Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลิลิตพระลอ ครั้งที่ 1

ลิลิตพระลอ ครั้งที่ 1

Published by Theeraphat Wongkamchang, 2021-01-25 03:57:29

Description: ลิลิตพระลอ ครั้งที่ 1

Search

Read the Text Version

สมยั ท่แี ต่งและผู้แตง่





สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ.๑๙๙๑-๒๐๓๑) สมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี ๓ สมเด็จพระรามาธิบดที ่ี ๒ (พ.ศ.๒๐๓๑-๒๐๓๔) (พ.ศ.๒๐๓๔-๒๐๗๓) (โอรส) (โอรส) สมเด็จพระบรมราชาธริ าชท่ี ๔ (หน่อพทุ ธางกูร) (พ.ศ.๒๐๗๓-๒๐๗๖) (โอรส)

หม่อมราชวงศ์สุมนชาติ สวัสดิกุล

ลิลิตพระลอแต่งด้วยคาประพันธ์ประเภท โคลงกับร่าย โคลงมีทั้งชนิดโคลงโบราณ โคลงด้ัน และโคลงส่ีสุภาพ ส่วนร่ายมีทั้งร่ายโบราณและ ร่ายด้ัน เช่นเดียวกับวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนต้น โคลงสี่สุภาพท่ีปรากฏในลิลิตพระลอก็ มิได้ปรากฏเป็นโคลงส่ีสุภาพท่ีถูกต้องตาม ฉันทลักษณ์ท้ังหมด บางบทมีลักษณะผสมของ โคลงสี่ด้ันปะปนอยู่ด้วย







โคลงส่สี ุภาพที่มโี คลงโบราณและโคลงดั้นปน





ลิลติ พระลอมีถอ้ ยคาภาษาคล้ายคลึงกบั สมยั สโุ ขทัยมากกว่าสมยั อยุธยาตอนกลาง เจ็บวา่ แหนเผืองตาย ดกี ว่า ไสน้ า พเี่ ผอื ผูอ้ ้ายตายจากเผือเตยี มแตย่ งั เลก็ (จารกึ หลกั ที่ ๑) เมืองกวา้ งช้างอัศวสู้ ละเสีย ออ่ นเอย อาจปราบฝูงขา้ เสกิ มเี มืองกว้างชา้ งหลาย (จารึกหลักที่ ๑)

ลลิ ติ พระลอแตง่ กอ่ นสมยั สมเดจ็ พระนารายณ์ -เพราะพระมหาราชครูนาโคลงในลิลติ พระลอมาเปน็ โคลงแมแ่ บบ -เพราะพระศรีมโหสถเม่ือแตง่ กาพยห์ อ่ โคลงไดก้ ลา่ วถงึ เรอื่ งพระลอ เกรือกเปรยี บเทยี บพระลอ บส่ ูข่ อตอ่ อาสา ทาอดุ รสนุกเสน่หา ปืนยาพศิ ม์ตดิ ตรงึ ตาย เมอื งมา กลก่อลอราชรา้ ง หนง่ึ น้อย บ่สูอ่ ยู่อาสา สองราช ทาอดุ รสนกุ เสน่หา รา่ งเรา้ เสียสกนธ์ เขายงิ ส่ิงสรรพร้อย

ลิลิตพระลอกลา่ วถึง การทาสงคราม ระหว่างไทยกบั ลาว (ลา้ นนา) ว่า “ฝ่าย ขา้ งยวนแพพ้ า่ ย ฝ่ายข้างลาวประลัย ฝ่ายขา้ งไทยไชเยศ” เป็นสงครามสมัยสมเด็จพระบรม ไตรโลกนาถ กับพระเจา้ ตโิ ลกราช แห่ง ล้านนา

ลิลิตพระลอไม่ได้แต่งสมัยสมเด็จพระนารายณ์ เพราะลิลิตพระลอกล่าวถึงการบรรจุพระศพพระลอ ในโลงมิได้บรรจุในโกศซ่ึงเป็นธรรมเนียมตั้งแต่สมัย พระเอกาทศรถแล้ว ลิลิตพระลอกล่าวถึงการบรรจุพระธาตุพระลอ พระเพ่ือน พระแพง เรียงกันในเจดีย์น่าจะได้แรงบันดาล ใจจากสมัยสมเด็จพระรามธิบดีท่ี ๒ ลิลิตพระลอกล่าวถึงพระบาทสร้อยสรรเพชญ์ น่าจะได้อิทธิพลจากการสร้างพระศรีสรรเพชญ์สมัย พระรามาธิบดีท่ี ๒

กวีผู้แต่งลิลิตพระลอน่าจะเปน็ เจ้านายสตรี ในราชสานกั สมเด็จพระรามาธบิ ดที ี่ ๒ แห่งกรงุ ศรี อยธุ ยา และอาจเป็นกวีคนเดยี วกับผู้แตง่ วรรณคดี เร่ืองยวนพา่ ย นอกจากน้ียังสนั นิษฐานว่า เมอื งสรวงของ พระลอมไิ ด้ตั้งอยูใ่ นเขตจงั หวัดภาคเหนอื แตต่ ง้ั อยู่ ที่อาเภอเมืองสรวง จงั หวดั รอ้ ยเอ็ด

ลลิ ิตพระลอแตง่ ในสมัยอยุธยาตอนตน้ ประมาณ สมยั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ เพราะกลา่ วช่นื ชมทกี่ ษัตริย์ อยุธยาทรงเอาชนะกษตั รยิ ์ลา้ นนาได้ สงครามเชน่ เดยี วกบั ลลิ ติ ยวนพา่ ย สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถไดท้ รงตง้ั เมืองพิษณโุ ลก เป็นราชธานี ทาให้ราชสานกั รับวัฒนธรรม ตานาน และ นิทานจากอาณาจกั รลา้ นนา เร่ืองพระลอก็น่าจะเขา้ มาสู่ราช สานกั ในคร้ังนั้นดว้ ย

ลลิ ติ พระลอแตง่ ในสมัยอยธุ ยาตอนตน้ เน่ืองจากมกี ารใชถ้ ้อยคา สานวน และฉันทลักษณ์ คลา้ ยคลงึ และตรงกบั กลุ่มวรรณคดีสมัยอยุธยา ตอนตน้ เช่น ลลิ ติ โองการแชง่ นา้ ลลิ ติ ยวนพา่ ย มหาชาตคิ าหลวง ทวาทศมาส กาสรวลโคลงด้นั อนริ ทุ ธคาฉันท์ และสมทุ รโฆษคาฉันท์

ลลิ ติ พระลอแตง่ ในสมัยอยธุ ยาตอนต้นแนน่ อน และแต่งก่อนสมยั สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช สมเดจ็ พระเอกาทศรถ และสมยั สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช เพราะลลิ ติ พระลอใชค้ าวา่ “อโยธยา” ไมใ่ ช่ “อยธุ ยา” การใช้คาว่า “อยธุ ยา” ปรากฏช่วงที่มีการเสียราชธานี ลิลติ พระลอจึงน่าจะแตง่ กอ่ นสมัยสมเด็จพระนารายณ์ มหาราชอยา่ งแน่นอน

ลลิ ิตพระลอนา่ จะแต่งในสมยั สมเดจ็ พระชัยราชาธิราช (พ.ศ. ๒๐๗๗-๒๐๘๙) โดยพิจารณาจากหลักฐาน การใช้ปืนไฟในการทาสงคราม เนือ่ งจากปนื ไฟ เรม่ิ มใี ช้ในสมยั สมเด็จพระรามาธบิ ดที ่ี ๒ โดยชาว โปรตุเกส จึงนา่ จะแตง่ ขึ้นหลังจากสมัยสมเด็จพระ รามาธบิ ดีที่ ๒ และนา่ จะแตง่ ขน้ึ ในสมยั สมเดจ็ พระ ชัยราชาธิราชโอรสของสมเด็จพระบรมราชาธริ าชที่ ๔ (หนอ่ พทุ ธางกูร) ซ่งึ สมัยน้ีปรากฏหลกั ฐานวา่ ได้ทา สงครามชนะเชียงใหมเ่ ชน่ กนั



พระวรเวทยพ์ สิ ฐิ พระลอเป็นเรอ่ื งนิยายประจาถ่ินทาง ภาคเหนือ มีเคา้ โครงเรอ่ื งวา่ เกิดขนึ้ ในแควน้ ลา้ นนาระหวา่ ง พ.ศ. ๑๖๑๖ ถงึ ๑๖๙๓

หม่อมราชวงศส์ ุมนชาติ สวัสดิกุล เรอ่ื งพระลอน่าจะเป็นเรอ่ื งจรงิ พระลอเป็นวรี บรุ ุษท่ีมีชีวติ รว่ มสมยั กบั ทา้ วฮ่งุ ทา้ วเจือง และครองเมืองกาหลง มีนามวา่ แถนลอ เมอื งกาหลงเป็นเมืองขนึ้ ของทา้ วเจือง ในเรอ่ื งนีแ้ ถนลอไดม้ าช่วยฟ้าฮ่วนรบ กบั ทา้ วเจือง

ดวงมน จติ ตจ์ านง เรอ่ื งพระลอคงเป็นนิทานเก่าแก่ก่อนสมยั พอ่ ขนุ มงั รายรวมบา้ นเมอื งเป็นอาณาจกั ร ลา้ นนา เพราะในตอนตน้ เรอ่ื ง ไดก้ ลา่ วถึงการ สงครามระหวา่ งเมอื งสรวงและเมอื งสรอง แสดงวา่ พระลอเป็นเรอ่ื งท่ีเกิดขนึ้ มาแต่ โบราณ สมยั ท่ีคนไทยยงั แยกกนั เป็นเมืองเลก็ เมอื งนอ้ ย และนา่ จะอยกู่ อ่ นสมยั ขนุ เจืองซง่ึ เป็นกษัตรยิ แ์ หง่ อาณาจกั รไทยในบรเิ วณท่ี ราบลมุ่ แมน่ า้ โขง

ชลดา เรืองรักษล์ ิขติ เนือ้ หามาจากวรรณกรรมพืน้ บา้ นของไทเขิน เรอ่ื ง อลองเจา้ สามลอ ตอ่ มาไดแ้ พรก่ ระจาย มายงั อาณาจกั รลา้ นนา เนือ้ หามาจากพงศาวดารโยนก นา่ จะเป็นเรอ่ื งจรงิ ปรากฏเรอ่ื งแถนลออยดู่ ว้ ย ซง่ึ แพรก่ ระจายมายงั กรุง ศรอี ยธุ ยา เม่ือครงั้ ท่ีสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถได้ เสดจ็ ไปประทบั ท่ีเมืองพิษณโุ ลกและไดท้ รงสถาปนา พิษณโุ ลกเป็นราชธานี ทาใหก้ วีในราชสานกั นามา แตง่ วรรณคดีเรอ่ื งลลิ ติ พระลอ

สถานทก่ี าเนิดเร่ืองพระลอ

เมืองสรอง อยทู่ ่ีอาเภอสองในจงั หวดั แพร่ เมอื งสรวง ยงั ไมย่ ตุ ิ มีผสู้ นั นิษฐานไว้ ๔ แหง่ ๑. เวียงกาหลง อาเภอป่าเปา้ จงั หวดั เชียงราย ๒. อาเภอแมส่ รวย จงั หวดั เชียงราย ๓. เมืองกาหลง อาเภอแจห้ ม่ จงั หวดั ลาปาง ๔. เมอื งลอ จงั หวดั พะเยา

วภิ า กงกะนันท์ เมืองสรวงอยทู่ ่ีอาเภอเมืองสรวง จงั หวดั รอ้ ยเอด็ เพราะมีรอ่ งรอยของเมือง โบราณ อายรุ าว ๒,๐๐๐ ปี ในบรเิ วณ ใกลเ้ คยี ง และช่ือเมืองก็เป็นช่ือดงั้ เดิมท่ี มีมานาน มใิ ช่ตงั้ ขนึ้ ใหมต่ ามอิทธิพล เรอ่ื งลลิ ิตพระลอ



การวเิ คราะหล์ ลิ ติ พระลอ

โครงเรื่อง โครงเร่ืองหลัก ความรักบนความขัดแย้งของสองตระกูล โครงเร่ืองรอง ความรักของพระนางบุญเหลือ : รักแท้ ของแม่มิอาจสู้รักแทข้ องหนุ่มสาว ความรักของพเ่ี ลีย้ งทงั้ สี่ : รักแรกพบที่ เร่าร้อนและรุนแรง

แก่นเร่ือง ความรกั ของหน่มุ สาวเป็นความรกั ท่ีมี อานภุ าพรุนแรงมากกวา่ ความรกั อ่ืนใด แมอ้ ปุ สรรคหรอื กรอบเกณฑใ์ ดก็มิอาจ กีดกนั้ หรอื ขดั ขวางได้

ฉากและบรรยากาศ สงครามเมอื งสรวงกบั เมืองสรอง : ปมแหง่ โศกนาฏกรรม แมน่ า้ กาหลง สวนขวญั สามพระองคอ์ ิงกนั ยืนอยฉู่ นั บมิตาย : รกั แทท้ ่คี วามตายมิอาจพรากได้

ตวั ละคร พระลอ พระเพอ่ื นและพระแพง พเ่ี ลยี้ งทงั้ ส่ี : นายแกว้ นายขวัญ นางร่ืน และนางโรย พระนางบญุ เหลือ เจ้ายา่ ป่ เู จ้าสมิงพราย ทา้ วพชิ ัยพษิ ณุกร ไก่แก้ว

กลวธิ ีการนาเสนอเรื่องในลิลติ พระลอ • ขนึ้ ตน้ ดว้ ยบทไหวค้ รูท่ีกลา่ วถงึ การ สงคราม • เรม่ิ เรอ่ื งดว้ ยความขดั แยง้ ของเมืองสอง เมือง เป็นผลใหเ้ มอื งทงั้ สองเป็นศตั รูกนั • จบเรอ่ื งแบบโศกนาฏกรรม • ตงั้ ช่ือตวั ละครสอดคลอ้ งสมั พนั ธก์ บั โครง เรอ่ื งและแกน่ เรอ่ื ง • เดินเรอ่ื งฉบั ไว • แทรกบทสนทนา ทาใหเ้ รอ่ื งดสู มจรงิ

• แทรกบทนิราศ ทาใหเ้ รอ่ื งนา่ สนใจและ สะทอ้ นอารมณค์ วามรูส้ กึ ของตวั ละครได้ อยา่ งดี • แทรกบทสระสรงทรงเครอ่ื ง บทส่งั หอ้ ง บท ชมสวน บทจดั ทพั และยกทพั ทาใหม้ ี โอกาสแสดงฝีมือ • ใชส้ ตั วเ์ ป็นตวั ดาเนินเรอ่ื ง • ใชน้ กเป็นสือ่ สะทอ้ นอารมณค์ วามรูส้ กึ ของ ตวั ละคร • นาเสนอวธิ ีการสอนท่ีนา่ สนใจ

การใช้ถ้อยคาภาษาในลิลติ พระลอ การเลน่ เสยี งสมั ผสั พยญั ชนะ การเลน่ คาซา้ การเลน่ คาซา้ ท่ีไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปคา การเลน่ คาซา้ ชนิดท่ีมีการเปลย่ี นแปลงรูปคา การเลน่ คาซา้ กนั การเลน่ คาซา้ กนั โดยไมก่ าหนดตาแหน่ง การเลน่ คาซา้ กนั โดยกาหนดตาแหนง่ การเลน่ คาพอ้ งเสยี ง

การใช้ภาพพจนใ์ นลิลิตพระลอ อปุ มา อปุ ลกั ษณ์ อติพจน์ บคุ ลาธิษฐาน คาถามเชิงวาทศิลป์

รสของวรรณคดใี นเรื่องพระลอ ศฤงคารรส รสแหง่ ความทราบซงึ้ ในความรกั เราทรรส รสแหง่ ความโกรธเคือง วีรรส รสแหง่ ความช่ืนชมในความกลา้ หาญ พีภตั สรส รสแหง่ ความน่ารงั เกียจหรอื ความน่าเบ่ือ ศานตรส รสแหง่ ความสงบ หาสยรส รสแหง่ ความตลกขบขนั กรุณารส รสแหง่ ความสงสาร ภยานกรส รสแหง่ ความหวาดกลวั หรอื นา่ กลวั อทั ภตุ รส รสแหง่ ความอศั จรรยใ์ จ

อทิ ธิพลของลลิ ติ พระลอทมี่ ตี อ่ วรรณคดี ในสมัยตอ่ ๆ มา •อทิ ธิพลของลลิ ิตพระลอดา้ นถอ้ ยคาสานวน •ใชค้ าหรอื คาสรอ้ ยเลยี นแบบลลิ ิตพระลอ เช่น กระหม่งั แลนา แก่แม่รา •ใชส้ านวนเปรยี บเทียบคลา้ ยคลงึ กนั •ใชค้ าแทนตวั ละคร •ใชส้ านวนการเตอื นสติของพ่ีเลยี้ งตวั เอก ฝ่ ายชาย

•อทิ•ใธิพชลก้ ขลองวลธิ ิลีกติ พารระแลตอด่งา้ แนบกลบวธิลีกิลาริตแตง่ พระลอ เช่น บทนิราศ บทสงั่ หอ้ ง บทชมไม้ •ใชส้ ตั วเ์ ป็นตวั ดาเนินเร่ือง •ใชน้ กเป็นส่ือแสดงอารมณ์ ความรู้สึกของตวั ละคร •ชมความงามของตวั เอกโดย ผา่ นตวั ละครอื่น

อทิ ธิพลของลลิ ิตพระลอทม่ี ตี อ่ งาน สร้างสรรคใ์ นรูปแบบอนื่ •อทิ ธิพลของลิลิตพระลอท่ีมีตอ่ การสรา้ งสรรค์ วรรณกรรม •พระลอในรูปแบบบนั เทงิ คดี •พระลอในรูปแบบคาสอน •พระลอในรูปแบบงานวชิ าการ •อิทธิพลของลลิ ติ พระลอท่ีมีตอ่ การสรา้ งสรรคศ์ ลิ ปะ •พระลอในนาฏศลิ ป์ และคีตศลิ ป์ •พระลอในจิตรกรรม •พระลอในประตมิ ากรรม

พระลอในรูปแบบบนั เทงิ คดี รูปแบบบนั เทงิ คดปี ระเภทร้อยแกว้ • นิทานเร่ืองพระลอร้อยแกว้ ของ เชือ้ ช่ืน ศรยี าภยั • นิทานเรื่องพระลอ ของ พรจนั ทร์ จนั ทวมิ ล • นิยายเรื่องเจ้าสามลอกบั นางฮุบมิ ของ พรพิมล วฒุ ิลกั ษณ์ • นวนิยายเร่ืองรักทถี่ กู เมิน (๒๔๙๙) ของ นิตยา นาฏย สนุ ทร • เร่ืองสัน้ เรื่องเพอ่ื นแพง ของ ยาขอบ • นวนิยายเรื่องรักทตี่ อ้ งมนตรา (๒๕๔๔) ของ ทมยนั ตี • เรื่องคาสารภาพของลอราช ของ เอมอร ชิตตะโสภณ

การแสดงละครพนั ทางเรอ่ื งพระลอของ กรมศิลปากร จดั โดยมหาวิทยาลยั ศลิ ปากร เม่อื วนั ท่ี ๒๐ เมษายน ๒๕๓๖



บทละครเร่ืองพระลอ • THE MAGIC LOTUS พระนิพนธข์ องพระ เจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ เปรมบรุ ฉตั ร • บทละครเรื่อง PRA LAW ของ สรุ พล วิรุฬหร์ กั ษ์ • บทละครพดู ร้อยแก้วเรื่องลอดลิ กราช ของ ภทั ราวดี ศรไี ตรรตั น์

รูปแบบบนั เทงิ คดปี ระเภทร้อยกรอง บทละครเร่ืองพระลอประเภทร้อยกรอง • บทละครเรื่องพระลอนรลักษณ์ พระนิพนธส์ มเด็จ พระบวรราชเจา้ กรมพระราชวงั บวรมหาศกั ดิพลเสพ • บทละครเรื่องพระลอ ของเจา้ พระยาเทเวศรว์ งศ์ ววิ ฒั น์ (หมอ่ มราชวงศห์ ลาน กญุ ชร) • บทละครพนั ทางเรื่องพระลอ พระนิพนธข์ องพระ เจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระนราธิปประพนั ธพ์ งศ์

• บทละครตาโบลวิวงั ต์ (Tableaux Vivantes) เร่ืองพระลอ พระนิพนธ์ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟ้า กรมพระยานรศิ รานวุ ดั ตวิ งศ์ • บทละครชาตรีเรื่องพระลอ ของ นายจีน • บทละครเพลงเร่ืองพระลอ ของ สธุ ิวงศ์ พงศไ์ พบลู ย์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook