่าย 3. การเผยแพร่ความรู้ ประสบการณ์ ทักษะ และอน่ื ๆ แกผ่ ทู้ ่เี กย่ี วขอ้ ง คือ งานวิจัยชุดหนึ่ง ได้พบว่า พฤติกรรมการโกงของเรา เกี่ยวข้องกับความนับถือตนเอง คือ ถึงจะโกง แต่ก็ ยงั ตอ้ งการให้ตนเองและผู้อ่ืนมองตัวเองว่าเป็นคนดี ถึงทุจรติ แต่กต็ อ้ งการการยอมรับ ทำให้แตล่ ะคน ต้องหาเหตุ อธิบายการทุจริต ให้ตนเองยอมรับได้ คือสบายใจที่จะทำแม้ทุจริตแต่ก็ต้องให้ตนเองรู้สึกว่าเรายังเป็นคนดี ผู้ทำ การทจุ รติ จงึ มกั จะใช้ข้ออ้างตา่ ง ๆ เพื่อให้ตนเองสบายใจ เชน่ “ใครๆกท็ ำกัน” “ทำโดยเจตนาด”ี “ทำเพราะมีความจำเปน็ ” “ทำแล้วไมม่ ใี ครเดอื ดร้อน” โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑

๘ จากงานวจิ ัยนี้ ทำใหเ้ รา มีแนวทางปอ้ งกนั การทุจริตได้ เช่น – ให้สังคมมีส่วนร่วมในการรณรงค์ เช่น การตัง้ กลุ่มหรือองค์กรต่อต้านคอรร์ ัปชัน่ เผยแพรส่ ่ือต่าง ๆ จาก หลากหลายกลุ่มในสงั คม – แสดงออกในการต่อต้านการทุจริต รังเกียจการโกง เพราะในสังคมที่ไม่ยอมรับการทุจริต ทำให้ ผู้ที่คิด จะทำ ลังเล และยากท่จี ะอธิบายให้ตนเองยังรสู้ ึกดี ท่ีทจุ รติ – ทกุ หน่วยของสงั คม ตั้งแตค่ รอบครัว หน่วยงาน บริษัท องคก์ ร และ รัฐบาล ต้องไม่ปล่อยปละละเลยต่อ การทุจรติ ตอ้ งมมี าตรการลงโทษ เพราะจากงานวิจัยพบว่า การทจุ ริตเล็ก ๆ น้อย ๆ เปน็ การส่งเสริมตนเองให้ทำ การทุจริตไดบ้ อ่ ยขน้ึ และมากข้นึ การให้คนในองค์กร ประกาศเจตนาว่าจะกระทำการใด ๆ โดยสุจริต เช่น ให้พนักงานอ่านและลงช่ือ รับรองว่าจะตั้งเบกิ ค่าใช้จ่าย ตามจริง อย่างสุจริต ให้นักเรียน ประกาศเจตนา ลงชื่อว่า จะเข้าสอบโดยสุจริตดว้ ย ศักดิศ์ รีของนกั เรียนซ่ึงจากงานวจิ ัยพบว่าถา้ มีการทำลกั ษณะนคี้ นจะมีแนวโน้มท่จี ะโกงน้อยลง เพราะ ทุกคนอยาก มีเกียรติ ได้รับการยอมรับ และรู้สึกดีต่อตนเองเราสามารถ ลดการทุจริตได้โดย การศึกษา ผลจากงานวิจัยด้าน พฤติกรรม และจิตวิทยาอีกหลายเรื่องซึ่งเรารวมงานวิจัยและบทความเกี่ยวกับพฤติกรรมการโกง ไว้ที่เว็บไซต์ สุจริตไทย หลกั สตู รโควดิ 19 และระบาดวิทยา การวิวัฒนาการของไวรัสเป็นเรื่องปกติตามธรรมชาติ เพราะไวรัสหรือสิ่งมีชีวิตทั้งหลายต้องมีการ วิวัฒนาการไปตามกาลเวลาที่ผ่านไป จึงไม่ใช่เรื่องแปลกของไวรัสที่จะวิวัฒนาการเปลี่ยนไปตามกาลเวลา เพราะ เม่ือขยายพันธ์ออกไป กจ็ ะมคี วามผิดเพ้ียนทางด้านพันธุกรรม แตม่ ักจะเปล่ียนแปลงทีละน้อย ถ้าจุดเปลี่ยนแปลง ไม่สำคญั กจ็ ะไมม่ ีผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงสายพันธ์ไุ วรัส ไวรัสโคโรนาคือไวรัสที่ติดสู่คนและสัตว์ชนิดอื่น ๆ โดยทั่วไปจะแพร่กระจายในคน ทำให้เกิดอาการ คลา้ ยกับเปน็ หวัดธรรมดา เชน่ ไอ มไี ข้ และนำ้ มูกไหล ไวรสั โคโรนาบางสายพนั ธ์ุ เชน่ ชนิดทที่ ำใหเ้ กิดโรคทางเดิน หายใจตะวันออกกลาง หรือเมอร์ส ซึ่งมีการยืนยันครั้งแรกในซาอุดีอาระเบียเมื่อปี 2555 นั้น ทำให้ปอดอักเสบ หรือเกดิ อาการสาหสั อนื่ ๆรว่ มดว้ ย ไวรสั โคโรนาทีก่ อ่ โรค โควดิ 19 (SARS-CoV-2) ทรี่ ะบาดครั้งใหญ่ลุกลามไปท่ัวโลกอยู่ในขณะน้ี เป็น ไวรัสสายพันธุ์ใหม่ องค์การอนามัยโลกรายงาน ข้อมูลผู้ติดเชื้อ โดยสรุป พบว่า ผู้ป่วยร้อยละ 87.9 มีไข้, ร้อยละ 67.7 มีอาการไอ, ร้อยละ 38.1 อ่อนเพลีย และร้อยละ 33.4 มีเสมหะ ส่วนบางรายมีอาการอื่น ๆ เช่น หายใจ ติดขัด เจบ็ คอ และปวดศีรษะ ผู้ตดิ เช้อื จะเริม่ มีอาการในช่วง 5-6 วนั หลังจากได้รับเชื้อโดยเฉลีย่ โรคโควิด 19 เป็นโรคใหม่ ยังไม่มียาที่ใช้รักษาจำเพาะ ต้องรอการพัฒนา คิดค้น ยาที่มีผลต่อการ รักษาโดยตรง ซง่ึ ต้องใช้เวลาศึกษาวจิ ัย การรักษาในปจั จบุ ันจงึ รกั ษาตามอาการ และใช้ยาทใ่ี ชร้ ักษาโรคอ่ืนมาช่วย ยาท่ใี ช้รกั ษาขณะนี้ จึงใชย้ าทโี่ ยงมาจากยารักษาไวรัสชนิดอน่ื ซ่ึงต้องการผลการวิจยั สนบั สนุนดผู ลอีกมาก เช่นยา รกั ษาโรคเอดส์ ยารกั ษามาลาเรยี ยารักษาไข้หวัดใหญ่ ดังน้ันประสิทธิผล จงึ ยงั ไม่ได้ตามเป้าหมาย เรายังต้องการ ยาที่พฒั นามาใชร้ ักษาโรคนีโ้ ดยตรง ที่มปี ระสทิ ธภิ าพสงู การพฒั นาจนไดย้ าจำเพาะกบั โรค โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑

๙ โควิด 19 มีผลกระทบทางการศึกษากับการศึกษาอย่างมาก เพราะเด็กนักเรียน เมื่ออยู่รวมกันใน โรงเรียน จะเป็นแหล่งระบาดของไวรัสได้เป็นอย่างดี เพราะเด็กจะมีอาการน้อย หรือบางคนไม่มีอาการ แต่ สามารถนำเชื้อกระจายมาที่บ้าน ให้บุคคลในบ้าน คุณพ่อ คุณแม่ ปู่ย่า ตา ยาย ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นผู้สูงอายุ จึ งมี ความเสย่ี งสูง สำหรบั เดก็ นกั เรยี นอนุบาล หรือประถมศึกษาท่ีอยู่ในวัยประถมวัย การเรียนการสอนจำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องใช้ผู้ปกครองพ่อแม่ที่อยู่ที่บ้าน ช่วยเรื่องการเรียนการสอนในระยะนี้ และจะเกิดขึ้น อีกหลายเดือน สำหรับในประเทศไทย ในช่วงการระบาดช่วงแรก เป็นช่วงปิดเทอม ซึ่งนับว่าโชคดี แต่ก็มีการเลื่อนเปิดเทอม ออกไปได้ระยะเวลาหนึ่ง ช่วงแรกจึงเปน็ ช่วงปรับเปลี่ยนวิธีการ ช่วงเวลาทีท่ ุกคนอยู่บ้าน ผู้ปกครองทุกคน ก็จะมี หนา้ ที่ เป็นครสู ำหรบั เดก็ ด้วยในเวลาเดียวกัน เพื่อใหก้ ารเรียนการสอนของเด็ก ไม่ติดขดั และยงั เในภาคการศึกษา แรกของปีทีจ่ ะมาถงึ ยังไม่แน่ว่านักเรียนจะไปโรงเรียนได้ทุกคน อาจต้องสลับกนั ไป เพ่อื ลดความหนาแน่น ทุกคน จะต้องช่วยกัน เพื่อไม่ให้การศึกษาของเด็กไทย ต้องหยุดหรือขาดตอนไป มีการใช้ระบบการศึกษาทางไกลต่าง ๆ เข้ามาช่วย เช่น ระบบ DLTV การเรียนการสอนผ่านทีวี ใช้ระบบออนไลน์ ผ่าน internet เปลี่ยนการเรียนการ สอนแบบการผสมตามความเหมาะสมของแต่ละโรงเรยี น โดยมกี ารเตรยี มการ และทดลอง เพ่อื ใหเ้ กิดการปรับตัว กอ่ นเปิดภาคเรียน ในช่วงการระบาด ผลกระทบอีกด้านของการศึกษาในระดับสูงขึ้น คือวิทยาลัย และมหาวิทยาลัย ที่ เด็กนกั เรียนนักศึกษาจะต้องปรับวธิ ีการเรียนการสอนมาเป็นแบบออนไลน์มากขนึ้ ระบบที่ปรบั เปล่ียนใหม่ ย่อมมี ทง้ั ข้อดีและขอ้ เสยี ที่ตอ้ งหาทางปรบั ปรงุ และเลอื กในแนวทางทดี่ ีทสี่ ุด แมว้ ่าบางโรงเรียนหรอื มหาวิทยาลยั จะสามารถเตรยี มตวั รบั มือกับการเรียนการสอนออนไลน์ได้ดี แต่ ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 เป็นการบังคับให้การศึกษาต้องรู้จักปรับตัวให้เขา้ กับยุคสมัย และเทคโนโลยีในชว่ งเวลาสั้นๆ แต่หากการศึกษาต้องปรับตวั ในระบบออนไลน์ ซงึ่ อาจทำการเปล่ียนภาพรวมของ ระบบการศึกษา การศึกษาที่มีรูปแบบเป็นแพลตฟอร์ม (Education platform) นักเรียนจะเป็นฝ่ายเลือกสิ่งท่ี เรียนตามความสนใจ เช่นระบบ MOOC นักเรียนเข้าใจความชอบและสิ่งท่ีตวั เองเรียน นกั เรียนอยากเรยี นในวิชาที่ เหมาะสมกับตัวเองมากที่สุด ซึ่งแน่นอนว่าจะเกิดความเปลี่ยนแปลงในระยะยาว ซึ่งแม้ว่าสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคโควิด-19 จะคลี่คลายลงแล้ว แต่ก็ยากที่ระบบการศึกษาจะเปลี่ยนกลับสู่รูปแบบเดิม (New normal) นอกจากทางด้านการศึกษาแล้ว วิถีการดำเนินชีวิตของผู้คนก็ปรับเปลี่ยนไปมาก การระมัดระวัง ตนเอง การใสห่ น้ากากอนามยั การเว้นระยะห่าง การลา้ งมอื การดำเนินชวี ติ ทีด่ แู ลตนเองมากขึน้ วิถชี ีวิตแบบใหม่ นี้ (New normal) นา่ จะปรบั เปล่ียนอยตู่ ่อไป 3. วธิ ีการอบรม มดี งั น้ี 3.1 ชมคลิปบรรยายให้ความรู้หัวขอ้ ทก่ี ำหนดในแต่ละหลักสตู ร 3.2 ทำแบบทดสอบหลังเรียน โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑

๑๐ 4. หลกั สตู รอบรมออนไลน์จากหน่วยงานต่าง ๆ ดงั นี้ 4.1 หลกั สตู รการพัฒนาการจัดการศกึ ษา หลกั สตู รออนไลน์ผา่ นเครอื ขา่ ยอินเทอร์เน็ต จำนวน...2.....หลักสูตร จำนวน....12....ชั่วโมง ท่ี ปี พ.ศ. หลกั สูตร รหัส หนว่ ยงานทจี่ ดั ระหว่างวนั ที่ จำนวน (ชวั่ โมง) เกียรติ 6 บัตร 6 1 2564 สจุ รติ ไทย สุจริตไทย 14 พฤษภาคม 2 2564 โควดิ 19 และระบาดวิทยา 2564 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 14 พฤษภาคม 2564 4.2 หลักสูตรการพัฒนาตามหลักเกณฑ์และวธิ กี ารที่ ก.ค.ศ. กำหนด (ว 22/2560) จำนวน....2....หลกั สตู ร จำนวน...38....ชัว่ โมง ท่ี ปี พ.ศ. หลักสตู ร รหสั หนว่ ยงานที่จัด ระหวา่ ง จำนวน 1 2564 หลักสตู ร วันท่ี (ช่ัวโมง) 2 2564 กรรมการคมุ สอบ 6411012162 สถาบนั ทกสอบทาง การศึกษาแห่งชาติ 18 มีนาคม 18 การลดความเสย่ี งภยั พิบัติ 62037 (องค์การมหาชน) 2564 ธรรมชาติและการปรับตัวรบั การ สำนักงานคณะกรรมการ 20 เปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน 5 รว่ มกบั มลู นธิ ศิ ภุ นิมิต พฤษภาคม แห่งประเทศไทย 2564 5. ความรูต้ า่ ง ๆ ทไ่ี ด้รับจากอบรม ในครงั้ นี้ แหล่งเรียนรูอ้ อนไลน์น้ันเกิดข้ึนมากมาย และเปน็ ประโยชน์อย่างมากสำหรบั องคก์ รตลอดจนบุคลากร ในองค์กรเอง ซงึ่ ประโยชน์ตา่ ง ๆ นน้ั อาจมีไดด้ งั น้ี 1. สะดวกในการเรียนรู้ : แหล่งเรียนรูใ้ นรูปแบบออนไลน์นั้นสามารถเรยี นที่ไหนก็ได้ เวลาไหนก็ได้ ตามความสะดวกของแต่ละบุคคล องค์กรไม่จำเปน็ ต้องจดั สรรเวลาข้ึนมาเพื่อใหเ้ รยี นรู้ ไม่รบกวนเวลาทำงาน ใหพ้ นกั งานสามารถเรียนรู้ได้ดว้ ยตนเอง 2. เรยี นรู้ไดห้ ลากหลายวธิ ี : แหล่งเรียนรูใ้ นรปู แบบออนไลนน์ ้ันยังสามารถเรียนรไู้ ด้หลากหลายวธิ ี และผ่านหลากหลายอุปกรณ์ ไมจ่ ำเปน็ จะตอ้ งนง่ั เรียนในห้องเรยี น สามารถน่ังเรียนทไ่ี หนกไ็ ด้ และใชอ้ ุปกรณ์อะไร ก็ไดต้ ามสะดวก ต้ังแตค่ อมพวิ เตอร์, แทบ็ เล็บ, ไปจนถงึ สมาร์ทโฟน โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑

๑๑ 3. ฝึกวินยั และความรับผิดชอบให้กับบคุ ลากร : การใหบ้ ุลากรไดเ้ รียนรู้ตลอดจนพัฒนาทกั ษะผ่าน แหล่งเรยี นรใู้ นรปู แบบออนไลน์นนั้ ถอื เป็นการสามารถชว่ ยฝึกฝนวนิ ยั ให้กบั พนักงานไดอ้ ย่างหนึ่ง ฝกึ ฝนใน การจดั และแบ่งเวลาใหถ้ ูกต้อง ฝกึ ฝนความตั้งใจในการศึกษาหาความรู้ ตลอดจนฝึกให้บคุ ลากรรบั ผิดชอบใน การเรียนท่ีสง่ ผลต่อการทำงานได้เปน็ อย่างดีดว้ ย 4. พฒั นาศกั ยภาพ เพิม่ เติมความรู้ : แหล่งเรยี นรู้ในรูปแบบออนไลน์น้ันสามารถนำมาชว่ ยพฒั นา ศักยภาพของพนักงานและองค์กรได้ ผา่ นการเพ่ิมเตมิ องค์ความรู้ โดยพฒั นาจากองค์ความรูเ้ ดิมให้มีศกั ยภาพ เพิม่ เติม ตลอดจนเรียนรู้สงิ่ ใหมๆ่ เพ่ือพฒั นาทกั ษะใหมๆ่ ให้เพิม่ ข้นึ ไดด้ ้วย 5. ประหยัดรายจา่ ยในการพัฒนาศักยภาพบคุ ลากร : การใช้ระบบแหลง่ เรียนรใู้ นรปู แบบออนไลน์ น้นั จะทำให้องค์กรประหยัดรายจ่ายในงบประมาณการพัฒนาศักยภาพบุคลากรไดม้ าก ไมจ่ ำเป็นจะต้องจัดอบรม พเิ ศษทจี่ ะเสยี งบประมาณมากมาย ต้งั แต่คา่ จ้างวทิ ยากร ไปจนถึงคา่ สถานที่ สามารถให้พนกั งานเรียนรู้ได้ดว้ ย ตนเองตามความสะดวก 6. สามารถเรยี นรอู้ งคค์ วามรู้จากทัว่ โลกไดง้ ่าย : โลกไร้พรมแดนทำให้เราเช่ือมต่อกันไดง้ ่าย และ อนิ เตอร์เน็ตก็ทำให้ระบบการเรยี นรู้ในรูปแบบออนไลน์นน้ั เช่ือมต่อถึงกันไดท้ วั่ โลก ทำใหเ้ ราสามารถเรียนร้สู ่งิ ตา่ งๆ ได้จากทั่วโลกได้งา่ ยดายข้นึ รวมถึงเราก็สามารถแชรอ์ งคค์ วามรู้ออกไปสทู่ ัว่ โลกไดเ้ ช่นกนั 7. บคุ ลากรพัฒนาทกั ษะ และเพ่มิ ศักยภาพ : แน่นอนวา่ บุคลากรที่เรียนรู้ผา่ นแหลง่ เรียนรใู้ น รปู แบบออนไลนน์ นั้ ย่อมเกิดการพัฒนาทักษะตลอดจนศกั ยภาพตนเองท่ีมีประโยชน์ตอ่ การทำงาน และองคก์ ร ท้งั ยังช่วยให้ประสบความสำเร็จมากย่ิงขึน้ อกี ด้วย 8. เรียนซำ้ ไดไ้ มจ่ ำกดั : แหลง่ เรียนรูใ้ นรูปแบบออนไลนน์ ั้นสามารถเรยี นซ้ำได้อย่างไมจ่ ำกดั ไม่ เขา้ ใจแลว้ สามารถเรียนรู้ได้อีกครัง้ หรอื หากมีธรุ ะดว่ นก็สามารถหยดุ แลว้ มาเรยี นต่อได้ หรอื เรยี นซ้ำอีกทีได้ ผเู้ รียน ไมเ่ สียเวลา ผ้สู อนกไ็ มจ่ ำเป็นต้องสอนหลายรอบ สอนรอบเดียวสามารถอยู่ได้ระยะยาว และผู้เรียนเรียนรู้ได้ หลากหลายคนอยา่ งไม่จำกัด 9. ไม่จำกดั จำนวนผ้เู รียน : การจดั อบรมหรือการสอนนัน้ มักมีการจำกัดจำนวนผูเ้ รียนเสมอ เพ่ือ ความทวั่ ถงึ และความเหมาะสมในหลายๆ อยา่ ง แตแ่ หลง่ เรียนรใู้ นรปู แบบออนไลน์น้นั ไม่จำเปน็ จะตอ้ งจำกดั ผู้เรียน สามารถเรียนรู้ได้อยา่ งเปิดกว้าง เรียนเทา่ ไรกไ็ ด้ เรียนพรอ้ มกันหรือไม่พรอ้ มกนั กไ็ ด้ (ทีม่ า: https://th.hrnote.asia/orgdevelopment/190828-online-learning-develop-yourself/) โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑

๑๒ 6. ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติม 6.1 การอบรมนี้มปี ระโยชนม์ าก สามารถนำไปใช้ในการปฏิบัตงิ านได้จรงิ อีกทง้ั ยังสามารถถา่ ยทอด ความรู้ให้แกบ่ ุคลากรคนอน่ื ๆ ในสถานศกึ ษาได้ 6.2 วิทยากรมีความรู้ ประสบการณแ์ ละทักษะในการถา่ ยทอดอย่างดียิง่ ทำใหผ้ ้เู ขา้ อบรมมคี วามรู้ ความเข้าใจและสามารถบรรลุวัตถปุ ระสงคใ์ นการอบรม 6.3 เอกสารประกอบการอบรม มมี าตรฐาน สามารถนำมาปรับใชเ้ ป็นแนวทางในการทำงาน และการ จดั การเรียนการสอนในสถานศึกษาได้ ลงช่อื ......................................... ผู้รายงาน (นางสาวจนั จริ า ธนนั ชยั ) ตำแหนง่ ครผู ูช้ ว่ ย ความคิดเหน็ ของผู้บังคับบัญชา ............................................................................................................................. ............................................ .................................................................................................................................................. ....................... ลงช่ือ.................................................................... (นายอดศิ ร แดงเรือน) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑

ค ภาคผนวก โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑

ง หลกั สตู รการอบรมพฒั นาตนเอง จากหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ดังนี้ 1. อบรมหลักสตู ร กรรมการคมุ สอบ แทรกภาพเกยี รตบิ ัตร ชอื่ หลักสตู ร กรรมการคมุ สอบ วนั เดอื น ปี 18 มนี าคม 256๔ หน่วยงาน สถาบนั ทกสอบทางการศึกษา ท่มี า http://e-learning.niets.or.th ความรทู้ ่ีไดร้ ับ การจดั การเรยี นการสอน การวัดและประเมนิ ผลให้ไปในทศิ ทางเดียวกัน ซ่ึงหลังจากการ ทดสอบ ทางศึกษาระดับชาติข้นั พ้ืนฐาน (O-NET) เสรจ็ สิ้น นักเรียน ผู้ปกครอง ครู และ ผู้บริหารทางการศึกษา สามารถนำผลการทดสอบไปใช้ประโยชนเ์ พ่อื ใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพ และประสทิ ธผิ ล โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑

ฉ ๒. อบรมหลักสูตรการลดความเส่ียงภัยพิบตั ิธรรมชาติและการปรับตวั รับการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ แทรกภาพเกียรติบัตร ช่อื หลักสูตร การลดความเสย่ี งภัยพบิ ัติธรรมชาตแิ ละการปรับตวั รบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ วนั เดอื น ปี 5 พฤษภาคม 2564 หนว่ ยงาน สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน รว่ มกบั มูลนธิ ิศภุ นิมติ แห่งประเทศไทย https://thaisafeschools.com ท่มี า การลดความเสยี่ งภยั พิบัติ (ภัย ภยั พิบตั ิ ความเสย่ี ง ความเปราะบาง ความสามารถในการ รับมอื ) ความรทู้ ไ่ี ดร้ ับ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑

ช ๓. อบรมหลกั สตู ร สุจรติ ไทย แทรกภาพเกยี รตบิ ัตร ช่อื หลักสตู ร สุจรติ ไทย วัน เดอื น ปี 14 พฤษภาคม 2564 หนว่ ยงาน สุจรติ ไทย https://www.thaihonesty.org ท่มี า เพ่ือสร้างความรู้ ความเข้าใจในพฤติกรรมมนุษย์ท่เี สี่ยงต่อการคอร์รปั ชัน กรณี ศกึ ษา ใช้กรณจี รงิ ท่ีมคี ำตัดสนิ จนถงึ ทส่ี ุดแล้ว เพ่ือเป็นการศึกษา และเปน็ ข้อคิด การสอบ ความรทู้ ไี่ ด้รบั ใชก้ ารสมมุตเิ หตุการณ์ เพ่ือทดสอบความเข้าใจ พร้อมมเี ฉลยเพือ่ เปน็ แนวทางของผเู้ รยี น ใหน้ ำไปปรบั ใช้เม่ือเผชญิ ปัญหาจรงิ แบบทดสอบจะทำให้ผู้เรียนได้วเิ คราะห์วา่ การกระทำ ดังกล่าวนัน้ ผิด หรือ ถูก และหลงั จากทตี่ อบแบบทดสอบแต่ละข้อแลว้ ระบบจะเฉลยทันที ผเู้ รยี นทุกคนจะตอ้ งตอบถกู ทุกข้อ ถงึ จะสอบผ่าน หากกรณีทไี่ ม่ผา่ น ระบบจะให้ผเู้ รยี น ยอ้ นกลับมาตอบคำถามใหมเ่ พอื่ เป็นทบทวน และเรยี นรู้ข้อมลู เดิม ซึ่งเป็นหนึง่ ใน กระบวนการเรียนท่มี าจากการวจิ ัยแลว้ วา่ จะเป็นการชว่ ยปลูกฝงั ชุดความคดิ ใหมใ่ ห้กับผู้ เรยี นได้ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑

ซ 4. อบรมหลกั สตู ร แทรกภาพเกียรตบิ ัตร ชื่อหลักสูตร โควดิ 19 และระบาดวทิ ยา วนั เดอื น ปี 14 พฤษภาคม 2564 หนว่ ยงาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ https://www.kruachieve.com ท่มี า ได้เรยี นรู้ จากแหล่งความร้ทู ถ่ี ูกต้อง ทีเ่ น้นทางด้านวิชาการ เก่ยี วกับ ไวรสั และโรคโควิด 19 และ ระบาดวทิ ยาเบอื้ งต้น อีกทง้ั ขณะน้ี นักเรียนมแี นวโน้มที่ตอ้ งอยบู่ ้านมากขนึ้ และต้อง ความรทู้ ไ่ี ดร้ ับ หยุด หรอื สลบั กนั ไปโรงเรยี น และ เม่ือนักเยนต้องอยทู่ บี่ า้ น บทเรยี นออนไลน์น้ี จงึ เป็นส่วน หนง่ึ ช่วยใหน้ ักเรยี น และประชาชนทวั่ ไป เข้าถึงความรู้ และสามารถเรียนแบบลดระยะห่าง ทางสังคม และป้องกันการแพรร่ ะบาด การเรยี นออนไลน์ เปน็ ส่ิงทน่ี กั เรียนไทยกำลังปรับตัว การสรา้ งส่งิ แวดลอ้ มการเรียนร้แู บบออนไลน์ กำลงั ไดร้ บั ความสนใจ เน้ือหาและความรู้ เกีย่ วกบั ไวรัสและโรคโควดิ 19 พร้อม เรื่องระบาดวทิ ยา เป็นหลักสูตรใชก้ ารเรยี นรู้ของ นักเรียนในโรงเรยี นได้ เน้ือหาวิชาการในเร่ืองน้ี ทัว่ โลกกำลังสนใจจะเปน็ แรงจงใจใหน้ ักเรยี น อยากเยน เพื่อนำความรู้ไปปรับใชก้ ับตนเอง สังคม และประเทศชาติ เพอ่ื ตอ่ สกู้ ับโรคโควดิ 19 ตอ่ ไป โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook