ครั้งหนึ่ง เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าประทับ ณ เซตวันมหาวิหาร ทรงทราบว่า พระนางวาสภฃัตติยา พระราชธิดาของพระเจ้ามหานาม แห่งศากยวงติ ได้ถูกถอดออกจากตำแหน่งพระอัครมเหสิของพระเจ้า ปเสนทิโกคล แม้พระราขโอรสของพระนาง ดู่อวิฑูทภะ นึ่งมีอายุ ประมาณ ๗-๘ ขวบ ก็พสอยถูกถอดออกจากตำแหน่งรัขทายาทด้วย เพราะพระเจ้าปเสนทิโกศสได้ทรงทราบภายหลังว่า พระนางวาลภ- ขัตติยา เป็นราขธิดาที่เกิดจากนางทาสิ จึงด้องนับว่า พระนางอยู่ใน วรรณะตาสุด คือ จัณฑาล และพระราขโอรสของพระนางก็ด้องเป็น จัณฑาลด้วย การที่พระนางวาสภขัตติยา ได้มาเป็นพระมเหสิของพระเจ้า ปเสนทิโกคล กษ้ตวิย์แห่งแคว้นโกศลนั้นเนึ่องด้วยพระเจ้าปเสนทิโกคล มีความเคารพเลื่อมใสในพระบรมศาสดามาก ปรารถนาจะได้เป็นพระ ประยูรญาติกับพระลัมมาลัมพุทธเจ้า จึงทรงส่ขอพระราขธิดาของ พระเจ้ามหานามมาเป็นพระมเหสิ พระเจ้ามหานามนั้น ทรงถีอพระองติว่ามีขาติตระกูลที่สูงส่ง เก่าแก่มาแต่โบราณกาล ส่วนพระเจ้าปเสนทิโกคลนั้น เป็นราขตระกูล ใหม่กว่ามาก จึงมีพระทัยดูถูกเหยียดหยาม ไม่ประสงติจะร่วมพระ ราขวงติด้วย แต่ไม่อาจขัดขืนด้วยเกรงพระบรมเดขานุภาพ จึงได้ส่ง พระนางวาสภขัตติยา พระราขธิดาที่เกิดจากนางทาสิไปให้โดยหมาย พระทัยว่า คงจะไม่มีผู้ใดส่วงรู้ความลับเรื่องขาติกำเนิดของนาง เมื่อความลับถูกเปิดเผยขึ้นภายหลังพระเจ้าปเสนทิโกคลก็ไม่ อาจยกย่องพระนางกับพระราขโอรสได้อีกต่อไป แต่ความอาลัยรัก ๑00 นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
ยังมีอยู่มาก จึงให้เพียงถอดพระราชอิสริยยศเสีย แต่ยังคงให้อายัยอยู่ ในพระราชวังได้ดัง เดิม พระบรมศาสดามีพระทัยเปียมล้นด้วยความเมตตากรุณา ใคร่จะอนุเคราะห์พระนางกับพระราชโอรสผู้ปราศจากความผิด แสะ ขจัดการถือชั้นวรรณะให้สินไปจากแผ่นดิน ดังนั้นในเห้าวันหนึ่งพระองค์ จึงได้เสด็จไปทรงเยี่ยมพระเจ้าปเสนทิโกคลพร้อมด้วยพระภิกษุจำนวน ๕00 รูป ขณะประทับฉันภัตตาหารณพุทธอาสน์ พระองค์ได้ตรัสถาม ถึงพระนางวาสภขัตติยาว่าหายไปไหนไม่เห็นมาเผิาเซ่นเคยปฏิบ้ตมา พระเจ้าปเสนทิโกคลจึงจำเป็นด้องตรัสเล่าเรื่องถวาย พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบเรื่องแล้ว จึงตรัสถามโดย กุคโสบายว่า \"ดูก่อน มหาบพิตร พระนางวาสภขัตติยๆเป็นธิดาของใคร?\" พระเจ้าปเสนทิโกศสกราบบังคมทูสว่า \"พระนางเป็นธิดาของพระเจ้ามหานามแห่งศากยวงติ พระเจ้าข้า\" พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสถามต่อไปว่า \"นางมาที่เมีองนี้มาหาใคร ใครไปขอให้มาหรือนางมาเอง?\" พระเจ้าปเสนทิโกคสทูลว่า \"ข้าพระพุทธเจ้าโปส่ขอนางมาเป็นพระมเหสีเองพระเจ้าข้า\" พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเล็งเห็นทางที่จะซ่วยเหลือพระนาง วาสภขัตดิยาได้ ก็ต่อเมื่อยกเอาแต่ขาติตระกูลทางฝ่ายบิดามาอ้าง และยกเอาความสำดัญของพระราชโอรสมาก่อน จึงตรัสว่า นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๑0๑
\"ดูก่อน มหาบพิตร นางเป็นธิดาของพระราชา มาส่พระราชา เหมือนกัน ได้โอรสก็โดยอากัยพระราชา ไฉนพระราชโอรสใฌั้จึงไม่ ควรได้เป็นเจ้าของราชสมบ้ตของพระชนกเล่า อย่าว่าแต่ครั้งนี้เสย แม้แต่โบราณกาส พระราชามืโอรสกับหญิงเก็บพินที่อยู่ร่วมกันเพียง ครู่เดียว พระองค์ยังทรงยอมมอบราชสมบ้ตแก'พระโอรสนั้นได้\" พระเจ้าปเสนทิโกศลใJน ถึงแม้พระทัยจะเอนเอียงไปทางข้าง ยอมรับตามพระบรมศาสดา แต่ยังไม่ทรงสบายพระทัยนัก จึงกราบ ทูลอาราธนาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าให้ทรงเล่าเรื่องในอดีตให้ฟิงพระ- พุทธองค์จึงตรัส กัฏรูหาริซาดก มีเนื้อความดังนี้ เนื้อหาซาดก วันหนึ่ง พระเจ้าพรหมทัต กษ้ต่ริย์แห่งนครพาราณสื ได้เสด็จ ประพาสพระราซอุทยาน พร้อมด้วยหมู่ข้าราชบริพาร ขณะที่พระองค์ ทรงเพลิดเพสินซมความงามของมวสไม้ดอกไม้ผลนานาพันธุอยู่นั้น พสันได้ยินเลิยงสตรีขับร้องเพลงไพเราะจับใจ ดังมาจากป่าใกล้ๆ เขตพระราขอุทยาน แม้เพียงได้ยินเสิยง ก็ทรงมีจิตปฏิพัทธ์รักใคร่ แสะได้เสด็จไปอยู่ร่วมด้วย ในขณะนั้นเองพระโพธิสัตว์ได้ถึอปฏิบ้ตในครรภ์ของนาง ด้วย อำ นาจบุญญาบารมีแห่งทารก แสะบุญกุคลที่นางสร้างสมมาหลายภพ หลายขาติ ทำ ให้นางรู้ลิกภายในท้องสว่างไสวราวกับมีเพขรนับร้อย นับพันล่องแสงแข่งประกายกันอยู่ ก็ทราบว่าตั้งครรภ์แล้ว จึงกราบทูล ให้พระเจ้าพรหมทัตทรงทราบ พระองค์จึงพระราขทานพระธำมรงค์ ๑0๒ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
วงหนึ่งแก่นาง แล้วตรัลว่า หาก ฆุตรในครรภ์เป็นหญิง ให้นำพระ ธำ มรงค์นั้นไปขายเลี้ยงชีวิต แต่หากบุตรเป็นขายให้พาไปหาพระองค์ หลังจากที่พระเจ้าพรหมทัตเสด็จจากไปแล้ว หญิงเก็บหืเนเฝืา ถนอมครรภ์ที่เติบโตขึ้นจนํครบกำหนดเวลา ก็คลอดบุตรเป็นชาย นาง ได้เลี้ยงดูกุมารน้อยด้วยความรัก จนกระทั่งวันหนึ่ง ขณะที่กุมารน้อย กำ ลังเล่นอยู่กับบุตรซาวบ้านด้วยกัน เกิดทะเลาะเบาะแว้งกันขึ้น เด็ก คนหนึ่งได้ตะโกนขึ้นว่า \"ไอ้ลูกไม่มีฟอมันรังแกเรา!\" กุมารน้อยได้ฟ้งดังนั้น เสียใจและอับอายยิ่งนัก รีบวิ่งกลับ มาหามารดา เล่าเรื่องราวให้ฟ้ง แล้วซักไซ้มารดาถึงพ่อของตนในที่ลุด นางจึงกล่าวว่า \"พระเจ้ากรุงพาราณMนี่แหละ คือพ่อของลูก\" กุมารน้อยจึงซักไซ้ไต่ถามเรื่องราวแต่หนหลัง พร้อมทั้งถามหา หลักฐานที่จะใซ้ยืนยันว่าตนเป็นโอรลของพระราชาจรีง เมื่อมารดา เล่าเรื่องทั้งหมดให้ฟ้ง กุมารจึงอ้อนวอนให้พาเข้าวัง นางทนคำรบเร้า อ้อนวอนของบุตรไม่ไหว ทั้งรู้อัธยาดัยของบุตรว่าเป็นผู้มีจิตมั่นคง แน่วแน่ยิ่งนัก จึงพากันเข้าไปเจรจากับนายประดู ขอเข้าเฝืาพระเจ้า พาราณสี นายประตูเห็นกุมารน้อยมีรูปร่างลักษณะลง่างาม ก็มีจึต เมตตา จึงยอมให้ทั้งลองแม่ลูกเข้าเฝืา นางได้กราบทูลพระเจ้าพรหมทัตว่า กุมารน้อยคือโอรลของ พระองค์ พระเจ้าพรหมหัตนั้น แม้จะทรงจำนางได้ แต่รู้สีกละอายหมู่ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๑อ๓
อำมาตย์ข้าราซบริพารทั้งหลายที่พระองค์ได้ไปมี(ร)วามส์มพัtJธ์เกี่ยวข้อง กับหญิงซาวบ้านธรรมดาๆ คนหนึ่ง จึงตรัสปฏิเสธ แม้กระทั้งนางนำ พระธำมรงค์มาถวายให้ทอดพระเนตร พระองค์ก็ยังไม่ทรงยอมรับ นาง รู้สิกเสียใจยิ่งนัก จึงตั้งสติมั่น ยกมีอขึ้นประณมเหนีอสืรษะ กล่าว สัตยาธิษฐานต่อหน้าพระเจ้าพรหมหัตว่า \"หม่อนฉันIน่นีพยานอื่นใดอีกแล้วmะมากล่าวอ้า^แท่ทๆะอ^ค์ ว่า กุมารนี้คือพระราชโอรส จึงขอยึดล้จจวาจา และบุญกุศลที่หม่อมฉัน ได้บำเพ็ญมาทุกภพทุกชาติเป็นที่พึ่ง หากกุมารน้อยนี้เป็นโอรลของ พระองด้ ก็จงลอยอยู่ในอากาศ แต่หากว่ามิใช่ ก็ขอให้ตกลงมาดาย เอียเถิด!\" กล่าวจบ นางจับกุมารน้อยโยนขึ้นไปบนอากาศหันทีท่ามกลาง ความตกตะลึงของพระเจ้าพรหมหัต และหมู่อำมาตย์ข้าราซบริพาร ทั้งหลาย ด้วยอำนาจแห่งสัตยาธิษฐาน ร่างของกุมารน้อยเมื่อถูกโยน ขึ้นไปก็มีได้ตกลงมากสับมั่งขัตสมาธิสอยอยู่ เป็นที่อัคจรรย์ยิ่งน้กพลาง กุมารกล่าวภาษิตคาถาว่า \"ข้าแต่พระราชาผู้เป็นใหญ่ข้าพระบาทเป็นโอรลของพระองค์ ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นจอมแห่งหมู่ชน ขอพระองค์ได้โปรดชุบเลี้ยงข้า พระบาทไว้ แม้คนเหล่าอื่นพระองค์ยังทรงชุบเลี้ยงได้ ไQนจะไม่ทรง ชุบเลี้ยงโอรลของพระองค์เองเล่า พระเจ้าข้า\" พระกุมารตรัสเรียกพระขนกว่า เป็นจอมแห่งหมู่ขนโดยหมาย จะยกย่องว่าพระราขานั้นทรงมีพระมหากรุณาธิคุณต่อผู้อื่นอย่างยิ่งใหญ่ ๑0๙ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
ทรงเลี้ยงประซาซนทั้งประเทศ โดยสงเคราะห์ด้วย ส์งคหวัตถุ ๔ ประการ คือ 9. ทาน การให้ปัน ๒.ปียวาจา การเจรจาที่ไพเราะอ่อนหวาน ๓. อัตถจริยา ประพฤติตนให้เป็นประโยซน์ต่อผู้อื่น ๔. สมานัตตตา ความเป็นผู้มีตนสมาเสมอ เมื่อเป็นดังนี้แล้วทำ ไมพระองค์จึงไม่ทรงซุบเลี้ยงลูกของตนเอง พระเจ้าพรหมทัตทอตพระเนตรปาฏิหาริย์ พร้อมทั้งได้สดับ คำ ของกุมารน้อย ทรงตื้นดันพระทัย ยื่นพระกรขึ้นรับกุมารน้อยพร้อม กับตรัสว่า \"ลงมาเถิดลูกเอย พ่อจะเลี้ยงเจ้าเอง พ่อจะเลี้ยงเจ้าเอง\" เหล่าอำมาตย์ข้าราซบริพารทั้งหสาย เมื่อเห็นพระเจ้าพรหมทัต ยื่นพระกรขึ้นรับพระกุมารน้อย จึงต่างยื่นมือขึ้นรับกันสสอนเต็ม ท้องพระโรงนับร้อยนับพันมือ แต่พระกุมารลงล่พระหัตถ์ของพระบรม ราซซนกเพียงผู้เดียว แล้วประทับนั่งอยู่บนพระเพลา พระเจ้าพรหมหัตได้พระราซทานตำแหน่งมหาอุปราซแก่ พระราซโอรส และทรงแต่งตั้งหญิงเก็บพีนมารตาของพระราซโอรส เป็นพระอัครมเหสิ ต่อมา เมื่อพระเจ้าพรหมหัตได้เสต็จสวรรคต กุมารน้อย พระราซโอรสได้ครองราซสมบัติสิบแทน ทรงพระนามว่า พระเจ้า กัฏฐวาหนะ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง (ร)0๕
ประชุมชาดก เมื่อพระพุทธองค์ตรัสซาดกจบลงแล้ว พระเจ้าปเสนทิโกศล ก็ ทรงสบายพระทัย พระราชทานตำแหน่งคืนให้พระนางวาลภขัตติยา และพระราชโอรสตามเดิม พระล้มมาล้มพุทธเจ้าทรงประชุมชาดกว่า หญิงเก็บหีเน ได้มาเป็นพระนางสิริมหามายา พระคุมารน้อย หรือพระเจ้ากัฏรูวาหนะ ได้มาเป็นพระองค์เอง ข้อคิดจากซาตก ๑. ทุกคนควรหมั่นทำบุญให้ทาน ประพฤติปฏิบ้ตธรรม โดย สมื่าเสมอ เมื่อถึงคราวบุญให้ผล จะได้รุ่งเรืองต่อเนื่องกันตลอดไป ดูวิตจะได้ไม่ขึ้นๆ ลงๆ เซ่นหญิงเก็บหีเนนี้ ๒. เกิดเป็นคนต้องรักษาความล้ตย์ไว่ให้ดี ความล้ตย์นั้นหมาย ความรวมหมดทั้งพูดจริง ทำ จริง และไม่โกหกหลอกลวงตนเอง คนที่ มีความจริงใจครบทั้ง ๓ ประการนี้(ขึ้งเป็นสิงที่ทำไต้ยากและต้องการ กำ ล้งใจอย่างยิ่ง) เมื่อปรารถนาสิงใด เพียงกำหนดจิตอธิษฐาน ก็ย่อม ไต้สิงนั้นลมตามความต้องการโดยง่าย เพราะทุกอย่างสำเร็จไต้ต้วย อำ นาจใจ แต่จะสำเร็จช้าหรือเร็วเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับใจว่ามีความ ซื่อล้ตย่มั่นคงจริงจังเพียงใด ๓. เมื่อต้องผจญกับคนตระบัดล้ตย์ ต้องปฏิบัติดังนี้ ๑0๖ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
9. แผ่เมตตา ๒. พูดจาไพเราะ ๓. รอกาลเทศะ ๔. รักษาความสัตย์ ๔. ข้อปฏิบ้ติเพื่อให้ได้บังเกิดเป็นผู้มีซาติตระกูลสูง ต้องประพฤติปฏิบ้ติตนเป็นผู้มากด้วยความเคารพมีความ อ่อนน้อมถ่อมตน เช่น เมื่อพบผู้มีคุณธรรมสูง ก็ให้แลตงความเคารพ กราบไหว้ ยกย่องบูชาอย่างดี อานิลงสันี้ จะทำให้เกิดในตระกูลสูง ตลอดไป เพราะผู้ไหว้ย่อมไต้รับการไหว้ตอบ ๕. อัธยาด้ยของมนุษย์ มักมีความรักใคร่ ติดใจในเรื่องต่างๆ กัน แบ่งออกได้เป็น ๔ บ่ระเภทใหญ่ๆ คีอ 9. รูปัปปมาฌิกา ถือความสวยงามเป็นสำคัญ จะพอใจ คบหาสมาคมกับคนที่รูบ่ร่างสวยงามเท่าใJน คุณสมบติอย่างอื่นยังถือ ว่าเป็นรอง ๒.โฆส์'ปปมาร่นกา ถือความไพเราะของเสิยงเป็นสำคัญ ขอบฟ้งเสิยงที่ไพเราะอ่อนหวาน โดยไม่ค่อยคำนึงถึงคุณสมบ้ติอื่นๆ ๓. ลูขัปปมาร่นิกา ถือความเศร้าหมองเป็นสำคัญ ขอบ ความข้มเศร้า ความเก่าแก่ เห็นความมัวหมองเป็นความขลัง ๔. ซัมมัปปมาร่นกา ถือความมีธรรมเป็นสำคัญ จะคิด จะ พูด จะทำสิงใด ก็จะถือเอาธรรม ความถูกด้อง ความสมควร เป็นเกณฑ์ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๑๐๘
อธิบายสัพฟ้ กัฏฐหาริชาดก (อ่านว่า กัด-ละ-หา-ริ-ชา-ดก) กัฏฐหาริกาย คนเก็บหืเน วรรณะ ในประเทศอินเดีย มีการแปงวรรณะตามซาดีตระกูล ถึง ๕ วรรณะ คือ 9.วรรณะกษัตริย์ ได้แก่ผู้ที่มีความเก่งกล้า สามารถในการรบได้รับยกย่องว่าเป็นวรรณะลูงสุต ควรแก่การปกครองบ้านเมีอง ๒.วรรณะพราหมณ์ ได้แก่พวกนักบวชหรือ พิธีกรทางศาสนา หรือเป็นอาจารย์เจ้าลัทธิต่างๆ ได้รับการนับถึอรองสงมา ๓.วรรณะแพศย์ เป็นชนนันกสางทั่วๆ ไป เซ่น พ่อค้านักธุรกิจ ไม่ได้รับการยกย่องเท่าใตนัก ๔.วรรณะศูทร คือพวกกรรมกรใช้แรงงาน ไม่มีความรู้มักจะได้รับการดูถูกเหยียตหยามอยู่เสมอ ๕.วรรณะจัณฑาล เป็นวรรณะที่ตํ่าสุต ไม่ได้ รับการยกย่องนับถือแต่อย่างใต เป็นพวกที่เกิตจาก บิตามารตาต่างวรรณะกันแสะมักจะถูกทอตทิ้ง เพราะ เช้าไม่ได้ทั้งฝ่ายบิตา และฝ่ายมารตาคนที่อยู่ใน วรรณะต่างกันนี้ จะไม่คบหาสมาคมกัน ถือว่าเป็นคน ละชั้นกันคนที่อยู่ในวรรณะตา เซ่น พวกศูทร หรือ จัณฑาลจะได้รับการดูถูกเหยียตหยามมากถืงขนาต ว่า ชองสิงใตที่พวกศูทร หรือจัณฑาลนำไปใช้แล้วเซ่น ถ้วยชาม พวกวรรณะอื่นจะไม่แตะต้องของนั้นอีก ๑อ?;? นิทานขาดกเล่มหนึ่ง
เป็นอันขาด ถือว่าเป็นของเสนียดจัญไร และถึงแม้ว่าตน จะต้องตกระกำลำบากยากแค้นเพียงใดก็จะไม่ยอม ลดตัวลงมาขอพี่งพาอาค้ยพวกที่อยู่ในวรรณะตากว่า บุตร ลูกมี ๔ จำ พวก ไต้แกํ 9. รัตร!ซ หรือลูกเต้า คือ บุตรที่เกิดจากบิตามารดา เป็นลูกของตนเอง ๒. เชตต!ซ หรือลูกในเขต เซ่น มาเกิดบนที่นอน บน บัลลังก์ หรือบนอกของผู้นั้น เมื่อเกิดแล้วก็โตทันทีไม่ต้อง อาตัยพ่อแม่เกิต เป็นการเกิดของพวกกายทีพย์ เซ่น เทพบุตร เทพธิตา เป็นต้น ๓. อันเตวา^โก หรือลูกคืษย์ ไต้แก่ ผู้ที่เรืยนคืลป วิทยาในลำนักของอาจารย์ ๔. ทินนโก หรือลูกบุญธรรม คือ บุตรที่รับมาเลี้ยงไว้ พระคาดาประจำชาดก ปุดโต ต.ยาหํ มหาราช ตฺวํ มํ โปล ซนาธิป อฌฺเฌปิ เทโว โปเลติ กิญจ เทโว ลก์ ปซํ ข้าแต่พระราชาผู้เป็นใหญ่ข้าพระบาทเป็นโอรสของพระองค์ ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นจอมแห่งหมู่ซน ขอพระองค์ไต้ทรงโปรดซุบเลี้ยง ข้าพระบาทไว้ แม้คนเหล่าอื่นพระองค์ยังทรงซุบเลี้ยงไต้ไฉนจะไม่ทรง ซุบเลี้ยงโอรสของพระองค์เองเล่า ป็ทานชาดกเล่มหนึ่ง ๑อ๙
Iฒ i
»»เทวฃาคก ซาดกว่าด้วยเทวทูต สถานที่ตรัสซาดก เซตวันมหาวิหาร นครสาวัตถี สาเหตุที่ตรัสซาดก ครั้งหนึ่ง ในสมัยพุทธกาล ณ เซตวันมหาวิหาร พระภิกษุกลุ่ม หนึ่งนั่งประชุมสนทนากันที่ธรรมสภาถึงการที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จออกบรรพซาว่า พระองค์ทรงเป็นถึงมกุฎราซกุมารแห่งศากยวงศ์ อันยิ่งใหญ่ พรั่งพร้อมด้วยเครื่องบำรุงบำเรอ ความสุขอันประณีตวิเศษ อย่างที่มิอาจจะหา^ดมาเทียบเทียมได้ถึงกับมีผู้กล่าวเปรียบเทียบว่า แม้แต่เทวดายังด้องอิจฉา แต่เมื่อพระองค์ได้ทอดพระเนตรเห็นเทวทูต ทั้งสิ คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะเท่านั้นก็ทรงได้สติ เห็น ภายใน วฏั สงสาร หมดอาสัยใน โสกียสุข ตัดสินพระทัยสละราซสมบํติ ที่กำ สังจะมาถึงเสด็จออก มหาภิเนษกรมณ์เพื่อบรรลุพระสัมมาสัมโพธิ ญาณ นำ ซาวโลกทั้งปวงไปล่ความพ้นทุกข์ นิทานชาดกเล่มหนง ๑๑๑
พระสัมมาส์มพุทธเจ้าได้เสด็จมายังธรรมลภา ครั้นทรงทราบ เรื่องที่พระภิกษุกลุ่มใเนสนทนาแล้ว จึงทรงระลึกชาติด้วยบุพเพ- นวาสานุสติญาณ แล้วตรัสว่า \"ดูก่อน ภิกษุฑั้งหลาย มิใช่ในบ้'ดนี้เท่า'นั้นที่ตถาคตเห็นเทวทูต ทั้งที่แล้วได้สติ เห็นภัยไนวัฏสงสาร ตัดตินโจออกบรรพชา แม้โนกาส ก่อน เพียงแต่ได้เห็นผมหงอกเล้นแรกเกิดขึ้นเท่านั้น ตถาคตก็ได้สติ ตัดกินใจออกบรรพชามาแล้ว\" บรรดาพระภิกษุทั้งหลาย จึงกราบทูลอาราธนาพระสัมมา สัมพุทธเจ้าให้ทรงเล่าเรื่องราวในอดีตชาติให้ฟิง ด้วยพระมหากรุณา ที่จะอนุเคราะห์ภิกษุเหล่านั้นให้เกิดกำสังใจในการปฏิบ้ติธรรมยิ่งๆขึ้นไป จึงตรัสเล่า มฆเทวชาดก ดังนี้ เนื้อหาซาดก ในอดีตกาลเนิ่นนานมาแล้ว ตั้งแต่ยุคด้นกัป ในครั้งนั้นสิง- แวดล้อมทั้วๆ ไปยังไม่เป็นพิษ พื้นโลกอันกว้างใหญ่ไพคาลนี้อุตมไปด้วย พืชพันธุธัญญาหารนานาชนิด พืชชนิดใดที่ใซ้รับประทานได้จะออกช่อ ออกผลดกระย้าเด็มด้นและมีรสโอชายิ่งนักพืชชนิดใดที่ให้ดอกให้กลิ่น ก็จะผลิดอกออกช่อลึสันงดงาม ล่งกลิ่นหอมอบอวลไปทั่ว ผืนดินไม่ สกปรกเน่าเหม็น แต่อุดมไปด้วยแร่ธาตุอันเหมาะแก่การเจริญเติบโต ของพืชพันธุทั้งหลาย ทั้งยังมีกลิ่นหอมอีกด้วยนั้าก็ใสเต็มเปียมไปทุก ลำ ธารสะพรั่งพร้อมด้วยปทุมชาติและมัจฉานานาพันธุแหวกว่ายไปมา ๑๑๒ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
ส่วนบนท้องนภากาศใfนเล่า ผีเสือและเหล่าสกุณชาติต่างๆ ก็เริงร่า อยู่ด้วยความสุข ในสภาพเซ่นนี้มนุษย์ไม่ต่างอะไรกับเทพยดาบนพื้น พิภพ มีแต่ความเอื้ออาริ ความรัก ความฒตตากรุณา ความปรารถนาดี ต่อกัน อายุของมนุษย์ทั้งหลายจึงยีนยาวถึง ๒(เษ,000 ปี ความทุกข์ ที่ซาวโลกยุคนั้นรู้จักมีเพียงปวดอุจจาระปัสสาวะ และความตายเท่านั้น ในครั้งนั้นมีพระราซาอยู่พระองคหนึ่งทรงพระนามว่า พระเจ้า มฆเทวะ ทรงปกครองกรุงมิถึลาในแคว้นวิเทหรัฐโดยทศพีธราซธรรม บ้านเมีองเปียมด้วยความสุขตลอดมา พระเจ้ามฆเทวะเป็นกษัตริย์ที่เป็นที่รักและเคารพของไพร่ฟ้า ข้าแผ่นดินยิ่งนัก แคว้นวิเทหะอุดมสมบูรณ์ไปด้วย พืซพันธุธัญญาหาร พระองค์เองก็อุดมไปด้วยศฤงคารสมบ้ติ พรั่งพร้อมด้วยเครื่องบำรุง บำ เรอความสุขอันสรรแล้วล่าหรับกษัตราธิราซ แต่พระองค์มิได้หสง เพลิดเพลินอยู่แต่ความสุขความสบายที่ได้รับ พระองค์ทรงระลึกอยู่ เสมอว่า ความตายจะด้องมาเยีอนพระองค์อักรันหนึ่งอย่างแน่นอน รันหนึ่ง ขณะที่พระองค์ประทับอยู่ตามล่าพัง ณ พระราซ อุทยาน ทอดพระเนตรสายนํ้าที่ไหลล่องไปตามล่าธาร เห็นมวลบปผซาติ ทั้งหลาย บ้างยังตูมเต่ง บ้างเปงบานราวกับดรุณีในรัยสะคราญ บ้าง แห้งเหี่ยวร่วงโรยไปตามกาลเวลาดุจผู้ซราที่ละอังขารทิ้งไว้ อีกทั้งใบไม้ ทั้งหลายก็เซ่นกัน พระองค์ทรงเห็นความจริงในธรรมซาติเหล่านี้ จึง รำ พึงขึ้นว่า ชีวิตของคนเรานี้ เมื่อเติบใหญ่ขึ้นมาได้ประกอบกิจการงาน แห่งตนใน มัซฌิมวัย แล้วก็ตายไปในรัยซรา เวลาแห่งชีวิตเหมีอนสาย นํ้าที่ไหสไป ย่อมไม่ไหสกอับมาอีกหากเราปล่อยชีวิตให้ผ่านไปรันหนึ่งๆ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๑๑๓
โดยไม่หาสารประโยชน์ที่แท้จริงแล้วไซร้ วันหนึ่งเราจักต้องตายไป อย่างไร้ค่าไม่ต่างอะไรกับดอกไม่ใบไม้ที่ร่วงหล่นจากต้นแล้ว คิดดังนั้นพระองค์จึงริบดังให้กัลบกประจำพระองค์มาเฝืา แล้ว ตรัสแก่กัลบกว่า \"สหายเอย บัดนี้เรามีอายุถึงแสนกว่าปีแล้ว อีกไม่นาน เรา คงจะชรา หากวันใดที่ท่านพบผมหงอกบนอีรษะเราสะก็จงบอกแก่เรา ด้วยเถิด\" กัลบกรับคำ แล้วคอยดังเกตดูเล้นพระเกศาทุกครั้งที่ตบแต่ง พระเกศาให้พระราชา ต่อมาอีกนานนับปี กัลบกผู้นั้นดังเกตเห็นพระเกศาเล้นหนึ่ง หงอกแซมอยู่ในระหว่างพระเกศาที่ดำสนิทของพระองค์ จึงกราบทูล ให้ทราบ พระเจ้ามฆเทวะให้กัลบกถอนพระเกศาเล้นนั้นให้ เมื่อกัลบก ให้แหนบทองคำถอนพระเกศาเล้นที่หงอกถวายแก่พระเจ้ามฆเทวะแล้ว พระองค์ทรงวางเล้นพระเกศานั้นไว้เหนือฝ่าพระหัตถ์อันดันเทา ทรง เพ่งพิศอยู่ แล้วดำริว่า \"บัดนี้อีวิตเราล่วงเลยมามากแล้ว เหลืออยู่อีกเพียง ๘๔,000 ปี เท่านั้นก็คงจะด้องตาย ผมหงอกเล้นนี้เปรียบเสมีอนเทวทูดที่พญา มัจจุราชล่งมาเตือนเราว่าย่างเข้าล่วัยชราแล้ว แสะจะด้องตายไปใน ไม่ข้า... อนิจจานี่เราหลงอยู่ในโสกียสุขจนกระทั่งผมหงอกเชียวหรีอ... เลืยดายเหลือเกีนที่เราปล่อยเวลาให้ฝานไปอย่างไร้ค่า จนความตาย ใกล้เข้ามาแล้วจึงได้คิด เวลาที่ฝานไปคือวัย และชีวิตที่ฝานไปด้วย\" ๑๑ร:นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
พระเจ้ามฆเทวะทรงครุ่นคิดด้วยความเสียดายเวลาที่ล่วงไป จนพระพักตร์เศร้าหมอง พระหัตถ์และพระบาทเยียบเย็น พระเสโทไหล ชุ่มพระวรกาย พระองค์ทรงตัดสินพระทัยว่า \"เราจะออกบวชวันนี้แหละ\" พระเจ้ามฆเทวะมีรับสิงให้ประชุมอำมาตย์ข้าราชบริพาร แจ้ง การตัดสินพระทัยเสด็จออกบรรพซา โดยแสดงเด้นพระเกศานั้นต่อที่ ประชุม แล้วตรัสว่า \"ผมหงอกบน^รษะของเราได้เกิดขึ้นนำเอาวัยหนุ่มขอเราไป แล้ว เหมือนกับเทวทูตมาบอกว่า ถึงเวลาที่เราควรจะบรรพขาได้แล้ว\" จากนั้น พระเจ้ามฆเทวะได้พระราชทานปาเหน็จรางวัลให้แก่ กัลบกผู้นั้น แล้วมอบราชสมบ้ตให้พระราชโอรสปกครองแทนพระองค์ สืบไป พระองค์ไปผนวชเป็นฤๅษี ณ พระราชอุทยานมฆเทวอัมพวัน กรุงมีถิลา แคว้นวิเทหรัฐนั้น ทรงจำเริญพรหมวิหารสิตลอด ๘๔,000 ปี เมื่อเสด็จสวรรคตแล้วได้ไปบังเกิดในพรหมโสก ประชุมชาดก เมื่อพระล้มมาล้มพุทธเจ้าตรัสเล่ามฆเทวชาดกจบสง ก็ทรง แสดงอริยล้จ ๔ประกอบโดยอเนกปริยายสุ่มลึกไปตามสำตับ พระภิกษุ ทั้งหลายก็ล่งกระแสใจไปตามพระธรรมเทศนานั้นประคองใจให้สงบนิ่ง ล่พระธรรมกายในตนไปตามสำตับได้บรรลุพร่ะโสดาบันพระสกทาคามี นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๑๑(ร:
พระอนาคามี ตามกำลังบุญบารมีของตน พระลัมมาลัมพุทธเจ้าทรงประชุมซาดกว่า กัลบกในครั้งนั้น ได้มาเป็นพระอานนท์ พระราชโอรส ได้มาเป็นพระราหุล พระเจ้ามฆเทวะ ได้มาเป็นพระองค์เอง ข้อคิดจากซาดก 9. กาลเวลา ไม่เพียงแต่ผ่านไปเท่านั้น แต่ยังได้กลีน^วิตของ มนุษย์ไปด้วย ๒. เครื่องสำอาง สิงย้อมทา เครื่องประดับประดาทั้งหลายที่ นำ มาอำพรางความเสิอมไปของลังขาร ย่อมทำให้^ซ้หลงประมาท และมัวเมาในความมีชีวิต เพราะสิงเหล่านี้จะไปปิดบังเทวทูต คีอความ แก่ที่มาเตือนให้รู้ว่า ถึงเวลาที่จะเร่งทำ ความดีเพี่อเตรียมดัวตาย ให้พร้อมไว้ได้แล้ว นับแต่โบราณกาล บัณฑิตทั้งหลายจึงนิยมรักษาอุโบสถตืล (ตืล ๘)ทุกๆ วันพระ งดการละเล่น การประดับประดา ย้อมทาร่างกาย ด้วยเครื่องสำอางต่างๆ เพี่อดูเทวทูตที่ค่อยๆ คีบคลานมาเยือนตน ให้ชี'ดเจน จะได้ไม่ประมาทในการทำความดี หากผู้ใดละเลยไม่รักษา อุโบสถคีล ก็ถูกจัดว่าเป็นคนพาลคนหลง เป็นบุคคลที่ลังคมพีงรังเกียจ ไม่มีใครคบด้าลมาคมด้วย ๑๑๖ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
๓. ลักษณะของผู้มีสติไม่ประมาท ๑. ระแวงภัยที่น่าระแวง ๒. ป้องกันภัยนั้นก่อนที่จะมาถึง อริฃายสัพท์ มฆเหวซาดก (อ่านว่า มะ-คะ-เท-วะ-ชา-ดก) วัฏสงสาร การเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในโลก โสกียสุข ความสุขอันเป็นไปในโลก มหาภิเนษกรมณ์ การเลด็จออกบรรพซาของพระลัมมาลัมพุทธเจ้า เทว'คูต 'คูดแห่งเทวดา หรีอ'ทูตสวรรค์ (เทวทูตทั้ง ๔ คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะ) มัซฌิมวัย วัยกลางคน พระคาถาประจำฃาดก อุตุตมง.ครุหา มยฺหํ อิเม ซาตา วโยหรา ปาตุภตา เทวทูตา ป'พฺพซฺซาลมโย มมํ ผมที่หงอกบนคืรษะซองเรานี้ เกิดขึ้นนำเอาวัยไปเสิย เทวทูตปรากฏแล้ว บัตนี้ เป็นสมัยบรรพซาซองเรา นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๑๑๘
f. II 1 1i i I
- if ■Ir T r -แ สฃวิหารีชาดก ซาดกว่าด้วยสุขอันเกิดจากการบรรพชา สถานที่ตรัสซาดก อนุปียอัมพวัน แขวงเมืองอนุปิยนคร สาเหตุที่ตรัสชาดก หลังจากที่เจ้าขายสิทธัตถะเสด็จออกผนวชแล้ว พระภัททิยะ พระอนุซาได้เสด็จเสวยราชสมบัติกรุงกบิลพัสดุสืบต่อสันตติวงค์ พระองค์แม้จะแวดล้อมอยู่ด้วยราชองค์รักษ์ผู้ถวายการอารักขาอย่าง หนาแน่นและใกล้ชิดปานใด ก็ไม่ปรากฏว่า จะทรงล้าราญพระราช หฤทัยอย่างแท้จริง ในทางกสับกัน ทรงมืแต่พระปริวิดกต่อภยันตราย อันจะพึงเกิดจากการประทุษร้ายอยู่เนืองนิจ มิเคยมิความสงบและเป็น สขเลย นิทานชาดกเล่มหนง ๑๑๙
ต่อเมื่อออกผนวชในพระพุทธศาฝ็นาแล้วได้บาเพ็ญเพียรเยี่ยง ภิกษุทั้งปวงจนหมดกิเลสเป็นพระอรหันต์พระเถระในขณะนี้เดินทางภิก ขาจารไปทุกหนทุกแห่งโดยลำพัง มีแต่ความปีติ และสุขอันไม่อาจ ประมาณได้ด้วยสิงใดๆ เป็นอิสระทางใจ ไม่ถูกผูกข้องอยู่กับอิสริยยศ และอันตรายที่ผู้อี่นจะพีงกระทำกับท่านได้ ท่านจึงมักเปล่งอุทานด้วย นํ้าเสืยงอันแจ่มใสอยู่เนืองๆ ว่า \"สุขจริงหนอ สุขจริงหนอ\" พระภิกษุทั้งหลายผ่านมาได้ยินเข้า ต่างพากันเข้าใจว่าพระเถระ ผู้นี้พยากรณ์ความเป็นอรหันต์ ข้งพระล้มมาล้มพุทธเจ้าตรัสห้ามไว้ เสิยแล้ว จึงพากันเข้าเผ่ากราบทูลเรื่องราวทั้งปวงให้ทรงทราบ พระพุทธองค์ทรงระลึกขาติหนหล้งด้วยบุพเพนืวาสานุสติญาณ แล้วตรัสแก่พระภิกษุทั้งหลายว่า \"ท่านภัททิยะมิได้เปล่งวาจาออกมา เพราะอาลัยในราชฒบต กรุงกบิลพัสดุ และก็มิโช่ด้องการอวดอ้างความเป็นอรหันต์ดังที่พวกเธอ ทั้งหลายหลงเข้าใจหรอก นี่คือปกตินิลัยที่ท่านมิมาแต่ชาติปางก่อน\" พระภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลอาราธนาให้พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสเล่าเรื่องราวให้พีง พระองค์จึงทรงแสดง สุขวิหๆรีชาดก ดังนี้ ๑๒0 นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
เนื้อหาซาดก สมัยครั้งเมื่อพระเจ้าพรหมทัตเสวยราซฝ็มบัติกรุงพาราณสิ มีพราหมณ์ผู้หนึ่งiออุทิจจะ เป็นพราหมณ์ที่ฉสาดปราดเปรื่องมากเป็น ที่นับถือยกย่องของประซาซนทั่วไปในฐานะครูบาอาจารย์มีลูกติษย์ ลูกหามากมาย ต่อมาได้พิจารณาเห็นโทษของการครองเรือน และเห็น อานิสงส์ของการออกบวซว่า มีคุณยิ่งใหญ่ไพคาสนัก จึงนำทรัพย์สิน ทั้งหมดที่ท่านมีอยู่ออกแจกจ่ายเป็นทาน ส่วนตัวท่านไปอาด้ยอยู่ในป่า หิมพานต่ บวซเป็นฤๅษี ตั้งใจแกสมาธิจนได้ฌานโลกีย์บรรลุสมาบ้ต ๘ ในครั้งนั้นมีติษย์พราหมณ์ถึง ๕00คนขอติดตามออกบวขเป็นฤๅษีด้วย ที่ป่าหิมพานต่นั้นในช่วงฤดูฝน จะมีฝนตกกระหนึ่าอย่างหนัก ไม่เหมาะแก่การเจรืญภาวนา ฤๅษีอาจารย์จึงพาสานุติษย์เข้ามาพำนัก อาตัยอยู่ในเมีองเป็นการซั่วคราว พระเจ้ากรุงพาราณสิทรงทราบ จึง พระราซทานพระราซอุทยานให้เป็นสถานที่บำเพ็ญภาวนา เมื่อสิน ฤดูฝนพระฤๅษีอาจารย์จึงทูลลาพระราซา กลับไปเจริญภาวนาในป่า ดามเดิม พระเจ้าพาราณสิมีพระราซดำริว่า พระฤๅษีอาจารย์นั้นซรา ภาพมากแล้ว จะไปอยู่ป่าตามเดิม คงจะลำบากไม่น้อย จึงทรงอาราธนา ให้พำนักอยู่ต่อ ส่วนลูกติษย์กให้กลับไป่บำเพ็ญเพียรในป่าหิมพานดํ กันเองตามลำพัง พระฤๅษีอาจารย์รับอาราธนาแล้วได้แต่งตั้งให้ติษย์คนโต เป็น ผู้ดูแลติษย์อื่นทั้งหมด เมื่อเดินทางกลับไป่ป่ฏิป่ติธรรมในป่า วันหนึ่งดิษย์คนโตรู้สิกคิดถึงอาจารย์ใคร่จะไป่เยิ่ยมเยียน ท่าน ในเมืองจึงกำซับคิษย์ร่วมอาจารย์ทั้งหลายให้หมั่นบำเพ็ญภาวนาด้วย นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๑๒๑
ความฝ็งบ ส่วนท่านจะไปกราบอาจารย์ พอคลายความคิดถึงแล้ว จะรีบกลับมา คิษย์หัวหน้าเมื่อถึงกรุงพาราณสิก็เข้าไปกราบนมัสการพระ ฤๅษีอาจารย์ หลังจากได้ไต่ถามสารทุกข์สุกดิบกันพอควรแล้ว ตนก็ ปูเสิอลงนอนในสำนักอาจารย์ ซึ่งเป็นขณะเดียวกันกับที่พระเจ้า พรหมทัดได้เสด็จมาถึงเพื่อกราบนมัสการฤๅษีอาจารย์เซ่นกันฤๅษีผู้เป็น คิษย์แม้จะได้เห็นพระเจ้าพรหมทัดเสด็จเข้ามา ก็มิได้ลุกขึ้นทำการ ด้อนรับตามมารยาทอันดีแต่ประการใด กลับนอนเฉยเสิยซํ้ายังเปส่ง อุทานออกมาอีกว่า \"สุขจริงหนอ สุขจริงหนอ\" พระเจ้าพรหมทัดทอดพระเนตรแล้ว รู้ถึกขัดเคีองพระทัยยิ่งนัก นึกตำหนิอยู่ว่า \"ดาบสผู้นี้ช่างกระไรเลยแลเห็นเราแล้วไม่สุกขึ้นต้อนรับ ขึ้ากลับยังเปล่งอุทานออกมาราวกับจะล้อเลียนเรา นั้น\"จึงmmiii พระฤๅษีอาจารย์ \"ข้าแต่พระผู้เป็นผู้เจริญ ดาบลผู้นี้ เห็นทีจะลันจนอิ่มหนำ ล่าราญมากเลียแล้ว จึงคร้านที่จะสุกขึ้น ไต้แต่นอนเปล่งอุทาน ลบาย อารมณ์อยู่อย่างนี้\" พระฤๅษีอาจารย์จึงตอบว่า \"ไม่ใช่เช่นนั้นหรอก มหาบพิตร พิษย่ของเราผู้นี้ เดิมก็เป็น กษัตริย์เยี่ยงพระองค์ แต่ที่อุทานออกมาเช่นนั้น ไม่ใช่เพราะอิ่มจัด ไม่ใช่เพราะต้องการกลับไปแลวงหาความสุขจากราชลมบดิ แต่ท่าน กลับพิดว่า การออกบวชนั้นเป็นสุขจริงๆ สุขยี่งกว่าการเป็นกษัตริย์ เป็นสุขลองชั้น กล่าวคือ สุขที่ไม่ต้องหวาดผวาจากการถูกปองร้าย ๑๒๒ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
สุขที่ไม่ต้องมีภาระมากในการดูแลทุกข์สุขของประชาราษฎร และสุข ที่ไม่ตกเป็นภาระแก่ใครๆ ให้ต้องคอยปกป็องอารักขาความปลอดภัย นับเป็นสุขชั้นแรก อนึ่ง สุขจากการบรรลุธรรม เป็นสุขอันเลิศ ที่ไม่ ต้องอาภัยบุคคล และวัตถุใดๆ นับเป็นสุขชั้นที่ลอง เพราะเหตุที่ท่าน มีสุขถึงเพียงนี้ จึงอดไม่ไต้ที่จะเปล่งอุทานอยู่เลมอๆ ว่า สุขจริงหนอ สุขจริงหนอ\" แล้วพระฤๅษีอาจารย์ก็กล่าวธรรมเทศนาต่อพระเจ้าพรหมหัต เป็นคาถาว่า \"ชนเหล่าอื่น ไม่ต้องรักษาผูใดต้วย ผูโดก็ไม่ต้องรักษาชนเหล่า อื่นต้วย ดูก่อนมหาบพีตร ผู้นั้นแล ไม่เยื่อใยในกามทั้งหลายย่อมอยู่ เป็นสุช\" มีอรรถาธิบายว่า สุขทางโลกนั้นต้องอาหัยอามีฝ็ ซี่งมีวัตถุ อำ นวยความสะดวกสบายต่างๆ เป็นเครื่องล่อใจ แต่สุขทางธรรมเป็นสุข ที่เกิดจากใจสงบปราศจากความเคร่งเครียดแสะหมกมุ่น แต่ปสอดโปร่ง เบาสบาย พระเจ้ากรุงพาราณสิสดับพระธรรมเทศนาต้วยใจที่เบิกบาน แช่มขื่น เข้าพระหัยในอรรถและธรรมโดยแจ่มแจ้ง ก็มีไต้ทรงถึอโกรธ ดาบสผู้นั้นอีกเลยจึงนมัสการลาพระฤๅษีอาจารย์กลับล่วนดาบสผู้กิษย์ เองก็กราบสาพระอาจารย์กลับล่ป่าหิมพานต์บำเพ็ญเพียรต่อไป ล่วนพระอาจารย์ไต้พำนักอยู่ณ พระราชอุทยานจนสินอายุขัย เมื่อสะโสกแล้วไต้ไปบังเกิดในพรหมโลกต้วยอำนาจฌานสมาบัติที่ บำ เพ็ญมาตีแล้ว นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๑๒๓
ประชุมชาดก พระสัมมาส์มพุทธเจ้าทรงประชุมซาดกว่า สิษย์ผู้เป็นหัวหน้า ได้มาเป็นพระภัททิยะ พระฤๅษีอาจารย์ ได้มาเป็นพระองค์เอง ข้อคิดจากชาดก บุคคลแม้จะมีจิตใจใสสะอาด แต่ถ้ากิริยามารยาทยังสำรวม ระวังไม่พอ ก็อาจมีผู้เข้าใจผิดคิดเป็นด้ดรูได้ โบราณจึงเตือนว่า ''อยู่คนเดียวให้ระวังความคิด อยู่กับมิตรให้ระวังวาจา อยู่ท่ามกลางปวงประชา ให้ระวังทั้ง กาย วาจา ใจ'' อรฃายสัพท์ สุขวิหาริซาดก (อ่านว่า สุ-ขะ-วิ-หา-รี-ชา-ดก) สุฃวิหารี ผู้มีปกติอยู่เป็นสุข พระภัททิยะ พระภัททิยะที่กล่าวถึงในซาดกนี้อยู่ในกลุ่มเจ้าซายเข้อ พระวงค์แห่งคากยวงค์ ๖ พระองค์ คือ พระภัฑทิยะ พระกิมพิละ พระภคุ พระอนุรุทธ์ พระอานนท์ และ พระเทวทัด ที่ออกผนวซตามพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ๑๒(ริ:นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
และยังมีช่างตัดผมประจำราชสำนักอีก ๑ คน คือ อุบาลี ซ่งในการออกผนวชครั้งใเนเจ้าชายทั้ง 'ะ)ได้ให้ อุบาลีบวชก่อนเป็นคนแรก ทั้งนี้เพื่อเป็นการลดทิฐิ มานะของตน ต่อมาไม่นานพระภัททิยะ พระกิมพิละ พระภคุ พระอนุรุทธ์ และพระอุบาลี ก็ได้สำเร็จเป็น พระอรหันต์ ส่วนพระอานนท์ได้เป็น พระโลดาบัน เพราะมีเวลาปฏิบัติธรรมน้อย เนื่องจากเป็นพระ อุปัฏฐากคอยรับใช้พระสัมมาสํมพุทธเจ้า สำ หรับพระ เทวทัตได้สำเร็จเพียงฌานโลกีย์ เท่านั้น พระคาดาประจำชาดก ยญจ อญเฌ น รก.ขนฺติ โย จ อฌฺเฌ น รกฺขติ ส เว ราชสุขํ เสติ กาเมสุ อนเปก.ขวา ชนเหล่าอื่นไม่ต้องรักษาผู้ใดด้วย ผู้ใดก็ไม่ต้องรักษาชนเหล่าอื่นด้วย ดูกร มหาบพีตร ผู้นั้นแล ไม่เยื่อใยในกามทั้งหลาย ย่อมอยู่เป็นสุข นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๑๒&'
\"นิทานชาดก คือ คำ สอนแบบเล่านิทานคติธรรม คำ ว่าชาตกหรือชาดกแปลว่า ผู้เกิด คือเล่าถึงการที่ พระพุทธเจ้าทรงเวียนว่ายตายเกิด ถึอเอากำเนิดในชาติ ต่างๆ ได้พบปะผจญกับเหตุการฌ์ดีบ้างชั่วบ้าง แต่ก็ได้ พยายามทำความดีติดต่อกันมากบ้างน้อยบ้างตลอดมา จนเป็นพระพุทธเจ้าในชาติสุดท้าย กล่าวอีกอย่างหนื่ง จะถือว่านิทานชาดกเป็น วีวัฒนาการแห่งการบำเพ็ญคุณงามความดีชองพระพุทธเจ้า ตั้งแต่ยังเป็นพระโพธิสัตว์อยู่ก็ได้ลาระล่ากัญจึงอยู่ที่คุณงาม ความดี และอยู่ที่คติธรรมในนิทาน\" จาก พระไตรปีฏกฉบ้บสำหรับประซาชน ๑๒๖ นิทานขาดกเล่มทนง
จิร!เกสมารผื้อ-1ต้น ฝิมๆร คือความสงบ สบาย แสะ ขึ้นด้วยธาตุแห่งคุณงามความดีล้วนๆ ความรู้สิกเป็นสุขอย่างยิ่งที่มนุษย์ ๓.นั่รขัคสมาธิ เท้าขวาทับเท้าข้าย มือขวาทับมือข้าย นี้วซี้ขวาจรดทัวแม่ สามารลสร้างขึ้นได้ด้วยตนเอง เป็นยิ่ง มือข้าย นั่งให้อยู่ในจังหวะพอดี ไม่ติน ที่พระพุทธศาสนากำหนดเอาไว้เป็นข้อ ควรปฏิบัติเพื่อการดำรงชีวิตทุกวันอย่าง ร่างกายมากจนเกินไป ไม่ถึงกับเกร็ง เป็นสุข ไม่ประมาท เต็มไปด้วยสติสัม- แต่อย่าให้หลังโด้งงอ หลับตาพอสบาย คล้ายกับกำลังพักผ่อน ไม่ปีบกล้าม ปชัญญะและปัญญา อันเป็นเรื่องไม่เหลือ วิสัย ทุกคนสามารถปฏิบ้ติได้ง่ายๆดังวิธี เนี้อตาหรือว่าขมวดคิ้ว แล้วตั้งใจมั่น ปฏิบัติที่ พระเตชพระคุผพระมงคฟิ- วางอารม{นสบาย สร้างความรู้ลืกให้ เทพมุนี(สด จนฺทส่โร) หลวงพ่อวัดปาก นํ้าภาษีเจริญได้เมดตาสังสอนไว้ดังนี้ พร้อมทั้งกายและใจ ว่ากำลังจะเข้าไป ๑. กราบบูชาพระรัตนตรัย เป็น ฝูภาวะแห่งความสงบสบายอย่างยิ่ง การเตรียมดัวเตรียมใจใษีนุ่มนวลไว้เป็น ๔. นีกกำหนดนีมิต เป็น\"ดวงแก้ว เบื้องด้น แล้วสมาทานสืลห้าหริอคืลแปด กลมใส\" ขนาดเท่าแก้วตาดำ ใสสนิท เพื่อยํ้าความมั่นคงในคุณธรรมของตนเอง ปราคจากราคี หรือรอยตำหนิใดๆ ขาว ๒.คุกเข่าหรือนั่งพับเพียบสบายๆ ใสเย็นตาเย็นใจ ดังประกายของดวงดาว ระลึกสิงความดี ที่ได้กระทำแล้วในวันนี้ ดวงแก้วกลมใสนี้เรียกว่า บริกรรมนิมิต ในอดีตแสะที่ตั้งใจจะทำต่อไปในอนาคต นึกสบายๆ นึกเหมือนดวงแก้วนั้นมา จนราวกับว่าร่างกายทั้งหมดประกอบ นิ่งสนิทอยู่ ณ ศูนย์กลางกายฐานที่เจ็ด นึกไปภาวนาไปอย่างนุ่มนวลเป็นพทธา- นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๑๒๘
นุสติว่า \"สัมมาอะระทัง\" หรือค่อยๆ แล้วจากนั้นทุกอย่างจะค่อยๆ ปรากฏ ทัอมนึกดวงแก้วกลมใสใฟ้ค่อยๆ เคลื่อน เข้าส่ศูนย์กลางกายตามแนวฐาน โดย ให้เห็นไต้ด้วยดนเอง เป็นภาวะของ เริ่มต้นตั้งแต่ฐานที่หนึ่งเป็นต้นไป น้อม ดวงกลม ที่ทั้งใสตั้งสว่างผุดซ้อนขึ้นมา ต้วยการนึกอย่างสบายๆ ใจเย็นๆ ไป จากกึ๋งกลางดวงนิมิต ตรงที่เราเอาใจ ใส่อย่างสมื่าเสมอ พร้อมๆ กับดำภาวนา อนึ่ง เมื่อนึมิตดวงใส และกลมสนึท ดวงนี้เรืยกว่า \"ดวงธรรม\" หรือ ปรากฏแล้ว ณกลางกายให้วางอารมณ์ \"ควงปฐมมรรค\"อันเป็นประตูเบื้องต้น สบายๆ กับนึมิตนั้น จนเหมือนกับว่า ที่จะเอดไปส่หนทางแห่งมรรคผลนิพ- พาน การระลึกนึกถึงนิมิต หรือดวงปฐม ดวงนิมิตเป็นส่วนหนึ่งของอารมณ์หาก ดวงนิมิตนั้นอันตรซานหายไป ก็ไม่ต้อง มรรคสามารถทำไต้ในทุกแห่งทุกที่ ทุก นึกเสียดาย ให้วางอารมณ์สบายแล้ว อิริยาบถ เพราะควงธรรมนี้คือที่พึ๋งอัน นึกนิมิตนั้นขึ้นมาใหม่แทนดวงเก่า หรือ เป็นที่สุคแร้วของมนุนย์ เมื่อนิมิตนั้นไปปรากฏที่อี่น ที่มิใช่ศูนย์ ข้อแนะนำ คือ ต้องทำให้สมา กลางกาย ให้ค่อยๆ น้อมนิมิตเข้ามา เสมอเป็นประจำ ทำ เรี่อยๆ ทำ อย่าง สบายๆไม่เร่ง ไม่บังคับ ทำ ไต้แค่ไหนให้ อย่างค่อยเป็นค่อยไป ไม่มิการบังคับ พอใจแค'นั้น อันจะเป็นเครื่องสกัดกั้น และเมื่อนิมิตมาหยุดสนิท ณศูนย์กลาง กาย ให้วางสติลงไปยังจุดศูนย์กลาง มิให้เกิดความอยากจนเกินไปจนถึงกับ ของดวงนิมิต ด้วยความรู้สีกคล้ายมิ ทำ ให้ใจต้องสูญเสียความเป็นกลาง และ เมื่อการปฏิบัติบังเกิดผลแล้ว ให้หมั่น ดวงดาวดวงเล็กๆ อีกดวงหนึ่งข้อนอยู่ ตรึกระลึกนึกถึงอยู่เสมอ จนกระทั่งดวง ปฐมมรรคกลายเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับ ตรงกลางดวงนิมิตดวงเติม แล้วสนใจ ลมหายใจ หรือนึกเมื่อใดเป็นเห็นไต้ทุกที เอาใจใส่แต่ดวงเล็กๆ ตรงกลางนั้นไป อย่างนี้แล้ว ผลแห่งสมาธิจะทำให้ เรื่อยๆ ใจจะปรับจนหยุดไต้ถูกส่วน ๑๒(;? นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
ชีวิตดำรงอยู่บนเสันทางแห่งความสุข การเพ่ง \"อาโลกกสิณ\" คือกสิณความ ความสำเร็จ และความไม่ประมาทได้ สว่างเป็นบาทเบื้องด้น เมื่อเก็ดนิมิต เป็นดวงสว่างแล้วค่อยเจริญวิปีสสนา ตลอดไป ทั้งยังจะทำให้สมาธิละเอียด ในภายหลัง จึงไม่มิความจำเป็นด้อง อ่อน ก้าวหน้าไปเรึ่อยๆ ได้อีกด้วย กำ หนดลมหายใจเช้าออกแต่ประการใด ข้อควรระวัง ๔. เมื่อเสิกจากนั่งสมารินลัว ให้ ©. อย่าใช้กำลัง คีอ ไม่ใช้กำลัง ดั้งใจไว้ที่ศูนย์กลางกายพี่เดียวไม่ว่าจะ ใดๆ ทั้งสัน เซ่นไม่บีบกล้ามเนื้อตา เพื่อ อยู่ในอิริยาบถใดก็ตามเซ่น ยีนก็คื เดิน จะให้เห็นนิมิตเร็วๆ ไม่เกร็งแขน ไม่ ก็ดี นอนก็ดี หรือนั่งก็ดี อย่าย้ายฐานที่ เกร็งกล้ามเนื้อหน้าห้องไม่เกร็งตัว ฯลฯ ตั้งจิตไปไว้ที่อื่นเป็นอันขาด ให้ตั้งใจ เพราะการใช้กำลังตรงส่วนไหนของ ร่างกายก็ตาม จะทำให้จิตเคลื่อนจาก บริกรรมภาวนา พร้อมกับนึกถึงบริกรรม ศูนย์กลางกายไปส่จุดนั้น นิมิตเป็นดวงแก้วใสควบคู่กันตลอดไป ๔. นิมิตต่างๆ ที่เกิดขึ้นจะต้อง ๒.อย่าอยากเห็น คือทำใจให้เป็น กลาง ประคองสติมิให้เผลอจากบริกรรม น้อมไปดั้ง่ไ^ศูนย์กลางกายทั้3หมด ถ้า ภาวนาและบริกรรมนิมิต ส่วนจะเห็น นิมิตที่เกิดขึ้นแล้วหายไป ก็ไม่ด้องตาม นิมิตเมื่อใดนั้น อย่ากังวล ถ้าถึงเวลา หาให้ภาวนาประคองใจต่อไปตามปกติ แล้วย่อมเห็นเอง การบังเกิดของดวง ในที่สุดเมื่อจิตสงบ นิมิตย่อมปรากฏ นิมิตนั้น อุปมาเสมือนการขึ้นและตก ขึ้นใหม่อีก ของดวงอาทิตย์ เราไม่อาจจะเร่งเวลาได้ สำ หรับผู้ที่นับถึอพระพุทธศาสนา ๓. อย่ากังวลถึงการกำหนดลม หายใจเช้าออก เพราะการแกสมาธิ เพียงเพื่อเป็นอาภรณ์ประตับกาย หรือ เจริญภาวนาวิชชาธรรมกาย อาตัย เพื่อเป็นพิธีการชนิดหนื้งหรีอผู้ที่ด้องการ แกสมาธิเพียงเพื่อให้เกิดความสบายใจ จะได้เป็นการพักผ่อนหลังจากการปฏิบีติ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๑๒๙
ภาพแสดงที่ฅั้งจิดทั๊ง ๗ 3าน ฐานที่ ๑ปากซ่องจมูก I หญิงข้างซ้าย ชายข้างขวา ฐานที่ ๒ เพลาตา {หญิงข้างซ้าย ชายข้างขวา ฐานที่ ฅ จอมประสาท ฐานที่ ๔ ซ่องเพดาน ฐานที่ ๕ ซ่องปากลำคอ ฐานที่ ๖ ศูนย์กลางกายระดับสะดือ ฐานที่ ๗ ศูนย์กลางกายที่ตั้งจิตถาวร ๒ นิวมือ ๑๓อ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
ภาพแสดพี่ตั้พิดพั้ ๗ ฐาน ฐานที่ ๑ ปากซ่องจมูก I หญิงข้างซ้าย ชายข้างขวา ฐานที่ ๒ เพลาตา {หญิงข้างซ้าย ชายข้างขวา ฐานที่ ๓ จอมประสาท ฐานที่ ๔ ซ่องเพดาน ฐานที่ ๕ ซ่องปากลำคอ ฐานที่ ๖ ศูนย์กลางกายระดับสะดือ ฐานที่ ๗ ศูนย์กลางกายที่ตั้งจิตถาวร ๒ นิวมือ นิทานชาดกเล่มหนง ๑๓๑
หน้าที่ภารกิจประจำวันโดยไม่ปรารถนา เยือกเย็น ปลอดโปร่ง โล่ง เบา สบาย จะทำให้ถึงที่สุดแห่งกองทุกข์ยังสืดอยู่ว่า มีดวามจำ และสติปัญญาดีขึ้น การอยู่กับบุตรภรรยา การมีหน้ามีตา - ล่งเสริมสมรรถภาพทางใจ ทำ ให้ ทางโลก การท่องเที่ยวอยู่ในวัฏสงสาร คิดอะไรไต้รวดเร็วถูกต้อง แสะเลือก เป็นสุขกว่าการเข้านิพพาน เสมีอน คิดแต่ในลืงที่ดีเท่านั้น ทหารเกณฑ์ที่ไม่คิดจะเอาดีในราชการ ๑.๒ ต้านพัฒนาบุคลิกภาพ - จะเป็นผู้มีบุคลิกภาพดี กระฉับ อีกต่อไปแล้ว กระเฉง กระปรี้กระเปร่า มีความองอาจ การสิกสมาธิเบื้องต้นเห่าที่กล่าวมา สง่าผ่าเผย มีผิวพรรณผ่องใส ทั้งหมดนี้ กิพอเป็นปัจจัยให้เกิดความสุข - มีความมั่นคงทางอารมเน์ หนัก ไต้พอสมควร เมื่อซักซ้อมปฏิบัติอยู่ แน่น เยือกเย็นและเชื่อมั่นในตนเอง เสมอๆ ไม่ทอดทิ้ง จนไต้ดวงปฐมมรรค แล้ว กิให้หมั่นประคองรักษาดวงปฐม - มีมนุษยลัมพันธ์ดี วางตัวไต้ เหมาะสมกับกาลเทศะเป็นผู้มีเสน่ห์ มรรคนั้นไว้ตลอดชีวิต และอย่ากระทำ ความชั่วอีก เป็นอันมั่นใจไต้ว่าถึงอย่างไร เพราะไม่มักโกรธ มีความเมตตากรุณา ชาตินี้ กิพอมีที่พึ่งที่เกาะที่ดีพอสมควร ต่อบุคคสทั่วไป คือเป็นหลักประกันไต้ว่าจะไม่ต้องตก ๑.๓ ต้านชีวิตประจำวัน นรกแล้วทั้งชาตินี้ และชาติต่อๆ ไป - ช่วยให้คลายเครียด เป็นเครื่อง เสริมประสิทธิภาพในการทำงาน และ ประโยชน์ของการแกสมาธิ การคิกษาเล่าเรียน ๑. ผลต่อดนเอง - ช่วยเสริมให้มีสุขภาพร่างกาย ๑.๑ ต้านสุขภาพจิต แข็งแรง เพราะร่างกายกับจิตใจย่อม - ล่งเสริมให้คุณภาพของใจดีขึ้น คือ มีอิทธิพลต่อกันถ้าจิตใจเข้มแข็งย่อม ทำ ให้จิตใจผ่องใส สะอาด บริสุทธึ๊ สงบ เป็นภมิต้านทานโรคไปในตัว ๑๓๒ นิทานชาดกเล่มหนง
©.๔ ด้านสิลธรรมจรรยา หนักแน่น เมีอมีป็ญหาครอบครัวหรือมี - ย่อมเป็นผู้มีสัมมาทิฐิ เ^อกฎแห่ง อุปสรรคอันใด ย่อมร่วมใจกันแก้ไข ปัญหาให้ลุล่วงไปได้ กรรม สามารถคุ้มครองตนให้พ้นจาก ความชั่วทั้งหลายได้ เป็นผู้มีความ ๓. ผลต่อสังคมและประเทศชาติ ประพฤติดี เนื่องจากจิตใจดี ทำ ให้ความ ประพฤติทางกายและวาจาดีตามไปด้วย ๓.© ทำ ให้สังคมสงบสุซ ปราศจาก - ย่อมเป็นผู้มีความมักน้อย สันโดษ ปัญหาอาชญากรรม และปัญหาสังคม รักสงบ และมีขันติเป็นเลิศ อื่นๆ เพราะปัญหาทั้งหลายที่เกิดขึ้นใน - ย่อมเป็นผู้มีความเอื้อเฟ้อเผื่อแผ่ สังคม ไม่ว่าจะเป็นปัญหาการฝา การ เห็นประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประ ข่มขืน โจรผู้ร้าย การทุจรืตคอรัปชั่น ล้วนเกิดขึ้นมาจากคนที่ขาดคุณธรรม โยชน์ส่วนตัว ย่อมเป็นผู้มีสัมมาคารวะ เป็นผู้ที่มีจิตใจอ่อนแอหวั่นไหวต่ออำนาจ ลิงยั่วยวนหรือกิเลสได้ง่าย ผู้ที่สืกสมาธิ และมีความอ่อนน้อมถ่อมตน ย่อมมีจิตใจเข้มแขืง มีคุณธรรมในใจสูง ๒. ยลต่อครอบครัว ถ้าแต่สะคนในสังคมต่างสิกฝนอบรมใจ ๒.© ทำ ให้ครอบครัวมีความสงบสุซ ของตนให้หนักแน่นมั่นคง ปัญหาเหส่า เพราะสมาชิกในครอบครัวเห็นประโยชน์ นี้ก็จะไม่เกิดขึ้นส่งผสให้สังคมสงบสุขได้ ของการประพฤติธรรม ทุกคนตั้งมั่นอยู่ ๓.๒ ทำ ให้เกิดความมีระเบียบวินัย ในสืล ปกครองกันด้วยธรรม เดีกเคารพ และเกิดความประหยัด ผู้ที่แกใจให้ ผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่เมตตาเดีก ทุกคนมีความ ดีงามด้วยการทำสมาธิอยู่เสมอ ย่อม รักใคร่สามัคคีเป็นนํ้าหนื่งใจเดียวกัน เป็นผู้รักความมีระเบียบวินัย รักความ ๒.๒ ทำ ให้ครอบครัวมีความเจริญ สะอาด มีดวามเคารพกฎหมายของบ้าน ก้าวหน้า เพราะสมาชิกต่างก็ทำหน้าที่ เมีอง ดังนั้นบ้านเมีองเราก็จะสะอาด ของตนโดยไม่บกพร่อง เป็นผู้มีใจคอ นิทานชาดกเล่มหนง ๑๓๓
น่าอยู่ไม่มีคนมักง่ายทิ้งขยะลงบนพื้น พระพุทธศาสนารวมทิ้งรู้เห็นด้วยตัวเอง ถนน จะข้ามถนน ก็เฉพาะตรงทางข้าม ว่าการสิกสมาธิไม่ใช่เรื่องเหสวไหล หาก เป็นต้น เป็นเหตุให้ประเทศชาติไม่ต้อง แต่เป็นวิธีเดียวที่จะทำให้พ้นทุกข์เข้าส่ เนเปลืองงบประมาณ เวลา และ นิพพานได้ กำ ลังเจ้าหน้าที่ ที่จะไปใช้สำหรับแก้ ๔.๒ ทำ ให้เกิดศรัทธาตั้งมั่นในพระ รัตนตรัย พร้อมที่จะเป็นทนายแก้ต่างให้ ปัญหาที่เกิดขึ้นจากความไม่มีระเบียบ กับพระศาสนาอันจะเป็นกำลังสำคัญ วินัยของประชาซน ในการเผยแผ่การปฏิบัติธรรม ที่ถูกต้อง ๓.๓ ทำ ให้สังคมเจริญก้าวหน้า เมื่อ ให้แพร่หลายไปอย่างกว้างขวาง สมาซิกในลังคมมีสุขภาพจิตดี รักความ ๔.๓ เป็นการสิบอายุพระพุทธ- เจริญก้าวหน้า มีประสิทธิภาพในการ ศาสนาให้เจริญรุ่งเรืองตลอดไป เพราะ ตราบใดที่พุทธคาสนิกซนยังสนใจปฏิบัติ ทำ งานสูง ย่อมส่งผลให้ลังคมเจริญก้าว- ธรรมเจริญภาวนาอยู่พระพุทธศาสนา หน้าตามไปด้วย และเมื่อมีกิจกรรมของ ส่วนรวม สมาซิกในลังคมก็ย่อมพร้อม ก็จะเจริญรุ่งเรืองอยู่ตราบนั้น ๔.๔ จะเป็นกำสังส่งเสริมทะนุบำรุง ที่จะสสะความสุขส่วนตน ให้ความ ศาสนา โดยเมื่อเข้าใจซาบขึ้งถึงประ ร่วมมีอกับส่วนรวมอย่างเต็มที่ และถ้า โยชน์ของการปฏิบัติธรรมด้วยตนเอง มีผู้ไม่ประสงค์ดีต่อลังคม จะมายุแหย่ให้ แล้วย่อมจะซักซวนผู้อื่นให้ทำทาน เกิดความแตกแยกก็จะไม่เป็นผลสำเร็จ รักษาสืส เจริญภาวนาตามไปด้วย และ เพราะสมาซิกในลังคมเป็นผู้มีจิตใจ เมื่อใดที่ทุกคนในลังคมตั้งใจปฏิบัติธรรม หนักแน่น มีเหตุผลและเป็นผ้รักสงบ ทำ ทานรักษาดีล และเจริญภาวนา เมื่อ ๔. ผลต่อศาสนา นั้นย่อมเป็นที่หวังได้ว่าลันติสุขที่แท้จริง ๔.๑ ทำ ให้เช้าใจพระพุทธศาสนาไค้ ก็จะบังเกิดขึ้นอย่างแน่นอน อย่างถูกค้อง และรู้ขึ้งถึงคุณค่าของ ๑๓ร:นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
การเดินทางไปวัด รถประจำทาง รถประจำทางหลายสายสุดทางที่รังสิต (สาย ๒๙, รทร;, picc, ปอ.Q0,ปอ.®ฅ) จากรังสิตมีรถเมล์สาย ๑๐0๘ ไปถึงคสองสาม รถส่วนตัว ใช้เวลาประมาณ ๔๕ นาที จากอนุสาวรีย์ซัยสมรภูมี วันอาทิตย์ธรรมดา วันอาทิตย์ต้นเดือน และวนสำคัญทางศาสนา มีรถออกจาก - อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถจอดหน้าป้ม ปตท.ใกล้ ททบ.๔ ถนนพหลโยธิน รทออกเวลา ๖.๐๐-๘.ออ น. - สนามหลวง รถจอดหน้า มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ด้านตรงข้ามสนามหลวง วันอาทิตย์ธรรมดา รถออก ๗.ฅอ น.วันอาทิตย์แรกของเดือน รทออกเวลา ๗.๐®-๘.๐๐ น. - มหาวิทยาลัยรามคำแหง รทจอดหน้าตึกอธิการบดีรถออกเวลา ๗.EHO น. - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน รถจอดระหว่างหอประชุมและสระนํ้าใน มหาวิทยาลัย ด้านถนนพหลโยธิน รถออกเวลา ๗.รท๐ น. แpjS-i\"* A วัดพระธรรมทาย หากท่านต้องการรายละเอียดเพิ่มเติมกรุณาติดต่อ แผนกจราจร สำ นักบริการกลาง วัดพระธรรมกาย โทร. ๕๒๔-๐๒£๗-๖๓ ต่อ ๒๑๒๗
นิทาน•ชาดก เป็นฟิมบัดิลํ้าค่าชองชาวพุทธ นิทานซาดก มิใซ่เรื่องที่แต่งชื้นเพื่อส^นคุณธรรม แต่นิทานชาดก คือเรื่องในอดีตชาติข^งพระสัมมาส้มพุทธเจ้า ที่พระองค์ทรงแสดงแก่พระภิกษุในโอกาสต่าง เพื่อเป็นแบบแ{^นในการทำความดี ผู้อ่านหรือพุงนิทานชาดก จึงควรอ่านหรือ พุงด้วยความพิจารณา และในที่สุด ทำ หสักธรรมที่ได้ ไปใช้เป็นคุณประโค์ชน์แก่ดนเองแสะด้อื่น ISBN 974-89321-0-9 9 789748 932101
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138