Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นายธนเดช นวลเจริญ กลุ่มที่ 1 เลขที่ 5

นายธนเดช นวลเจริญ กลุ่มที่ 1 เลขที่ 5

Published by taveesak45613, 2020-09-06 22:31:54

Description: นายธนเดช นวลเจริญ กลุ่มที่ 1 เลขที่ 5
กระบวนการบริหารจัดการการอาชีวศึกษาทวิภาคี การยกระดับสร้างเครือข่ายและความร่วมมือกับประชาคมการศึกษา

Search

Read the Text Version

สนิ ทรพั ยท์ ่คี นรนุ่ ใหมต่ อ้ งมี การพัฒนาสถานศึกษาอาชวี ศึกษา หลกั การเรยี นรทู้ ค่ี วรศึกษา

การศกึ ษาความร้ตู ามขอ้ กาหนดสาระเพือ่ การเรยี นรู้ ............................................................. สนิ ทรพั ยท์ ี่คนรนุ่ ใหมต่ อ้ งมี ๑. ปณธิ าน (Determination) คอื อุดมการณ์ เปา้ หมาย ความคาดหวงั จดุ ม่งุ หมาย ท่ีเรากาหนดและ ต้องการใหเ้ กดิ ขน้ึ มีความมุ่งม่นั ในการสรา้ งสรรค์ งาน พัฒนาคณุ ภาพ ดว้ ยความเตม็ ใจใหบ้ รกิ าร ปณิธานในการทางานท่ีจะนาไปใช้ปฏิบัติตน ใน การบริหารสถานศึกษา มีดังนี้ มีความกระตอื รือร้น ใชเ้ วลา ให้เป็นประโยชน์มากท่ีสุด มีสายตากว้างไกล มีความอ่อน น้อมถ่อมตน เป็นตัวอย่างที่ดี ใช้กฎระเบียบอย่างมีเหตุผล ให้ความเคารพและให้เกียรติผู้อ่ืนอย่างเท่าเทียม เอาใจเขา มาใส่ใจเรา มคี ณุ ธรรม มคี วามรับผดิ ชอบ ตง้ั ใจทางานอย่าง สุดความสามารถ และทาอย่างดีทีส่ ุด ๒. สานึกโลก (Global Mindset) คือ ทศั นคติ แบบสากล เป็นการมองภาพในมมุ กวา้ ง ไม่ได้จากดั แคเ่ ฉพาะความรู้ในประเทศ แต่ตอ้ งรใู้ หเ้ ท่าทนั โลกที่พฒั นา ไปอยา่ งรวดเรว็ โดยพจิ ารณาขอ้ มูลจากหลากหลายแหล่ง แลว้ นาไปคดิ วเิ คราะห์ และสงั เคราะห์ เพื่อให้เขา้ ใจความเปน็ ไปของโลก ซึ่งทัศนคตแิ บบสากลนี้ ถือเป็นหนึ่งในทกั ษะท่ีสาคัญและจาเปน็ อย่างย่งิ โดยเฉพาะคนที่ เปน็ ผู้นา สานึกความยง่ั ยนื (Sustainability Mindset) หมายถงึ ความสามารถในการดารง สภาพอยไู่ ดต้ อ่ ไปยังอนาคต ภายใตเ้ งื่อนไขและ ขอ้ จากัด ตามวงจรการเปล่ียนแปลงท้งั หลาย ท้ังภายในและภายนอก โดยมีสามองค์ประกอบ เปน็ เงอ่ื นไขทส่ี าคญั และจาเป็น ซง่ึ ต่างเกิดขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง สมา่ เสมอ เกีย่ วโยง และวนเวยี น กนั เป็นกลไกควบผสมเรยี กวา่ วงจรความยง่ั ยืน เร่อื ยไปเป็นเวลายาวนาน ดว้ ยความ ขยนั หมนั่ เพยี ร วิรยิ ะอุตสาหะ อดทนอดกล้นั ผ่านกระบวนการประยุกต์ คอื ปรับใชป้ ัจจยั ภายในและภายนอกทตี่ ่างไปให้สมั ฤทธิผ์ ลผลท้ังรูปธรรมและนามธรรมในการปฏิบัติ ปฏริ ูป และปฏวิ ัติชวี ติ ความยง่ั ยนื ยงั เปน็ วตั ถุประสงคโ์ ดยตรงของการบรหิ ารความเสย่ี ง การบรหิ ารการเปลย่ี นแปลง จึงตอ้ งมอี ยูใ่ น ทกุ ส่วนทกุ กจิ กรรมขององค์กร ท้งั คิดพดู ทา ทั้งในวิสัยทศั น์ แผน เป้าหมาย กระบวนการ และผลงานผลิตภณั ฑ์ บรกิ าร ตอ้ งอยู่ในจิตสานึก ถงึ จะรับและปรับตัวได้เร็วพอหรือทันเหตกุ ารณ์

๓. ความสามารถดา้ นดิจทิ ลั (Digital Literacy) หมายถึง ทักษะในการนาเครื่องมอื อปุ กรณ์ และเทคโนโลยดี ิจิทัล ทมี่ ีอยู่ใน ปัจจุบนั อาทิ คอมพวิ เตอร์ โทรศพั ท์ แท็บเล็ต โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และสือ่ ออนไลน์ มาใช้ใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด ในการสอ่ื สาร การ ปฏบิ ตั ิงาน และการทางานร่วมกัน หรือใช้เพื่อพฒั นากระบวนการ ทางาน หรือระบบงานในองค์กรใหม้ คี วามทนั สมัยและมี ประสิทธิภาพ ความสามารถทางการเงิน (Financial Literacy) คอื การตระหนัก ความรู้ความเขา้ ใจ ความเชย่ี วชาญ ความชานาญ ทัศนคติ และพฤตกิ รรม ในลกั ษณะที่มีผลให้ บุคคลเกดิ การตดั สนิ ใจทางการเงินท่ดี ี ความสามารถทางการเงิน หมายถึง ความรู้ ความเข้าใจแนวคิดท่ีเกยี่ วกับการเงนิ ความเส่ยี งทาง การเงิน รวมถงึ ทักษะ แรงจูงใจ และความเชือ่ ม่ันท่จี ะใช้ความรแู้ ละความเข้าใจเหล่าน้ใี นการตดั สินใจที่มี ประสทิ ธิผล ในหลากหลายบริบททางการเงิน เพ่อื ปรับปรุงความอยู่ดมี ีสขุ ทางการเงนิ ของปัจเจกและสังคม และชว่ ยใหส้ ามารถมสี ว่ นร่วมในชวี ิตทางเศรษฐกิจ ความสามารถทางการเงนิ เปน็ พนื้ ฐานสาคัญที่ จาเป็นในการดารงชวี ิตของประชาชน ผทู้ ม่ี ีทักษะทาง การเงนิ ดจี ะมี ความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับผลิตภัณฑท์ าง การเงิน สามารถวางแผน และบรหิ ารจดั การเงินไดอ้ ย่าง มีประสิทธิภาพ ท้งั ในดา้ นการใช้จ่าย การเก็บออม และ การจดั การหน้ีสนิ ซึ่งเปน็ ภมู ิคมุ้ กันทางการเงินสาคัญ ที่จะช่วยเพ่มิ พูน ความมั่งค่งั ในการพฒั นาคุณภาพชีวิตของตนเองและครอบครวั สามารถรบั มอื กับความท้าทาย ต่างๆ ไดอ้ ย่างมน่ั คง เช่น การบรหิ ารจดั การหนใ้ี ห้เหมาะกบั ความสามารถของตน และการเตรยี มพร้อมสาหรบั เขา้ สวู่ ยั เกษียณ ซ่ึงนาไปสู่ ความเปน็ อยูท่ ี่ดอี ย่างยงั่ ยนื ของประชาชน และเสถยี รภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ ต่อไป ความสามารถทางสังคม (Social Literacy) คือ ความสามารถของบุคคลในการปฏิบตั ิตนเพอื่ ใหส้ ามารถ อย่รู ว่ มกับบุคคลอ่ืน หรอื ทาสง่ิ ใดสิ่งหน่งึ ร่วมกบั บุคคลอน่ื ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ ภายใตร้ ะเบยี บกฎเกณฑข์ อง สังคมนั้นๆ ได้อย่างเหมาะสม เป็นความสามารถในการรจู้ กั เข้าใจ สร้างสรรค์ และประสานความรสู้ ึก ความตอ้ งการ ความสมั พันธ์ ตลอดจนแกป้ ัญหาและจดั การกับการ ปฏิสัมพนั ธ์ของบคุ คลทม่ี ีต่อกัน ทกั ษะทางสังคม ประกอบด้วยกลุม่ ของทักษะตา่ งๆ ที่ใช้ในการปฏสิ ัมพันธแ์ ละ การส่อื สารระหว่างกนั ของบคุ คลในสงั คมไดแ้ ก่ ทักษะการสื่อสาร การพดู การฟงั และการทางานร่วมกนั ความสามารถในการเขา้ ใจถงึ สถานการณท์ ี่หลากหลาย กฎกตกิ าตา่ ง ๆ ในสงั คม โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พอ่ื สรา้ ง ความสมั พันธใ์ นทางบวกใหเ้ กดิ ข้ึน

ความสามารถทางสงั คมเปน็ ทกั ษะหนงึ่ ที่สาคัญและจาเปน็ ทง้ั ในระดับบคุ คล ครอบครัว ชุมชนและ สังคม เป็นทักษะท่ีจาเป็นสาหรบั บคุ คลทุกเพศ ทกุ วยั เพื่อใชใ้ นการปฏิสัมพันธ์ ติดต่อสอ่ื สาร และการอยู่ รว่ มกันของบคุ คลในสงั คม บคุ คลท่ีมีทกั ษะทางสังคมดีจะสามารถอยู่รว่ มกับบุคคลในครอบครัว ชุมชน และ สังคมไดอ้ ย่างมีความสุข ทักษะสังคมเป็นทักษะท่ีจาเป็นต้องไดร้ บั การฝึกฝนอย่างเปน็ ระบบเชน่ เดียวกบั ทักษะ อ่นื ๆ ๔. ทกั ษะคลอ่ งแคล่ว (Agility Skills) จาเป็นมากท่ีสดุ ในโลกยุคใหม่ทมี่ ีการ เปลี่ยนแปลงเร็ว แรง และมกั มาแบบไม่คาดหมาย เช่น โควิด ดังนนั้ การเจอปัญหาใหม่ๆ แลว้ สามารถ “ปรบั วธิ ี คดิ เปล่ยี นวธิ กี ารทางาน เดนิ หน้าต่อไปโดยไม่หยุดชะงัก ลดผลกระทบในทางลบท่เี กดิ ขึ้น ควบค่ไู ปกับการสร้าง โอกาสจากสถานการณ์ใหม่ทมี่ าถงึ ” ความเช่ียวชาญ เหลา่ นี้เรียกว่าทกั ษะคล่องแคล่วที่ตอ้ งถกู ฝกึ ฝนอยู่ ตลอดเวลาทง้ั ในสถานศึกษา และท่ีทางาน ทกั ษะคน (Human Skills) การทางานเป็นทีม เพราะแนวโนม้ อนาคตงานมกั เปน็ โปรเจคขา้ ม ฝ่าย ข้ามแผนก ข้ามประเทศ การทางานกบั คนทมี่ ีความแตกต่าง หลากหลายให้ประสบความสาเรจ็ จงึ เป็นทักษะสาคญั ทักษะผปู้ ระกอบการ (Entrepreneurship Skills) รฐั บาลมนี โยบายในการส่งเสริมใหเ้ กิดผู้ประกอบการใหมเ่ พม่ิ ข้นึ ทัง้ ในขนาดกลางและขนาดยอ่ ม เพ่ือเป็นรากฐานสาคญั ทางเศรษฐกจิ อนั จะนาไปสกู่ ารพัฒนาดา้ นตา่ ง ๆ ของ ประเทศ โดยเร่งรัดการดาเนินการท่ีเกย่ี วเนอื่ งทงั้ ในองค์กรภาครัฐและเอกชน เพอื่ ขบั เคลื่อนนโยบายให้เปน็ รูปธรรม อาทิ สตาร์ทอพั ไทยแลนด์ ซง่ึ เป็นกจิ กรรมที่ส่งเสรมิ ให้ผู้ประกอบการรายใหม่ได้นาเสนอนวัตกรรม ของผลติ ภณั ฑ์ทม่ี ีความนา่ สนใจและมีความเป็นไปไดใ้ นการต่อยอดไปสเู่ ชงิ พาณิชย์อย่างเต็มรูปแบบ ท้ังนี้ คณะกรรมการนโยบายและพฒั นาการศึกษา หรอื ซุปเปอรบ์ อรด์ การศึกษา ได้ให้ความสาคัญกบั การสง่ เสรมิ ให้ผูท้ ี่จบอาชวี ศึกษามอี งค์ ความรู้ด้านธุรกิจ สามารถออกไปเป็นผู้ประกอบการท่ตี ัง้ ตัวไดโ้ ดยไม่ จาเปน็ ต้องเขา้ สภู่ าคแรงงานเพยี งอยา่ งเดียว การพฒั นาการศึกษาวชิ าชีพ ด้วยการพฒั นาทกั ษะพนื้ ฐานของผเู้ รยี นอาชวี ศึกษาใหม้ ี ความรทู้ างดา้ น การจดั การธรุ กิจอยา่ งแทจ้ ริง ตลอดจนพัฒนาทักษะในการคดิ เชงิ สรา้ งสรรค์ (Creative thinking) ดว้ ยการสรา้ งช้ินงาน ส่งิ ประดษิ ฐ์ หรือ นวตั กรรมใหมต่ ามสาขาวิชาชพี และนามาตอ่ ยอดในเชงิ พาณชิ ยร์ วมไปถงึ การสรา้ งเครือขา่ ยเพ่ือพัฒนา ผ้ปู ระกอบการใหม่ให้สามารถสร้างช่องทางการเข้าถึงแหล่งทุน และองคค์ วามรู้ทางธรุ กจิ เพ่ือเพ่ิมช่องทาง อาชพี (Career path) ใหก้ ับผ้เู รียน สามารถประกอบธุรกจิ ไดอ้ ยา่ ง เป็นรูปธรรม มกี ารดาเนนิ โครงการส่งเสริม การประกอบอาชพี อิสระ ในกลมุ่ ผ้เู รียนอาชีวศึกษา ซึ่งอย่ใู นแผนงานบูรณาการส่งเสริมวสิ าหกจิ ขนาดกลาง และขนาดยอ่ มทีม่ ุ่งให้ องคค์ วามรู้ดา้ นธรุ กิจแก่นกั เรยี น นักศกึ ษาและสง่ เสรมิ การเป็นผปู้ ระกอบการแก่ผเู้ รยี น ผ่านกระบวนการ จัดการเรยี นการสอน และกิจกรรมภายใต้ศูนย์บม่ เพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษา

ทักษะสื่อสาร (Communication Skills) ความเช่ยี วชาญในการเช่อื มโยงข้อมลู เพอ่ื เลา่ เรื่องราวให้คน เขา้ ใจและจดจาไดใ้ นเวลาอนั สั้น ควบคู่กับความสามารถในการเลือกใช้ ศัพท์หรือสานวนท่ีสามารถโนม้ นา้ วใหเ้ กดิ ความน่าเชอ่ื ถือและปฏบิ ัติตาม ซงึ่ มคี วามจาเปน็ มากข้ึนเรือ่ ยๆ โดยเฉพาะสาหรับผูบ้ ริหาร และ ผปู้ ระกอบการ

การพัฒนาสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา ๑. การอาชีวศึกษายกกาลังสอง (Eco System College) การสร้างระบบการศึกษายกกาลังสอง ก็เพ่ือให้ เกิด “กา รศึกษ า ที่มีควา มเป็นเลิ ศ ( Education for Excellence) ท่ีการศึกษาจะต้องมีความยืดหยุ่น เท่าทันกับ บริบทภายนอก และกระแสโลกที่เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว สามารถพัฒนาทุนมนุษย์ของประเทศ ที่ตอบโจทย์ ความต้องการของสังคมและตลาดได้ ซ่ึงจะตอ้ งม่งุ เน้นไปทก่ี ารพฒั นาศักยภาพบุคคล สคู่ วามเปน็ เลิศใน แบบฉบับของแต่ละคนนั่นเอง รมว.ศธ.กล่าวถึง โมเดลการศึกษายกกาลังสอง (Thailand Education Eco- System Model) ประกอบดว้ ย  HCEC (Human Capital Excellence Center) หรือ ศนู ย์พฒั นาศักยภาพบุคคลเพอื่ ความ เปน็ เลิศ ซ่ึงเปน็ หนว่ ยพฒั นาทนุ มนุษย์ (HR) ของประเทศ เพื่อตอบโจทยอ์ าชีพ อตุ สาหกรรม และ ธุรกจิ  DEEP (Digital Education Excellence Platform) หรอื แพลตฟอรม์ ด้านการศกึ ษาเพ่ือ ความเป็นเลิศ เปน็ หนว่ ยบริหารจดั การองค์ความรู้ (KM) ของประเทศ เพอื่ ตอบโจทย์การเรยี นรู้ ตลอดชีวติ  EIDP (Excellence Individual Development Plan) หรอื แผนพัฒนารายบุคคลเพอ่ื ความ เปน็ เลิศ ซึ่งเปน็ ตน้ แบบการพัฒนาศกั ยภาพบคุ คล (Human Potential : HP) เพอื่ ตอบโจทย์ เส้นทางความสาเรจ็ ของชวี ติ

ความสาคัญอกี ส่วนของการเปลย่ี นระบบการศึกษา ก็เพ่ือนาไปสู่ “ระบบนเิ วศ” ทางการศกึ ษาเพื่อ ความเป็นเลิศ โดยจะต้องให้ความสาคัญกับการเปล่ียนนักเรยี น ครู ห้องเรยี น สือ่ การเรียนรูแ้ ละโรงเรยี น เพื่อ ยกกาลงั สองไปพร้อมกันทั้งระบบ  นักเรยี นยกกาลังสอง จะต้องเปล่ยี นจากการเรยี นเพ่อื สอบ ไปสู่เรียนเพอ่ื รู้ ใหเ้ ดก็ อยากที่จะเรียนรู้ เรียนเพ่ืออยากเรยี น มีการฝกึ ฝนเพ่อื ทา สรา้ งทกั ษะอ่านออกเขยี นได้ คดิ เลขเป็น ภาษาท่ี 2-3 และ ยกระดับทักษะชีวิต สรา้ งความสามารถของผูเ้ รียนในศตวรรษท่ี 21 เปน็ ต้น  ครูยกกาลังสอง เมือ่ ต้องการใหเ้ ดก็ เกง่ ก็ตอ้ งมรี ะบบสรา้ งครูทเี่ กง่ มรี ะบบทใ่ี ห้คนเก่งเข้ามาเป็นครู ใหอ้ าชีพครเู ป็นอาชีพในฝัน เกง่ เปน็ ครู โดยออกแบบโมเดลอาชพี ครใู หเ้ ปน็ ความใฝ่ฝนั ของนกั เรียน นกั ศกึ ษา  หอ้ งเรียนยกกาลังสอง จากการเรียนทโี่ รงเรยี น ไปสกู่ ารเรยี นท่ีบา้ นถามทีโ่ รงเรียน (ห้องเรยี นกลบั ด้าน) โดยใหผ้ ู้เรยี นหาความรู้ทบ่ี ้าน เพมิ่ ความรู้เสรมิ ทกั ษะทโี่ รงเรยี น (ลดเวลาเรียน เพ่มิ เวลารู้) ทา หลกั สูตรใหย้ ดื หยนุ่  สอ่ื การเรยี นร้ยู กกาลงั สอง เรียนจากตารา สกู่ ารเรียนผา่ นสอ่ื แบบผสมผสาน (การเรยี นรู้ออกแบบ ได้) เรียนท่ีไหนกไ็ ด้ทม่ี ีอินเทอรเ์ นต็ และอปุ กรณ์  โรงเรยี นยกกาลังสอง เน้นการประเมนิ โรงเรียนจากจานวนนักเรยี น ไปส่คู ุณภาพ ตอบโจทย์ ความรแู้ ละทกั ษะทเ่ี พ่ิมความสามารถในการเรยี นรู้ตามบรบิ ท ความเปน็ เลศิ ทางวิชาการ และความ เปน็ เลิศทางภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ รวมทงั้ วสิ าหกิจชุมชน ย้าวา่ การศกึ ษายกกาลังสอง ศธ.ไม่ควร ตัดสินใจวา่ จะใหใ้ ครหรือโรงเรยี นใดเปน็ แบบไหน แต่ควรสง่ เสรมิ ใหโ้ รงเรียนพิจารณาพฒั นาตาม บรบิ ทและศกั ยภาพ ไปสู่ความเป็นเลศิ ของตนเอง ไมว่ า่ จะมคี วามเปน็ เลศิ ด้านวชิ าการ หรอื ด้านภูมิ ปัญญาท้องถิ่นและวสิ าหกจิ ชุมชน

การขบั เคลอ่ื นนโยบายอาชวี ศึกษายกกาลงั สอง โดยการ ๒. การอาชวี ศกึ ษาสู่สากล (Global College) ในสว่ นของหนว่ ยงานทางการศกึ ษา เชน่ ระดับมัธยมศึกษา ระดบั อาชวี ศึกษา และระดับอุดมศกึ ษา ต้องปรับเปลี่ยน มาตรฐานการเรียนการสอนใหส้ งู ข้ึน หรือ ทัดเทยี มกับนานาอารยะประเทศ เพ่ือพฒั นา ประชากรใหพ้ ร้อมทจี่ ะเรยี น หรือทางานได้ ทุกแห่งในโลกในมาตรฐานเดยี วกัน จงึ มี รปู แบบการจดั การศกึ ษามาตรฐานสากล เกิดขึน้ รปู แบบการจัดการศกึ ษามาตรฐานสากลในความคิดของผูบ้ รหิ าร สรุปได้ ๘ ด้าน คือ ดา้ นท่ี 1 ดา้ นผู้เรียน ผเู้ รยี นมสี มรรถนะทาง วชิ าชพี สูง ผู้เรียนมีทักษะการสือ่ สารภาษาองั กฤษมี คะแนนทดสอบผา่ นเกณฑ์การทดสอบภาษาอังกฤษจากองค์กรท่ีสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาให้ ความรับรอง ด้านท่ี 2 ด้านครู ซึ่งครเู ปน็ ประเด็นทีส่ าคญั ที่สดุ ในการจัดการศกึ ษาทกุ ระดบั สถานภาพของครู อาชีวศกึ ษาในปัจจบุ นั จาเปน็ ต้องได้รับการแกไ้ ขและใหก้ ารสนับสนุน ด้านที่ 3 ด้านผู้บริหาร ผูบ้ ริหารควรมกี ารกากบั ติดตามการดาเนินการของสถานศกึ ษาใหบ้ รรลุ พนั ธกิจของสถานศกึ ษาและนโยบายของสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ดา้ นท่ี 4 ด้านการบรหิ ารจดั การ การจัดการศึกษาท่ีสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษาเปน็ มาตรการ เรง่ ด่วน ในการยกระดบั การจดั การศกึ ษาของไทยให้มคี ุณภาพเทยี บเท่าสากล ความสาเรจ็ ของการ ดาเนินงานของการจดั อาชวี ศกึ ษามาตรฐานสากล ด้านที่ 5 ดา้ นการพฒั นาหลักสูตร ปจั จุบนั การจัดการเรียนการสอนของสถานศกึ ษาในประเทศไทยมี การพฒั นาหลักสูตรให้เป็น ทางเลอื กสาหรับผู้เรียนในหลายรปู แบบ โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์และเป้าหมายสาคญั เพอื่ ตอบสนอง ต่อความต้องการจาเปน็ ในการพฒั นาประเทศให้สามารถแข่งขนั และทัดเทยี มนานาประเทศ ดา้ นท่ี 6 ด้านการจดั การเรียนการสอน การจดั การเรียนการสอนให้มีคุณภาพเทียบเคยี ง มาตรฐานสากล เพอ่ื เข้าส่รู ูปแบบการจัดอาชวี ศกึ ษามาตรฐานสากลของสถานศึกษา ด้านท่ี 7 ดา้ นความร่วมมอื และการบรกิ ารวชิ าชีพ สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา มภี ารกจิ หลกั ในการจดั การศกึ ษาทีม่ ุ่งเนน้ ความเปน็ เลิศดา้ นวิชาชีพ เนน้ การเรียนรจู้ ากการปฏบิ ตั ิจรงิ สง่ เสรมิ ให้ นกั เรยี น นักศึกษา เมอ่ื สาเรจ็ การศึกษา เพ่อื ให้สอดคล้องกบั ความตอ้ งการดา้ นกาลังคนของสถานประกอบการ ด้านที่ 8 ด้านการจดั สภาพแวดลอ้ มและสิง่ อานวยความสะดวก สถานศกึ ษาจะตอ้ งมีการจัด สภาพแวดลอ้ ม ส่งิ อานวยความสะดวก พอเพยี ง ใช้การไดด้ ี นาไปส่กู ารพฒั นาผู้เรยี นทุกด้าน

๓. ศูนย์ความเปน็ เลิศการอาชวี ศึกษา (Excellent Center College) สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษามเี ปา้ หมายม่งุ เขา้ สกู่ ารสร้างศูนย์การเรียนรู้ หรอื Excellent Center สาหรับธรุ กจิ ต่างๆ ท่ีเหมาะสมกับแตล่ ะบรบิ ทของภมู ิภาค เช่นธุรกิจการบนิ กจ็ ะอยู่ในจงั หวัด สมทุ รปราการ ชลบุรี ภูเก็ต เชยี งใหม่ เพื่อท่จี ะแยกให้เหน็ กลุม่ ธรุ กจิ ท่ชี ดั เจนและลงทุนอยา่ งตรงจดุ สานกั งานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษาสามารถบรหิ ารจดั การความเชย่ี วชาญในด้าน ต่าง ๆ ใหแ้ ต่ละพน้ื ท่ไี ด้ อกี ทัง้ การดาเนนิ การในลกั ษณะนท้ี าให้ เอกชนทที่ าทวภิ าคีกบั สอศ. สามารถส่งผเู้ ช่ียวชาญใหค้ วามรู้ กบั วิทยาลัยได้อย่างตรงกบั ความต้องการด้วย ทาใหผ้ ู้เรียน สนใจมาเรียนสายอาชพี มากย่ิงข้ึน สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษาไดด้ าเนนิ การ เกยี่ วกบั ศูนยค์ วามเปน็ เลิศอาชวี ศกึ ษา (Excellence Center) มาอยา่ งตอ่ เน่อื ง โดยไดร้ ับความอนเุ คราะห์และความร่วมมือ จากบรษิ ทั เอกชนทมี่ ีความเชี่ยวชาญ จานวน ๒๓ บริษัท ร่วม พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนกับสถาบนั การอาชวี ศึกษา จานวน ๑๙ แห่ง ใน ๘ สาขาวิชา คอื ๑. ๓ D ๒. P-TECH, ๓. Programming, ๔. Digital Marketing, ๕. Networking, ๖. Aviation, ๗. Industrial Robotics ๘. AI Robotics โดยนักเรยี น นักศกึ ษา อาชีวศกึ ษา จะได้รบั การถ่ายทอดองค์ความรจู้ ากสถานประกอบการทมี่ คี วาม เชย่ี วชาญในสาขานั้นๆ อนั จะเป็นประโยชน์ในการพฒั นาทักษะดา้ นวิชาชพี ๔. การอาชีวศกึ ษาเพอื่ สงิ่ แวดลอ้ ม (Green College) การพฒั นาสถานศึกษาที่เป็นมติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม เปน็ ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาประเทศ และแผนการ ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ กาหนดในยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๕ การจดั การศึกษาเพื่อเสรมิ สร้างคุณภาพชีวติ ทเ่ี ปน็ มติ รกับสง่ิ แวดล้อมเพือ่ พฒั นาคนไทยยคุ ใหมใ่ หส้ อดคล้องกับยทุ ธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี โดยสรา้ ง คา่ นิยมหลัก ๑๒ ประการ และไดก้ าหนดให้การจดั การศึกษากบั คุณภาพชวี ิตทเี่ ปน็ มิตรกบั สิง่ แวดลอ้ ม ซึ่ง สถานศึกษาจะตอ้ งพัฒนาหลักสูตรทส่ี ่งเสรมิ ค่านยิ มสเี ขยี วใหก้ บั ผเู้ รียน สถานศึกษามีการสอดแทรกให้ผเู้ รียนมี จติ สานึกรักษาส่งิ แวดลอ้ ม ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นเหน็ ความสาคัญตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม ๕. การอาชวี ศึกษาดิจทิ ัล (Digital College) สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษามีความรว่ มมอื กับ ICDL Thailand ยกระดับความรู้และทักษะ การใชง้ านเทคโนโลยดี ิจทิ ัล โดยมนี โยบายในการพัฒนาทักษะดจิ ทิ ลั เพ่ือเตรยี มความพร้อมดา้ นกาลงั คนในยุค ดจิ ิทัล ซึ่งไดล้ งนามความรว่ มมือกบั บริษทั ICDL Thailand Company Limited หรอื (ICDL Thailand) ได้รบั การแตง่ ตงั้ ใหเ้ ป็น National Operator ของมลู นิธิ ICDL Foundation ทาหน้าท่ีดแู ลบรหิ ารงานวฒุ บิ ัตร

รบั รองทักษะดิจิทัล มาตรฐานสากล ICDL ทัง้ หมดใน ประเทศไทยเปน็ แนวทางในการขับเคล่ือนสนับสนุนการ ยกระดับความรูแ้ ละทักษะการใช้เทคโนโลยีดจิ ิทัล พ้ืนฐานทจี่ าเป็น และการใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัลขัน้ สงู ใหแ้ ก่ นักเรยี นนักศึกษา ครู อาจารย์ และบุคลากรของ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา เพื่อสร้างและ พัฒนาผูบ้ รหิ าร ครู นกั เรียน นักศึกษา และบุคลากร ทางการศึกษา ใหส้ อดรบั กับการพัฒนามาตรฐานทักษะและความรดู้ ้านดิจิทัล ใหพ้ ร้อมเข้าสูย่ คุ เศรษฐกจิ และ สงั คมยคุ ใหม่ ตอ่ ยอดเรียนรู้ พรอ้ มทางานในวิถีชีวติ ใหม่ (new Normal) แนะใหค้ รู สถานศกึ ษาสื่อสารกบั นักเรียนผา่ นเฟสบคุ๊ และไลน์ ตอบรับของการเป็นพลเมอื งในศตวรรษท่ี 21 ตามยทุ ธศาสตร์การพฒั นาดจิ ิทัล เพอ่ื เศรษฐกจิ และสังคมของการพฒั นาประเทศไปสู่ไทยแลนด์ 4.0 ๖. การอาชวี ศกึ ษาเพอื่ ทกั ษะอนาคต (Future Skill College) นกั เรยี น นกั ศึกษาตอ้ งมีทกั ษะทส่ี าคญั ทส่ี อดคล้องกับสภาพการเปลยี่ นแปลงของโลกยุคปัจจุบนั ท่มี ี ความก้าวหน้าอยา่ งรวดเร็วทางดา้ นเทคโนโลยี และข้อมูลข่าวสาร ดงั นั้นถา้ ผูเ้ รียนไมม่ ีความรแู้ ละทกั ษะทจี่ ะ เรียนรูเ้ ทา่ ทนั การเปลย่ี นแปลง ก็จะตกเป็นเหยือ่ ของสังคมได้ สาหรับทกั ษะสาหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 น้ัน ทักษะทีส่ าคญั ไดแ้ ก่ 3R และ 4C ซง่ึ มอี งคป์ ระกอบ ดงั นี้ 3R ไดแ้ ก่ Reading (การอ่าน), การเขียน(Writing) และ คณิตศาสตร์ (Arithmetic) และ 4C ไดแ้ ก่ Critical Thinking- การคิดวเิ คราะห,์ Communication-การ สื่อสาร Collaboration-การร่วมมือและ Creativity-ความคดิ สรา้ งสรรค์ รวมถึงทกั ษะชวี ิตและอาชีพ และ

ทกั ษะด้านสารสนเทศสอ่ื และเทคโนโลยี และการบรหิ ารจดั การด้านการศึกษาแบบใหม่ กรอบแนวคดิ ขา้ งต้น เองกเ็ ปน็ จุดเรม่ิ ตน้ ของการพฒั นาทกั ษะแห่งอนาคตใหม่ในประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างการจดั การศกึ ษาใน ระดับอาชวี ศกึ ษา เพราะปัจจยั แหง่ ความสาเร็จท่ีสาคัญอยทู่ ี่ \"ศกั ยภาพของระบบการศึกษาเพ่อื การสง่ เสริม นวตั กรรมและความคดิ สรา้ งสรรค\"์ จะเป็นตัวช้วี ัดความสาเร็จของระบบเศรษฐกิจในศตวรรษท่ี 21 ดังนัน้ ความทา้ ทายของการก้าวส่ศู ตวรรษที่ 21 จงึ อยทู่ ่ีวา่ ทาอยา่ งไรให้ ความคดิ สร้างสรรคแ์ ละนวตั กรรมเกิดข้นึ และเตบิ โตได้อย่างตอ่ เนือ่ งนี่จงึ เปน็ โจทยส์ าคัญของการจดั การอาชวี ศกึ ษา ว่าจะพัฒนาหลกั สตู ร และการ จดั การเรยี นการสอนอยา่ งไร จงึ จะทาใหเ้ ดก็ อาชีวะ มที กั ษะ 3R และ 4C โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ความคิด สร้างสรรค์ และความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรมเพอ่ื ส่งเสรมิ การเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจทยี่ ง่ั ยืนในอนาคต ซึ่งจากผลงานวจิ ยั หลายชิ้นทพี่ บวา่ การสอนเด็กให้มีทักษะการ เรยี นร้แู ละความคิดสร้างสรรค์เพ่อื สรา้ งสรรค์ นวตั กรรมนนั้ เน้นที่กระบวนการเรยี นรมู้ ากกว่าความรู้ ดงั นั้นถึงเวลาแล้วท่ีผู้เก่ียวขอ้ งจาเปน็ ต้องปรบั เปลยี่ น กระบวนทัศนใ์ หมใ่ นการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน้ กระบวนการเรียนรู้ มากกวา่ การอดั ความรู้เข้าไปในสมอง เดก็ ผ้สู อนต้องเปิดใจ และเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นได้ พฒั นาความคิดสรา้ งสรรคข์ องตนเอง ขณะเดียวกันผู้สอนก็ ตอ้ งเปิดเวทีและพน้ื ท่สี าหรับการแสดงผลงานของผูเ้ รยี นเช่นกัน ๗. การอาชวี ศกึ ษาเพือ่ ความยง่ั ยืน (Sustainable College) มติ ใิ หมอ่ าชวี ศึกษา เพ่ือการพฒั นาท่ีย่งั ยนื “อาชวี ะ ฝมี อื ชน คนสรา้ งชาติ” เปดิ ระบบการเชื่อมโยง ฐานขอ้ มูล Big Data โดยมีภาคอุตสาหกรรม ภาคธรุ กจิ และบรกิ าร สถานประกอบการช้นั นาของประเทศ รว่ ม จดั งาน แสดงความก้าวหนา้ ในการจดั การอาชวี ศกึ ษาเพื่อการพัฒนาที่ยัง่ ยนื ในรปู แบบต่างๆ มีการโชว์ ความสาเรจ็ ศนู ย์ประสานงานการผลิตและพฒั นากาลังคนอาชีวศกึ ษา รวมข้อมลู ความตอ้ งการกาลังคนของทุก ภาคส่วน โดยเปดิ ระบบ Big data ศนู ยป์ ระสานงานการผลิตและพฒั นากาลังคนอาชวี ศึกษา อยา่ งเปน็ ทางการ เพอ่ื เชอ่ื มโยงข้อมูลของศูนยผ์ ลิตและพฒั นากาลังคนอาชวี ศกึ ษา 1 ศนู ย์กลาง 6 ศูนย์ภาค 18 ศูนยก์ ลุ่มจงั หวัด และการข้ึนทะเบียนครพู เิ ศษอาชวี ศกึ ษา ให้ทุกภาคส่วนสามารถนาข้อมลู ไปใช้ในการบรหิ าร พัฒนา และ จดั การกาลังคนเพ่อื การพฒั นาประเทศอย่างยัง่ ยืน ซง่ึ การเปดิ ระบบขอ้ มูล Big data จะทาให้ทราบถงึ ความ ต้องการกาลังคน รวมไปถงึ แนวโนม้ ในอนาคตท่ปี ระเทศตอ้ งจดั หากาลังคนทมี่ ีคุณสมบัติเหมาะสม สอดคล้อง กับภาคเศรษฐกจิ พรอ้ มกนั นี้ในขอ้ มูล Big data ยังได้รวมผมู้ ีความเช่ียวชาญในภาคอตุ สาหกรรมตา่ งๆส่กู าร เป็นครพู เิ ศษสอนให้ผู้เรียนอาชีวศึกษา ซง่ึ กจ็ ะนาไปสู่การผลิตและพฒั นาการจดั การเรียนการสอน และ หลกั สูตรต่าง ๆ ให้สอดคลอ้ งกับความต้องการอย่างแท้จรงิ ของประเทศ

๘. การอาชวี ศกึ ษาเพ่ือการเป็นผูป้ ระกอบการนวตั กรรม (Innopreneur College) ผู้ประกอบการธรุ กิจนวัตกรรม หมายถงึ ผูป้ ระกอบการท่แี ตกต่างจากทวั่ ไปคอื คนคิดริเร่มิ สร้างธรุ กจิ ทต่ี ้องใชค้ วามรู้หรอื เทคโนโลยมี าสรา้ งสรรคธ์ ุรกิจใหม่ เป็นท่ีแนน่ อนวา่ กลุ่มผปู้ ระกอบการธุรกิจนวัตกรรม จะต้องเป็นผ้ทู ี่มคี วามรู้เฉพาะในดา้ นใดดา้ นหน่ึงมาก่อนแล้ว กอ่ นทีจ่ ะตัดสนิ ใจนาความรูเ้ หลา่ น้นั มาสร้าง มลู ค่าเพมิ่ ในเชงิ พาณิชย์ สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ไดส้ นับสนุนการเป็นผปู้ ระกอบการนวตั กรรมให้กบั ผ้เู รียน โดยการฝึกและบม่ เพาะผู้ประกอบการที่เป็นนกั เรยี น นักศกึ ษา โดยผูร้ บั ผิดชอบแตล่ ะสถานศกึ ษา คอื งานศนู ย์ บม่ เพาะผูป้ ระกอบการอาชีวศกึ ษา เนือ่ งจากปัจจบุ นั มเี ทคโนโลยีใหม่ๆ และสงิ่ ประดิษฐ์ นวัตกรรมท่ผี เู้ รียน อาชวี ศกึ ษาไดป้ ระดษิ ฐ์คดิ คน้ ขึน้ มา งานศูนยบ์ ม่ เพาะผู้ประกอบการอาชีวศึกษาได้ดาเนนิ การต่อยอดเชงิ พาณชิ ยแ์ ละจัดหาชอ่ งทางจาหนา่ ย เชน่ ทาง Social Net Work ในตา่ งประเทศ ธุรกจิ นวตั กรรมประเภทน้ี จะถกู เรียกวา่ เปน็ ธุรกจิ ไฮเทค (high-technology firms) หรอื ธุรกจิ เรม่ิ ใหม่ท่ีใชพ้ ื้นฐาน ดา้ นเทคโนโลยี (NTBFs - new technology-based firms) ท่ี จุดเริม่ ต้นของธรุ กจิ มักจะเป็น บริษัทขนาดเล็ก แต่มคี วาม ชานาญเฉพาะดา้ นสงู โดยทผ่ี ู้ ก่อตงั้ ธรุ กิจ จะเปน็ ผ้สู รา้ งและ บริหารธรุ กจิ ด้วยตนเอง และเปน็ ผ้ทู ่ีมีความเกี่ยวข้องเช่ือมโยงกับ เทคโนโลยีทนั สมัยในดา้ นใดดา้ น หน่งึ มากอ่ นแล้วบริษทั ทีต่ ้ังข้ึนใหม่มีวตั ถุประสงค์ทีจ่ ะแสวงหาโอกาสทางการตลาดดว้ ยความรูด้ ้านวิทยาศาสตร์ หรอื เทคโนโลยที ่ีเหนือกวา่ เปน็ บรษิ ทั ท่ีเป็นอสิ ระ ไมเ่ ปน็ บรษิ ทั ยอ่ ยของบริษัทอ่นื และบรหิ ารจัดการด้วยผู้ กอ่ ต้ังหรือกล่มุ ผ้ใู กลช้ ิดที่มีความรูใ้ นระดับทีใ่ กล้เคียงกันจานวนไม่มาก ตน้ แบบของแนวคดิ ธรุ กจิ นวตั กรรม เกดิ จากการทนี่ ักวจิ ยั หรอื อาจารยใ์ นมหาวิทยาลยั ท่ีมีหน้าที่คน้ ควา้ หาวิทยาการใหมๆ่ เห็นประโยชน์ในเชิงพาณชิ ย์ ของผลงานการวจิ ยั ของตัวเอง จงึ ตัดสนิ ใจพลิกผันตัวเองออกมาเปน็ เจา้ ของธรุ กจิ เอง (เรียกวา่ spin-offs) ใน บางคร้ัง spin-offs เหลา่ นี้ ยงั คงได้รบั การสนบั สนนุ จากมหาวทิ ยาลัยตน้ สงั กดั เชน่ ยงั ให้คงสภาพเปน็ อาจารย์ หรอื นกั วิจัยอยู่ หรอื เข้ารว่ มลงทนุ ในการกอ่ ตั้งบรษิ ทั มกี ารศึกษาว่า องค์ประกอบที่จะเอ้ือให้นกั ธุรกิจ นวตั กรรมเหลา่ นีส้ ามารถประสบความสาเร็จเชิงพาณชิ ยไ์ ด้ เกดิ ขึน้ จากภมู ิหลังหรอื ประสบการณ์ของผู้ก่อต้ัง บริษัทเปน็ อยา่ งมาก ปจั จยั ทีจ่ ะทาให้ผ้ปู ระกอบการธรุ กจิ นวตั กรรมประสบความสาเร็จ ได้แก่ ๑. บคุ ลกิ ภาพส่วนตวั มักจะเป็นผู้ทีม่ ีความพยายามสูง ตอ้ งการประสบความสาเร็จ และมีความ กระตือรอื รน้ ตอ่ ส่งิ ทตี่ นเองสนใจอย่างจรงิ จัง ๒. สภาวะทางครอบครัว จะต้องไดร้ ับการสนับสนุนจากคูส่ มรส ไม่มีความขดั แย้งทางครอบครวั และ อาจยงั ไมม่ ลี ูก หรอื มลี ูกเพยี ง 1 หรือ 2 คนเทา่ นัน้ ๓. สถานะทางสังคม มกั จะเป็นผูท้ ไ่ี ดร้ ับการศึกษาถงึ ระดบั มหาวทิ ยาลัย บางครัง้ พบว่าหากมี ผู้ปกครองเปน็ อาจารย์ในมหาวิทยาลยั หรอื เป็นนักวจิ ัย กจ็ ะเป็นปัจจยั เสริมอยา่ งดี ส่วนใหญจ่ ะอยู่ ในครอบครัวชนช้ันกลาง

๔. ประสบการณใ์ นการทางาน หากต้องเกีย่ วข้องหรือเคยประสบกับสถานการณ์ เชน่ ความขัดแยง้ ความหงุดหงิด ความซ้าซ้อน ในการทางาน กจ็ ะเปน็ ปจั จัยเสริมผลกั ดนั ให้ต้องออกมาประกอบ ธุรกจิ ของตนเองได้ ๕. มีแหลง่ สนบั สนนุ ทางการเงนิ เชน่ ฐานะของผูป้ กครองหรอื ญาตสิ นิทดพี อทีจ่ ะใหก้ ารสนบั สนนุ ทาง การเงนิ การเข้าถงึ แหลง่ เงนิ สนบั สนุนจากภาครฐั หรอื การไดร้ ับรางวัลต่าง ๆ จากการประกวด ความคดิ สรา้ งสรรค์ การประกวดสิง่ ประดษิ ฐ์ หรือการประกวดนวตั กรรม ๖. ความเชื่อมโยงกบั แหล่งเทคโนโลยี บริษัทต้งั อยใู่ นสภาพแวดล้อมท่สี ่งเสรมิ การพัฒนาและ แลกเปลยี่ นเทคโนโลยีทนั สมยั หรอื สภาพแวดล้อมแหง่ ความคดิ สร้างสรรค์ โอกาสในการเขา้ ถงึ ข้อมลู หรือการไดร้ ับการค้มุ ครองทรพั ย์สินทางปัญญา ๗. ความใกล้ชิดกับตลาดและผบู้ รโิ ภค โดยเฉพาะความใกล้ชิดกับตลาดเป้าหมายหรือกล่มุ ลกู ค้า เปา้ หมาย และมีบรรยากาศของการสรา้ งสมั พันธ์กบั ตลาดได้ดี ๙. ศูนย์ปฏบิ ัติการอาชีวศกึ ษา (Complex College) ดว้ ยรฐั บาลมแี นวความคิดที่จดั ตง้ั ศนู ย์ปฏิบัติการสาหรับการฝกึ นกั เรยี น-นกั ศึกษา เฉพาะทางใน ภูมิภาคทัง้ ๕ ภมู ิภาค และจัดต้ังศูนย์ปฏบิ ตั กิ ารอาชีวศกึ ษาขน้ึ อยา่ งนอ้ ยภูมิภาคละ ๑ แห่ง เพื่อทาการฝึก วิชาชีพท่ตี อ้ งการแรงงานเฉพาะทางของแต่ละภมู ิภาคแบบครบวงจร โดยรว่ มมือกบั ภาคเอกชน รวบรวม วทิ ยากรผู้ทรงคณุ วุฒิและมีความ สามารถเช่ียวชาญเฉพาะด้าน มาประจา โดยจดั สถานท่ี บรรยากาศ หอ้ งเรยี น สถานทใ่ี หค้ วามพร้อม และมีทพ่ี ัก เปน็ สถานทใ่ี ห้ผ้เู รียนและบุคคลท่วั ไปฝกึ ปฏิบตั งิ านอาชีพตา่ ง ๆ อย่างครบ วงจร โดยจะมคี ณะวทิ ยากรผเู้ ชีย่ วชาญจากทัง้ ในพ้ืนทแ่ี ละนอกพืน้ ท่ี ผลดั เปลยี่ นกนั มาอบรมให้ความรเู้ ฉพาะ ดา้ นตามหลกั สตู ร เปน็ ศูนย์รวมความรคู้ วามสามารถของความรูแ้ ละวทิ ยากรผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขา เพ่อื สนอง ความต้องการแรงงานในภูมิภาคใหต้ รงกับความต้องการของตลาดแรงงานภมู ภิ าคน้นั ๆ ท่ีแทจ้ ริง เชน่ ภาคใต้ จดั ตง้ั ท่วี ทิ ยาลยั เทคนคิ กระบ่ี เปน็ ศนู ย์ฝึกอบรมปฏิบัติการด้านการทอ่ งเท่ยี ว

หลกั การเรยี นรู้ทค่ี วรศกึ ษา ๑. การจัดการเรียนรู้โดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน (Problem Based Learning : PBL) เป็นกระบวนการ จดั การเรียนร้โู ดยเร่มิ ตน้ จากปญั หาทเ่ี กิดขนึ้ ซึ่งตอ้ งเปน็ ปญั หาท่ใี กลต้ วั และพบเจอในชีวติ ประจาวนั เพราะ ผู้เรยี นจะรับทราบและเข้าถงึ ผเู้ รียนไดง้ า่ ย และสรา้ งองคค์ วามรใู้ หเ้ กิดขึน้ โดยใชก้ ระบวนการทางานแบบกลมุ่ เพือ่ ให้เกิดการแกป้ ัญหาดงั กลา่ ว ทาให้ตัวของปญั หาน้ันคือจดุ สาคญั ของการจดั การเรยี นรู้รูปแบบนี้ โดย ลกั ษณะสาคญั ของการจดั การเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานนัน้ ประกอบด้วย 1. ต้องมีสถานการณ์ท่ีเป็นปัญหา และใช้ปัญหานั้นมาเป็นตัวกระตุ้นให้เกิด กระบวนการเรยี นรู้ 2. ปัญหาที่นามาใช้ ต้องมาจากสิ่ง ใกลต้ วั ผเู้ รยี น และผู้เรียนมโี อกาสพบเจอ 3. ผู้เรียนเรียนรู้และเลือกเฟน้ วิธีการ และประเมนิ ผลดว้ ยตัวเอง 4. เน้นให้ผู้เรียนเรียนรู้เป็นกลุ่มย่อย เพ่อื ประโยชน์ในการค้นหาความรู้ และรบั ส่ง ขอ้ มูลรว่ มกัน 5. เป็นการเรียนรู้แบบบูรณาการ ความรู้และทกั ษะกระบวนการตา่ งๆ เข้าด้วยกัน 6. ความรู้ทีจ่ ะเกดิ ขนึ้ เมอ่ื จดั การเรยี นร้ผู า่ นกระบวนการเรยี นรู้ โดยใชป้ ัญหาเป็นฐานแลว้ เทา่ นัน้ 7. ใช้การประเมินผลตามสภาพจริง โดยพจิ ารณาความกา้ วหนา้ ในการปฏิบตั งิ านของผู้เรยี น และดว้ ยความทีก่ ารจัดการเรียนรแู้ บบใชป้ ัญหาเปน็ ฐานนั้น จาเปน็ ตอ้ งใช้ปัญหาในการดาเนนิ กิจกรรม ดังนน้ั การกาหนดปญั หาอย่างเหมาะสม จึงถอื เปน็ หัวใจสาคัญของการจัดการเรียนรใู้ นรูปแบบน้ี แนวทางในการเลอื กปญั หาอยา่ งเหมาะสมกับการเรยี นรรู้ ูปแบบนน้ี ั้น มีหลกั การดงั นี้ - ตอ้ งเป็นปญั หาท่เี กิดข้ึนในชวี ติ จรงิ และเกิดจากประสบการณ์ของผู้เรยี นหรือมีโอกาสท่ีผเู้ รยี นจะตอ้ ง เผชญิ - ต้องเปน็ ปญั หาทพ่ี บบอ่ ย มคี วามสาคญั และมขี ้อมูลเพียงพอสาหรับการคน้ ควา้ - ตอ้ งเปน็ ปัญหาที่ยังไมม่ คี าตอบทชี่ ัดเจนตายตัว มคี วามซบั ซ้อน คลมุ เครือ เพอื่ กระตนุ้ ใหผ้ ูเ้ รยี นมีความ สงสัยใครร่ ู้ - ตอ้ งเป็นปัญหาทม่ี ปี ระเด็นขดั แยง้ กนั ถกเถยี งกัน เพอ่ื ใหเ้ กดิ การอภิปราย - ตอ้ งเปน็ ปัญหาทอ่ี ยู่ในความสนใจของผเู้ รียน - ต้องเป็นปญั หาที่จาเปน็ ตอ้ งระดมความคิดเหน็ จากหลาย ๆ คนก่อนตดั สินใจ - ต้องเปน็ ปญั หาที่สง่ เสริมให้เกิดการพสิ จู น์ขอ้ เทจ็ จรงิ - ต้องเป็นปัญหาท่สี ามารถมีคาตอบไดห้ ลากหลายแนวทาง - ต้องเป็นปญั หาท่เี หมาะสมกบั วุฒิภาวะและพ้นื ฐานความรูข้ องผ้เู รียน - ต้องเปน็ ปญั หาที่จาเป็นตอ้ งสารวจ คน้ คว้า รวบรวมข้อมูล รวมถึงทดลอง ก่อนที่จะไดค้ าตอบ - ตอ้ งเปน็ ปญั หาทีส่ อดคลอ้ งกับเนื้อหาท่ตี ้องการให้ผเู้ รียนเรยี นรู้

การจดั การเรียนร้โู ดยใช้ปัญหาเปน็ ฐานนน้ั ประกอบดว้ ย 6 ขน้ั ตอน อนั ได้แก่ ข้ันท่ี 1 กาหนดปญั หา ผู้สอนสร้างสถานการณต์ า่ งๆ เพ่ือ กระต้นุ ผเู้ รียน โดยอาจเป็นการแนะนาแนวทาง ยกตวั อยา่ งสถานการณ์ หรอื ถามคาถามทใี่ ห้คิด ตอ่ เพื่อใหผ้ เู้ รียนเกดิ ความสนใจและมองเหน็ ปญั หา มีโอกาสเลือกเฟ้นและเสนอปญั หาที่ หลากหลาย และสามารถแบง่ กลุม่ ตามความ สนใจ ซ่งึ กอ่ นท่จี ะกาหนดปัญหานนั้ ครูผู้สอน ควรทดสอบความรูพ้ ้นื ฐานของผ้เู รียนเสยี ก่อน เพ่ือใช้เปน็ ขอ้ มลู ในการกาหนดปัญหา ซ่งึ ตอ้ ง เหมาะสมกับความรูพ้ ้นื ฐานที่ผเู้ รียนมี ขน้ั ที่ 2 ทาความเขา้ ใจกบั ปญั หา ผสู้ อนจะกระตุ้นผเู้ รยี นดว้ ยคาถามหรอื การเสริมแรง เพือ่ ใหผ้ ูเ้ รยี นทาความเข้าใจกับปัญหาท่ีอยากรู้ โดยเนน้ ให้เกิดการระดมสมอง เพื่อหาแนวทางและวิธกี ารในการหาคาตอบ โดยมีครูผูส้ อนคอยดแู ลตรวจสอบ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความถกู ตอ้ ง ขั้นที่ 3 ดาเนนิ การศึกษาค้นควา้ ผู้เรียนจะต้องดาเนนิ การศึกษาคน้ คว้าอยา่ งเปน็ ระบบร่วมกนั โดยมกี ารกาหนดกตกิ า วางเปา้ หมาย และดาเนินกจิ กรรมตามระยะเวลาทกี่ าหนด โดยมีครูผู้สอนคอยใหค้ าชแี้ นะและอานวยความสะดวก ขั้นที่ 4 สงั เคราะหค์ วามรู้ ผู้เรยี นแตล่ ะคนสงั เคราะหค์ วามรู้ทไี่ ด้จากการคน้ ควา้ โดยมีการนาเสนอกนั ภายในกลมุ่ เพอ่ื หาขอ้ สรปุ ทบทวนและตรวจสอบความถูกตอ้ ง โดยมคี รูผสู้ อนถามคาถามโดยกระตุ้นใหผ้ ้เู รยี นมกี ารแลกเปลีย่ นความ คดิ เห็นและเกิดความคิดรวบยอด ขั้นที่ 5 สรปุ และประเมนิ ค่าของคาตอบ ผเู้ รยี นแตล่ ะกลุ่มนาขอ้ สรปุ ทไ่ี ดม้ าสร้างเป็นองค์ความรใู้ หม่ และเลอื กวธิ ที จ่ี ะนาเสนอสภู่ ายนอก โดย ผ่านความเห็นชอบจากครูผู้สอนในการตรวจสอบความถูกตอ้ ง และความเหมาะสมในการนาเสนอ ขั้นที่ 6 นาเสนอและประเมินผลงาน ผูเ้ รยี นแต่ละกล่มุ นาองค์ความรูท้ ่ไี ด้ไปนาเสนอตามวิธกี ารท่ีไดก้ าหนดไว้ เพือ่ เผยแพร่ออกสู่สาธารณะ โดยครูผสู้ อนประเมินผลการเรียนรจู้ ากการดาเนินงานของผ้เู รยี นตามสภาพจรงิ การจัดการเรยี นรูโ้ ดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน นบั วา่ เป็นหน่ึงในแนวการจดั การเรยี นรู้ที่เหมาะสมกบั การศกึ ษาในศตวรรษที่ 21 เพราะเปน็ หนงึ่ ในแนวการจดั การเรยี นร้ทู เี่ น้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญ โดยสามารถ นามาใช้กับผเู้ รยี นแทบทกุ ระดับชัน้ โดยขน้ึ อยู่กบั การคน้ หาปญั หาที่เหมาะสมกับพื้นฐานความรขู้ องผู้เรยี น สาหรับข้อจากัดของการจดั การเรยี นรู้รปู แบบน้ี คือ จะต้องมพี ื้นทเ่ี พียงพอใหผ้ เู้ รยี นได้ปฏบิ ัตกิ ารแบบ กล่มุ ยอ่ ย มแี หล่งศึกษาคน้ คว้าท่ีเหมาะสมและเข้าถึงงา่ ย และสาคัญท่สี ุด คอื ครูและบุคลากรที่เกี่ยวขอ้ งจะตอ้ ง มีความเขา้ ใจและมที ัศนคติท่ีดีต่อการจดั การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน จึงจะสามารถดาเนินการตามแนวการ จดั การเรยี นรโู้ ดยใช้ปญั หาเป็นฐานไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

๒. การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning : PjBL) การเรียนรู้โดยใช้โครงการเปน็ ฐาน หมายถงึ การจัดการเรยี นรทู้ มี่ ีครูเป็นผู้กระตุ้น เพื่อนาความสนใจท่ี เกดิ จากตวั นกั เรียนมาใช้ในการทากจิ กรรมค้นคว้า หาความรู้ดว้ ยตวั นักเรยี นเอง นาไปสกู่ ารเพมิ่ ความร้ทู ี่ไดจ้ ากการลงมือปฏิบัติ การฟงั และการ สังเกตจากผู้เชยี่ วชาญ โดยนกั เรียนมกี ารเรียนรู้ ผา่ นกระบวนการทางานเป็นกลมุ่ ทีจ่ ะนามาสู่การ สรุปความรใู้ หม่ มกี ารเขยี นกระบวนการจดั ทา โครงงานและไดผ้ ลการจดั กจิ กรรมเปน็ ผลงาน แบบรปู ธรรม ลักษณะของการเรียนรูแ้ บบโครงงาน มีดงั น้ี ๑. นกั เรยี นกาหนดการเรยี นรู้ของตนเอง ๒. เชื่อมโยงกับชีวิตจริง สงิ่ แวดล้อมจริง ๓. มฐี านจากการวิจัย หรอื องคค์ วามรูท้ ่ีเคยมี ๔. ใชแ้ หล่งข้อมูล หลายแหลง่ ๕. ฝังตรึงดว้ ยความรแู้ ละทกั ษะบางอย่าง (embedded with knowledge and skills) ๖. ใชเ้ วลามากพอในการสร้างผลงาน ๗. มีผลผลิต ข้ันตอนการจัดการเรยี นรแู้ บบโครงงาน ๑. ขน้ั นาเสนอ หมายถึง ขนั้ ที่ผู้สอนให้ผู้เรยี นศกึ ษาใบความรู้ กาหนดสถานการณ์ ศึกษาสถานการณ์ เลน่ เกม ดูรปู ภาพ หรือผ้สู อนใชเ้ ทคนิคการต้งั คาถามเกีย่ วกับสาระการเรียนรู้ทกี่ าหนดในแผนการจัดการเรยี นรู้ แต่ละแผน เช่น สาระการเรียนร้ตู ามหลักสูตรและสาระการเรียนรู้ที่เป็นขัน้ ตอนของโครงงานเพ่ือใช้เปน็ แนวทางในการวางแผนการเรยี นรู้ ๒. ขั้นวางแผน หมายถึง ข้ันทีผ่ ู้เรียนร่วมกนั วางแผน โดยการระดมความคิด อภปิ รายหารอื ข้อสรุป ของกล่มุ เพื่อใชเ้ ปน็ แนวทางในการปฏิบัติ ๓. ขัน้ ปฏบิ ัติ หมายถึง ขั้นท่ีผู้เรยี นปฏิบัติกิจกรรม เขยี นสรุปรายงานผลทเ่ี กิดขนึ้ จากการวางแผน ร่วมกัน ๔. ขน้ั ประเมนิ ผล หมายถึง ขั้นการวดั และประเมินผลตามสภาพจรงิ โดยให้บรรลุจุดประสงคก์ าร เรียนรทู้ ก่ี าหนดไว้ในแผนการจดั การเรียนรู้ โดยมผี ู้สอน ผู้เรยี นและเพ่อื นร่วมกนั ประเมนิ

๓. การเรียนรตู้ ลอดชวี ิต (Lifelong Learning) การเรยี นรูต้ ลอดชีวิต (Lifelong Learning) หมายถงึ การรับรคู้ วามรู้ ทักษะ และเจตคติ ต้งั แต่เกดิ จนตาย จากบุคคลหรอื สถาบนั ใดๆ โดยสามารถจะ เรียนรู้ดว้ ยวธิ เี รียนตา่ งๆ อย่างมีระบบหรือไมม่ รี ะบบ โดยตั้งใจหรือโดยบังเอิญก็ได้ ทงั้ นี้สามารถทาให้ บุคคลน้นั เกดิ การพัฒนาตนเอง การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (Self-Learning) เปน็ กระบวนการท่บี คุ คลใช้ในการสร้างความ ต้องการในการเรยี นรู้การตั้งจุดมุ่งหมายในการเรียนรู้ การทากิจกรรมเพ่ือค้นหาความรู้ เช่น การค้นคว้า เอกสารและแหล่งความรู้ต่าง ๆ การพบปะบุคลากร เ ลื อ ก แ ล ะ ก า ร ก า ห น ด แ ผ น ก า ร เ รี ย น รู้ แ ล ะ ก า ร ประเมินผล การเรียนรู้กิจกรรมส่วนใหญ่เกิดขึ้นด้วย ตัวเองซึ่งอาจจะได้รับหรอื ไม่ได้รับความช่วยเหลือจาก ผูอ้ ื่นกต็ าม ๔. การจดั การเรียนการสอนตามสภาพจริง (Authentic Instruction) การเรยี นการสอนตามสภาพจรงิ (authentic instruction) เป็นการเรียนทผี่ เู้ รยี นจะเปน็ ผ้คู ดิ วิเคราะห์ สงั เคราะห์ ประเมนิ ตดั สนิ ใจได้เอง มีกระบวนการที่ใช้เป็นยทุ ธศาสตร์ในการคิดอย่างเปน็ ระบบ ผู้เรยี นเป็นผู้อธบิ าย นาเสนอได้อย่างมีหลกั วิชาการ ด้วยการเรยี บเรยี งดว้ ยตนเอง อธบิ ายได้อย่างครอบคลุม และชัดเจน มีกระบวนการที่ดี มีความคดิ รวบยอด และหลักการของวชิ าท่ีเรียนรู้ รวมทงั้ ผ้เู รียนสามารถนาไปใช้ ปฏิบตั ิในชวี ติ จรงิ ได้ นาความรตู้ า่ ง ๆ ไปพฒั นาคุณภาพชวี ติ คุณภาพงาน คณุ ภาพสังคม สง่ิ แวดล้อมไดอ้ ยา่ ง เปน็ ปกตวิ สิ ยั จนเปน็ หนึง่ เดียวกัน ๕. การจัดการศกึ ษาบูรณาการกับการทางาน (Work Integrated Learning) การจัดการการเรียนการสอนที่ บู ร ณ า ก า ร กั บ ก า ร ท า ง า น ( Work- integrated Learning: WIL) เป็นรูปแบบ การจัดการเรียนการสอนรูปแบบหน่ึงท่ีมี ตน้ แบบมาจากประเทศแถบตะวันตก โดย เน้นการเรียนในช้ันเรียนควบคู่ไปกับการ ทางานในสถานประกอบการจริง เพ่ือเปิด โอกาสให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ ทางวิชาการ ท่ไี ด้จากในห้องเรยี นไปประยกุ ตใ์ ช้ในการฝกึ เปน็ กรณีหน่งึ ของการเรยี นรู้เชงิ ประสบการณ์ ท่ชี ว่ ย ใหผ้ ู้เรยี น มีโอกาสในการประยุกต์ความรู้ ทกั ษะการทางาน และทกั ษะทส่ี ัมพันธก์ ัน ไดร้ จู้ ักชวี ิตการทางาน ทแ่ี ท้จริงก่อนสาเร็จการศึกษาเปน็ การจัดการศึกษาแบบผสมกลมกลืนระหว่างประสบการณ์ทางานทางวิชาชีพ นอกห้องเรียน กับการเรียนในห้องเรียน ทั้งในรูปแบบการศึกษาวิจัยการฝึกงาน การทางานเพื่อสังคม การ ทางานในสถานประกอบการหรอื การฝึกประสบการณ์วชิ าชพี

เงือ่ นไขของการจดั การเรยี นการสอนแบบบรู ณาการการเรียนกับการทางานในรายวชิ า คือ ๑. ต้องมีการผสมกลมกลนื มจี ุดร่วม และหลอมรวมกันระหว่างความรูท้ างทฤษฎีทไ่ี ด้จากการเรยี นใน หอ้ ง เรียนกบั ประสบการณ์ทางานนอกหอ้ งเรยี น ๒. ตอ้ งเปน็ ส่วนหนงึ่ ของการศกึ ษาในรายวิชา ๓. ต้องอยู่ในสภาพแวดลอ้ มของการทางานจรงิ ๔. งานทฝ่ี กึ ปฏบิ ตั ิตอ้ งเปน็ งานท่ีมคี ุณภาพหรือสามารถพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาได้ ๖. การจัดการเรยี นการสอนโดยการลงมอื ปฏบิ ัติ (Active Learning) Active Learning เป็นรูปแบบการเรียนรู้ท่ีช่วยพัฒนาศักยภาพของตัวเองอย่างสมบูรณ์แบบ เพราะ เป็นการเช่ือมโยงความรทู้ ี่ได้เคยศึกษามาในอดีตและที่เพิง่ ได้เรียนมาประยุกต์ใช้จริงและเห็นถึงองค์ประกอบ อื่นในความรนู้ ้ันๆ เพื่อนาไปต่อยอดในการทางานตอ่ ไปได้ Active Learning คอื กระบวนการจัดการเรียนรทู้ ี่ผู้เรยี นไดล้ ง มอื กระทาและได้ใช้กระบวนการคิดเก่ยี วกบั ส่ิงท่ีเขาไดก้ ระทาลงไป เป็น การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ภายใต้สมมติฐานพื้นฐาน 2 ประการคอื ๑. การเรียนรูเ้ ป็นความพยายามโดยธรรมชาติของมนุษย์ ๒. แต่ละบุคคลมีแนวทางในการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน โดย ผู้เรียนจะถูกเปลี่ยนบทบาทจากผู้รับความรู้(receive) ไปสู่การมีส่วน ร่วมในการสร้างความรู้(co-creators) เป็นกระบวนการเรียนการสอน อย่างหนึ่ง คอื เป็นการเรยี นรู้ผ่านการปฏบิ ัติ หรอื การลงมอื ทาซ่งึ ความรู้ ทเี่ กดิ ขึ้นก็เปน็ ความรู้ทไี่ ด้จากประสบการณ์ กระบวนการในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนต้องได้มีโอกาส ลงมือกระทามากกว่าการฟังเพียงอย่างเดียว ต้องจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้การเรียนรู้โดยการอ่าน, การเขียน, การโต้ตอบ, และการวิเคราะห์ปัญหา อีกทั้งให้ผู้เรียนได้ใช้กระบวนการคิดขั้นสูง ได้แก่ การวิเคราะห์ การ สงั เคราะห์ และการประเมนิ ค่า เปน็ กระบวนการเรยี นร้ทู ่ีใหผ้ เู้ รยี นได้เรียนรูอ้ ย่างมีความหมาย โดยการร่วมมือ ระหว่างผู้เรียนด้วยกัน ครูต้องลดบทบาทในการสอนและการให้ข้อความรู้แก่ผู้เรียนโดยตรงลง แต่ไปเพิ่ม กระบวนการและกจิ กรรมที่จะทาให้ผู้เรียนเกดิ ความกระตือรือร้น ในการจะทากจิ กรรมต่างๆ มากข้นึ และอย่าง หลากหลาย ไมว่ า่ จะเป็นการแลกเปลย่ี นประสบการณ์ โดยการพูด การเขียน การอภปิ รายกบั เพอื่ นๆ ลกั ษณะของ Active Learning เป็นการเรยี นการสอนที่พฒั นาศกั ยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การแก้ปญั หา การแกป้ ัญหาและการ นาความรไู้ ปประยุกตใ์ ชเ้ ปน็ การเรียนการสอนท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นมีสว่ นรว่ มในกระบวนการเรียนรสู้ งู สุด ผเู้ รยี นสรา้ งองคค์ วามรแู้ ละจดั ระบบการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง ผูเ้ รียนมีสว่ นรว่ มในการเรยี นการสอนทง้ั ในด้านการ สร้างองค์ความรู้ การสรา้ งปฏสิ มั พนั ธ์รว่ มกนั และรว่ มมอื กันมากกวา่ การแข่งขนั ผู้เรยี นไดเ้ รียนรู้ความ รบั ผิดชอบรว่ มกนั การมีวินยั ในการทางาน และการแบ่งหนา้ ทค่ี วามรบั ผิดชอบ เปน็ กระบวนการสร้าง สถานการณ์ให้ผูเ้ รยี นอา่ น พดู ฟงั คิดอยา่ งลุ่มลึก ผ้เู รยี นจะเปน็ ผู้จัดระบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง เปน็ กจิ กรรม การเรยี นการสอนเน้นทักษะการคดิ ขนั้ สูง เปน็ กจิ กรรมทเ่ี ปิดโอกาสให้ผู้เรยี นบูรณาการข้อมลู , ขา่ วสาร, สารสนเทศ, และหลกั การสกู่ ารสร้างความคิดรวบยอดความคดิ รวบยอด ครผู ู้สอนจะเปน็ ผอู้ านวยความสะดวก ในการจดั การเรียนรู้ เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นเป็นผูป้ ฏิบัติดว้ ยตนเอง ความร้เู กิดจากประสบการณ์ การสร้างองคค์ วามรู้ และการสรุปทบทวนของผู้เรยี น

บทบาทของครู กับ Active Learning ๑. จดั ใหผ้ ู้เรยี นเปน็ ศูนย์กลางของการเรยี นการสอน กิจกรรมต้องสะทอ้ นความต้องการในการพัฒนา ผเู้ รียนและเนน้ การนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ิตจรงิ ของผู้เรียน ๒. สรา้ งบรรยากาศของการมสี ว่ นร่วม และการเจรจาโต้ตอบท่ีส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นมีปฏิสมั พนั ธ์ทีด่ ีกบั ผสู้ อนและเพอ่ื นในชัน้ เรียน ๓. จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ใหเ้ ป็นพลวตั สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นมสี ่วนร่วม ในทุกกิจกรรมรวมท้ังกระตุ้นให้ผู้เรียน ประสบความสาเร็จในการเรยี นรู้ ๔. จัดสภาพการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ ส่งเสริมให้เกิดการร่วมมือในกลุ่ม ผเู้ รียน ๕. จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้ทา้ ทาย และให้โอกาสผ้เู รียนได้รับวิธกี ารสอนทหี่ ลากหลาย ๖. วางแผนเกย่ี วกับเวลาในจดั การเรียนการสอนอย่างชดั เจน ทัง้ ในส่วนของเนอื้ หา และกจิ กรรม ๗. ครผู สู้ อนต้องใจกว้าง ยอมรับในความสามารถในการแสดงออก และความคิดเของทผ่ี ู้เรยี น รูปแบบของ Active Learning สามารถสรา้ งใหเ้ กิดขนึ้ ได้ทงั้ ในและนอกหอ้ งเรียน รวมทัง้ สามารถใชไ้ ดก้ ับผูเ้ รียนทุกระดับ ทง้ั การ เรยี นร้เู ปน็ รายบุคคล การเรียนรแู้ บบกลมุ่ เล็ก และการเรยี นรแู้ บบกล่มุ ใหญ่ รปู แบบการจดั กิจกรรมการเรียนรทู้ จี่ ะช่วยใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรยี นรูแ้ บบ Active Learning ไดด้ ี ไดแ้ ก่ ๑. การเรียนรูแ้ บบแลกเปลีย่ นความคดิ (Think-Pair-Share) คอื การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ทีใ่ หผ้ ู้เรียน คดิ เกย่ี วกับประเดน็ ท่กี าหนดคนเดยี ว 2-3 นาที (Think) จากน้ันใหแ้ ลกเปลยี่ นความคดิ กับเพอื่ นอีกคน 3-5 นาที (Pair) และนาเสนอความคิดเหน็ ต่อผู้เรียนท้ังหมด (Share) ๒. การเรียนรู้แบบรว่ มมือ (Collaborative learning group) คอื การจดั กิจกรรมการเรยี นรทู้ ี่ใหผ้ ู้เรียน ไดท้ างานรว่ มกับผอู้ ่นื โดยจัดกล่มุ ๆ ละ 3-6 คน ๓. การเรียนรแู้ บบทบทวนโดยผ้เู รียน (Student-led review sessions) คอื การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ทเ่ี ปดิ โอกาสให้ผูเ้ รียนได้ทบทวนความรูแ้ ละพิจารณาขอ้ สงสยั ต่างๆ ในการปฏิบตั ิกิจกรรมการเรียนรโู้ ดยครูจะ คอยช่วยเหลอื กรณที ี่มปี ัญหา ๔. การเรียนรแู้ บบใช้เกม (Games) คอื การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ที่ผ้สู อนนาเกมเขา้ บูรณาการในการ เรยี นการสอน ซงึ่ ใช้ได้ท้งั ในขนั้ การนาเข้าสู่บทเรยี น, การสอน, การมอบหมายงาน, และหรือข้ันการประเมนิ ผล ๕. การเรียนร้แู บบวิเคราะห์วีดีโอ (Analysis or reactions to videos) คอื การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ทีใ่ ห้ผู้เรยี นไดด้ ูวดี โี อ 5-20 นาที แลว้ ใหผ้ ู้เรยี นแสดงความคิดเหน็ หรอื สะทอ้ นความคดิ เกี่ยวกบั สง่ิ ทไ่ี ดด้ ู อาจ โดยวิธกี ารพดู โต้ตอบกัน การเขียน หรอื การรว่ มกันสรปุ เป็นรายกล่มุ ๖. การเรียนรแู้ บบโตว้ าที (Student debates) คือการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ทจ่ี ดั ให้ผู้เรยี นไดน้ าเสนอ ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากประสบการณ์และการเรียนรู้ เพ่อื ยืนยนั แนวคิดของตนเองหรอื กล่มุ ๗. การเรยี นร้แู บบผู้เรียนสรา้ งแบบทดสอบ (Student generated exam questions) คือการจัด กิจกรรมการเรียนร้ทู ่ใี หผ้ เู้ รียนสร้างแบบทดสอบจากส่ิงท่ไี ด้เรียนรมู้ าแลว้

๘. การเรียนรู้แบบกระบวนการวจิ ัย (Mini-research proposals or project) คือการจัดกจิ กรรมการ เรยี นรทู้ ีอ่ ิงกระบวนการวจิ ัย โดยใหผ้ ้เู รียนกาหนดหัวข้อที่ต้องการเรยี นรู้, วางแผนการเรียน, เรยี นรตู้ ามแผน, สรุปความรู้หรือสรา้ งผลงาน และสะทอ้ นความคดิ ในสิง่ ท่ีไดเ้ รียนรู้ หรอื อาจเรยี กว่าการสอนแบบโครงงาน (project-based learning) หรอื การสอนแบบใช้ปญั หาเปน็ ฐาน (problem-based learning) ๙. การเรียนรแู้ บบกรณีศึกษา (Analyze case studies) คือการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ทใี่ หผ้ ู้เรยี นได้ อา่ นกรณีตวั อย่างทตี่ ้องการศึกษา จากนน้ั ใหผ้ ู้เรียนวิเคราะห์และแลกเปลีย่ นความคิดเห็นหรือแนวทาง แก้ปญั หาภายในกลุ่ม แล้วนาเสนอความคดิ เห็นต่อผเู้ รียนท้งั หมด ๑๐. การเรยี นรูแ้ บบการเขยี นบนั ทึก (Keeping journals or logs) คอื การจัดกิจกรรมการเรียนร้ทู ี่ ผ้เู รยี นจดบันทึกเรือ่ งราวตา่ งๆ ทีไ่ ดพ้ บเหน็ หรอื เหตุการณท์ ่เี กิดขึน้ ในแตล่ ะวัน รวมท้งั เสนอความคิดเพม่ิ เติม เกยี่ วกบั บันทึกทเ่ี ขยี น ๑๑. การเรียนรแู้ บบการเขียนจดหมายข่าว (Write and produce a newsletter) คอื การจดั กิจกรรม การเรยี นรทู้ ่ใี หผ้ ู้เรยี นรว่ มกันผลติ จดหมายข่าว อนั ประกอบด้วย บทความ ข้อมูลสารสนเทศ ขา่ วสาร และ เหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึน แล้วแจกจ่ายไปยงั บุคคลอ่ืนๆ ๑๒. การเรยี นร้แู บบแผนผังความคดิ (Concept mapping) คือการจดั กิจกรรมการเรยี นรูท้ ่ีใหผ้ เู้ รียน ออกแบบแผนผงั ความคิด เพื่อนาเสนอความคิดรวบยอด และความเชื่อมโยงกันของกรอบความคดิ โดยการใช้ เสน้ เป็นตัวเชอื่ มโยง อาจจดั ทาเป็นรายบุคคลหรืองานกลุ่ม แลว้ นาเสนอผลงานตอ่ ผ้เู รยี นอน่ื ๆ จากน้นั เปดิ โอกาสให้ผูเ้ รียนคนอื่นไดซ้ ักถามและแสดงความคิดเหน็ เพม่ิ เตมิ ๗. การแบง่ ปันความรู้ (Knowledge Shairing) การแบง่ ปันความรู้ คอื การทีก่ ลุ่มคนท่มี คี วามสนใจในเรอื่ งใดเรอื่ งหนึ่งรว่ มกนั มารวมตวั กนั และ แลกเปล่ียนเรยี นรู้ ดว้ ยความสมคั รใจ เพ่อื ร่วมสร้างความเขา้ ใจหรอื พฒั นาแนวปฏิบตั ใิ นเรือ่ งนนั้ ๆ การแบ่งปันความรู้มีหลายวธิ ี 1. การสร้างวฒั นธรรมในองค์กรใหม่ ให้ รู้จักการแบ่งปันความรู้ หรือพูดง่ายๆ คือ การ ส ร้ า ง อ ง ค์ ก ร แ ห่ ง ก า ร เ รี ย น รู้ ( Learning Organization) 2. การนาหลักการของ การจัดการองค์ ความรู้มาใช้ในองค์กร หรือท่ีเรามกั จะเรียกกันว่า Knowledge management 3. การถา่ ยทอดความรู้ หรอื ประสบการณ์สว่ นตวั ดว้ ยเว็บไซต์ หรอื บล็อก 4. หัดรับฟังความคิดเห็นของคนในองคก์ ร เพ่อื สรา้ งวฒั นธรรมในการคดิ ใหก้ บั ทกุ ๆ คน 5. ในแง่การศึกษากเ็ ชน่ เดียวกัน ครู อาจารยค์ วรรับฟงั แง่คิดของเดก็ ๆ นกั เรียน นักศกึ ษาบ้าง ปล่อย ให้เด็กๆ คดิ อะไรก็ได้ ไมใ่ ช่ว่าจากัดกรอบความคดิ เพยี งแค่ในตาราเรียน หลกั การท่เี ปน็ พน้ื ฐานสาคญั ของการแลกเปล่ียนเรียนรู้ 1. ต้องมีความเอาใจใสก่ ัน (Care) 2. ตอ้ งมีความรกั ความเออื้ อาทรตอ่ กนั (Love) 3. ตอ้ งมีความไว้เนื้อเชอ่ื ใจกนั (Trust) 4. ตอ้ งรูส้ ึกปลอดภยั (Safe)

องค์ประกอบหลกั ที่สาคญั ๆ ของการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ (Knowledge Sharing) ๑. คน (People) ถือวา่ เปน็ องค์ประกอบทีส่ าคญั ท่ีสดุ เพราะเป็นแหล่งศนู ย์รวมของความรู้ท่ีสมควร นาออกมาแบง่ ปันเปน็ อย่างยิง่ ๒. สถานท่ี และบรรยากาศ (Place) เป็นองค์ประกอบทีจ่ ะทาให้การแลกเปลยี่ นเรยี นรมู้ ชี วี ิตชีวา และนา่ สนใจ ๓. สง่ิ อานวยความสะดวกต่าง ๆ (Infrastructure) เปน็ องค์ประกอบทชี่ ่วยใหก้ ารแบง่ ปนั และ แลกเปล่ยี นเรยี นร้เู กิดไดง้ า่ ยและสะดวกขนึ้ ๘. หลักการสรา้ งพลังความคดิ เชงิ บวก (The Power of Positive Thinking) คอื การสร้างความเชอ่ื ม่นั ในตนเอง เช่ือในสง่ิ ทีด่ งี าม ว่าเปน็ สิ่งทถี่ กู ต้อง มองสิ่งตา่ งๆ อย่างเข้าใจ ยอมรับไดใ้ นดา้ น ลบ มองปญั หาความทุกขค์ วามไมร่ าบรืน่ เปน็ เรอื่ งธรรมดา รจู้ ักเลอื กใช้ประโยชน์จากด้านบวกท่ีแฝงอยูจ่ ากส่ิงนน้ั ๆ ได้ เหตกุ ารณบ์ างอยา่ ง เราไม่สามารถเลือกไดว้ า่ จะใหเ้ กดิ หรอื ไมใ่ ห้เกดิ บุคลิกภาพเชงิ บวก (Personality Plus) คนเราตา่ งเกิดมาพร้อมกับข้อดแี ละขอ้ เสียของตวั เอง ไมม่ สี ตู รสาเร็จใดท่ีใช้ไดก้ บั คนทกุ คน เพราะแตล่ ะคนมี เอกลักษณ์เฉพาะของแต่ละบคุ คลทีจ่ ะทาให้ประสบ ความสาเร็จในรปู แบบทแ่ี ตกต่างกันไป บคุ ลกิ ภาพของคนแบง่ ออกเปน็ 4 ประเภท ดงั น้ี 1. รว่ มสนกุ กับคนรา่ เริง 2. จดั ระเบียบไปกับคนเจ้าระเบยี บ 3. ทางานให้คบื หนา้ ไปกับคนไมย่ อมใคร 4. ผอ่ นคลายกับคนประเภทอะไรกไ็ ด้ การจะเข้าใจคนอน่ื ไดน้ นั้ เราตอ้ งเรม่ิ จากการเข้าใจตวั เองเสียก่อน ไม่วา่ คุณจะมีพนื้ ฐานบุคลิกภาพ แบบใด หากคุณเรม่ิ ตน้ ที่จะลงมืออย่างจรงิ จัง พฒั นาจดุ เดน่ แกไ้ ขจุดด้อยของตวั เอง คณุ กส็ ามารถพฒั นาตวั เอง และสมั พันธภาพกบั คนอ่ืนได้อยา่ งไมน่ ่าเชอ่ื วธิ ที ดี่ ที สี่ ดุ คือเข้าใจตัวเอง เข้าใจคนอื่น ยอมรับตวั เองและยอมรับ คนอืน่ อย่างท่ีเขาเป็น ความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Intelligence) ความฉลาดทางอารมณ์ หมายถงึ ความสามารถในการควบคมุ อารมณ์ มจี ิตใจท่ีมั่นคง การมองโลกในแงด่ ี ร้จู ักเหน็ อกเห็นใจผูอ้ น่ื ร้จู ักเอาใจ เขามาใส่ใจเรา มีความมงุ่ มน่ั แน่วแน่ มีเหตุผล มีสติ สามารถควบคุมตนเอง มี ความสามารถในการรบั รู้ถงึ ความตอ้ งการของคนอื่น และรู้จกั มารยาททาง สงั คม เป็นตน้ ความฉลาดทางอารมณป์ ระกอบด้วยปัจจยั สาคัญ ๓ ประการ ได้แก่ ๑.ความดี ๒.ความเก่ง ๓.ความสขุ ซ่ึงแต่ละปัจจยั ก็ใหค้ วามหมายท่ี แตกต่างกนั ดงั ตอ่ ไปน้ี

คุณลักษณะ 10 ประการ ของผ้มู ีระดบั คณุ ภาพทางอารมณส์ งู 1. รบั รู้อารมณ์ของตนเอง มากกวา่ ท่ีจะกล่าวโทษสถานการณ์ หรือผ้อู ่ืน 2. สามารถแยกแยะระหวา่ ง ความคิด กับ ความรสู้ ึก ได้ 3. มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ ความรู้สกึ ของตนเองไมโ่ ทษโนน่ โทษน่ี 4. รจู้ ักใช้ความรู้สกึ เพื่อชว่ ยในการตดั สินใจ 5. มคี วามเคารพ ใหเ้ กยี รติในความรู้สึกของคนอ่ืน 6. เมื่อถกู กระตุ้นใหโ้ กรธ จะสามารถควบคมุ จติ ใจไมใ่ ห้โกรธได้ และสามารถแปลงพลังความโกรธให้ เปน็ พลงั ในทางสร้างสรรคไ์ ด้ 7. เขา้ ใจเห็นอกเห็นใจและยอมรบั ในความรสู้ ึกของผูอ้ ืน่ 8. รู้จักฝกึ หาคุณค่าในทางบวก จากอารมณใ์ นทางลบ 9. ไมช่ อบวิพากษว์ จิ ารณ์ ตัดสนิ ออกคาสง่ั ทาการควบคุม หรือแนะนาส่งั สอนผู้อนื่ เปน็ กิจวตั ร 10. หลกี เลยี่ งการปะทะอารมณก์ ับคนทีไ่ มย่ อมรบั หรือ ไมเ่ คารพความรู้สึกของผอู้ ่ืน ความฉลาดทางอารมณ์ สามารถสรปุ ได้ดังนี้ ความฉลาดทางอารมณ์ = เขา้ ใจตนเอง + เข้าใจผู้อื่น + แก้ไขความขดั แยง้ ได้ เขา้ ใจตนเอง = เข้าใจอารมณ์ ความร้สู ึกและความตอ้ งการในชวี ติ ของตนเอง เข้าใจผ้อู ่นื = เข้าใจอารมณ์ความรู้สกึ ของผู้อน่ื และสามารถแสดงออกมาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม แกไ้ ขความขัดแยง้ ได้ = เมอื่ มีปัญหาสามารถแก้ไขจัดการให้ผ่านพน้ ไปไดอ้ ยา่ งเหมาะสมทงั้ ปัญหา ความเครียดในใจ หรือปญั หาทเี่ กิดจากการขดั แย้งกบั ผูอ้ ืน่ ๙. หลกั การสรา้ งความสาเร็จด้วยกฎแห่งความสาเร็จ (The Law of Success) เมื่อกล่าวถึงหลักการคิดเพื่อการสร้างความสาเร็จในอนาคตหลายคนอาจจะมีหลักคิดที่แตกต่างกัน ออกไป แต่หากต้องการหลักการหรือปรัชญาเพ่ือมุ่งไปสู่ความสาเร็จอย่างยั่งยืน การเลือกเอาปรัชญาเพื่อ นาไปส่กู ารประสบความสาเรจ็ ท่ีมีหลายๆ คนนยิ มใชท้ ่ัวโลกนบั เป็นสิ่ง ที่ไม่ควรมองข้าม ทั้งนี้ก็เพื่อให้การไปสู่ความสาเร็จไม่ใช่เร่ืองยากอีก ต่อไปน่ันเอง หลักปรัชญาแห่งความสาเร็จ นั้น มีท่ีมาจากนโปเลียน ฮิลล์ ผู้เป็นนักเขียนท่ีได้รับการยกย่องจากผู้คนทั่วโลก พร้อมกันนั้นก็ ยังไดร้ บั การยอมรับจากคนทวั่ ไปวา่ เขาเป็นผูท้ ่ปี ระสบความสาเร็จมาก ที่สุดคนหน่ึง เขามีส่วนสาคัญในการสร้างแนวคิดท่ีดีให้กับเจ้าของ ธุรกิจท่ีย่ิงใหญ่ท่ัวโลก จนอาจจะกล่าวได้ว่าเขาเป็นหนึ่งในผู้สร้าง ประวตั ิศาสตร์ของนกั บรหิ ารได้เลยทเี ดยี ว หลักการของ นโปเลยี น ฮิลล์ 17 ขอ้ ที่ ดงั นี้ 1. การกาหนดเป้าหมายทีช่ ดั เจน การมีเป้าหมายท่ีแน่นอน ชดั เจน คือจุดเร่ิมตน้ ของการประสบความสาเรจ็ ท้ังปวง การที่คณุ ไมม่ ี เปา้ หมายหรือแผนการในหวั นนั้ จะทาใหค้ ุณใช้ชวี ติ อย่างไร้ จดุ มงุ่ หมายเหมือนกับเรือท่ีลอยเควง้ คว้างอยู่กลางมหาสมุทร 2. การรว่ มมอื รว่ มใจกนั การทางานร่วมกนั ระหว่างสองบคุ คลข้นึ ไปเพื่อทจี่ ะบรรลุเปา้ หมายท่ไี ดว้ าง ไว้ และความสาเรจ็ จะเกดิ ขน้ึ ไมไ่ ดเ้ ลยหากปราศจากการรว่ มมอื กันกบั ผูอ้ ืน่

3. การมคี วามศรัทธา คือ สภาวะที่จิตใจของเราแฝงไปด้วย เปา้ หมาย แรงปรารถนา และแผนการ ซ่งึ ส่งิ เหล่านี้เองทีจ่ ะนาไปสคู่ วามสมดุลในชวี ติ และทรัพยส์ ิน 4. การทามากกวา่ ที่ใครคาดหวงั การทาให้มากเกินกว่าที่ใครคาดหวงั คอื การปฏบิ ัติหน้าที่ใหม้ ากกว่า เงนิ เดือนทีค่ ณุ ถกู จา้ ง และเมื่อคุณทุ่มสุดตวั เม่อื ใด เม่ือน้ันคณุ ก็จะไดร้ บั ค่าตอบแทนอนั คมุ้ ค่าตามมา 5. การมีบุคลกิ ภาพท่ีดี คือภาพรวมของ จิตใจ อารมณ์ความร้สู ึก ลกั ษณะทา่ ทาง และอุปนสิ ัยของเรา ทสี่ ามารถแยกลกั ษณะออกจากบุคคลคนอืน่ ๆ ได้ ส่งิ น้ีเองทีค่ นอนื่ ใช้ตัดสนิ เราว่าเราเป็นคนนา่ ไวใ้ จหรอื ไม่ 6. การริเรมิ่ ท่ีตวั ของเราเอง คือพลงั ทจี่ ะกระตุน้ ให้เกดิ การบรรลุเปา้ หมายท่ีเราได้ตั้งไว้ มันคอื พลงั ซ่ึง เปน็ จดุ เร่มิ ตน้ ของการกระทาทั้งปวง คณุ จะไม่สามารถเปน็ อิสระได้เลย จนกวา่ คณุ จะเรียนรูท้ จี่ ะทาในสิ่งคุณ อยากทาและมีความกล้าพอท่ีจะลงมือทามัน 7. การมที ศั นคตทิ ี่ดี การมที ัศนคตเิ ชงิ บวก คอื สิ่งท่ีควรทาในทกุ สถานการณ์ เพราะเราคดิ สงิ่ ใดมันยอ่ ม ดึงดูดส่งิ นน้ั เขา้ มาเสมอ ความสาเร็จกม็ กั ดงึ ดูดความสาเร็จมากมายเข้ามา ขณะทคี่ วามล้มเหลวก็มักจะดึงดดู ความล้มเหลวมากมายเขา้ มาเชน่ กนั 8. การกระตอื รือรน้ คอื การมีศรัทธาหรอื ความปรารถนาอนั แรงกล้าทอ่ี อกมาจากภายใน และสามารถ แสดงออกมาผา่ นน้าเสียง สหี นา้ ท่าทาง และอารมณ์ได้ 9. การมีวินัยในตนเอง เรม่ิ จากการเป็นนายของความคิดตวั เอง หากคณุ ควบคุมมนั ไมไ่ ด้ คุณก็ควบคุม ความต้องการของตวั เองไม่ได้เช่นกัน ซ่ึงการท่คี ุณจะมีวินัยในตวั เองได้นนั้ คณุ จาเปน็ ตอ้ งมีความสมดุลของ สมองและหวั ใจ หรือสมดุลการใช้เหตุผลและอารมณน์ น้ั เอง 10. การมคี วามคิดทเ่ี ท่ยี งตรง พลังแห่งความคดิ อาจเปน็ พลังที่อนั ตรายที่สดุ หรืออาจจะเปน็ ประโยชนท์ ่ีสุดสาหรับมนุษยชาติ ขึ้นอยกู่ ับวา่ คณุ จะใช้มันอย่างไร 11. การใสใ่ จในสิง่ ที่ทาอยู่ นาไปสู่การเปน็ นายของความเพยี รพยายาม นอกจากมันจะชว่ ยให้คุณ สามารถโฟกัสความคิดของคุณไดแ้ ล้ว มนั ยงั ช่วยให้คุณบรรลุเปา้ หมายและรักษาความต้ังใจของคุณเอาไวไ้ ด้ ดว้ ย 12. การทางานเป็นทีม ทมี เวิร์ค คือการทางานเปน็ อันหนงึ่ อนั เดยี วกัน ซง่ึ กค็ อื ความต้ังใจ สมัครใจ และความเปน็ อสิ ระ เมอ่ื ใดก็ตามท่ีทุกคนมคี วามสามคั คีกันในการทาธรุ กิจหรืออุตสาหกรรม ความสาเร็จก็ยอ่ ม ไม่หนไี ปไหน ความสามคั คีกลมเกลียวจงึ เปน็ เสมือนสมบตั ิทป่ี ระเมนิ คา่ ไม่ไดเ้ ลย 13. การร้จู ักความลาบากและความพ่ายแพ้ ความล้มเหลวเปน็ เพียงความพ่ายแพเ้ พียงช่วั คราวที่ พสิ จู นว์ ่า น่อี าจจะเป็นพรอนั ประเสรฐิ ท่แี ปลงตวั มา หรือเรียกอีกอย่างกค็ อื เรื่องดี ๆ ที่แฝงอยู่ในเร่อื งรา้ ย ๆ การท่ีคนเราจะประสบความสาเรจ็ ไดน้ ้นั ล้วนผา่ นความยากลาบากและความล้มเหลวมากอ่ นแล้วท้งั นัน้ 14. การคดิ อย่างสร้างสรรค์ การมีความคดิ สรา้ งสรรค์ เกิดข้ึนจากการทคี่ ุณกล้าคดิ กลา้ จนิ ตนาการ ไดอ้ ย่างอิสระ มันจงึ ไมใ่ ช่ปาฏิหาริยแ์ ละไมเ่ กยี่ วกับการมีพรสวรรค์หรอื ไม่มพี รสวรรค์มาแต่กาเนดิ 15. การมสี ขุ ภาพทด่ี ี การมีสุขภาพรา่ งกายแขง็ แรงเริ่มดว้ ยการฝึกฝนสมาธิ ซึ่งกเ็ หมอื นกับการ ประสบความสาเร็จในการลงทุน ท่ีเริม่ ด้วยการเจริญสติ 16. การบริหารเวลาและเงิน เวลาและเงนิ คอื ทรพั ยากรท่ีมีค่า และมคี นทก่ี าลงั ต่อสู้เพ่อื ความสาเร็จ เหล่านเี้ พียงไม่ก่คี นเท่านน้ั ท่เี ชอ่ื ม่นั วา่ พวกเขาจะตอ้ งครอบครองสิง่ เหลา่ นีใ้ ห้ได้ 17. อุปนิสัย การพัฒนาและการสรา้ งนิสัยเชิงบวกจะช่วยให้จิตใจเราสงบขึ้น มีสุขภาพดีและมีความ มัน่ คงทางการเงินด้วย ดังน้ันความสาเร็จล้วนมาจากส่ิงเหล่านี้ ก็คือนิสัยเชงิ บวก วธิ คี ดิ และการกระทาของ คณุ เอง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook