Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนหน่วย ที่ 2 ประชากร

แผนหน่วย ที่ 2 ประชากร

Published by Jiab Chanchira, 2019-03-21 09:00:57

Description: แผนหน่วย ที่ 2 ประชากร

Keywords: population

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรียนรู้ ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 เรอ่ื ง ประชากร รายวิชาชีวทิ ยา 6 รหสั วชิ า ว 33206 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2561 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31

แผนการจดั การเรยี นรู้ ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ประชากร แผนการสอนท่ี 9 เรื่อง ความหนาแน่นและการแพร่กระจายของประชากร รายวิชาชีววิทยา 6 ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 รหัสวิชา ว 33206 ครูผู้สอน นางสาวจันจริ า ธนนั ชยั ตาแหน่ง พนกั งานราชการ เวลาที่ใช้ 4 ชั่วโมง ตัวชวี้ ดั / ความรู้ ภาระงาน/ การวดั และ กจิ กรรมการเรียนรู้ สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ชิน้ งาน ประเมนิ ผล 3. สำรวจตรวจสอบ ควำมหนำแนน่ ประชำกร เป็น ผ่ำนระดับ กำรจดั กระบวนกำรเรียนรู้ 1. ใบงำน สบื คน้ ข้อมูล อภปิ รำย กำรวดั ปริมำณประชำกรใน คะแนนร้อย 1. ข้นั สร้ำงควำมสนใจ ควำมหนำแนน่ และสรปุ เกยี่ วกับ หนว่ ยพ้นื ท่ีหนงึ่ ๆ โดยขึ้นอยู่ ละ 60 ขึ้น ครูต้ังคำถำมเพอ่ื นำเข้ำสกู่ ำรอภิปรำยควำมหมำยของคำว่ำ และกำร ประชำกร ควำม กับกลุ่มตวั อย่ำงทีเ่ ลือกนำมำ ไป ประชำกร (population) ในเชงิ ชวี วทิ ยำเพื่อใหเ้ ข้ำใจตรงกนั แพร่กระจำยของ หนำแน่นของประชำกร สำรวจ เชน่ ควำมหนำแน่น พร้อมทั้งให้คำจำกดั ควำมของประชำกรแกน่ กั เรียน และให้นกั เรยี น ประชำกร กำรรอดชวี ิตของ ของประชำกรในประเทศ หรือ ฝึกยกตัวอย่ำงของคำวำ่ ประชำกร (ประชำกร คอื สง่ิ มชี วี ิตชนิด 2. หนงั สือเรยี น ประชำกร และ ควำมหนำแน่นประชำกรใน เดียวกัน อำศยั อยู่ในท่เี ดยี วกัน เวลำเดยี วกัน) ชีววิทยำเล่ม 6 ประชำกรมนุษย์ เขตที่อยอู่ ำศยั และในบำงครง้ั 2. ข้ันสำรวจและคน้ หำ ของสถำบัน จะเปน็ กำรยำกในกำรวดั ท่ีได้ 1. ครตู ้งั คำถำม เพื่อนำอภปิ รำยเรอ่ื ง ควำมหนำแน่นและ สง่ เสรมิ กำรสอน คำ่ ควำมหนำแนน่ ที่แน่นอน กำรแพร่กระจำยของประชำกร วำ่ “นักเรยี นคนใดโดยสำรรถประจำ วิทยำศำสตรแ์ ละ หน่วยทใ่ี ชใ้ นกำรวดั ควำม ทำงมำโรงเรยี นในตอนเช้ำตั้งแต่ชว่ งเวลำ 6.00 – 7.00 น. บำ้ ง และ เทคโนโลยี หนำแนน่ ไดแ้ ก่ จำนวน ผ้โู ดยสำรบนรถประจำทำงในชว่ งเวลำดังกล่ำวมีมำกหรอื มีน้อย” 3. อนิ เทอร์เนต็ ประชำกรต่อตำรำงกิโลเมตร จำกนั้นใช้คำถำมในหนงั สือเรียนประกอบกำรอภปิ รำยซึ่งมีแนวกำร หรือ จำนวนบำ้ นต่อพน้ื ที่ ตอบ ดงั น้ี ตำรำงกโิ ลเมตร หรือในบำง - เพรำะเหตุใดท่ีวดั ไผ่ล้อม จังหวัดปทุมธำนี จงึ มีประชำกรนก กรณีพิเศษ จะใชเ้ ป็นจำนวน ปำกหำ่ งมำอำศัยอยูร่ วมกันเป็นจำนวนมำก (นกปำกห่ำงโดย ธรรมชำตจิ ะอำศัยอยทู่ ำงตอนใต้ของ

ตวั ชีว้ ัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่ือ/แหล่งเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ช้นิ งาน ประเมินผล ประชำกรต่อหน่วยควำมยำว ประเทศอนิ เดยี ประมำณเดือนกันยำยนอณุ หภมู ิทป่ี ระเทศอินเดีย เช่น จำนวนประชำกรต่อ ตำ่ ลงมำก นกเหลำ่ น้ีจึงอพยพเข้ำมำอยู่ทป่ี ระเทศไทยเพอ่ื หลบหลกี บรเิ วณควำมยำวชำยหำด ภมู ิอำกำศทห่ี นำวเย็น จนถงึ ประมำณเดือนมกรำคมจงึ บินกลับไปยงั กำรเพ่ิมขึ้นของจำนวน ประเทศอนิ เดีย สำเหตุทนี่ กปำกห่ำงมำอำศัยอยู่ท่วี ัดไผ่ลอ้ ม ประชำกร ในขณะทพ่ี ้นื ที่ของ จังหวดั ปทุมธำนีเปน็ จำนวนมำก เพรำะวดั ไผ่ลอ้ มมีแหลง่ นำ้ และ ประเทศยังคงเทำ่ เดมิ ทำให้ แหล่งอำหำรที่มคี วำมอุดมสมบูรณ์ มีตน้ ไมใ้ หญจ่ ำนวนมำก สภำพ สดั ส่วนจำนวน รม่ รืน่ เหมำะสมในกำรสร้ำงรัง) ประชำกรต่อหน่วยพ้ืนที่ เพม่ิ ขนึ้ ทำใหเ้ กิดปัญหำตำ่ ง - ในชมุ ชนท่ีนกั เรยี นอำศัยอยมู่ คี วำมหนำแน่นของประชำกร ๆ มนษุ ย์เป็นอย่ำงไร (คำตอบข้อนน้ี กั เรียนสำมำรถตอบตำมสภำพ ทอ้ งถ่ินของตนได้ โดยสงั เกตจำกกำรประกอบอำชพี ควำมเจรญิ ทำงด้ำนเศรษฐกิจ สภำพภูมิประเทศ วยั ของประชำกรในชุมชน ซ่งึ อำจบอกปริมำณ ว่ำมำก ปำนกลำง หรอื น้อย พรอ้ มทง้ั ให้ เหตุผลประกอบด้วย เชน่ ชมุ ชนท่ีอำศัยอยมู่ ีควำมหนำแน่นของ ประชำกรมนุษยม์ ำก เนือ่ งจำกเปน็ ศนู ย์กลำงของชุมชน เปน็ แหลง่ ทอ่ งเที่ยว เป็นแหล่งทตี่ ง้ั ของสถำนที่สำคัญทำงรำชกำร เป็นตน้ ) 2. ครูให้นักเรยี นรว่ มกนั อภิปรำยในเรือ่ ง ควำมหนำแน่น ของประชำกร โดยอำจยกตัวอยำ่ ง กำรสำรวจควำมหนำแน่นของ ประชำกรจำกกจิ กรรมท่ี 21.1 ท่ีนักเรยี นได้ไปศึกษำมำแลว้ ซ่งึ เป็น กำรนับจำนวนสิ่งมีชวี ติ ต่อหน่วยพื้นที่ แล้วนำค่ำมำคำนวณหำควำม หนำแนน่ ตอ่ พืน้ ที่ทั้งหมด และใชค้ ำถำมในหนังสือเรียนในกำร อภิปรำย ซงึ่ มีแนวกำรตอบคำถำมดงั น้ี

ตวั ชี้วัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่อื /แหลง่ เรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมนิ ผล - กำรนบั จำนวนสง่ิ มชี วี ิตต่อหน่วยพ้ืนทนี่ น้ั มปี จั จัยสำคญั อยำ่ งไรบ้ำง (ปจั จัยสำคญั ในกำรนับจำนวนสิ่งมีชีวิตตอ่ หน่วยพ้นื ทม่ี ี ดงั นค้ี ือ 1. ต้องเป็นส่ิงมชี ีวติ ที่มองเหน็ ได้ 2. บริเวณที่ศกึ ษำไม่กว้ำงขวำงมำกนัก 3. สงิ่ มีชวี ติ นนั้ ควรอยูก่ ับที่ เช่น ตน้ ไม้ หรือเคล่ือนท่ไี ด้ ชำ้ เชน่ ชำ้ ง เป็นตน้ ) 3. ครูให้นักเรยี นแบ่งกลุ่มๆละ 4-5 คน ทำกจิ กรรมท่ี 22.1 กำรหำควำมหนำแนน่ ของประชำกร จุดประสงคข์ องกิจกรรม เพ่ือให้นักเรียนสำมำรถ 1) ทำกำรทดลองไดเ้ หมำะสม ถกู ต้องตำมข้ันตอน 2) วิเครำะห์ แปลผล และสรุปผลกำรทดลองได้ถูกต้อง ครูให้ข้อเสนอแนะนกั เรียนว่ำ กำรหำควำมหนำแนน่ ของ ประชำกรในภำคสนำม โดยวิธกี ำรส่มุ ตัวอยำ่ งแบบวำงแปลง ตอ้ ง แจ้งใหน้ กั เรยี นทรำบชดั เจนวำ่ ตอ้ งกำรหำควำมหนำแนน่ ของ ประชำกร ส่งิ มีชวี ิตชนดิ ใด หรืออำจนำข้อมลู จำกกำรทำกจิ กรรมที่ 21.1 ในกำรหำควำมหนำแน่น ของประชำกร มำอภปิ รำยก็ได้ และ กำรศกึ ษำโดยวิธนี จี้ ะใหไ้ ด้ค่ำของควำมหนำแนน่ ของประชำกร ท่ี ถกู ต้อง ควรคำนงึ ถงึ 1) ต้องนบั จำนวนประชำกรท่ตี อ้ งกำรศึกษำในกรอบ ท่ีวำงท้ังหมด

ตวั ช้ีวัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กจิ กรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ ชิ้นงาน ประเมินผล 2) ต้องคำนวณพ้ืนทข่ี องแปลงใหช้ ดั เจน 3) ตัวอยำ่ งที่เกบ็ ต้องเป็นตวั แทนแทจ้ รงิ ของพืน้ ท่ีทง้ั หมด 4. หลงั ทำกจิ กรรมครสู อบถำมนักเรียน ดงั น้ี - ควำมหนำแนน่ ของประชำกรสิ่งมชี ีวติ ในบรเิ วณทนี่ ักเรียน สำรวจนั้นเปน็ อยำ่ งไรบำ้ ง และจำกข้อมลู ดังกล่ำวนบี้ อกอะไร เก่ียวกับสภำพแวดลอ้ มในท้องถนิ่ ของนกั เรยี นไดบ้ ้ำง (แนวกำรตอบ ในขอ้ น้ี นักเรยี นสำมำรถตอบได้ตำมลักษณะของสง่ิ มีชวี ิตทมี่ ตี ำม ทอ้ งถน่ิ ท่ีนกั เรียนอำศยั อยู่ โดยให้นักเรียนสงั เกตจำกควำม หลำกหลำยของส่งิ มีชวี ิตในบริเวณน้นั ถำ้ มีจำนวนชนิด มำกแสดง วำ่ บริเวณนั้นมคี วำมอุดมสมบูรณ์) 5. ครใู หน้ กั เรียนทำกจิ กรรมเสนอแนะ ดังนี้ กจิ กรรมเสนอแนะ :: กำรหำควำมหนำแนน่ ของประชำกรใน ห้องปฏบิ ตั ิกำร โดยวธิ ที ำเคร่ืองหมำย และจบั ซ้ำ จดุ ประสงค์ของกิจกรรม เพอ่ื ให้นักเรยี นสำมำรถ 1) นับจำนวนประชำกร โดยวธิ กี ำรทำเครื่องหมำยและ จบั ซ้ำได้ถูกต้อง 2) คำนวณหำควำมหนำแน่นของประชำกร ครชู ้แี นะวำ่ กำรศึกษำวธิ นี ม้ี ปี ระโยชน์มำกในกำรหำควำม หนำแน่นของสตั ว์ แต่ตอ้ งคำนงึ ถงึ 1) กำรหำควำมหนำแน่นครงั้ แรกและครัง้ หลงั ไม่ควร หำ่ งกนั นำนเกนิ ไป เพรำะจะได้ ไม่มีกำรเพม่ิ หรือลดจำนวนใน ระหวำ่ งนน้ั

ตวั ชีว้ ัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กจิ กรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหลง่ เรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ช้ินงาน ประเมนิ ผล 2) มอดแปง้ ทป่ี ล่อยไปควรจะมีเวลำพอทจ่ี ะกระจำยตัวอยำ่ งทว่ั ถึง 6. เม่อื ทำกจิ กรรมเสร็จแลว้ ครใู ห้นักเรยี นร่วมกนั อภิปรำยคำถำม ทำ้ ยกจิ กรรม ดังน้ี - กำรสุม่ ตวั อยำ่ งมำกครั้งหรือนอ้ ยคร้ังมีผลตอ่ ควำมแม่นยำใน กำรนับจำนวนประชำกรหรือไม่ อยำ่ งไร (กำรวดั ควำมหนำแน่นของ ประชำกรโดยกำรส่มุ ตวั อย่ำงน้นั ถ้ำมีกำรส่มุ ตัวอย่ำงมำกโอกำส ผิดพลำดจะน้อย และมีควำมแม่นยำมำก เพรำะจะทำใหท้ รำบถึง ปริมำณกำรแพร่กระจำยได้ดี) 7. ครนู ำข้อมูลกำรเดนิ ทำงสำรวจ ของชำลส์ ดำร์วิน นักธรรมชำติ วิทยำชำวองั กฤษมำอธิบำยประกอบกำรศกึ ษำเรอื่ ง กำร แพรก่ ระจำยของประชำกร จะทำใหน้ ักเรียนได้เข้ำใจเพิ่มขึ้น จะ ทำให้นกั เรียนได้เขำ้ ใจเพิ่มขนึ้ หรอื อำจต้ังคำถำมเพมิ่ เตมิ เพ่อื โยง ไปสู่ปจั จัยจำกดั ที่มผี ลต่อกำรแพรก่ ระจำยของประชำกร ดังน้ี - เพรำะเหตใุ ด พชื จำพวกแสม โกงกำง ลำพู จึงพบเฉพำะท่ีปำ่ ชำยเลนเทำ่ นน้ั - ในทอ้ งถิน่ ของนกั เรยี นมีพืชหรอื สัตว์ทเี่ ป็นเอกลกั ษณะเฉพำะ ทอ้ งถิ่นซ่ึงไมพ่ บท่อี ่นื หรือไม่ 8. ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั อภิปรำย โดยใชค้ ำถำมในหนังสือเรียน ดงั นี้ - ใหน้ ักเรียนยกตวั อย่ำงปัจจยั ทำงกำยภำพอื่นๆ นอกจำกทไ่ี ด้ กลำ่ วมำแลว้ ท่ีมีผลต่อกำรแพรก่ ระขำยของ

ตวั ชี้วัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กิจกรรมการเรยี นรู้ สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมนิ ผล สง่ิ มีชวี ิตมำอกี 2 ตัวอยำ่ ง (แหลง่ น้ำและควำมอดุ มสมบรู ณ์ของดิน) - ใหน้ กั เรียนยกตัวอย่ำงกำรแพร่กระจำยของประชำกรของ สิ่งมชี วี ติ ทม่ี ผี ลเน่ืองมำจำกสภำพภมู ิศำสตรม์ ำสัก 2-3 ตัวอย่ำง (กำรแพรก่ ระจำยของประชำกรสิ่งมีชวี ิตท่มี ผี ลเนือ่ งมำจำกสภำพ ภูมิศำสตร์ เช่น ประชำกรจิงโจใ้ นทวีปออสเตรเลยี ประชำกรหมี แพนด้ำและประชำกรนกนำงแอ่นบำ้ นในประเทศสำธำรณรัฐ ประชำชนจนี ประชำกรทุเรียนและประชำกรค้ำงคำวคณุ กิตติใน ประเทศไทย) - ในปจั จุบนั นพ้ี บว่ำมีภำคเอกชนและภำคธุรกจิ ของไทยหลำย แห่ง ไดม้ กี ำรพยำยำมนำเข้ำสตั วต์ ำ่ งประเทศทไ่ี มเ่ คยมีในประเทศ ไทยเข้ำมำเลีย้ งในเชงิ ธุรกจิ เชน่ นกเพนกวิน แมวนำ้ นกกระจอด เทศ เป็นตน้ และทำกำรปรับสภำพแวดล้อมที่เล้ยี งให้มีสภำพที่ ใกล้เคียงกบั ท่สี ัตว์นนั้ ๆ เคยอำศัยอยู่ นักเรยี นคดิ ว่ำมผี ลดีและผลเสยี ในเร่อื งใดบ้ำง ( ผลดี คอื ทำใหเ้ กิดควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ สัตว์บำง ชนิดอำจนำเนอ้ื มำเปน็ อำหำร เชน่ นกกระจอกเทศ หรือเลย้ี ง เพอื่ กำรศึกษำ วิจัย ตลอดจนเลย้ี งไวใ้ นสวนสตั ว์เพือ่ ควำม เพลดิ เพลิน ผลเสีย คอื แกง่ แยง่ อำหำรและทอี่ ยู่อำศยั กับสัตว์พันธ์ุ พนื้ เมือง จนอำจจะทำใหส้ ตั ว์ พันธ์พุ นื้ เมืองสญู พนั ธ์ได้ หรอื อำจเป็น พำหะนำเช้ือโรคบำงชนิดเข้ำมำสปู่ ระเทศไทยได้)

ตวั ชี้วัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สือ่ /แหล่งเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมนิ ผล 9. ครใู หน้ ักเรยี นศึกษำรปู แบบกำรแพร่กระจำยของประขำกรใน ธรรมชำติจำกภำพท่ี 22-3 แล้วให้นักเรยี นตอบคำถำมในหนังสือ เรยี น ซ่งึ มแี นวในกำรตอบคำถำมดังน้ี - รปู แบบกำรแพร่กระจำยของประชำกร ในธรรมชำตแิ ต่ละ แบบดงั ภำพ มีผลดี และผลเสยี อยำ่ งไรบ้ำง ชนดิ ของกำรแพร่กระจำย ผลดี ผลเสีย กำรแพร่กระจำยแบบสมุ่ - ไม่มีกำรแก่งแย่งกัน - สิ่งมีชีวิตจะไม่รวมกันเป็นหมู่ ระหว่ำงสมำชิก เปน็ พวก ทำใหย้ ำกในกำรที่จะ ศึกษำชนดิ ของประชำกรน้นั ๆ กำรแพรก่ ระจำยแบบ - อยู่รวมกัน สำมำรถ - ส่ิงมีชีวิตจะมีกำรแก่งแย่งกัน รวมกลุ่ม ศึกษำรำยละเอียดต่ำงๆ ในกลุ่ม มีกำรสืบพันธ์ในเครือ ข อ ง ป ร ะ ช ำ ก ร แ บ บ น้ี ไ ด้ ญ ำ ติ อ ำ จ ท ำ ใ ห้ ไ ด้ พั น ธ์ ที่ ไ ม่ ง่ ำ ย แ ล ะ เ ป็ น ก ำ ร แ ข็ ง แ ร ง แ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ ด้ อ ย มี แพร่กระจำยมำกท่ีสุดใน โอกำสปรำกฏออกมำไดม้ ำก ธรรมชำติ กำรแพร่กระจำยแบบ - มีกำรแพร่กระจำยแบบ - มกี ำรแกง่ แย่งกันอย่ำงรนุ แรง สม่ำเสมอ นน้ี ้อยในสภำพธรรมชำติ - มีกำรปล่อยสำรพิษมำยับยั้ง สิง่ มชี วี ติ ชนิดอื่น - นกั เรียนเคยเห็นพืชมีกำรแพรก่ ระจำยอยู่ในธรรมชำติเปน็ แบบ ใดบำ้ ง และแต่ละแบบ มีลักษณะแตกต่ำงกนั อย่ำงไร อะไรเป็น สำเหตุทำให้เกิดกำรแพรก่ ระจำยแบบนนั้ ( กำรแพรก่ ระจำยของพืช ทมี่ ีอยู่ในธรรมชำติทัง้ 3 รูปแบบ ดงั นี้ 1. กำรแพร่กระจำยแบบสุ่ม พบได้ทัว่ ไปในธรรมชำติ ขนึ้ กระจัดกระจำยอยู่ท่ัวไป เน่ืองจำกกำรขยำยพนั ธ์ุของพืชพวกนี้ อำศัยลม หรือสตั ว์ เช่น นนุ่ หว้ำ พทุ รำปำ่ ฯลฯ 2. กำรแพรก่ ระจำยแบบรวมกล่มุ พบไดม้ ำกที่สุดใน ธรรมชำติ เนื่องจำกพืชเหลำ่ นี้มักจะข้ึนรวมกลมุ่ ในสภำพแวดล้อมท่ี

ตวั ชี้วัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กจิ กรรมการเรียนรู้ ส่อื /แหลง่ เรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมนิ ผล ตอ้ งอำศยั ปจั จยั ทำงกำยภำพที่เหมอื นๆ กนั เช่น โกงกำง แสม ลำพู พบอยู่รวมกันเปน็ กลุ่มในพื้นท่ีป่ำชำยเลน สนพบรวมกลุ่มกัน ในพน้ื ที่ทม่ี รี ะดบั ควำมสูงจำกนำ้ ทะเลต้ังแต่ 1,000 เมตรขึ้นไป เป็นต้น 3. กำรแพรก่ ระจำยแบบสมำ่ เสมอ พบในธรรมชำติค่อนข้ำงน้อย เนอื่ งจำกพชื ทีม่ ี กำรแพรก่ ระจำยแบบนี้ มักจะมีปจั จยั ทำงกำยภำพ บำงประกำร เปน็ ปัจจยั จำกดั ในกำรเจริญเตบิ โต เชน่ พบพืชช้ันตำ่ จำพวกมอสใต้ต้นไม้ใหญ่ ฯลฯ ) 10. ครูเปิดโอกำสใหน้ ักเรียนสอบถำมเนื้อหำ เรื่อง ควำมหนำแน่น และกำรแพร่กระจำยของประชำกร ว่ำมีส่วนไหนทไี่ มเ่ ข้ำใจและให้ ควำมรู้เพิ่มเตมิ ในสว่ นนน้ั 3. ข้นั ลงขอ้ สรุป 1. ครมู อบหมำยให้นักเรยี นสรปุ ควำมคดิ รวบยอดเกย่ี วกับ เนอ้ื หำที่ได้เรียนในวนั น้ี 2. ครมู อบหมำยให้นักเรยี นไปศกึ ษำควำมรู้ เร่อื ง ขนำด ประชำกรและรูปแบบกำรเพ่ิมของประชำกร ซึ่งจะเรียนในคำบตอ่ ไป มำล่วงหน้ำ

แผนการจัดการเรียนรู้ ชอ่ื หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 เรอื่ ง ประชากร แผนการสอนที่ 10 เรื่อง ขนาดประชากรและรปู แบบการเพิ่มของประชากร รายวชิ าชีววิทยา 6 ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 รหสั วิชา ว 33206 ครูผสู้ อน นางสาวจนั จิรา ธนันชัย ตาแหนง่ พนักงานราชการ เวลาท่ีใช้ 4 ชว่ั โมง ตัวชี้วดั / ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กิจกรรมการเรียนรู้ สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ชิน้ งาน ประเมินผล 3. สำรวจตรวจสอบ สบื ค้นขอ้ มลู ขนำดของประชำกร นกั เรียนคง ผ่ำนระดบั คะแนน กำรจดั กระบวนกำรเรียนรู้ 1. ใบงำน อภิปรำยและสรปุ เกยี่ วกบั ประชำกร ทรำบแล้ววำ่ กำรเพ่ิมของประชำกร รอ้ ยละ 60 ขนึ้ ไป 1. ข้ันสร้ำงควำมสนใจ ขนำดประชำกร ควำมหนำแน่นของ ประชำกร กำรรอด น้นั ข้ึนอยกู่ ับอตั รำกำรเกิดและอัตรำ ครูนำอภปิ รำยเพื่อทบทวนควำมหมำยของประชำกร และรูปแบบกำร ชีวติ ของประชำกร และประชำกรมนษุ ย์ กำรตำยเปน็ หลัก ส่วนกำรอพยพเข้ำ (ประชำกร คือ สงิ่ มชี วี ิตชนดิ เดยี วกัน อำศัยอยู่ใน เพิ่มของประชำกร และกำรอพยพออกน้นั ก็มีผล ทเ่ี ดียวกัน เวลำเดียวกัน) และเนอื้ หำ ควำมหนำแนน่ 2. ห นั ง สื อ เ รี ย น เชน่ เดียวกนั แตม่ ผี ลคอ่ นขำ้ ง และกำรแพรก่ ระจำยของประชำกร ชีววิทยำเล่ม 6 ของ นอ้ ย ซงึ่ แสดงได้ดงั น้ี 2. ขั้นสำรวจและคน้ หำ สถำบันส่งเสริมกำร ประชำกรเพิ่ม = อัตรำกำรเกิด+กำร 1. ครูใชค้ ำถำมนำในหนังสือเรยี นถำมนกั เรียน และให้ สอนวิทยำศำสตร์ อพยพเข้ำ > อตั รำกำรตำย+กำร นักเรยี นรว่ มกันอภิปรำย จำกนั้นอธิบำยเพ่มิ เติมจำก และเทคโนโลยี อพยพออก ในหนงั สือเรียนเร่อื ง ปจั จัยท่ีมผี ลตอ่ กำรเปลีย่ นแปลง 3. อนิ เทอร์เนต็ ประชำกรลด = อัตรำกำรเกดิ +กำร ขนำดของประชำกร ดังน้ี ปัจจัยที่มีผลตอ่ กำร อพยพเขำ้ < อัตรำกำรตำย+กำร เปลย่ี นแปลงขนำดของประชำกรแบง่ เปน็ 2 พวกใหญ่ อพยพออก คือ 1. เมอื่ อัตรำกำรเกดิ สูงและอัตรำกำร 1. ปจั จัยทขี่ ้ึนกบั ควำมหนำแน่นของประชำกร ตำยตำ่ ประชำกรจะเพิ่มขึน้ อย่ำง (density dependent factors) เม่อื ประชำกรมี รวดเรว็ ขนำดใหญ่ขึน้ จะมีกำรแก่งแย่งแขง่ ขนั กนั ในเร่ืองกำร 2. เมือ่ อัตรำกำรเกิดตำ่ และอัตรำ ใช้

ตวั ชีว้ ัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวดั และ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สื่อ/แหลง่ เรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ชิ้นงาน ประเมินผล กำรตำยสงู ประชำกรจะลดลงอยำ่ ง รวดเรว็ ทรพั ยำกร เน้ือที่ อำหำร ควำมรุนแรงจะเพิม่ มำก ขึน้ เป็นสัดสว่ นกบั ควำมหนำแน่นของประชำกร ซง่ึ ประเด็นสำคัญประเด็นหนึ่ง จะมผี ลทำให้ มีกำรเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม และขนำด ทีม่ ีผลต่ออตั รำกำรเกดิ ของ ของประชำกร คือทำให้จำนวนสมำชกิ ในประชำกร สง่ิ มีชีวติ และทำให้เกิดรูปแบบของ ลดลง กำรเพ่ิมประชำกร 2. ปัจจยั ทไ่ี มข่ น้ึ กบั ควำมหนำแน่นของประชำกร คือ รูปแบบของการสืบพันุธ์ (density independent factors) เช่น สภำพ ประชำกรของสิ่งมีชวิตในโลกน้มี ี ภมู อิ ำกำศที่เลวร้ำย อุณหภมู ิทีห่ นำวจดั ไฟไหม้ นำ้ รปู แบบกำรสบื พันุธเ์ พ่ือเพม่ิ ท่วม ลมพำยุ ปัจจัยเหล่ำน้ีสำมำรถลดจำนวน ประชำกรอยู่ 2 รปู แบบคือ สิ่งมชี วี ิตในประชำกรลงได้ โดยไมค่ ำนงึ ถึงควำม 1. สมำชิกของประชำกรมีกำรสบื หนำแนน่ ของประชำกร พันุธเ์ พยี งครง้ั เดียวในชว่ ง 2. ครนู ำอภปิ รำยว่ำ เน่ืองจำกในเร่อื ง “รปู แบบกำร ชวี ิต ส่งิ มีชีวติ พวกน้จี ะผลิตลูกหลำน เพ่มิ ของประชำกร” มีกำรนำคณติ ศำสตร์มำเชื่อมโยง จำนวนมำก/ครัง้ จึงทำใหป้ ระชำกร ในกระบวนกำรจัดกำรเรียนกำรสอน ครูอำจใช้คำถำม เพม่ิ อยำ่ งรวดเร็ว เปน็ กำรเพิ่ม เพื่อนำเขำ้ สูบ่ ทเรียนและใหน้ ักเรยี นอภิปรำยร่วมกนั ประชำกรแบบ โดยตวั อยำ่ งคำถำมเช่น exponential growth หรือแบบ - ที่บำ้ นของนักเรียนเลย้ี งสตั ว์ประเภทใดบำ้ ง และ ทวคี ณุ ซ่งึ สำมำรถแสดงไดด้ ้วย สัตว์เหล่ำนัน้ มีกำรเพม่ิ จำนวนประชำกรในแตล่ ะครัง้ กรำฟลักษณะดงั นี้ มำกน้อยเพยี งใด และใชร้ ะยะเวลำนำนเทำ่ ใด - นกั เรียนเคยเพำะล้ยี งแมลงประเภทใดบ้ำง กำรเพิม่ จำนวนประชำกรของแมลงในแต่ละครงั้ มำกน้อย เพียงใด และใช้ระยะเวลำนำนเทำ่ ใด

ตวั ชีว้ ัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอื่ /แหล่งเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ช้นิ งาน ประเมินผล เรำอำจเรียกกรำฟกำรเพมิ่ ประชำกร แบบ exponential วำ่ กรำฟรปู ตัวเจ 3. ครใู ห้นักเรยี นตอบคำถำมในหนงั สือเรยี น ซึง่ มีแนว ก็ได้ กำรตอบคำถำม ดงั นี้ กิจกรรม 1 นักเรยี นคน้ คว้ำเรือ่ ง - รูปแบบของกำรเพิ่มของประชำกรรูปแบบแรกท่ี ลักษณะและควำมหมำยของกรำฟรปู สมำชกิ มกี ำรสบื พันธ์เพยี งครั้งเดยี วในช่วงชวี ติ กบั ตัวเจ แล้วทำสิง่ ต่อไปนี้ รูปแบบทีส่ องท่ีส่ิงมชี วี ิตสำมำรถสบื พนั ธไ์ ดห้ ลำยคร้ัง 1. เพรำะเหตใุ ดในช่วงแรกๆ กำร ในช่วงชีวติ นนั้ มขี อ้ ได้เปรียบและข้อเสยี เปรียบอย่ำงไร เพมิ่ ประชำกรจึงเปน็ ไปอย่ำงช้ำๆ ( กำรเพ่ิมประชำกรแบบสบื พันธุ์เพียงคร้งั เดียวในชว่ ง 2. เสน้ กรำฟในระยะท่ีพุ่งด่ิง ชีวิต (แบบเอ็กโพเนนเชียล) ประชำกรมคี วำมสำมำรถ สูง แสดงให้เห็นว่ำประชำกรจะเพิ่ม ในกำรเพิ่มประชำกรระยะแรกอย่ำงรวดเร็ว มจี ำนวน อย่ำงรวดเร็ว ไม่มีทส่ี ิ้นสดุ ซง่ึ ใน ลกู มำกต่อกำรผลติ หน่งึ ครัง้ และสำมำรถผลิตลกู ได้ ควำมเป็นจรงิ แลว้ เหตุกำรณเ์ ชน่ นีจ้ ะ เมือ่ อำยยุ งั น้อย ปรบั ตวั ไดด้ ี สำมำรถเป็นสปชี สี เ์ บกิ ไม่เกิดขึ้นในธรรมชำติ ทำไมจึงเปน็ นำ (pioneer) ในที่อยูอ่ ำศัยใหม่ๆ ได้ และสำมำรถ เช่นนั้น ใชท้ รพั ยำกรทมี่ ีอยอู่ ย่ำงมีประสทิ ธภิ ำพ และรวดเร็ว 3. ส่ิงมีชีวติ ทม่ี ีกำรเพิ่มประชำกรเป็น เช่น แมลง แบบรปู ตวั เจนี้ พบได้ในสิง่ มีชีวิต พวกใด สว่ นประชำกรท่มี กี ำรสบื พันธไ์ ด้หลำยครั้ง ในช่วงชีวติ (แบบลอจสิ ติก) จะผลติ ลกู หลำนได้ 2. สมำชกิ ของประชำกรมี จำนวนนอ้ ยต่อกำรผลติ หนง่ึ ครง้ั และมีวัฏจกั ชีวติ โอกำสในกำรสืบพนั ุธไ์ ดห้ ลำยคร้งั ค่อนข้ำงยำวนำน เมอ่ื เจริญเติบโตถงึ ขั้นผลิตลูกหลำน ในช่วงชวี ติ ส่งิ มีชวี ติ พวกนจ้ี ะผลิต ไดต้ ัวอ่อนจะได้รับกำรดูแลเป็นอยำ่ งดี และมีอตั รำ ลูกหลำนจำนวนนอ้ ย/ครงั้ ลกู อ่อน กำรตำยตำ่ เชน่ สุนัข ชำ้ ง มำ้ ฯลฯ) ได้รบั กำรดูแลอย่ำงดีจำกแม่ จงึ ทำ 4. ครูนำอภปิ รำย เร่อื ง “กำรเพิ่มของ ประชำกรแบบเอก็ โพเนนชยี ล” โดยชี้ให้นักเรียนเหน็

ตวั ชีว้ ัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวดั และ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหลง่ เรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ช้ินงาน ประเมินผล ให้อตั รำกำรตำยต่ำ มีวฏั จักรชวี ิต ยำวนำน เป็นกำรเพม่ิ ประชำกรแบบ วำ่ กำรใช้แบบแผนทำงคณติ ศำสตรใ์ นกำรอธบิ ำยกำร logistic growth ซง่ึ สำมำรถแสดง เพิม่ ของประชำกรนั้นจะทำให้เข้ำใจดขี นึ้ และสำมำรถดู ไดด้ ว้ ยกรำฟลักษณะดังนี้ แนวโนม้ กำรเพ่มิ หรือลดของประชำกรนนั้ ๆ ได้ด้วย จำกนั้นใหน้ ักเรยี นศกึ ษำ กรำฟในหนงั สอื เรียนและ เรำอำจเรยี กกรำฟกำรเพม่ิ ประชำกร รว่ มกันอภปิ รำยโดยใช้คำถำม ซ่ึงมีแนวกำรตอบ แบบ exponential วำ่ กรำฟรูปตวั คำถำมดังน้ี เอส หรอื sigmoidal curve กไ็ ด้ กจิ กรรม 2 นกั เรยี นค้นควำ้ เรอื่ ง - กำรเพ่มิ ประชำกรรปู แบบตวั เจ และตำม ลักษณะและควำมหมำยของกรำฟรูป ควำมคดิ ของมัลทสั มคี วำมเหมือนและแตกต่ำงกนั ตวั เอส แล้วทำส่งิ ต่อไปน้ี อยำ่ งไร (ใหพ้ ิจำรณำกรำฟทั้ง 2 แบบเพื่อ 4. นักเรยี นอธบิ ำยลักษณะกำร เปรียบเทยี บ ดงั นี้ เจรญิ เตบิ โตของประชำกร ในระยะ ท่มี ีอตั รำกำรเพิม่ ประชำกรช้ำลง วำ่ กรำฟแสดงกำรเพ่ิมของประชำกรแบบเอ็กโพเนนเชียล ทำไมจงึ เป็นเช่นนน้ั 5. carrying capacity หมำยถึง กรำฟแสดงกำรเพม่ิ ของประชำกรตำมแนวคิด อะไร และมีผลต่อกำรเพมิ่ จำนวน ของมัลทัส ประชำกรอย่ำงไร 6. สงิ่ มชี ีวิตทมี่ กี ำรเพ่ิมประชำกรเป็น

ตวั ชีว้ ัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวัดและ กิจกรรมการเรียนรู้ สือ่ /แหลง่ เรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ชนิ้ งาน ประเมินผล แบบรปู ตัวเอสน้ี พบไดใ้ นสิ่งมชี วี ิต พวกใดทฤษฎีประชำกรของ กำรเพิม่ ประชำกรรูปแบบตัวเจ มีลกั ษณะกำรเพิม่ Thomas Malthus ประชำกรอย่ำงช้ำๆ ในระยะแรกเน่อื งจำกประชำกรมี จำนวนน้อยหลงั จำกนัน้ ประชำกรจะเพม่ิ อย่ำงรวดเร็ว Thomas Malthus นกั และดเู หมือนจะไม่มีทีส่ ้ินสดุ เพรำะไม่มสี ิง่ ใดเปน็ ตัว เศรษฐศำสตร์ชำวองั กฤษ ได้เสนอ ควบคุมกำรเพ่ิมของประชำกร ทฤษฎีประชำกร โดยมีสำระสำคัญ ดังนี้ ส่วนกำรเพิ่มประชำกรแบบมัลทัส ลักษณะ 1. อำหำรและเครอ่ื งยังชีพ จะมกี ำร กำรเพิ่มประชำกรในระยะแรกเหมอื นกับกำรเพ่ิม เพมิ่ จำนวนในอัตรำเลขคณิต คือ ประชำกรแบบรูปตัวเจ จนเม่ือถึงจุดหนึ่งจำนวน 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, . . . . . . ประชำกรลดลงอย่ำงไม่เป็นระเบยี บ และสดุ ท้ำยจะ 2. ประชำกร จะมีกำรเพิ่มจำนวน ลดลงอย่ำงเฉยี บพลัน เนอื่ งจำกมตี ัวต้ำนทำนใน แบบเรขำคณติ คือ ส่ิงแวดลอ้ มมำเกยี่ วข้อง) 1, 2, 4, 8, 16, 32, 64, . . . . . . . ซึง่ แสดงได้ด้วยกรำฟลักษณะดังน้ี - เพรำะเหตุใดกรำฟกำรเพม่ิ ประชำกรตำมแนวคดิ ของมลั ทัสในช่วงปลำยจงึ มลั กั ษณะข้ึนๆ ลง ๆ (เพรำะ ระยะแรกมีกำรเพิ่มประชำกรอยำ่ งรวดเรว็ จนดู เหมือนว่ำประชำกรจะเพ่ิมอย่ำงไม่มีทสี่ ิ้นสุด ซ่งึ ลักษณะดงั กล่ำวน้นั ไม่เปน็ จริง เนอื่ งจำกในธรรมชำติ จะมตี วั ตำ้ นทำนในสิ่งแวดล้อม เช่น อำหำร ท่ีอยู่ อำศัย ควำมสัมพนั ธ์ในรปู แบบต่ำงๆ ของสงิ่ มชี วี ติ มำยบั ย้งั กำรเพิ่มของประชำกร ทำให้ประชำกรลดลง อยำ่ งรวดเร็ว และมีกำรเพ่ิมขน้ึ และลดลงอกี สลับกัน จงึ ทำใหป้ ลำยของกรำฟมีลักษณะข้ึน ๆ ลง ๆ )

ตวั ช้วี ดั / ความรู้ ภาระงาน/ การวดั และ กจิ กรรมการเรยี นรู้ สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ ชิน้ งาน ประเมนิ ผล 5. ครูนำอภปิ รำย เรอื่ ง “กำรเพ่ิมของประชำกร แบบลอจสิ ติก” โดยใหน้ กั เรยี นศกึ ษำภำพที่ 22-10 ในหนังสือเรียนและให้นกั เรียนรว่ มกันอภปิ รำย ว่ำกรำฟรปู ตวั เอส มีควำมแตกต่ำงกับรปู ตัวเจอยำ่ งไร โดยใช้คำถำมซง่ึ มแี นวกำรตอบคำถำมดงั นี้ - ในกำรเพมิ่ ของประชำกรรูปแบบตวั เอสน้ี ตัว ตำ้ นทำนในส่ิงแวดล้อมมีบทบำทอย่ำงไร ตอ่ กำรเพิ่ม ของประชำกร (ตัวตำ้ นทำนในสง่ิ แวดลอ้ มมบี ทบำทใน กำรเพ่ิมประชำกร คือ ในระยะแรกกำรเพ่ิมของ ประชำกรเป็นไปอย่ำงชำ้ ๆ เพรำะประชำกรมีจำนวน น้อย ระยะต่อมำเม่ือประชำกรมจี ำนวนเพิม่ ขึ้น อตั รำกำรเพมิ่ ของประชำกรจะเป็นไปอยำ่ งรวดเร็ว ต่อจำกนัน้ อัตรำกำรเพิ่มของประชำกรจะลดลง เพรำะตวั ตำ้ นทำนในสิ่งแวดล้อมเร่มิ เปน็ ปจั จัยจำกัด และเมื่อประชำกรสำมำรถปรับตวั ได้อัตรำกำรเพิม่ ของ ประชำกรค่อนข้ำงคงที่เพรำะอัตรำกำรเกิดเท่ำกับ อัตรำกำรตำย) - ใหน้ กั เรียนยกตวั อย่ำงส่งิ มีชวี ิตที่มีกำรเพมิ่ ของ ประชำกรแบบรูปตวั เอสมำอีกสัก 1-2 ตัวอยำ่ ง (ตวั อยำ่ งกำรเพิ่มประชำกรแบบรปู ตวั เอส เช่น กำร เพิ่มประชำกรของแมลงหว่แี ละไรนำ้ ในห้องปฏิบัติกำร

ตวั ช้ีวัด/ ความรู้ ภาระงาน/ การวดั และ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ส่ือ/แหลง่ เรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ ชน้ิ งาน ประเมินผล เปน็ ต้น เพรำะประชำกรที่อยใู่ นสภำพจำกัด เชน่ มี อำหำรหรอื ท่อี ยู่อำศยั ไมเ่ พยี งพอ แบบแผนของกำร เจริญเติบโตจะเป็นรูปแบบตัวเอส ประชำกรจะเพมิ่ จำนวนอย่ำงชำ้ ๆ ในระยะแรก ตอ่ มำจะเพ่ิมจำนวน อย่ำงรวดเรว็ แลว้ อตั รำกำรเพ่ิมจะลดลง ในขณะที่มี ควำมตำ้ นทำนจำกสิ่งแวดลอ้ มมำกขน้ึ และสุดทำ้ ย กำรเปลยี่ นแปลงจำนวนประชำกรจะมนี ้อยมำกจน เกือบคงท่ี) 6. ครเู ปดิ โอกำสใหน้ ักเรียนสอบถำมเน้อื หำ เรื่อง ขนำดประชำกรและรูปแบบกำรเพ่ิม ของประชำกร วำ่ มีสว่ นไหนที่ไมเ่ ขำ้ ใจและใหค้ วำมรู้ เพ่มิ เติมในส่วนนัน้ 3. ขนั้ ลงข้อสรปุ 1. ครูมอบหมำยใหน้ ักเรยี นสรุปควำมคดิ รวบ ยอดเก่ียวกับเนอ้ื หำทไ่ี ด้เรยี นในวนั น้ี 2. ครูมอบหมำยใหน้ ักเรียนไปศกึ ษำควำมรู้ เร่ือง กำรรอดชวี ิตของประชำกรและประชำกรมนุษย์ ซ่ึงจะเรยี นในคำบต่อไปมำล่วงหนำ้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook