Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 100ปลาสวยงาม (1)

100ปลาสวยงาม (1)

Published by Pongthep Tiamdee, 2019-02-13 23:17:10

Description: 100exoticfish (1)

Search

Read the Text Version

100 สายพนั ธุ ปลาสวยงามตางประเทศ 100 Varities of Exotic Ornamental Fish

100 สายพนั ธุ ปลาสวยงามตา งประเทศ 100 Varities of Exotic Ornamental Fish โดย อรุณี รอดลอย สุจินต หนขู วัญ จารุวรรณ เรอื งทอง นาฏฬดา ศุภผล สถาบนั วจิ ัยสตั วน้ำสวยงามและพรรณไมนำ้ สำนักวิจยั และพัฒนาประมงนำ้ จดื กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ

ท่ีปรึกษา สมหวงั พิมลบุตร (ผอู ำนวยการสำนักวิจยั และพฒั นาประมงน้ำจดื ) ดร. อมรรตั น เสรมิ วฒั นากลุ (ผเู ชย่ี วชาญดา นสตั วน ำ้ และพรรณไมน ำ้ สวยงาม) เรยี บเรยี ง สจุ ินต หนขู วญั อรุณี รอดลอย นาฏฬดา ศุภผล จารวุ รรณ เรืองทอง ถายภาพโดย อรณุ ี รอดลอย ขอ มลู ทางบรรณานุกรม อรุณี รอดลอย สุจนิ ต หนูขวญั จารุวรรณ เรอื งทอง และนาฏฬดา ศุภผล. 2552 100 สายพันธปุ ลาสวยงามตางประเทศ. สถาบนั วจิ ยั สัตวนำ้ สวยงามและพรรณไมน ำ้ สำนักวิจยั และพัฒนาประมงน้ำจดื กรมประมง. 110 หนา . จัดทำโดย สถาบันวจิ ยั สตั วน ำ้ สวยงามและพรรณไมน ำ้ สำนักวิจยั และพัฒนาประมงน้ำจืด กรมประมง พิมพครงั้ ที่ 1 : กันยายน 2552 จำนวนพิมพ 800 เลม ISBN : 978-974-19-4697-6 พิมพ - ศลิ ปกรรม โรงพิมพด อกเบี้ย เลขที่ 1032/203 - 208 ซอยรวมศิริมติ ร แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กทม. 10900 โทรศพั ท 0-2272-1169-72 โทรสาร 0-2272-1173 e-mail : [email protected]

คำนำ ปจจุบันปลาสวยงามที่มีการซื้อขายกันในตลาดปลาสวยงามตางประเทศ มีแหลง ท่ีมาจากท่ัวโลก รวมทั้งปลาสวยงามที่อาศัยอยูในแหลงน้ำธรรมชาติของไทยดวย แตในธุรกิจปลาสวยงามนั้นมีความตองการความหลากหลายและความแปลกใหมของสินคา ดังน้ันจึงมีการซื้อขายแลกเปล่ียนและพัฒนาสายพันธุใหเกิดความหลากหลายของสินคา ในตลาด ผูเพาะเลี้ยงปลาสวยงามในประเทศไทย ไดมีการนำเขาปลาสวยงามจาก ตางประเทศหลายชนิดเพ่ือนำมาจำหนายภายในประเทศและนำมาเพาะเล้ียงเพ่ือสงออก จำหนา ยในตลาดตา งประเทศ เกษตรกรผูเพาะเลี้ยงปลาสวยงามในประเทศไทยกลาวไดวาเปนผูท่ีมีความ สามารถสูงในดานการเพาะพันธุและการพัฒนาสายพันธุ จึงผลิตปลาสวยงามที่มีคุณภาพ ตรงตามมาตรฐานที่ตลาดตองการ ทำใหไดรับความนิยมและเปนท่ีรูจักในตลาดตางประเทศ และมีการสงสินคาปลาสวยงามท่ีผลิตจากประเทศไทยไปขายเพ่ือนำเงินรายไดเขาประเทศ นับเปนมลู คาหลายรอยลา นบาทตอป อยางไรก็ตาม การนำเขามาของชนิดพันธุตางถ่ิน มีทั้งประโยชนและโทษ ดังนั้น ผูท่ีประกอบธุรกิจปลาสวยงามและหนวยงานท่ีเก่ียวของ ควรรวมมือกันอนุรักษทรัพยากร สัตวน้ำในธรรมชาติของไทยใหมีการใชประโยชนอยางยั่งยืน และไมนำเขาชนิดพันธุตางถ่ิน ท่ีอาจจะเกิดการรุกรานชนิดพันธุพ้ืนเมืองของไทย เพ่ือรักษาสมดุลของทรัพยากรสัตวน้ำ ของไทยในแหลงที่อยูอาศยั ตามธรรมชาติ กรมประมง ไดจัดทำหนังสือเลมน้ีขึ้นมาเพื่อใหความรูเกี่ยวกับชนิดปลาสวยงาม ของตางประเทศท่ีนำเขามาเลี้ยงในประเทศไทย และหวังวาหนังสือเลมนี้จะเปนประโยชน แกผ ูสนใจ ผเู พาะเลี้ยงและผูประกอบอาชพี เกีย่ วกบั ธุรกจิ ปลาสวยงามตอไป (นายวิมล จันทรโรทัย) รองอธบิ ดีกรมประมง กรมประมง กันยายน 2552

สารบญั หนา คำนำ สารบญั บทนำ.............................................................................................................................................................. 8 100 ชนิดปลาสวยงามตา งประเทศ.................................................................................................... 9 สากแดง...................................................................................................................................... 10 คองโก.......................................................................................................................................... 11 มังกรนอย................................................................................................................................... 12 อพั ไซดด าวน.............................................................................................................................. 13 แพะ.............................................................................................................................................. 14 แพะ Gold stripe cory......................................................................................................... 14 แพะ Long-finned albino cory........................................................................................ 15 แพะ Adolfo’s cory............................................................................................................. 15 แพะ Oiapoquensis cory.................................................................................................... 16 แพะ Sterbai cory.................................................................................................................. 16 ชอนเจ็ดสเี รนโบว. .................................................................................................................... 17 ชอ นจุดอินโดนีเซีย................................................................................................................... 18 แบล็คเตตรา / แบลค็ กามัวร................................................................................................ 19 โกลวไลท เตตรา....................................................................................................................... 20 รมั ม่ีโนส....................................................................................................................................... 21 บวั โนส ไอเรส............................................................................................................................ 22 เซอรเ ป / เซเป.......................................................................................................................... 23 นอี อนดำ...................................................................................................................................... 24 เรด แฟนทอม เตตรา.............................................................................................................. 25 มองนฮอเซีย...............................................................................................................................26 เอม็ เพอเรอ เตตรา ...................................................................................................................27 คารด นิ ัล...................................................................................................................................... 28 4 100 ชนดิ ปลาสวยงามตา งประเทศ

หนา เพนกวนิ ...................................................................................................................................... 29 หมอหอยแคลวูส...................................................................................................................... 30 หมอหอยคอมเพรสสิเซพ....................................................................................................... 31 หมอหอยเมลากรสี ................................................................................................................... 32 หมอหอยคูโดพงั เตตสั ............................................................................................................. 33 หมอหอยสมิ ลิ สิ ......................................................................................................................... 34 หมอแคระเวยี จติ า.................................................................................................................... 35 หมอแคระไตรฟาส................................................................................................................... 36 หมอแรม 7 สี............................................................................................................................ 37 หมอแรมทอง............................................................................................................................. 38 หมอแรมเยอรมนั / บลนู อี อนแรม..................................................................................... 39 ออสการ...................................................................................................................................... 40 ออสการเ ผอื ก........................................................................................................................... 41 ออสการลายเสอื ...................................................................................................................... 42 ออสการล ายเสอื เผอื ก............................................................................................................ 43 หมอมาลาวเี หลือง.................................................................................................................... 44 หมอมาลาวหี าสี........................................................................................................................ 45 กระพงลายเสอื ออสเซราลิส................................................................................................. 46 กระพงลายเสอื ทาเมนสิส...................................................................................................... 47 หมออฟั ราคาจนิ โด................................................................................................................... 48 หมอลาโบรซสั ........................................................................................................................... 49 หมอฟรอนโตซา........................................................................................................................ 50 หมอแรมแดง............................................................................................................................. 51 หมอกลวยหอม.......................................................................................................................... 52 หมออีสเทริ นบลู........................................................................................................................ 53 หมอซบี ราเผอื ก........................................................................................................................ 54 เทวดา.......................................................................................................................................... 55 เทวดาหินออ น........................................................................................................................... 55 เทวดามา ลาย / เทวดามา ลายลูกผสม.............................................................................. 56 100 ชนิดปลาสวยงามตางประเทศ 5

หนา เทวดาเงนิ / เทวดาแพลทตนิ ั่ม........................................................................................... 56 เทวดาสามสี.............................................................................................................................. 57 เทวดาทอง................................................................................................................................. 57 ปอมปาดัวรสายพันธุบราวนด ซี เคซิ / ปอมสนี ำ้ ตาล / ปอมหาส.ี ........................ 58 ปอมปาดวั รส ายพันธบุ ลูดีซเคิซ / ปอมฟา............................................................. 59 ปอมปาดัวรสายพนั ธจุ ดุ แดง / ปอมเสอื ดาว......................................................... 60 ปอมปาดวั รส ายพนั ธฝุ ุน........................................................................................................ 61 ปอมปาดวั รสายพนั ธุสเนคสกนิ / ปอมง.ู ............................................................... 62 ปอมปาดวั รส ายพันธสุ ไทรพ เทอรค อยส / ปอมเจ็ดสี........................................... 63 หมอบัตเตอร............................................................................................................................. 64 หมูอนิ โด..................................................................................................................................... 65 หมอู นิ เดีย.................................................................................................................................. 66 หมูลายจุดไซเบอรเรยี น......................................................................................................... 67 ฟน สนุ ขั / พารายา ................................................................................................................. 68 ทอง............................................................................................................................................. 69 ทองสายพนั ธุตาลูกโปง .......................................................................................................... 69 ทองสายพนั ธุตากลบั .............................................................................................................. 70 ทองสายพนั ธุอ อรนั ดา............................................................................................................ 71 ทองสายพนั ธเุ กล็ดแกว.......................................................................................................... 72 ทองสายพนั ธสุ ิงหญ ีป่ ุน.......................................................................................................... 73 ทองสายพันธุริวกน้ิ ................................................................................................................. 74 ทองสายพนั ธุสิงหด ำตามิด / ทองสายพันธุสิงหส ยาม.......................................... 75 ทองสายพันธุตาโปน............................................................................................................... 76 มาลาย........................................................................................................................................ 77 มา ลายชมพู............................................................................................................................... 78 โรซบี่ ารบ.................................................................................................................................... 79 ตะเพยี นหนาแดง..................................................................................................................... 80 ตะเพียนจุด / ตะเพยี นอนิ เดยี .............................................................................................. 81 ตะเพียนหกแถบ....................................................................................................................... 82 6 100 ชนิดปลาสวยงามตางประเทศ

หนา โกลเดน บารบ............................................................................................................................ 83 เสือสมุ าตรา............................................................................................................................... 84 เสือสุมาตราทอง...................................................................................................................... 85 เชอรีบ่ ารบ................................................................................................................................. 86 ไวทค ลาวด................................................................................................................................. 87 คลิ ลี่จอรแ ดนเนลลา................................................................................................................ 88 เฮมิโอดัส.................................................................................................................................... 89 เรนโบวแ ดง................................................................................................................................ 90 เรนโบวส องสี............................................................................................................................. 91 เรนโบวเ ทอรคอยส.................................................................................................................. 92 เรนโบวครีบแดง....................................................................................................................... 93 เรนโบวห างแดง........................................................................................................................ 94 คิลลี่............................................................................................................................................. 95 คลิ ล่ี Aphyosemion australe....................................................................................... 95 คลิ ลี่ Aphyosemion gardneri...................................................................................... 96 คิลล่ี Nothobranchius orthonotus............................................................................ 96 คิลล่ี Nothobranchius guentheri............................................................................... 97 คลิ ล่ี Nothobranchius rachovii.................................................................................. 97 กระดี่โคบอลท. .......................................................................................................................... 98 กระด่แี ดง................................................................................................................................... 99 กระดีแ่ คระ............................................................................................................................... 100 ตะพัดทอง / อะโรวานา ทอง...............................................................................................101 ตะพัดแดง / อะโรวานา แดง..................................................................................102 กดลายเสือ............................................................................................................................... 103 บรรณานกุ รม.............................................................................................................................................104 ดัชนีชือ่ ไทย................................................................................................................................................105 ดชั นีช่อื วิทยาศาสตร. .............................................................................................................................107 100 ชนดิ ปลาสวยงามตางประเทศ 7

บทนำ…. ปจจุบันตลาดปลาสวยงามภายในประเทศมีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้น มีผูนิยมเลี้ยง ปลาสวยงามกันมากขึ้น สงผลใหธุรกิจที่เกี่ยวของ เชน รานคาอุปกรณตาง ๆ ตูปลา ยารักษาโรคและเคมีภัณฑ รวมทั้งพรรณไมน้ำ มีการขยายตัวอยางตอเนื่อง ภาครัฐและภาค เอกชนมกี ารรว มมอื กนั ในการผลกั ดนั ธรุ กจิ การคา ปลาสวยงาม เชน การจดั ประกวดปลาสวยงาม จัดนิทรรศการปลาสวยงาม เพื่อใหความรูดานสายพันธุปลาสวยงาม การเพาะเลี้ยง การดูแลรักษาโรคปลา การนำเขาและสงออกปลาสวยงาม สงผลใหประชาชนเกิดความรู ความเขาใจ สนใจนำความรูไปประกอบอาชีพเพื่อเพิ่มรายได รวมทั้งสนใจเลี้ยงปลาสวยงาม เพอื่ ความเพลิดเพลิน ประเทศไทยสงออกปลาสวยงามไปสูประเทศตาง ๆ มากกวา 50 ประเทศทั่วโลก ทั้งปริมาณและมูลคาการสงออกเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ปลาสวยงามน้ำจืดเขตรอนรอยละ 75 มาจากภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต ซ่ึงประเทศไทยมปี ริมาณการสง ออกอยูในอันดับตน ๆ ตลาดสงออกปลาสวยงามไปประเทศตาง ๆ มีการขยายตัวอยางตอเนื่อง เกษตรกร ผูเพาะเลี้ยงปลาสวยงามของไทยมีความสามารถสูงและมีการพัฒนารูปแบบการผลิต ใหไดมาตรฐานรวมทั้งสามารถพัฒนาสายพันธุใหม ๆ เพื่อผลิตสินคาใหตรงกับความตองการ ของตลาดเกษตรกรไทยมีการนำเขาปลาสวยงามจากตางประเทศหลายชนิดเพื่อจำหนาย ตลาดภายในประเทศ หรือผลิตแลวสงออกขายตลาดตางประเทศ เปนการเพิ่มความหลาก หลายใหแ กสินคาปลาสวยงามใหม มี ากขึ้น การนำเขาปลาสวยงามสว นใหญนำเขาจากประเทศ มาเลเซยี ญ่ีปุน อินโดนเี ซยี สิงคโปร และสาธารรฐั ประชาชนจีน เปนตน สำหรบั ตลาดสงออก ทส่ี ำคญั ของไทย สหรัฐอเมริกาเปนประเทศนำเขา ปลาสวยงามจากไทยมากทสี่ ุด ประเทศอนื่ ท่ี นำเขาปลาสวยงามจากประเทศไทยทส่ี ำคญั ไดแก ญปี่ ุน เยอรมนั นี ฮองกง ไตหวัน มาเลเซยี องั กฤษ สงิ คโปร รัสเซยี อิหรา น เปนตน ปลาสวยงามตางประเทศที่นำเขามาเลี้ยงในประเทศไทย มีจำนวนมากหลากหลาย สายพันธุ บางชนิดมีสีสันสวยงามและมีรูปรางแปลกตา สรางความแปลกใหมตื่นตาตื่นใจ แกผูที่ชื่นชอบการเลี้ยงปลาสวยงาม แตการนำเขาปลาสวยงามบางชนิดผูนำเขา ควรพิจารณาอยา งรอบคอบ เพอื่ ไมใ หเ กิดผลกระทบตอชนดิ พันธพุ ื้นเมืองของไทย ชนิดปลาสวยงามที่นำมานำเสนอตอไปนี้ เปนเพียงสวนหนึ่งของปลาสวยงาม ตางประเทศที่ไดรับความนิยมเลี้ยงกันในปจจุบัน มีอีกจำนวนมากที่นิยมเลี้ยงกันอยาง กวา งขวาง และจะนำมาเสนอในโอกาสตอ ไป 8 100 ชนดิ ปลาสวยงามตา งประเทศ

100 ชนดิ ปลาสวยงามตางประเทศ 100 ชนดิ ปลาสวยงามตางประเทศ 9

ชื่อไทย สากแดง ชอ่ื สามญั Red tail barracuda ชอ่ื วิทยาศาสตร Acestrorhynchus falcatus (Bloch, 1794) ชือ่ วงศ Acestrorhynchidae ถน่ิ กำเนิด ประเทศเปรู ลกั ษณะทว่ั ไป ลำตวั เพรยี ว พืน้ ลำตวั สีเทาอมเงิน มีลายกลางลำตวั สีคลำ้ โคนหางมีจุดมสี ีคล้ำ ครบี หางมีสแี ดง ขนาดโตเต็มทคี่ วามยาว การเลี้ยงในตูปลา ประมาณ 30 ซม. อปุ นสิ ยั ชอบอยูรวมกนั เปนฝงู เล็ก ๆ ควรเลย้ี งเปนฝงู ไมต ่ำกวา 3-4 ตวั ในตปู ลาที่ตกแตง ดว ยกอ นหินและพรรณไมน ำ้ 10 100 ชนิดปลาสวยงามตา งประเทศ

ชือ่ ไทย คองโก ชื่อสามัญ Congo tetra ชื่อวทิ ยาศาสตร Phenacogrammus interruptus (Boulenger, 1899) ช่อื วงศ Alestidae ถน่ิ กำเนิด ทวปี แอฟริกาตอนกลาง แมนำ้ คองโก ประเทศแซร ลักษณะท่วั ไป ลำตัวเพรียวยาวและแบนขาง เกล็ดมีขนาดใหญเปนมันแวววาว สีเหลือบคลายสีรุงแผนหลังมีสีเขียวอมน้ำตาล ปลายครีบหลังและ การเลี้ยงในตปู ลา ครีบหางมสี ขี าวคลา ยครบี ขาดแหวง ชว งก่งึ กลางหางมสี ดี ำ เลี้ยงเปนฝูงในตูพรรณไมน้ำ เลี้ยงรวมกับปลาชนิดอื่นไดหลายชนิด มกั เล้ยี งรวมกับปลาชนิดอ่นื ในกลุม tetra 100 ชนดิ ปลาสวยงามตางประเทศ 11

ชอ่ื ไทย มงั กรนอย ชือ่ สามัญ Golden wonder panchax ชื่อวทิ ยาศาสตร Aplocheilus lineatus Valenciennes, 1846 ช่อื วงศ Aplocheilidae ถ่นิ กำเนิด ประเทศอินเดยี ศรีลังกา ลักษณะทวั่ ไป เป็นกลุ่มปลาคิลลี่ (Killifish) ที่มีสีสันสวยงาม ลำตัวมีสีทอง และมสี แี ดงปนอยบู างบางสว น รูปรา งคลายใบหอก เพศผมู ีครีบท่ียาว การเลีย้ งในตูปลา และสสี ันสวยงามกวาเพศเมยี ในวัยออ นเพศเมยี และเพศผจู ะมแี ถบสดี ำ บรเิ วณขา งลำตัว อปุ นสิ ยั คอ นขางกา วราว เปน ปลาท่หี วงถ่ินทอ่ี ยู เลี้ยงในตูขนาดเล็กตกแตงดวยพรรณไมน้ำ ชอบอยูในน้ำที่เปน กรดออน ๆ 12 100 ชนิดปลาสวยงามตางประเทศ

ชอ่ื ไทย อพั ไซดดาวน ชือ่ สามัญ Upside down catfish ช่อื วทิ ยาศาสตร Mystus leucophasis (Blyth, 1860) ช่อื วงศ Bagridae ถิ่นกำเนิด ประเทศพมา ลักษณะทัว่ ไป ลำตัวมีสีมวงเขมหรือดำทั้งลำตัวและครีบ มีลักษณะการวายน้ำ ที่แปลกจากปลาทั่วไป โดยจะวายเอาทองหงายขึ้นขางบน เพราะเปน การเล้ียงในตปู ลา พฤติกรรมการดำรงชีพ คือมันจะใชครีบอกและทองแนบกับวัตถุที่ ลอยน้ำ ไลจบั สัตวทอ่ี าศยั อยกู ับวตั ถดุ ังกลาวเพ่ือกนิ เปน อาหาร เลี้ยงเปนฝูงในตูขนาดกลาง ตกแตงตูดวยกอนหินและขอนไม ขนาดใหญ 100 ชนดิ ปลาสวยงามตางประเทศ 13

ชอื่ ไทย แพะ ชอ่ื สามัญ Corydoras ชอ่ื วงศ Callichthyidae ถิ่นกำเนดิ ทวีปอเมริกาใต ประเทศเวเนซูเอลา ลักษณะทั่วไป เปนปลาขนาดเล็ก ความยาวโดยเฉลี่ย 3-5 ซม. จัดอยูในกลุมของ ปลาหนัง (catfish) หรือปลาไมม ีเกล็ดขนาดเล็ก แตมนั ก็สามารถพฒั นา การเล้ียงในตปู ลา ผิวหนังไรเกล็ดของมันใหแข็งเหมือนเกราะเพื่อปกปองอันตราย จากศัตรู รปู รางคอ นขางปอม ลำตวั กลม สวนหวั คอ นขางโตกวาลำตวั มีหนวดสั้นๆ ที่ปากยื่นออกมาสำหรับคลำหาอาหาร หนวดที่วานี้ ดูผวิ เผินคลายเคราของแพะ จึงมีช่ือเรยี กวา “ปลาแพะ” อุปนิสัยชอบหากินอยูบริเวณพื้นทองน้ำ เมื่อเลี้ยงไวในตูจึงสามารถ ชวยทำความสะอาดพื้นตูโดยเก็บกินเศษอาหารที่เหลือและเศษซาก พรรณไมน้ำ นอกจากนี้ยังสามารถหายใจโดยการขึ้นมาฮุบอากาศ บริเวณผิวนำ้ ได สายพนั ธทุ น่ี ิยมนำมาเลย้ี งมีหลายสายพนั ธุ มีลวดลาย และสีสันตางกันออกไป การเรียกชื่อทางการคามักเรียกตามชื่อชนิด (Species) หรอื เรียกตามลักษณะของครบี และสี เชน ชอื่ สามญั / ชื่อการคา Gold stripe cory ชอ่ื วิทยาศาสตร Corydoras aeneus var. 14 100 ชนดิ ปลาสวยงามตา งประเทศ

ชอ่ื สามัญ / ชือ่ การคา Long-finhed albino cory ช่ือวิทยาศาสตร Corydoras aeneus var. ชื่อสามัญ / ช่ือการคา Adolfo’s cory ชื่อวทิ ยาศาสตร Corydoras adolfoi Burgess, 1982 100 ชนดิ ปลาสวยงามตา งประเทศ 15

ชื่อสามัญ / ชอ่ื การคา Oiapoquensis cory ชื่อวทิ ยาศาสตร Corydoras oiapoquensis Nijssen, 1972 ชอ่ื สามญั / ช่ือการคา Sterbai cory ช่ือวทิ ยาศาสตร Corydoras sterbai Knaack, 1962 16 100 ชนิดปลาสวยงามตา งประเทศ

ช่ือไทย ชอนเจ็ดสเี รนโบว ชื่อสามญั Rainbow Snakehead ช่ือวิทยาศาสตร Channa bleheri Vierke, 1991 ชือ่ วงศ Channidae ถ่ินกำเนดิ รัฐอสั สัม ประเทศอินเดีย ลกั ษณะทวั่ ไป เปนปลาชอนขนาดเล็กที่มีสีสันลวดลายสวยงามสะดุดตา รูปราง ทเ่ี รยี วยาว สวนหัวเรยี วแหลม ขนาดลำตัวไมใหญม าก พื้นลำตวั สขี าว การเลี้ยงในตูป ลา มีจุดประสีแดงและฟาตลอดลำตัวรวมไปถึงครีบหาง ครีบหลัง มขี อบครีบสแี ดง ขนาดโตเต็มทคี่ วามยาวประมาณ 15 ซม. เลี้ยงในตูที่ตกแตงดวยกอนหินและขอนไม ใหมีโพรงสำหรับหลบซอน การเลีย้ งรวมกนั หลาย ๆ ตวั จะชวยทำใหปลาเช่อื ง และปรับตวั ไดงา ย ปดฝาใหมิดชิดปองกันการกระโดด กินอาหารไดหลากหลาย เชน อาหารเม็ด หนอนแดง ไสเดือนน้ำ กุง ลูกปลาเล็ก ๆ เปนตน สิ่งสำคัญในการเลี้ยงคือ ไมควรเปลี่ยนน้ำครั้งละมาก ๆ ตูปลาควรมี ระบบกรองที่ดี ถาใชน้ำเกาที่หมักขอนไมไวใหเปนสีชาออน จะทำให ปลาขบั สไี ดส วย 100 ชนดิ ปลาสวยงามตา งประเทศ 17

ช่อื ไทย ชอนจดุ อนิ โดนเี ซยี ชื่อสามัญ Ocellated snakehead ชื่อวิทยาศาสตร Channa pleurophthalmus (Bleeker, 1851) ชื่อวงศ Channidae ลักษณะทวั่ ไป รูปรา งที่เรียวยาว สวนหวั เรยี วแหลม ขนาดลำตวั ไมใหญมาก โตเตม็ ที่ มีความยาว 40-50 ซม. ลักษณะเดนคือ มีจุดคลายดวงตาขนาดใหญ ถ่นิ กำเนิด เรียงกันบริเวณขางลำตัว เปนจุดสีดำลอมรอบดวยวงแหวนสีสมหรือ สีแดงสดใส จุดแรกจะอยูบนแกมหรือกระดูกปดเหงือกและจุดสุดทาย การเลยี้ งในตูปลา จะอยูบริเวณคอดหาง สวนจุดบริเวณลำตัวจะพบ 1-7 จุด ลำตัว สองขา งอาจมีจุดจำนวนไมเ ทา กัน ประเทศอินโดนีเซีย ทางตะวันออกเฉียงใตของเกาะ Sumatra ในรฐั Padang แมน้ำ Hari และ Musi basins และ ทางใตของเกาะ และยังพบในแถบตะวันตกเฉียงใตของเกาะ Borneo และ Barito basins ในรฐั Kalimantan เลี้ยงในตูท่ตี กแตงดวยกอ นหิน ขอนไม และพรรณไมน ำ้ เลีย้ งรวมกนั เปน ฝงู เล็ก ๆ 18 100 ชนดิ ปลาสวยงามตา งประเทศ

ชื่อไทย แบล็คเตตรา / แบล็คกามัวร ชื่อสามญั Black tetra, Blackamoor, Petticoat sh ช่ือวิทยาศาสตร Gymnocorymbus ternetzi (Boulenger, 1895) ชื่อวงศ Characidae ถ่ินกำเนิด ทวีปอเมริกาใตและอเมริกากลาง ลักษณะทั่วไป ลำตัวแบนขางมาก ครีบและหางมีลักษณะยาว พื้นลำตัวมีสีเงิน มีแถบสีดำ 2 แถบ อยูที่ลำตัวใกลกับสวนหัว ครีบหลังและครีบกน การเลย้ี งในตปู ลา มีสดี ำ เกลด็ มขี นาดเล็ก เปน ปลาทม่ี คี วามปราดเปรยี ว เลย้ี งเปน ฝงู ในตทู ต่ี กแตง ดว ยพรรณไมน ำ้ 100 ชนิดปลาสวยงามตางประเทศ 19

ชือ่ ไทย โกลวไ ลท เตตรา ช่ือสามัญ Glowlight tetra ช่ือวิทยาศาสตร Hemigrammus erythrozonus Durbin, 1909 ชอื่ วงศ Characidae ถิน่ กำเนิด ทวีปอเมริกาใต แมน ำ้ Essequibo ประเทศกายอานา ลักษณะทัว่ ไป เปนปลาขนาดเลก็ ขนาดเฉล่ยี 4-5 ซม. ลำตัวมีสีเงนิ มีแถบสสี มแดง พาดยาวบริเวณขางลำตัว ตั้งแตปลายปากจรดโคนหางรวมทั้งบริเวณ การเล้ียงในตปู ลา สวนหนาของครีบหลังเปนสีเดียวกันเหมือนเปนริ้วๆ ครีบอื่นมีสีเงิน โปรงใส เปนปลาที่มีความปราดเปรียว นิยมนำมาเลี้ยงเปนฝูงในตูพรรณไมน้ำ โดยเล้ยี งรวมกับปลาชนิดอน่ื ในกลุม tetra อุปนิสยั รักสงบ ไมกา วราว 20 100 ชนิดปลาสวยงามตางประเทศ

ชอ่ื ไทย รมั ม่โี นส ชื่อสามญั Banded rummy nose, Rummy-nose tetra ช่อื วทิ ยาศาสตร Hemigrammus rhodostomus Ahl, 1924 ชื่อวงศ Characidae ถิ่นกำเนิด แถบทวีปอเมรกิ าใต พบไดใ นประเทศบราซิล โคลมั เบยี และเปรู ลักษณะทวั่ ไป เปนปลาขนาดเล็ก มีลักษณะและสีสันเดนสะดุดตา รูปรางเพรียว ลำตัวสีเหลืองออน มีสีแดงเขมที่บริเวณแผนปดเหงือกและจะงอยปาก การเล้ยี งในตูป ลา ครีบหางมีลายแถบสลับสีดำสลับขาว สวนของโคนหางมีแตมสีดำ รูปสี่เหลี่ยม ในธรรมชาติปลาชนิดนี้ชอบอยูรวมกันเปนฝูง คุณสมบัติ ของนำ้ เปน กรดเลก็ นอ ย และขยายพันธุคอ นขา งยาก เปนปลาที่มีความปราดเปรียว นิยมนำมาเลี้ยงเปนฝูงในตูพรรณไมน้ำ โดยเล้ียงรวมกบั ปลาชนิดอืน่ ในกลมุ tetra 100 ชนิดปลาสวยงามตา งประเทศ 21

ชอ่ื ไทย บวั โนส ไอเรส ช่ือสามัญ Buenos Aires tetra ชอ่ื วิทยาศาสตร Hyphessobrycon anisitsi (Eigenmann, 1907) ช่ือวงศ Characidae ถ่ินกำเนดิ ประเทศบราซิลและปารากวัย ลักษณะทว่ั ไป ลำตัวมีสีเหมือนโลหะ (metallic) ปลายครีบทุกครีบมีสีแดงและมีลาย แตม สดี ำบริเวณครีบหลงั มขี นาดประมาณ 5-6 ซม. มนี ิสัยรกั สงบ การเล้ยี งในตูปลา นยิ มนำมาเลี้ยงเปน ฝงู ในตูพรรณไมน้ำ เลี้ยงรวมกบั ปลาชนดิ อ่ืนได 22 100 ชนดิ ปลาสวยงามตา งประเทศ

ชอ่ื ไทย เซอรเ ป / เซเป ชือ่ สามญั Serpa tetra ชอ่ื วิทยาศาสตร Hyphessobrycon eques (Steindachner, 1882) ชอ่ื วงศ Characidae ถิน่ กำเนดิ ลมุ น้ำอะเมซอนในทวีปอเมริกาใต ลักษณะทั่วไป ลำตัวมีลักษณะลึกและแบนขาง พื้นลำตัวมีสีน้ำตาลอมแดง ครีบหลัง และครบี ทองมีสีดำ ปลายครีบสขี าว ลำตัวมจี ดุ สดี ำประแตม อยขู างละ การเล้ยี งในตูปลา 1 จดุ เกลด็ มขี นาดเลก็ เปน ปลาทม่ี คี วามปราดเปรยี ววองไว นยิ มนำมาเลย้ี งเปน ฝงู ในตูพรรณไมน ้ำ เล้ียงรวมกบั ปลาชนดิ อ่นื ได 100 ชนดิ ปลาสวยงามตางประเทศ 23

ชือ่ ไทย นอี อนดำ ชื่อสามัญ Black neon tetra ชอ่ื วิทยาศาสตร Hyphessobrycon herbertaxelrodi Géry, 1961 ชอ่ื วงศ Characidae ถิ่นกำเนิด ประเทศบราซลิ ลักษณะทว่ั ไป ลำตัวเพรียวยาวแบนขาง พื้นลำตัวสีน้ำตาล บริเวณขางลำตัวมีแถบ สีขาวเรืองแสงและแถบสีดำพาดตามความยาวของลำตัว ขอบตา การเลี้ยงในตปู ลา ดา นบนมีสแี ดง ครบี ใส นิยมนำมาเลี้ยงเปนฝูงในตูพรรณไมน้ำ โดยเลี้ยงรวมกับปลาชนิดอื่น ในกลุม tetra 24 100 ชนดิ ปลาสวยงามตางประเทศ

ช่อื ไทย เรด แฟนทอม เตตรา ชื่อสามญั Red phantom tetra ชือ่ วทิ ยาศาสตร Hyphessobrycon sweglesi (Géry, 1961) ชื่อวงศ Characidae ถิ่นกำเนิด ทวีปอเมริกาใต ลักษณะทัว่ ไป ในธรรมชาติอาศัยอยูในน้ำที่คอนขางเปนกรด ชอบอยูรวมกันเปนฝูง ลำตัวของเพศผูจะเพรียวบางกวาเพศเมีย เพศผูจะมีครีบหลังที่ การเล้ียงในตูปลา ยาวกวาและโดยสวนมากจะมีสีแดง เพศเมียจะมีจุดสีดำและ มีสขี าวที่ปลายครีบหลัง นิสยั รกั สงบ ขนาดเฉลี่ย 3-4 ซม. เลย้ี งเปน ฝงู เลก็ ๆ จำนวน 6-8 ตวั ในตพู รรณไมน ำ้ 100 ชนิดปลาสวยงามตา งประเทศ 25

ชอ่ื ไทย มองนฮ อเซยี ชือ่ สามัญ Red eye moenkhausia, Yellow-banded moenkhausia ช่อื วทิ ยาศาสตร Moenkhausia sanctaelomenae (Steindachner, 1907) ชอื่ วงศ Characidae ถิ่นกำเนิด ทวปี อเมรกิ าใต ลักษณะท่ัวไป ลำตัวเพรียวยาวและแบนขาง พื้นลำตัวสีเงิน แผนหลังมีสีเขียว อมน้ำตาล เกล็ดมีขนาดเล็กเปนมันแวววาว บริเวณโคนครีบหาง การเลีย้ งในตูป ลา มีแถบสดี ำสลับขาวเหน็ ไดเดนชดั ขอบตาดา นบนมีสีแดงสดใส อุปนิสัยชอบอยูรวมกันเปนฝูง รักสงบ เลี้ยงรวมกับปลาชนิดอื่นไดดี แตต ืน่ ตกใจงา ยจงึ ควรจดั ใหมพี รรณไมนำ้ ในตูเ พ่ือเปนทห่ี ลบซอน 26 100 ชนิดปลาสวยงามตา งประเทศ

ชอ่ื ไทย เอ็มเพอเรอ เตตรา ชอ่ื สามญั Emperor tetra ช่อื วทิ ยาศาสตร Nematobrycon palmeri Eigenmann, 1911 ช่ือวงศ Characidae ถน่ิ กำเนิด ประเทศโคลัมเบีย ลักษณะทั่วไป ลำตัวเพรียวยาวแบนขางเล็กนอย พื้นลำตัวสีน้ำตาลอมเหลือง บริเวณขางลำตัวมีแถบสีดำพาดตามความยาวของลำตัวตั้งแต การเล้ียงในตปู ลา ปลายปากจรดปลายหาง เพศผูมีสีสันสดใส ขนาดโตเต็มที่ความยาว ประมาณ 6 ซม. เพศเมียจะมขี นาดเลก็ กวาเล็กนอ ย อุปนิสัยชอบอยูรวมกันเปนฝูง รักสงบ เลี้ยงเปนฝูงเล็ก ๆ ในตู พรรณไมน ำ้ 100 ชนิดปลาสวยงามตางประเทศ 27

ช่อื ไทย คารด ินลั ชือ่ สามัญ Cardinal tetra ช่อื วทิ ยาศาสตร Paracheirodon axelrodi (Schultz, 1956) ชอื่ วงศ Characidae ถน่ิ กำเนดิ ประเทศบราซลิ ถงึ โคลัมเบยี และเวเนซเู อลา ลักษณะท่วั ไป ลำตัวเพรียวยาวแบนขาง มีแถบสีแดงใตทองพาดยาวจากหลังแผน ปดเหงือกจนจรดโคนหาง ธรรมชาติอาศัยอยูในน้ำที่คอนขางเปน การเลีย้ งในตปู ลา กรดคอื pH 4.6 - 6.2 อุปนิสัยชอบอยูรวมกันเปนฝูง รักสงบ เลี้ยงเปนฝูงเล็ก ๆ ในตู พรรณไมนำ้ เล้ยี งรวมกับปลาอ่นื ได 28 100 ชนิดปลาสวยงามตางประเทศ

ชอ่ื ไทย เพนกวนิ ชอ่ื สามญั Boehlke’s penguin, Blackline penguinsh ช่อื วิทยาศาสตร Thayeria boehlkei Weitzman, 1957 ช่อื วงศ Characidae ถนิ่ กำเนดิ บริเวณลมุ เเมนำ้ อะเมซอนในประเทศบราซิล ทวปี อเมรกิ าใต ลักษณะทั่วไป ลักษณะเดนคือ มีแถบสีดำและสีเหลืองทองพาดตามควายาวของ ลำตัวจรดปลายแพนครีบหางดานลางทำใหดูแปลกตา เปนปลา การเลย้ี งในตปู ลา ขนาดเล็กชอบอยูรวมกันเปนฝูง โดยวายน้ำลอยตัวเชิดหัวขึ้นไป ทางเดียวกัน อปุ นสิ ยั ชอบอยรู วมกนั เปน ฝงู รกั สงบ เลย้ี งเปน ฝงู เลก็ ๆ ในตพู รรณไมน ำ้ เลีย้ งรวมกับปลาอนื่ ได 100 ชนิดปลาสวยงามตา งประเทศ 29

ชอ่ื ไทย หมอหอยแคลวสู ชือ่ สามญั Shell dwelling cichlids ช่ือวทิ ยาศาสตร Altolamprologus calvus (Poll, 1978) ชอ่ื วงศ Cichlidae ถิน่ กำเนิด ทะเลสาบแทนแกนยิกา ทวีปแอฟรกิ าใต ลกั ษณะท่ัวไป เปนปลาขนาดเล็ก และมีรูปรางเพรียว แบนขาง ลำตัวพื้นดำจุดขาว และมีแถบสีดำพาดขวางลำตัวตั้งแตนัยนตาเรียงไปตามลำตัว การเล้ียงในตูป ลา บรเิ วณนยั นตามีแถบสดี ำขางละหน่ึงแถบ อุปนิสัยชอบจับคูอยูในเปลือกหอยขนาดใหญ เลี้ยงในตูที่ปูพื้นดวย กรวดเล็กละเอียด วางเปลือกหอยขนาดใหญไวตามพื้น โดยให จำนวนเปลือกหอยสัมพันธกับจำนวนปลาที่เปนคู ๆ ปลาแตละคู จะวายวนเวียนอยูใกลๆ หอยหรือบานของตนเอง คอยเฝาระวัง ไมใ หค อู ่ืนมาใกลๆ 30 100 ชนดิ ปลาสวยงามตางประเทศ

ชอ่ื ไทย หมอหอยคอมเพรสสิเซพ ชอ่ื สามญั Shell dwelling cichlids ช่ือวทิ ยาศาสตร Altolamprologus compressiceps Boulenger, 1898 ช่อื วงศ Cichlidae ถิ่นกำเนิด ทะเลสาบแทนแกนยิกา ทวีปแอฟรกิ าใต ลกั ษณะท่วั ไป เปนปลาขนาดเลก็ และมรี ปู รางเพรยี ว แบนขา ง รมิ ฝป ากหนาเอียงขนึ้ ดานบน พื้นลำตัวสีน้ำตาล มีแถบสีดำพาดขวางลำตัวมีจุดประสีขาว การเลยี้ งในตูปลา ตามลำตวั ครีบหางปลายตัด อุปนิสัยชอบจับคูอยูและอาศัยในเปลือกหอยขนาดใหญ เชนเดียวกับ ปลาหมอหอยทัว่ ไป 100 ชนิดปลาสวยงามตา งประเทศ 31

ชอ่ื ไทย หมอหอยเมลากรีส ชือ่ สามญั Shell dwelling cichlids ช่อื วทิ ยาศาสตร Lamprologus meleagris (BÜscher, 1991) ช่ือวงศ Cichlidae ถนิ่ กำเนิด ทะเลสาบแทนแกนยิกา ทวปี แอฟรกิ าใต ลกั ษณะท่วั ไป ลำตัวยาว หัวโต ริมฝปากหนา พื้นลำตัวสีน้ำตาลออน ครีบหลังยาว ขอบครีบมีสีเหลือง มีจุดดำใหญกลางลำตัว และบริเวณใกลๆ การเล้ยี งในตปู ลา โคนครีบหาง และมีจุดอยูครีบหลัง เพศผูมีขนาดประมาณ 4 ซม. เพศเมยี 4 ซม. อุปนิสัยชอบจับคูอยูและอาศัยในเปลือกหอยขนาดใหญ เชนเดียวกับ ปลาหมอหอยท่วั ไป 32 100 ชนดิ ปลาสวยงามตางประเทศ

ชอ่ื ไทย หมอหอยคูโดพงั เตตสั ชื่อสามัญ Shell dwelling cichlids, Kapampa ชอื่ วทิ ยาศาสตร Neolamprologus caudopunctatus (Poll, 1978) ช่ือวงศ Cichlidae ถิ่นกำเนิด ทวปี แอฟริกา ลักษณะท่ัวไป ลำตัวยาว เกล็ดมีขอบเปนจักร เกล็ดบริเวณตนคอและสวนหนา ของสันหลังมีขนาดเล็กกวาบริเวณอื่นอยางเดนชัด มีเสนขางตัว การเล้ียงในตูป ลา ทไี่ มส มบรู ณ 2 เสน ฟน มหี ลายรปู แบบ เปนแบบเขยี้ วแหลม แบบเปน ซี่เล็กละเอียดเรียงติดกันเปนแถว ปลายกระดูกขากรรไกรบนทั้งสอง ขางแบนและมีขนาดใหญกวาสวนอื่นๆ ครีบหลังมีกานครีบเดี่ยว 16-21 กา น และครบี กน มีกานเดีย่ ว 4-10 กา น อุปนิสัยชอบจับคูและอาศัยอยูในเปลือกหอยขนาดใหญ เชนเดียวกับ ปลาหมอหอยทัว่ ไป 100 ชนิดปลาสวยงามตา งประเทศ 33

ช่ือไทย หมอหอยสมิ ลิ ิส ชอ่ื สามัญ Breitstreifen-Tanganjikasee-Buntbarsch, Valekotiloahven ช่ือวทิ ยาศาสตร Neolamprologus similis BÜscher, 1992 ชอ่ื วงศ Cichlidae ถิน่ กำเนดิ ทวปี แอฟรกิ า ลักษณะทั่วไป ลำตัวยาว เกล็ดมีขอบเปนจักร เกล็ดบริเวณตนคอและสวนหนาของ สนั หลังมขี นาดเลก็ กวาบรเิ วณอน่ื อยางเดน ชดั ฟนเปนแบบเขย้ี วแหลม การเลี้ยงในตูปลา และแบบเปนซี่เล็กละเอียดเรียงติดกันเปนแถว ปลายกระดูก ขากรรไกรบนทง้ั สองขางแบนและมีขนาดใหญก วา สว นอน่ื ๆ ครบี หลัง มีกา นครบี เดีย่ ว 16-21 กา น และครีบกน มีกา นเด่ยี ว 4-10 กาน อุปนิสัยชอบจับคูอยูและอาศัยในเปลือกหอยขนาดใหญ เชนเดียวกับ ปลาหมอหอยท่วั ไป 34 100 ชนิดปลาสวยงามตา งประเทศ

ชอ่ื ไทย หมอแคระเวียจติ า ชอ่ื สามญั Veijita dwarf cichlid ชื่อวทิ ยาศาสตร Apistogramma viejita Kullander, 1979 ช่อื วงศ Cichlidae ถนิ่ กำเนดิ ทวีปอเมริกาใต ประเทศโคลัมเบีย ลกั ษณะท่ัวไป ลำตัวยาว แบนขางเล็กนอย ลำตัวสีเหลืองมีแถบยาวสีดำตั้งแต ปลายปากจรดโคนหาง สวนหัวมีแถบสีสมกระจายทั่ว ครีบหลัง การเลี้ยงในตปู ลา ครีบทอ งและครบี กน ปลายครีบเปนกระโดงยาว ครบี หางขอบครีบบน และขอบครีบลาง สวนปลายยื่นยาวออกมามีขนาดลำตัวยาวประมาณ 3-4.6 ซม. มีนิสัยรักสงบ สามารถเลี้ยงรวมระหวางเพศผู 1 ตัว และเพศเมีย หลาย ๆ ตัว ตูเ ลี้ยงควรประกอบดวยกอ นหนิ ขอนไม และพรรณไมน ้ำ เพื่อเปนที่กำบัง และควรจะมืด มีแสงสลัว เพื่อที่จะชวยขับสีของปลา ใหเ ดน ชัดสวยงาม 100 ชนิดปลาสวยงามตา งประเทศ 35

ชอ่ื ไทย หมอแคระไตรฟาส ชือ่ สามัญ Trifasiata dwarf cichlid ชอื่ วทิ ยาศาสตร Apistogramma trifasiata Eigenmann & Kennedy, 1903 ช่อื วงศ Cichlidae ถน่ิ กำเนิด ทวีปอเมริกาใต ประเทศโคลมั เบีย ลักษณะทว่ั ไป ลำตัวยาว แบนขางเล็กนอย ลำตัวสีขาวมีแถบสีดำขนาดใหญ พาดยาวตามลำตัว ตั้งแตหลังตาจรดโคนครีบหาง และมีแถบสีดำ การเล้ียงในตปู ลา บริเวณโคนครีบหางดานหลังและสวนทอง ครีบหลัง ครีบทอง และครีบกน สวนปลายเปนกระโดงยาว ครีบหางใหญปลายมน มขี นาดลำตัวยาวประมาณ 3-4.6 ซม. มีนิสัยรักสงบ สามารถเลี้ยงรวมระหวางเพศผู 1 ตัว และเพศเมีย หลาย ๆ ตัว ตเู ลยี้ งควรประกอบดวยกอ นหิน ขอนไม และพรรณไมนำ้ เพื่อเปนที่กำบัง และควรจะมืด มีแสงสลัว เพื่อที่จะชวยขับสีของปลา ใหเดนชดั สวยงาม 36 100 ชนิดปลาสวยงามตา งประเทศ

ชอ่ื ไทย หมอแรม 7 สี ชือ่ สามญั Ramirez’s dwarf cichlid, Buttery dwarf cichlid, Ram cichlid ชอื่ วิทยาศาสตร Mikrogeophagus ramirezi (Myers & Harry, 1948) ชื่อวงศ Cichlidae ถ่นิ กำเนิด ทวีปอเมริกาใต แถบประเทศโคลมั เบยี และเวเนซเู อลา ลกั ษณะทวั่ ไป รูปรางแบนขาง ลำตัวกวาง สวนหัวคอนขางใหญเมื่อเทียบสัดสวน กับลำตัว ครีบหางสั้นเปนรูปสามเหลี่ยม ครีบหลังเชื่อมยาวตอกัน การเลย้ี งในตูปลา ตั้งสูงชันคลายกำแพง กานครีบแข็ง 3-4 กานแรกของครีบหลังมีสีดำ ตั้งสูงชันขึ้นมา ขอบตามีสีแดง มีเสนดำพาดตาจากบนหัวลงมา เกือบถึงใตคอ มีจุดดำขนาดคอนขางใหญอยูบริเวณปลายตัวเห็น เดนชัด สีสันของปลาชนิดนี้สดใส เหลือบพราย มีจุดเขียวอมฟา สะทอนแสงเคลือบบนเกล็ดเต็มลำตัว ยกเวนสวนทองที่จะมี สีออกเหลือง เพศผูมคี วามยาวของครบี ตา ง ๆ และขนาดลำตวั ยาวกวา และใหญกวาเพศเมียอยางเห็นไดชัด ปลาเพศผูเมื่อโตเต็มที่จะมี ความยาวประมาณ 7 ซม. เพศเมยี ความยาวประมาณ 4-5 ซม. เลี้ยงเปนฝูงในตูขนาดเล็กที่ตกแตงดวยกอนหิน ขอนไม และ พรรณไมน ้ำ 100 ชนดิ ปลาสวยงามตา งประเทศ 37

ชอ่ื ไทย หมอแรมทอง ชอ่ื สามญั Golden Ram cichlid ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Mikrogeophagus ramirezi var. ชื่อวงศ Cichlidae ถ่ินกำเนดิ ทวปี อเมรกิ าใตแถบประเทศโคลมั เบีย และเวเนซูเอลา ลักษณะทว่ั ไป รูปรางเหมือนแรม 7 สี พื้นลำตัวสีเหลืองทอง มีจุดประสีขาวหรือ ฟาออนตั้งแตชวงกลางลำตัวไปจนถึงครีบหาง ครีบทองสีแดง การเล้ียงในตปู ลา ขอบครีบสฟี า เลี้ยงเปนฝูงในตูขนาดเล็กที่ตกแตงดวยกอนหิน ขอนไม และ พรรณไมน ำ้ 38 100 ชนดิ ปลาสวยงามตางประเทศ

ช่อื ไทย หมอแรมเยอรมนั / บลนู อี อนแรม ช่ือสามัญ Blue neon ram, German ram cichlid ชอื่ วิทยาศาสตร Mikrogeophagus ramirezi var. ชอ่ื วงศ Cichlidae ถนิ่ กำเนิด ทวปี อเมริกาใตแถบประเทศโคลมั เบีย และเวเนซูเอลา ลักษณะทัว่ ไป รูปรางแบนขา ง ลำตวั ยาวกวา แรม 7 สี สว นหวั คอ นขา งใหญเมอื่ เทยี บ สัดสวนกับลำตัว ครีบหางสั้นเปนรูปสามเหลี่ยมเวาตื้น ครีบหลัง การเลยี้ งในตปู ลา เช่ือมยาวตอ กนั ตั้งสงู ชนั คลา ยกำแพง ขอบตามสี ีแดงพืน้ ลำตัวสฟี า เลี้ยงเปนฝูงในตูขนาดเล็กที่ตกแตงดวยกอนหิน ขอนไม และ พรรณไมน ้ำ 100 ชนดิ ปลาสวยงามตางประเทศ 39

ชอ่ื ไทย ออสการ ชื่อสามญั Oscar ชื่อวทิ ยาศาสตร Astronotus ocellatus (Agassiz, 1831) ช่ือวงศ Cichlidae ถ่ินกำเนิด ลุมแมน้ำโอริโนโก แมน้ำอะเมซอน และแมน้ำ La Plata ในทวีป ลกั ษณะทว่ั ไป อเมริกาใต ลำตัวแบนขาง มีลายสีแถบแดงที่ดานขางลำตัว สีของปลาขนาดเล็ก การเลย้ี งในตปู ลา พบวามีสีแดงสลับกับสีดำ เมื่อโตขึ้นสีจะเปลี่ยนไปเปนสีเทาและ สีสมแดง สวนครีบมีสีดำหรือทองมีรูปรางแบน ปากใหญ ปากลาง ยาวกวาปากบน ปากเชิดขึ้น เจริญเติบโตเร็ว ตัวโตเต็มวัยมีขนาด ความยาว 12-14 นิว้ ถาเลี้ยงดูอยา งดสี ามารถมีชวี ติ อยูไ ดถงึ 10 ป นิสัยคอนขางกาวราว เลี้ยงเปนฝูงในตูที่ตกแตงดวยกอนหิน และ ขอนไม 40 100 ชนิดปลาสวยงามตางประเทศ

ชื่อไทย ออสการเผอื ก ชือ่ สามัญ Albino oscar ชอ่ื วิทยาศาสตร Astronotus ocellatus (Agassiz, 1831) ชอ่ื วงศ Cichlidae ถ่ินกำเนดิ ลุมแมน้ำโอริโนโก แมน้ำอะเมซอน และแมน้ำ La Plata ในทวีป อเมริกาใต ลกั ษณะทัว่ ไป ลำตัวแบนขาง พื้นลำตัวมีสีขาวเงิน มีจุดสีแดงที่ดานขางลำตัว นัยนตาสีแดง ปากใหญ เจริญเติบโตเร็ว ตัวโตเต็มวัยมีขนาด การเล้ียงในตูปลา ความยาว 12-14 นวิ้ นิสัยคอนขางกาวราว เลี้ยงเปนฝูงในตูที่ตกแตงดวยกอนหิน และ ขอนไม 100 ชนิดปลาสวยงามตา งประเทศ 41

ชอ่ื ไทย ออสการล ายเสอื ชอื่ สามญั Tiger oscar ชื่อวิทยาศาสตร Astronotus ocellatus var. ช่อื วงศ Cichlidae ถนิ่ กำเนิด ลุมแมน้ำโอริโนโก แมน้ำอะเมซอน และแมน้ำ La Plata ในทวีป อเมรกิ าใต ลักษณะท่ัวไป ลำตัวแบนขาง พื้นลำตัวมีสีคล้ำ สวนหัวและหลังสีเขียวอมน้ำตาล มีลายเสนสีแดงคลายลายเสือ มีจุดดำขอบสีแดงขนาดใหญอยูบริเวณ การเลีย้ งในตูปลา โคนครบี หาง ปากใหญ ปากลา งยาวกวา ปากบน นิสัยคอนขางกาวราว เลี้ยงเปนฝูงในตูที่ตกแตงดวยกอนหิน และ ขอนไม 42 100 ชนดิ ปลาสวยงามตา งประเทศ

ชอ่ื ไทย ออสการล ายเสือเผอื ก ชอ่ื สามญั Albino tiger oscar ชื่อวทิ ยาศาสตร Astronotus ocellatus var. ชอื่ วงศ Cichlidae ถ่ินกำเนดิ ลุมแมน้ำโอริโนโก แมน้ำอะเมซอน และแมน้ำ La Plata ในทวีป อเมริกาใต ลักษณะท่ัวไป รูปรางเหมือนออสการลายเสือ พื้นลำตัวมีสีอมสมมีลายเสนสีแดง ทัว่ ลำตวั และครบี ปากใหญ ปากลา งยาวกวา ปากบน การเล้ียงในตูปลา นิสัยคอนขางกาวราว เลี้ยงเปนฝูงในตูที่ตกแตงดวยกอนหิน และ ขอนไม 100 ชนดิ ปลาสวยงามตา งประเทศ 43

ชอ่ื ไทย หมอมาลาวีเหลอื ง ชอ่ื สามญั Yellow peacock ชอ่ื วทิ ยาศาสตร Aulonocara baenschi Meyer & Riehl, 1985 ช่ือวงศ Cichlidae ถน่ิ กำเนิด ทะเลสาบมาลาวี ทวปี แอฟริกาใต ลกั ษณะท่ัวไป ลำตัวยาวเรียว หัวมีขนาดปานกลางไดสัดสวนกับลำตัว ตาโตและโปน ชวงตาหางปากเฉียงขึ้นเล็กนอย คอดหางยาวเรียว ครีบหลัง การเลี้ยงในตปู ลา มีปลายเรียวยาว สวนปลายสุดของครีบหลังยาวเกือบจรดปลายหาง ครีบหางเวา ครีบกนมีขนาดคอนขางใหญ ครีบทองใหญกวาครีบอก และปลายครีบทองยาวเลยจุดเริ่มของครีบหาง ลักษณะเดนของ มาลาวีเหลืองคือพื้นลำตัวมีสีเหลืองและแถบสีน้ำเงินขวางลำตัว 5-7 แถบ แกมสีน้ำเงิน กระโดงสีเหลือง ขนาดความยาวเฉลี่ย 10-12 ซม. เลี้ยงเปนฝูงรวมกับปลาหมอสีจากทะเลสาบมาลาวีชนิดอื่น ๆ ในตูที่ปูพื้นดวยกรวดเล็กละเอียด ตกแตงดวยกอนหินหลายขนาด เพื่อเปนที่หลบซอน อุปนิสัยชอบขุดทรายขึ้นมา และหวงที่อยูอาศัย หากปลอยปลาเพิ่มในตู จะไลปลาตัวใหมเพราะหวงที่ ตองนำปลาเกา ข้นึ มาแลว จัดตูใหม จากน้ันจงึ ปลอยปลาเกาและปลาใหมล งพรอ มกนั 44 100 ชนดิ ปลาสวยงามตางประเทศ

ชอ่ื ไทย หมอมาลาวหี าสี ชือ่ สามญั OB Peacock ชือ่ วิทยาศาสตร Aulonocara sp. ชอ่ื วงศ Cichlidae ถน่ิ กำเนดิ ทะเลสาบมาลาวี ทวีปแอฟรกิ าใต ลักษณะทั่วไป เปนปลาลูกผสมที่เกิดจากนักเลี้ยงปลาในประเทศไทย รูปรางคลายกับ มาลาวีน้ำเงินแตมีหัวโตกวา จะงอยปากทู นัยนตาโต คอดหางสั้น การเลี้ยงในตปู ลา ครีบหลังมีสวนปลายยาวเกือบถึงปลายครีบหาง ครีบอกมีขนาดเล็ก กวาครีบอื่น ครีบทองมีขนาดใหญและมีสวนปลายยาวเลยจุดเริ่มตน ของครีบกน มีจุดสีสมอยูที่บริเวณหัวและตามครีบเกือบทุกครีบ ลำตัวมีพื้นสีขาว มีจุดปะสีสมที่สวนบนของครีบหลังและตนคอ มีลายสีน้ำเงินกระจายอยูทั่ว ครีบหลังสีขาวและเหลือง ครีบทองสีสม และมีกานครีบสีน้ำเงิน ขอบครีบทองมีสีขาว ครีบหางมีสีขาว แซมแถบสนี ้ำเงิน ครีบอกขาว ขนาดความยาวเฉลีย่ 10-12 ซม. เลี้ยงเปนฝงู รว มกบั ปลาหมอสีจากทะเลสาบมาลาวชี นิดอืน่ ๆ 100 ชนดิ ปลาสวยงามตา งประเทศ 45

ชอ่ื ไทย กะพงลายเสอื ออสเซราลสิ ชื่อสามัญ Peacock bass ชอื่ วิทยาศาสตร Cichla ocellaris Bloch & Schneider, 1801 ชือ่ วงศ Cichlidae ถนิ่ กำเนิด ตอนบนของแมน้ำ Rio Negro และพบมากใน Rio Jau และ Rio Branco ทางตอนเหนือของประเทศบราซิล ตลอดจนปากแมน้ำ Rio ลกั ษณะทว่ั ไป Orinoco ปลาในสกุล Cichla เปนปลาหมอที่มีความใหญโตที่สุดในอเมริกาใต การเล้ียงในตูปลา ในแมน้ำอะเมซอนมีหลายสายพันธุ ครีบหางมีลวดลายคลายลาย ขอ ควรระวงั บนขนของนกยูง จึงมีชื่อเรียกวา Peacock bass มีขนาดใหญที่สุด ประมาณ 100 ซม. ปลาขนาดเล็กจะมีแถบดำขนานกับลำตัวตั้งแต แกม ไปจนถงึ หาง เมื่อโตลายดังกลาวจะหายไป เลีย้ งเปนฝงู รวมกับปลาในตระกูลเดยี วกนั ในตูป ลาขนาดใหญ ปลาในสกุล Cichla เปนปลาหมอที่มีความใหญ เจริญเติบโตและ แพรพันธุไดเร็วในแหลงน้ำธรรมชาติ มีรายงานวาแพรพันธุใน อางเกบ็ น้ำ Tri An ประเทศเวยี ดนามจนเกิดผลกระทบตอ ระบบนเิ วศ และความหลากหลายของชนิดปลาพื้นเมือง ในประเทศไทยพบ แพรพันธุในอางเก็บน้ำพุหวาย จังหวัดเพชรบุรี ไมควรปลอยหรือ ทำใหหลดุ ลงไปในแหลง น้ำธรรมชาติ 46 100 ชนิดปลาสวยงามตา งประเทศ

ชอ่ื ไทย กะพงลายเสอื ทาเมนสิส ชื่อสามญั Peacock bass ชื่อวิทยาศาสตร Cichla tamensis Humboldt, 1821 ชอื่ วงศ Cichlidae ถิ่นกำเนิด ตอนบนของแมน้ำ Rio Negro และพบมากใน Rio Jau และ Rio Branco ทางตอนเหนือของประเทศบราซิล ตลอดจนปากแมน้ำ Rio ลักษณะทว่ั ไป Orinoco มีลักษณะคลายกับออสเซราลิส แตมีสีสันสะดุดตามากกวา ลำตัว การเล้ียงในตูปลา มีแถบดำพาดตามความยาวลำตัว 1 แถบ และพาดตามแนวขวาง ขอควรระวัง หาง ๆ 4 แถบ โคนครีบหางมีจุดดำขอบเหลืองขนาดใหญ 1 จุด ครีบหลังและครีบหางมีจุดประสีขาว ครีบอกและครีบกนมีสีสมแดง ครีบหางมลี วดลายคลา ยลายบนขนของนกยงู เลย้ี งเปน ฝงู รวมกบั ปลาในตระกูลเดยี วกนั ในตูปลาขนาดใหญ เชนเดยี วกับปลาออสเซราลิส 100 ชนดิ ปลาสวยงามตางประเทศ 47

ช่ือไทย หมออฟั ราคาจินโด ชื่อสามญั Afra kajindo ช่อื วิทยาศาสตร Cynotilapia afra (Gunther, 1894) ชอ่ื วงศ Cichlidae ถิ่นกำเนดิ ทะเลสาบมาลาวี ทวปี แอฟริกาใต ลักษณะท่วั ไป ลำตัวยาวและแบนขาง นัยนต าเลก็ ปากเฉยี งข้ึนเล็กนอย จงอยปากส้ัน สีที่ลำตัวแยกเปน 2 สี สวนหัวและลำตัวดานบนมีสีเหลือง ดานลาง การเลย้ี งในตูปลา สีฟา มีแถบสีดำพาดขวางลำตัวประมาณ 7 แถบ ระหวางนัยนตา ทั้งสองขางมีแถบสีดำคาด ครีบหลังสีดำมีขอบสีขาวปลายครีบสีฟา ครบี กนมีจดุ ไขสีเหลือง เลีย้ งเปน ฝูงรว มกบั ปลาในตระกลู เดียวกันในตูปลาขนาดใหญ 48 100 ชนดิ ปลาสวยงามตางประเทศ

ชอ่ื ไทย หมอลาโบรซัส ชือ่ สามัญ Mbenji ชื่อวิทยาศาสตร Eclectochromis labrosus ช่ือวงศ Cichlidae ถ่ินกำเนิด ทะเลสาบมาลาวี ทวปี แอฟริกาใต ลักษณะทั่วไป ลำตัวยาวและแบนขาง นัยนตาเล็ก หัวมีขนาดปานกลาง ปากแคบ ริมฝปากหนา ครีบหลังและครีบกนสวนที่เปนกานครีบออนมีขนาด การเลยี้ งในตูปลา ใกลเคียงกัน ครีบอกมีขนาดเล็ก ครีบทองใหญและสวนปลายยาว เลยจุดเริ่มตนของครีบกน พื้นลำตัวสีเหลือง สวนหัวสีฟาอมน้ำเงิน ครีบหลังสีเหลืองปนดำขอบขาวและปลายครีบหลังมีจุดสีสมบริเวณ กานครีบออน ครีบกนและครบี อกสีน้ำตาลขอบขาว เลี้ยงเปนฝูงรวมกบั ปลาในตระกูลเดียวกนั ในตูปลาขนาดใหญ 100 ชนิดปลาสวยงามตา งประเทศ 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook