ครั้งถึงเวลาฉันภัตตาหาร พระสัมมาส์มพุทธเจ้าก็เสด็จนำ พระภิกษุสงฆ์ทั้งวัดไปยังบ้านหมอ^วก ฝ่ายพระจุสลปีนถกนั่งมองดูดวงอาทิตย์ไปมีอก็ลูบผีนผ้าขาว ไป พร้อมกับบริกรรมภาวนาตามที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสนั่งไว้ทุก ประการ นั่วครู่เมื่อก้มดูผ้าในมีอก็เห็นหมองคลํ้า จึงบังเกิดความสสดใจ ว่า ผ้าขาวบริสุทธิ'แท้ๆ โดนกายเราเพียงครู่เดียวเท่านั้นก็กสับกสาย เป็นผ้าสกปรกเปรอะเอ้อนถึงปานนี้ ทำ ให้ฉุกคิดขึ้นมาว่า สังขารทั้ง หสาย ที่ว่าสวยงามนั้น ที่แท้แล้วเป็นที่จับเกาะของสะอองธุลีทั้งหสาย เป็นที่รองรับการไหสออกของเหงื่อไคส โดยปกดีร่างกายมักสกปรก เปรอะเอ้อนต้องคอยทำระล้างให้สะอาดอยู่เสมอ สังขารทั้งหสายแท้ ที่จริงแล้ว มีแต่ความไม่เที่ยง ต้องเลีอมไปทุกขณะเป็นธรรมดา ขณะนั้น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับฉันภัตตาหารอยู่ที่บ้าน หมอทํวก ทรงทราบต้วยพระญาณว่า ใจของพระจุสสปีนถกนุ่มนวส ควรแก่การเข้าถึงธรรมแล้ว จึงเปล่งพระรัศมีมาปรากฏดังประทับอยู่ เฉพาะหน้าพระจุสสปีนถก แล้วตรัสว่า \"ผ้านั้นเศร้าหมองได้ด้วยฝุนธุลีพัใดใจของคนเราก็Qพั้นย่อม เศร้าหมองได้ด้วยธุลีคีอ กิเลส อันได้แก่ ราคะ โทสะ โมหะ เธอจง ชำ ระธุลีแห่งใจคือ ราคะ โทสะ โมหะ ทัง้สามประการนี้ออกเลียให้ลีน\" จบพระธรรมเทศนาพระจุสสปีนถกสามารถประคองใจให้หยุด นิ่ง ตั้งนั่นไม่หวั่นไหว ณ ศูนย์กสางกาย บรรลุธรรมกายอรหัตสำเร็จ เป็นพระอรหันต์พร้อมต้วย ปฏิสัมภิทาญาณ ๔ณ ตรงนั้นเอง (Sro นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
ฝ่ายหมอ?วกน้อมนำ ทักษิโฌทก เข้าไปถวายพระสัมมาสัม พุทธเจ้า พระองค์ทรงปิดบาตรด้วยพระหัตถ์ แล้วตรัสว่า \"ชีวก ในวัดยังมีภิกษุอีกๅปหนึ๋งมิใช่หรือ?\" พระมหาปันถกกราบทูลว่า \"ภิกษุทั้งหลายมาทมดแล้วพระเจ้าข้า\" พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงยีนยันว่า \"ยังมีอีก ชีวก\" หมอซีวกจึงส่งคนไปดูที่วัตขณะนั้นพระจุลลปันถกรู้ด้วยญาณ ของธรรมกาย จึงอธิษฐานจิตเนรมิตตนเป็นภิกษุจำนวนพันรูปกำสัง ทำ กิจต่างๆ ไม่ซํ้ากันเลยอยู่เต็มวัต บ้างก็กวาตลานวัต บ้างก็ข้กลบง จีวร บ้างก็เดินจงกรม ฯลฯ เมื่อคนวับไข้เห็นภิกษุมากมายถึงปานนั้น จึงรีบกสับมารายงานว่า ที่วัตมีภิกษุเต็มไปหมต พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตวัลสังให้คนวับไข้กสับไปที่วัตอีกครั้งหนึ่งแล้วให้บอกว่า พระบรม ศาลตา ตวัลเรียกหาพระจุลลปันถก คนวับไข้ทำตามวับสัง ภิกษุทั้งพัน รูปก็ขานวับว่า ตนซีอจุลลปันถก เขาจึงรีบกสับมาทูลว่า ภิกษุทั้งวัต ซีอจุลลปันถกเหมีอนกัน พระพุทธองค์จึงตวัลสังไห้คนวับไข้กสับไป อีกเป็นครั้งที่ลามและไห้คอยจ้องดูไห้ดีๆ ว่า ถ้ารูปไตขานวับขึ้นก่อน ไห้จับมีอภิกษุรูปนั้นไว้ ครั้นคนวับไข้ทำตามวับสังภาพภิกษุรูปอื่นทั้งวัตก็หายไปทันที คนวับไข้จึงนิมนต์พระจุลลปันถกไปยังบ้านหมอซีวก เมื่อพระจุลลปันถกมาถึงแล้ว พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตวัลสัง นิทานชาดกเล่มหนึ่ง &'๑
ให้หมอ^วกจัดภัตตาหารถวาย และกำหนดให้เป็นผู้กล่าวอนุโมทนา อีกด้วย วันรุ่งขึ้น พระภิกษุประชุมสนทนากันในธรรมสภา ต่างพากัน สรรเสริญพระคุณของพระส์มมาภัมพุทธเจ้าเป็นอเนกประการที่ทรง พระปริซาสามารถช่วยให้พระจุลลปันถกบรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์ พร้อมด้วยปฏิสัมภิทาญาณ ๔ แทงทะลุปรุโปร่งในพระไตรปิฎกตลอด ๘๔,000 พระธรรมขันธ์ ชั่วระยะเวลาเพียงเล็กน้อยก่อนฉันภัตตาหาร เท่านั้น ครั้นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงทราบความแล้ว จึงทรงระลึก ซาติด้วยบุพเพนิวาสานุสติญาณ แล้วตรัสว่า \"ภิกษุmหลาย ตถาคตได้ช่วยพระจุลลป็นถกไม่เQพาะแต่ใน บัดนี้เท่านั้น แม้ในกาลก่อน ตถาคตก็เคยช่วยให้พระจุลลปีนถกได้ เป็นเศรษฐีมาแล้วเช่นกัน\" แล้วตรัสเล่า จุลลกเศรษฐีชาดก ดังต่อไปนี้ (ร:๒ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
เนื้อหาชาดก ครั้งหนึ๋งในอดีตกาล มีเศรษฐีผู้หนึ่งซื่อจุลลกะ เป็นผู้มีความ สามารถพยากรณ์เหตุการฝล่วงหน้าได้อย่างแม่นยำโดยอาดี'ยเหตุ จากนิมิตต่างๆวันหนึ่งจุลลกเศรษฐีนั่งรถม้าผ่านมา เห็นหนูตายตัวหนึ่ง อยู่บนถนน พิจารณาดูแล้ว ทำ นายว่า \"ถ้าใครมีป็ญญา ย่อมสามารถนำหนูตายตัวนึ๋ใปเป็นทุน ประกอบการค้าให้เจริญรุ่งเรืองเป็นเศรษฐีได้\" ชายหนุ่มยากจนคนหนึ่งได้ยินเข้า ก็คิดว่าท่านเศรษฐีผู้นี้เป็น บัณฑิตย่อมไม่พูดพล่อยๆ ถ้าไม่แน่ใจจริงแล้ว ศงไม่พูดเซ่นนั้นจึงนำ หนูตายตัวนั้นไปขายให้ยายแก่ใจบุญศนหนึ่ง ล่าหรับเป็นอาหารแมว ได้เงินมา ๑ กากณึก เท่านั้น วันว่งขึ้นเขาได้นำเงินนั้นไปซื้อนํ้าอ้อยจากต้นแหล่งซื่งอยู่นอก เมีอง (เพราะราศาถูก) แล้วนำไปตั้งไว้ที่ประดูเมีองคู่กับนั้าดื่มอีก หม้อหนึ่ง เมื่อคนเก็บดอกไม้กลับจากป่ากำลังกระหายนํ้าเต็มที่ผ่านมา ก็เชิญขวนให้ดื่มนํ้านั้น ครั้นหายเหนึ่อยแล้ว คนเหล่านั้นก็ให้ดอกไม้ แก่เขาคนละกำเป็นการตอบแทน วันต่อมา ขายหนุ่มนั้นก็นำเงินที่ได้จากการขายดอกไม้ไปซื้อ นํ้าอ้อย และจัดเตรียมนั้าดื่มเซ่นเดิมอีก คราวนี้เขานำไปให้คนเก็บ ดอกไม้ถึงในป่าทีเดียว จึงได้รับดอกไม้ตอบแทนถึงครี่งหนึ่งของที่เก็บ ได้ แล้วนำไปขายเซ่นเคย เขาท่าอยู่อย่างนี้ไม่นานก็สามารถรวบรวม ทรัพย์ ได้ถึง ๘ กหาปณะ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง (ร:๓
ต่อมาวันหนึ่งในต้นฤดูฝน ฝนตกหนัก พายุพัดแรง กิ่งไม้ต้นไม้ ในพระราชอุทยานหักโค่นล้มระเนระนาด ผู้รักษาพระราชอุทยาน กำ ลังหนักใจเพราะไม่รู้ว่าจะขนต้นไม้ กิ่งไม้เหล่านี้ไปทิ้งที่ไหนดี ชายหนุ่มจึงรับอาสาทำความสะอาดอุทยาน โดยขอต้นไม้ กิ่งไม้เหล่านั้นเป็นของดอมแทน นายอุทยานก็ตกลงทันที เขาจึงไปยัง สนามเด็กเล่น ซักขวนเด็กๆ มาดื่มนํ้าอ้อย แล้วให้ช่วยกันขนต้นไม้ กิ่งไม้ไปกองไว้ที่ประตูพระราชอุทยาน เด็กเหล่านั้นก็ช่วยกันขนอย่าง สนุกสนาน ครู่เดียวก็เสร็จ ล่วนเขาเองไปหาช่างปันหม้อของหลวง เสนอขายไม้เหล่านั้นทำทีเนไต้ทรัพย์ถึง ๑๖ กหาปณะ และยังไต้โอ่งนํ้า เนื้อดีใบใหญ่และหม้อไหต่างๆ แถมมาอีก ๕ใบต้วย เขานำโอ่งใล่นํ้าดื่มไปตั้งไว้ใกล้ปากประตูเมือง เชิญขวนให้คน เกิ่ยวหญ้าเลี้ยงลัตว์ ประมาณ ๕:00 คน ดื่มแก้กระหาย คนเกิ่ยว หญ้าเหล่านั้นดื่มนํ้าแล้ว ก็ดีดจะตอบแทนคุณจึงถามว่ามืธุระสิงใตจะ ให้ช่วยบ้าง เขาตอบว่า ขณะนี้ยังไม่มื ต่อเมื่อไรมืจึงจะแจ้งให้ทราบ อยู่ต่อมาไม่กิ่วัน เขาไต้ช่าวว่าวันรุ่งขึ้นจะมีพ่อค้านำม้ามาที่ เมืองนี้ถึง ๕00 ตัว เขาจึงเอ่ยปากขอหญ้าจากคนเกิ่ยวหญ้าคนละฬอน และขอร้องว่า ถ้าเขายังไม่ไต้ขายหญ้าเหล่านั้นแล้วก็ขอให้คนเกิ่ยวหญ้า อย่าเพิ่งขายหญ้าของตนไปเป็นอันขาต วันนั้นเขาไต้หญ้าถึง ๕00ฟ่อน เมื่อพ่อค้าม้าหาขึ้อหญ้าเลี้ยงม้าจากที่ใดไม่ไต้เลย จึงต้องขึ้อจากเขา เป็นเงินสูงถึง ๑,000 กหาปณะ และยังทำให้คนเกิ่ยวหญ้า ขายหญ้า ไต้ในราคาดีตามไปต้วย ๕(ร: นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
อีก ๒-๓ วันต่อมา มีคนส่งข่าวอีกว่า บัดนี้เรือบรรทุกสินค้า มาถึงท่าแล้ว เขาจึงรืบหาเข่ารถม้าซื่งมีบริวารมาด้วยอย่างโก้หรูขับ ไปที่ท่าเรือ แล้วมัดจำสินค้าทั้งหมดไว้ เมื่อพ่อค้านับร้อยคนของเมีอง พาราณสิมาขอข่อสินค้า นายเรือก็แจ้งว่ามีพ่อค้าใหญ่มามัดจำสินค้า ไปหมดแล้ว พ่อค้าเหส่านั้นจึงขอร่วมลงทุนในเรือสินค้ากับเขาคนละ 9,000 กหาปณะ และอีก 9,000 กหาปณะ สำ หรับเป็นค่าสินค้า เขา จึงขายสินค้านั้นให้ไป ไค้กำไรทันที ๒00,000 กหาปณะ ชายหนุ่มมีฐานะร้ารวยขึ้นทันตาเห็น ลมดังคำพยากรณ์ของ จุลลกเศรษฐีภายในเวลา ๔ เดือนเท่านั้น เขาไค้นำทรัพย์จำนวน 900,000 กหาปณะ เป็นเครื่องดักการะต่างดอกไม้ ธูปเทียนไปกราบ ท่านจุลลกเศรษฐี เป็นการแลดงความ กตัญญกตเวที แล้วเส่าเรื่อง ทั้งปวงของตนให้ฟ้ง ท่านเศรษฐีเห็นความมีลดืป็ญญาเฉลียวฉลาด ความอุตสาหะพากเพียรและความกดัญญกตเวทีของเขา จึงยกบุตรื ให้พร้อมกับมอบทรัพย์สมบตให้ครอบครอง ต่อมาภายหดังจากที่ท่านจุลสกเศรษฐีสินข่วิตไปแล้วชายหนุ่ม ผู้นี้ก็ไค้ตำ แหนํงเศรษฐีของเมีองพาราณลีลีบแทน นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๕๕
ประชุมซาดก ครั้นพระส์มมาส์มพุทธเจ้าทรงแสดงซาดกจบแล้ว จึงตรัส คาถาว่า \"คนมีป็ญญาเฉลียวนลาด ย่อมตั้งตนได้ด้วยทุนแม้น้อยดุจคน ก่อไฟกองน้อยๆ ให้เป็นกองใหญ่ ฉะนั้น\" พระล้มมาล้มพุทธเจ้าทรงประชุมซาดกว่า ชายหนุ่มผู้มีปัญญา ได้มาเป็นพระจุสลปันถก จุลลกเศรษฐี ได้มาเป็นพระองค์เอง ข้อคิดจากชาดก ๑. บิดามารดาไม่ควรให้บุตรหญิงและซายของตนใกล้ดูด คลุกคลีกับเพศตรงข้ามจนเกินเหตุแม้ที่สุดระหว่างคนใช้ซายกับบุตรสาว หรีอคนใช้สาวกับบุตรซายตลอดจนพี่ซายกับน้องสาวร่วมอุทรก็เซ่นกัน เพราะเมื่อกามกำเริบได้แล้วไม่ว่าจะเป็นคนยากจนหรือคนรารวย มัก ขาดความสะอายบาป กล้วบาปด้วยกันทั้งสิน ๒. การล้อเลียน เยาะเย้ย ถากถางเหยียบย้าผู้ที่ด้อยกว่า เซ่น โง่กว่า ขี้เหร่กว่า ยากจนกว่า ซาติ ตระกูล ฐานะ ตำ แหน่งตาด้อยกว่า อ่อนแอกว่า ฯลฯ ล้วนเป็นการสร้างบาปด้วยปากทั้งสิน ไม่ควรทำ มิฉะนั้น จะด้องทนรับบาปรับกรรมนับภพนับซาติไม่ถ้วน ๓. ช้อคิตล้าหรับผู้เริ่มสร้างฐานะ ๕๖ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
«?>. ไม่เป็นคนเลือกงาน หรีอดูถูกว่าเป็นงานตาต้อย เมื่อ พิจารณาว่างานนั้นเป็นสัมมาอาชีวะ ไม่ผิดสืลธรรมแล้ว ก็ควรทำ ๒.ไม่เป็นคนเกียจคร้านไม่เห็นแก่หสับนอนโบราณท่านว่า ทรัพย์นั้นอยู่ใกล้หาได้ป นาน แม้นใครขี้คร้าน ป พานพบเลย ๓.ไม่เป็นคนทำงานสะเพร่า ทำ งานหยาบ สักแต่ว่าขอไป ที ขาดความสังเกต ต้องหมั่นคิดปรับปรุงแก้ไขงานให้ก้าวหน้าอยู่เสมอ ๔. ผู้ที่จะประสบความสำเร็จในชีวิต จะต้องประกอบด้วยองค์ คุณ ๔ ประการ คือ ๑. เป็นผู้มีความพู ๒. เป็นผู้มีความสามารถดี ๓. เป็นผู้มีความประพฤติดี ๔. เป็นผู้มีบุญเก่าลร้างสมไว้ดี ๕. ไม่ว่ายุคใดสมัยใด ^ห้ย่อมเป็นที่รักของคนทั้งหลายเพราะ ฉะนั้น บุคคลผู้หวังความสุขความเจริญ ควรให้ทานอยู่เป็นนิจ ถ้ามีมาก ก็ให้มาก ถ้ามีน้อยก็ให้น้อย แต่ที่จะไม่ให้เสยนั้น ไม่สมควรอย่างยิ่ง ๖. การทำงานใดๆ ก็ดาม ไม่ว่างานใหญ่หรืองานเล็กจะต้อง มีครัทธาในงานที่ทำ มีความพยายามไม่ลดละ ตั้งใจและเอาใจใส่ในงาน ที่ทำ อยู่เสมอ รู้จักหาวิธีการทำงานให้สำเร็จด้วยดี แต่ทั้งนี้เราจะต้อง เป็นคนที่ตั้งมั่นอยู่ในดีลธรรมด้วย จึงจะเป็นที่ยอมรับนับถือของผู้ที่ เข้าร่วมงาน นิทานชาดกเล่มหนึ่ง (ร:๘
ภาคนนวก เรื่องในอดีตอีกซาติหนึ่งของพระจุลลปันถก ในเย็นวันที่พระจุลลป้นถกบรรลุธรรมนั้นเองพระภิกษุฑั้งหลาย ต่างประชุมสรรเลริญพระคุณแห่งองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าว่า \"พระมหาป็นถกไม่ทราบเรื่องโนอดีตของพระจุลลป็นถก จึง ดีดว่าพระจุลลป็นถกโง่ และขับไล่ออกจากพระวิหาร แต่พระบรม ศาสดาของเราทรงเป็นพระธรรมราชา ลามารถประทานอรพัดผล พร้อมปฏิสัมภิทาแก่พระจุลลป็นถกได้น่าอัศจรรย์จริง\" ครั้นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงทราบ จึงตรัสว่า \"ภิกษุทั้งหลาย จุลลป็นถกมิได้เป็นศนโง่เฉพาะแต่โนบัดนี้ แม้โนกาลก่อนก็เป็นผู้โง่เขลามาแล้วเหมือนกัน และตถาคตก็มิได้เป็น ที่พึ่งแก่จุลลปีนถกเฉพาะแดในชาตินี้ แม้โนชาติก่อนตถาศดก็ได้เป็น ที่พึ่งแก่เธอมาแล้วต่างกันแดว่าโนกาลก่อนเราได้ทำโพัเธอเป็นเจ้าของ โลกียสมบัติ ล่วนบัดนี้ได้ทำโห้เธอเป็นเจ้าของโสกุดรสมบัติ\" ๕๘ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
แล้วทรงนำเรื่องในอดีตมาเล่า มีความโดยย่อดังต่อไปนี้ ครั้งหนี่ง ในอดีตกาล มีมาณพผู้หนึ่งอาดัยอยู่ในนครพาราณสิ ต่อมาได้เดินทางไปดีกษาดีลปวิทยายังเมีองดักสิลา มาณพผู้นี้เป็นคน ขยันหมั่นเพียรและตั้งใจดีกษาเล่าเรียนจึงเป็นที่รักของอาจารย์ แต่ เนึ่องจากเป็นคนโง่ทึบไม่สามารถเรียนอะไรได้ดังตั้งใจ จึงเกิดความ ท้อแท้ใจ ในที่สุดก็ขอลาอาจารย์กลับบ้าน ก่อนกลับ อาจารย์มีความสงสารคิดจะช่วยเหลือดีษย์อีก ลักครั้งหนึ่ง จึงดัดเลือกมนต์บทหนึ่ง มีความว่า \"ฆเฏ^ ฆเฏ^ กึการฌา ฆเฏi อหโเตํ ชานามิ ชานามิ\" แปสว่า ท่านพยายาม ท่านพยายาม ท่านพยายามทำไม เรารู้ เรารู้ แล้วเคี่ยวเข็ญมาณพนั้นให้ท่องมนต์นี้กลับไปกลับมานับร้อยๆ ครั้ง จนแนํใจว่าจำได้แล้ว จึงลังยํ้าให้ท่องปนมนต์นี้ไว้เป็นนิจ จักได้ อาดัยมนต์บทนี้ดำรงข็วิตได้ ในครั้งนั้น พระเจ้ากรุงพาราณสิใคร่จะทราบทุกข์สุขของ ซาวบ้านอย่างแท้จริงจึงปสอมพระองต์เป็นสามัญซนเสด็จไปตามบ้าน เรีอนต่างๆ ในเวลาเย็น เนึ่องจากทรงดำริว่า ซาวบ้านซาวเมีองย่อม จะสนทนาปรับทุกข์สุขกันในช่วงเวลาอาหารเย็น เวลาดึกของคืนวันหนึ่ง พระองค์ทอดพระเนตรเห็นโจรกลุ่ม หนึ่งกำลังขุดอุโมงค์ เพื่อเข้าไปลักทรัพยไนบ้านหลังหนึ่ง จึงประทับ ยืนแอบอยู่ในมุมมีด ครั้นแล้วทรงสดับเลืยงสาธยายมนต์ของมาณพ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๕๙
ในเรีอนนั้นว่า \"ฆเฏ^ ฆเฏ^ กึการฌา ฆเฏ^ อหํปีตํ ชานามิ ชานามิ\" เมื่อโจรเหล่านั้นได้ยินเสิยงสาธยายมนต์ก็ตกใจ คิดว่าคง มีคนบนเรีอนเห็นการกระทำของตน จึงรีบหนีไปโดยเร็ว ฝ่ายพระราซา เมื่อเห็นโจรวิ่งหนีไปแล้ว จึงเสด็จกลับพระราชวัง วันรุ่งขึ้น พระราชาจึงมีพระราซกระแสรับลังให้มาณพนั้นมา เข้าเฝืา ทรงซอให้มาณพนั้นสอนมนต!ห้ แล้วพระราชทานทรัพย์ จำ นวนมากให้เป็นค่าตอบแทน ในครั้งนั้น เสนาบดีคบคิดกับ กัลบก ว่า เมื่อถึงเวลาจะแต่ง พระมัสสุถวายพระราชาให้กัสบกใข้มีดโกนเชือด พระศอ เสิย เสนาบดี นั้นก็จะได้เป็นพระราชา ล่วนตัวกัสบกจะได้เป็นเสนาบดีแทน เมื่อถึงวันแต่งพระมัสสุ กัสบกกำลังจะเริ่มดำเนินการดาม แผนที่วางไว้ แต่เกรงว่ามีดโกนจะที่อไป จึงถอยไปยืนลับมีดอยู่ ในชณะนั้นบังเอิญพระราชาทรงรำลึกถึงมนต์จึงสาธยายออก มาดังๆ ว่า \"ฆเฏ^ ฆเฏ^ กึการณา ฆเฏ^ อหํปีตํ ชานามิ ชานามิ\" กัลบกได้ยินดังนั้นถึงกับเหงื่อดก เข้าใจผิดคิดว่าพระราชา ทรง ทราบเรื่องแล้ว จึงโยนมีดทิ้งไปที่พี้น แล้วหมอบกราบแทบพระบาท พลางกล่าวละล้าละลักว่า \"ขอใด[ปรดพระราชทานอภัยโทษแก่ข้าพระพุทธเจ้าด้วยเถิด\" พระราชาทราบทันทีว่า กัลบกกำลังคิดปองร้ายพระองต์ จึง ตรัสขึ้นว่า ๖0 นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
\"เจ้าจงสารภาพความจริงมาทั้งหมด เจ้ากัลบกใจร้าย!\" ครั้นกัลบกกราบทูลเรื่องทั้งหมดที่เสนาบดีวางแผนไว้แล้วพระ องค์จึงมีรับทั้งให้เนรเทศเสนาบดีออกจากพระนคร เมื่อเหตุการณ์สงบลงแล้วพระราซาทรงสำนึกในพระราซหฤทัย ว่า \"เรารอดชีวิตมาได้ครั้งนี้เพราะอากัยอาจารยของเรา\"จึงมีพระราช ดำ รัสให้ตามมาณพผู้เป็นอาจารย์มาเข้าเฝืา ทรงกระทำการยกย่อง นับถือเป็นอันมาก และพระราชทานดำแหน่งเสนาบดีแก่มาณพนั้น เมื่อพระอัมมาอัมพุทธเจ้าตรัสเล่าอดีตนิทานจบสงแล้ว ทรง ประชุมชาดกว่า มาณพในครั้งนั้น ได้มาเกิดเป็นพระจุสลปันถก ส่วนอาจารย์ในนครดักสิลานั้น ได้มาเป็นพระองค์เอง อนึ่ง สาเหตุที่พระจุลสปันถกหอังจากบวชแล้วกลายเป็นคน โง่ทึบ เนึ่องจากว่า ในสมัยพระกัสสปอัมมาอัมพุทธเจ้าโน้น พระจุลล ปันถกเคยเกิดเป็นพระภิกษุผู้มีปัญญาไว ฉลาดปราดเปรื่องมาก แต่ ขาดความสำรวม ชอบพูดล้อเลียนกระทบกระเทึอนเยาะเย้ยถากถาง พระภิกษุโง่รูปหนึ่งอยู่เสมอ ทำ ให้ภิกษุรูปนั้นรู้ลีกอับอาย และหมด กำ อังใจที่จะดีกษาเล่าเรียน ด้วยอำนาจอกุศลกรรมนั้นนับแต่ชาตินั้น ท่านจึงเป็นคนโง่ทึบตลอดมา นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๖๑
อริฃายสัพท์ จุลลกเศรษฐีซาดก (อ่านว่า จุน-ละ-กะ-เฝ็ด-ถี-ชา-ดก) จุลลกเศรษฐี เศรษฐีดู่อจุลลกะ ชํเวกัมพวัน ซวกะ+อัมพวัน (ป่ามะม่วง) คือลวนมะม่วง ที่หมอดูวกโกมารภัจจ์สร้างเป็นวัดถวายพระ สัมมาสัมพุทธเจ้า สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด สมุจเฉทปหาน การตัดกิเลสได้เด็ดขาด ภัดตุเทศก์ พระภิกษุที่มีหน้าที่จัดสรรปันส่วนอาหารให้ ภิกษุด้วยกัน พระคันธกุฎี กุฎีที่อบแล้วด้วยของหอม ที่ป่ระทับของ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระเสโท เหงื่อ พระนลาฏ หน้าผาก ปฏิสัมภิทาญาณ ๔ ความแดกฉานอันประเสริฐ ๔ ประการ ได้แก่ 9. อัตถปฏิสัมภิทา หมายถึง ศวามสามารถขยาย ข้อธรรมให้ละเอียดพิสดาร ๒. ธัมมปฏิสัมภิทา หมายถึง ความสามารถย่อ ข้อธรรมที่สะเอียด พิสดารให้เนลงสรุปเป็น ข้อความสันๆ ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา หมายถึง ความสามารถมาพูด ให้คนเข้าใจได้ ตสอดถึงรู้ภาษาต่างประเทศ ๖๒ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
ทักษิโณทก ๔. ปฏิภาณปฏิส์'มภิทา หมายถึง ความฝ็ามารถ กากณึก ในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้ากล่าวโต้ตอบได้ทัน ห่วงทีมีไหวพริบดี นํ้าที่หลั่งให้ในเวลาทำทาน ทรัพย์มีค่าเห่าค่าแห่งดู้นเนื้อพอกาพาไปไต้เป็น fอมาตราเงินอย่างต้าที่สุด กหาปณะ เงินตรามีพิกัดเห่ากับ ๒0 มาลก หรือ 'ริ) ตำ ลึง มาสก คีอ ๔ บาท ^อมาตราเงินในครั้งโบราณ ๕ มาสก เป็น กตัญฌูกตเวที 'ริ) บาท กัลบก กตัญญ = รู้คุณห่าน กตเวที = สนองคุณห่าน ประกาศคุณห่าน พระมัฝึสุ ช่างตัดผม ช่างโกนผม หนวด พระศอ คอ พระคาฉาประจำซาดก อปฺปเกนปี เมธาวี ปาภเฏน วีจกฺขโณ สมุฏฺจาเปติ อตฺตานํ อณุ อคฺคึว สนฺธมํ คนมีปัญญาเฉลียวฉลาด ย่อมตั้งตนไต้ด้วยทุนแม้น้อย ดุจคนก่อไฟน้อยๆ ให้เป็นกองใหญ่ ฉะนั้น นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๖๓
ดัณทุลนาฟิชาฅก ซาดกว่าด้วยความโลภจัดเห็นแก่ได้ สถานที่ตรัสซาดก เซตวันมหาวิหาร นครสาวัตถี สาเหตุที่ตรัสซาดก ครั้งหนี่ง ในสมัยพุทธกาล เมื่อพระบรมศาสดาประทับอยู่ ณ เซตวันมหาวิหาร ครั้งใfน พระทัพพมัลลบุตร ซึ่งสำเร็จเป็นพระ อรหันต์ตั้งแต่อายุเจ็ดขวบ และเป็นที่รักของสงฆ์ทั้งหลายได้รับหน้าที่ เป็นภัตตุเทศก์ คือทำหน้าที่เป็นผู้ควบคุมดูแลหอฉันโรงทานทุกๆ วัน ด้องคอยจัดสรรปันส่วนอาหารให้แก่พระภิกษุสงฆ์ซึ่งมีอยู่เป็นจำนวน มากในมหาวิหารแห่งนี้ ตลอดจนจัดพระภิกษุไปตามที่รับนิมนต์ไว้ อีกด้วย นับเป็นภาระหนักมาก นิทานขาดกเล่มหนง ๖๕
ในมหาวิหารนี้มีพระภิกษุรูปหนึ่งซึ๋งบวซฒึ่อแก่^อ อุทายี เป็น ผู้มีนิสัยเหลาะแหละ โลเล เจ้าอารมณ์ โลภ เห็นแก่ได้และติดในรส อาหารอย่างหนัก ตั้งแต่บวชก็ไม่ตั้งใจรักษาติลประพฤติธรรมเยี่ยง พระภิกษุทั้งหลาย ชอบก่อเรื่องวุ่นวายเสมอๆ แม้เรื่องที่ทั้วหยาบน่า ละอาย ชาวบ้านไร้การสืกษายังไม่ยอมทำ ท่านก็ทำ จึงเป็นเหตุให้ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงตำหนิต่อหน้าที่ประชุมสงฆ์ และด้องทรง บัญญ้ตพระวินัยเพิ่มขึ้นหลายครั้งหลายหน อาทิเซ่น ครั้งหนึ่ง พระอุทายีได้วาดภาพหญิงเปลือยลงบนจึวร นางภิกษุณีแล้วหลอกให้นางภิกษุณีนั้นห่มไปพิ่งโอวาทในที่ประชุมลงฆ์ ทำ ให้ได้รับความอับอายขายหน้าอย่างมาก มีปอยครั้ง พระอุทายีผูโลภจัดเห็นแก่อาหาร ไม่พอใจวิธีการ แปงสรรปันส่วนอาหารตามวิธีการของพระทัพพมัลลบุตร ซึ่งบรรดา พระภิกษุทั้งมหาวิหารยอมรับแล้วว่าเป็นวิธีการที่เหมาะสมที่สุด และ ยุติธรรมที่สุดแล้ว ทั้งนี้เพราะมีบ้างบางครั้งที่พระอุทายีได้รับแจก อาหารที่ไม่ค่อยประณีตถูกปาก เนึ่องจากบางวันมีพระเถระผู้ใหญ่ พรรษาสูงจำนวนมากจากแดนไกลมาเข้าเฝืาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเพิ่อ รับฟ้งพระโอวาท พระทัพพมัลลบุตรจำเป็นด้องจัดอาหารที่ประณีต ถวายพระเถระเหส่านั้นก่อน เป็นเหตุให้พระอุทายีได้รับอาหารส่วน แปงที่ไม่ถูกปากไปบ้าง วันใดพระอุทายีได้รับอาหารที่ประณีตถูกใจก็นึ่งเลืย แต่ถ้าวันใด ได้รับอาหารไม่ถูกปากไปบ้าง ก็จะเอะอะโวยวาย พูดเลืยดลืกระแทก bb นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
แดก(สืนพระทัพพมัลลบุตรให้ได้ยินกันทั่วหอฉันโรงทาน พระภิกษุทั้ง หลายต่างพากันอิดหนาระอาใจไปตามๆ กัน แต่ไม่รู้ที่จะทำประการใด วันหนึ่ง มีพระเถระผู้ใหญ่มาเฝืาพระกัมมากัมพุทธเจ้า เป็น จำ นวนมาก เป็นเหตุให้พระอุทายีได้รับส่วนแปงอาหารทีไม่ถูกใจจึง แลดงอาการไม่พอใจอย่างเคย แต่คราวนี้หนักกว่าเก่า ถึงกับลุกขึ้นยีน ท่ามกลางสงฆ์ ตะโกนด้วยเสิยงดังลั่นว่า \"ท่านทั้งหลาย ในสถานที่นี้มีพระภิกษุจำนวนมากมาย นับไม่ ล้วน ใช่ว่าจะมีพระทัพพมัลลษุตรเท่านั้นเมื่อไร ที่มีมีมีอในการแจก สลากแบ่งสรรปีนส่วนอาหาร แม้เราเองก็เข้าใจวิธีแจกสลากเช่นกัน ทำ ไมจึงไม่ให้โอกาสเราเป็นผู้แจกบ้างเส'า\" พระภิกษุทั้งหลายปรารถนาจะดัตความรำคาญ จึงมีมติมอบให้ พระอุทายีท่าหน้าที่แบ่งลรรปันส่วนอาหารแทนพระทัพพมัลลบุตร ตั้งแต่วันนั้นเป็นด้นมาพระอุทายีก็แบ่งลรรปันส่วนอาหารลงฆ์ ในหอฉันโรงทานตามอำเภอใจ โตยไม่คำนึงถึงความเหมาะลมตาม ลำ ดับพรรษาแต่อย่างใด มีบ้างบางครั้ง ท่านพยายามจัดลรรอาหาร ตามลำดับพรรษา ก็ท่าแบบละเพรำ ขาดหลักเกณฑ์ เพราะท่านไม่ได้ คอยติดตามดูแลอย่างใกล้ชิดเซ่นพระทัพพมัลลบุตรว่าวันใดมีพระภิกษุ อาคันตุกะมาเฝืาพระลัมมาลัมพุทธเจ้าจากที่ไหนๆ บ้าง แห่งละเท่าใด อายุพรรษา สูงตาเพียงไร จึงท่าให้ส่วนแบ่งอาหารลักลั่นไม่เหมาะลม บางทีถึงกับไม่ทั่วถึงกัน ท่าความเดือตร้อนให้หมู่ลงฆ์ทั้งมหาวิหาร ใครจะท้วงติงอย่างไร ก็ไม่ยอมพีง นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๖ฝ
พระภิกษุหนุ่มและสามเณรทั้งหลาย อดทนต่อความเหลาะแหละ โลเล ไม่เป็นโล้เป็นพาย มักง่ายขาดวินัยของพระอุทายีต่อไปไม่ไหว วันหนึ่งจึงกล่าวกับท่านว่า \"ตั้งแต่ท่านรับหน้าที่แจกสลากเป็นต้นมา พระภิกษุทั้งหลาย ต่างไต้รับความเดือดร้อนไปตามๆ กัน ท่านไม่ลมควรจะรับหน้าที่นี้ต่อไป จงออกไปเดืยเถิด\" ว่าแล้วก็ช่วยกันยื้อยุดฉุดพระอุทายีให้ออกจากหอฉันโรงทาน ไป แต่ท่านก็พยายามขัดขืน และตะโกนต่าด้วยถ้อยคำหยาบคายไม่ ขาดปาก ทำ ให้เกิดเสิยงอึงคะนึงหนักขึ้น พระบรมศาลดาประทับอยู่ด้านในหอฉันโรงทาน ครั้นได้ลดับ เสิยงนั้น จึงตรัลเรียกพระอานนท์มาขักถาม ทรงทราบโดยตลอดแล้ว จึงทรงระลึกชาติด้วยบุพเพนิวาลานุลติญาณ ตรัสว่า \"ดูก่อน อานนท่ มิใช่แต่เดี๋ยวนี้เท่านั้น ถึงเมื่อชาติก่อนๆ อุทายีก็ท่าความเดือดร้อนเดี๋อมลาภให้แก่ผู้อื่นมาแล้วเหมือนกัน\" พระอานนท์จึงกราบทูลอาราธนาให้ทรง เล่า เรื่องราว แต่ หนหลัง พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงฅรัลเล่า ตัณทุลนๆพิชาดก ดังนี้ ๖๘ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
เนื้อหาชาดก ในอดีตกาล ลมัยเมื่อพระเจ้าพรหมทัดครองราชสม!บต ณ นครพาราณสี แคว้นกาสี พระองค์ทรงมีบัณฑิตผู้หนี่งเป็นเจ้าพนักงาน ตีราคาพัสดุที่จะดู้อเข้ามาเป็นของหลวง เซ่น ข้าง ม้า ทองคำ และ เพชรพลอยต่างๆ เนื่องจากเป็นประเพณ!นสมัยนั้นว่า เมื่อเจ้าพนักงานตีราคา พัสดุได้รับพระบรมราชานุญาตไห!ข้อำนาจแทนพระองค์ในการดีราคา สินค้าแล้ว หากตีราคาสินค้าว่ามียูสคำเป็นเท่าใด เจ้าของก็จะไค้รับ มูสค่าเพียงเท่านั้น จะต่อรองขัดขืนไม่ยอมชายมีไค้เป็นอันขาด บัณฑิตผู้นี้ไค้ทำหน้าที่ของตนอย่างยุติธรรม ไม่ว่าจะตีราคา สินค้าชนิดใด ก็ตีราคาให้สูงตาสมเหตุสมผสตสอดมา แต่เนื่องจาก พระเจ้าพรหมทัดทรงมีอุปนิสัยโลภเห็นแก่ไค้ ชอบเอาเปรียบแม้แต่ พสกนิกรตาดำๆ ชองพระองค์เอง จึงไม่ค่อยพอพระทัยในการกระทำ ของท่านบัณฑิตเทำใดนัก ทรงดำรีอยู่เสมอว่า ถ้าขืนปล่อยให้ดีราคา เซ่นนี้ไม่ข้าพระราชทรัพย์ในท้องพระคสังก็จะค้องหมดสินไปมีพระราช ประสงค์ที่จะเปลี่ยนเจ้าพนักงานตีราคาเสียใหม่ จึงทรงพยายามมอง หาคนใหม่เข้ามารับงานแทน วันหนื่ง ขณะที่ประทับทอดพระเนตรไปยังหน้าพระสานทรง เห็นชายชาวบ้านนอกคนหนื่งเดีนเถ้ๆ กังๆ ผ่านมาทางนั้น พระองค์ทรง คาดคะเนจากลักษณะท่าทางตลอดจนการแต่งเนี้อแต่งตัว แล้วทรง ดำ รีว่า อย่างไรเสียบุคคลนี้คงจะเป็นคนตระหนื่ถี่เหนียวแน่ๆ เหมาะ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๖๙
ที่จะใช้ให้ตีราคาพัสดุตามพระราชประสงค์ได้จึงรับส์งให้เรียกตัวชาย คนนั้นมาเฝืา แล้วตรัสถามว่า \"ถ้าจะให้รับหน้าที่ตีราคาพัลดุที่จะซื้อเป็นของหลวง เจ้าจะ ทำ ได้หรือไม่?\" ชายผู้นั้นก็รับคำทันทีโดยไม่ได้ตรึกตรอง พระราชาจึงทรง ปสตเจ้าพนักงานคนเดิมออกโดยปราคจากความผิด แล้วแต่งตั้งชาย ผู้นี้ขึ้นมาทำหน้าที่แทน เจ้าพนักงานคนใหม่ผู้นี้เคยทราบกิตติตัพทํความโสภเห็นแก่ได้ ของพระราชามาแล้ว ประกอบกับตนเองก็มีนิล้ยเป็นพาลเห็นแก่ได้ ชอบเอาเปรียบผู้อื่นเป็นทุนอยู่เช่นกัน ดังนั้น เมื่อได้รับตำแหน่งแล้ว จึงมักตีราคาช้าง ม้า แสะพัสดุสิงของที่มีผู้นำมาชายในราคาตำมาก จึงเป็นที่พอพระทัยยิ่งนัก อยู่ต่อมาไม่นาน มีพ่อด้าผู้หนึ่งได้นำม้าพันธุตี ๕00 ตัว จาก แดนไกลมาเสนอขาย เพื่อใช้ในราชการสงคราม พระเจ้าพรหมทัด จึงรับสิงให้หาเจ้าพนักงานคนใหม่มาตีราคา โดยเหตุที่ทราบพระราชอัธยาตัย เขาจึงกดราคาม้าทั้ง ๕00 ตัวนั้นให้ตำสงอย่างนำใจหายคือ มีมูสค่าเท่ากับช้าวสาร เพียงทะนาน เตียว พ่อด้าม้านั้นคาดไม่ถึงว่าจะถูกกดราคาตำเช่นนี้ก็ตกใจ แต่ไม่รู้ จะท่าประการใดเพราะเกรงกลัวพระราชอาญาได้แต่เดินคอตกไปหาเจ้า พนักงานตีราคาคนเดิม เล่าเรื่องทั้งหมดให้ทราบแล้วขอคำแนะนำปรึกษา ฝ0 นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
พนักงานบัณฑิตตรึกตรองโดยรอบคอบแล้ว จึงแนะอุบายให้ พ่อค้าม้าว่า ''ท่านจงกลับไปหาเจ้าพนักงานตีราคาผู้'ifนใหม่อีกครั้งหนึ่งให้ ตีนบนแก่เขา แล้วบอกเขาว่า การที่ม้า ๕00 ตัว ของท่านถูกตีราคา เท่ากับข้าวสาร <ร่> ทะนานโfน'ทุกคนทราบตี และไม่ขอโต้แย้งแต่อย่างใด ที่มาหาครั้งนี้ ก็เพราะย้งมีความข้องไจว่า แล้วข้าวสาร 9 ทะนานจะ มีค่าลักเท่าไร ขอให้เขาเทียบราคาข้าวสารนั้นกับนครพาราณตี แสะ ขอร้องให้เขาตอบคำถามนี้ต่อหน้าพระที่นั้งด้วย ถ้าเขารับปากว่าจะ ทำ ให้ ก็จงนัดเขาไปเมีาพระราชา แล้วมาบอกข้าพเจ้า ด้วยข้าพเจ้า จะตามไปช่วยเหลือท่านอีกแรงหนึ่ง\" พ่อค้าม้ารับทราบอุบายแล้ว ก็ไปยังที่อยู่ของพนักงานตีราคา ให้สินบนแก่เขาจนจุใจ แล้วก็แจ้งความประสงค์ตามอุบายของบัณฑิต ทุกประการ เจ้าพนักงานตีราคาได้รับสินบนแล้ว ก็มีใจเอนเอียงเข้าข้าง พ่อค้าม้า รับปากจะทำตามคำขอร้อง และนัดกันไปเฝืาพระราซาใน วันรุ่งขึ้น พ่อค้าม้าก็กลับไปแจ้งให้ทำนบัณฑิดทราบทุกประการท่าน บัณฑิดจึงนัดหมายอำมาตย์คนอื่นๆ อีกหลายท่านให้เข้าเฝืาพระราซา ในวันรุ่งขึ้นด้วย ครั้นถึงเวลานัดหมาย พ่อค้าม้าก็ขอเข้าเฝึาพระราชา ถวาย บังคมแล้วกราบทูลว่า นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๘๑
\"ขอเดชะ พระอาญาไม่พ้นเกล้า ข้าพระพุทธเจ้าได้ทราบว่าม้า ๕00 ตัวมีค่าเท่ากับข้าวสาร q> ทะนาน แต่ยังไม่ทราบว่าข้าวสาร 9 ทะนานจะมีราคากักเท่าไร?\" พระเจ้าพรหมหัตไม่ทรง เฉลียวพระหัย จึงตรัสถาม เจ้าพนักงาน ตีราคา แต่เนื่องจากเจ้าพนักงานตีราคาได้รับสินบนจากพ่อค้าม้าแล้ว ก็กลับมีใจเอนเอียงตามวิล้ยของคนพาล กลายเป็นพรรคพวกของ พ่อค้าม้าไป เมื่อถูกถามดังใณั้ จึงทูลตอบว่า \"ข้าวสาร9 ทะนาน มีค่าเท่ากับนครพาราณล้ทั้งภายใน และ ภายนอกรวมกันพระเจ้าข้า\" ในสมัยนั้น นครพาราณลีมีปราการล้อมรอบ วัดกำแพงภายใน โดยรอบยาวประมาณ ๑๒ โยชน์ พื้นที่ทั้งภายในและภายนอกกำแพง มีอาณาเขตรวมกันถึง ๓00 ตารางโยชน์ บัดนี้ ได้ถูกตีราคาให้ เท่ากับข้างลารเพียงทะนานเดียว เลีย แล้ว ท่านบัณฑิตได้ยินดังนั้น จึงแลรังถามเป็นเข้งทบทวนให้คนอื่น คิดตามเป็นคาถาดังนี้ ว่า \"ข้าวสาร9ทะนาน มีราคาเท่าไร พระนครพาราณล้ทั้งภายใน และภายนอกมีราคาเท่าไรข้าวสารทะนานเดียวมีค่าเท่ากับม้า ๕00 ตัว เทียวหรือ?\" อำ มาตย์ทั้งหลายในที่นั้นได้พีงแล้ว จึงตบมีอหัวเราะ และกล่าว คำ เย้ยหยันออกมาว่า ๘๒ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
\"แต่ก่อน เราสำคัญว่า แผ่นดินและmะราชสมบ้ติมีค่ามากมาย จนประมาฌมิได้ มาบัดนี้ กลับกลายเป็นว่าราชสมบัดินครพาราณสํ อันกว้างใหญ่ไพศาลถึงปานนี้มีราคาเท่ากับข้าวสารเพียงทะนานเดียว เออหนอ พนักงานตีราคาคนนี้ช่างทำงามหน้าจริงๆ พนักงานผู้ดีราคา คนก่อนนั้นไปอยู่เถึยที่ไหนเล่า ราชสมบัดีของพระราชาเราจึงมีค่าสด ลงเหลือเพียงเท่านี้ได้\" พระเจ้าพรหมทัตทรงอดสูพระทัยนัก รับส์งให้ปลด และขับไล่ เจ้าพนักงานผู้ใเนออกไปเสิยจากพระราชวังทันที แล้วทรงแต่งตั้ง บัณฑิตคนเดิมให้กลับมาเป็นเจ้าพนักงานตีราคาอีกครั้งหนึ่ง ม้าทั้ง ๕00 ตัว ก็ได้รับการดีราคาใหม่อย่างยุติธรรม ประชุมชาดก ครั้นจบพระธรรมเทศนา พระลัมมาลัมพุทธเจ้าทรงประชุม ซาดกว่า เจ้าพนักงานตีราคาผู้โลภเห็นแก'ได้ ในครั้งนั้น ได้มาเป็นพระอุทายี เจ้าพนักงานบัณฑิตคนเดิม ได้มาเป็นพระองค์เอง นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ฝ๓
ข้อคิดจากชาดก 9.ในการทำงานให้ถือเอาความถูกต้องตามหลักการประโยชน์ และความเหมาะสมเป็นเกณฑ์ไม่ถือเอาแต่ความถูกใจ มิฉะนั้นจะขาด ความยุติธรรม แล้วกฎหมู่จะเหนือกฎหมาย เพราะถึงจะทำดีเพียงใด ก็ย่อมไม่ถูกใจคนพาลเป็นธรรมดา ๒. เมื่อจะมอบหมายงานให้ผู้ใด ถ้าใครรับปากง่ายเกินไปอย่า สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพเคยดรัสว่า การที่พระ องค์ทรงมอบหมายให้ใครไปทำงานแล้วไม่เคยผิดพสาดเสย เพราะ ถือหลักว่า ถ้าจะใช้คนไหนทำงานใหญ่งานสำคัญ ถ้าถามว่า ทำ ไต้ไหม แล้วเขาดอบรับทันทีว่า ทำ ไต้ ทั้งที่ไม่เคยทำ ท่านจะไม่ทรงใช้ แต่ถ้า คนไหนอิดเอื้อนไม่ค่อยรับคำ เพราะเกรงว่าจะทำไต้ดีไม่ถึงขนาด แต่ สามารถแจกแจงไต้ว่างานนั้นมิปัญหาอย่างนั้นๆ และจะแก้ไต้อย่างนี้ๆ ให้พิจารณาใช้คนนั้นก่อน ๓. เวลาจะทำงานใหญ่ มิผลประโยชน์มาก ผู้ที่มีความซื่อลัดย่ มักจะถูกคนพาลโจมดีให้ท้อใจ หนักใจเสมอๆ เพราะไปขัดผสประโยชน์ ของเขา ดังนั้น 9. ผู้ใดจะทำงานใหญ่ จะต้องแกใจให้หนักแน่นเหมือน แผ่นดินไว้เสิยก่อน ๒. ผู้บังคับบัญชา และผู้เกี่ยวช้องทั้งหลายก็ต้องหมั่นให้ กำ ลังใจผู้ปฏิบัติงานต้วย dcgr นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
ภาคนนวก ชีวประวัติพระทัพพมัลลบุตร พระทัพพมัลลบุตร เดิมเป็นพระราชโอรสของกษัตริย์ราชวงส์ มัลละในวันประสูติพระราชมารดาเสด็จสวรรคตขณะที่พระองค์ยังอยู่ ในพระครรภ์ ตามธรรมดาเมื่อมารดาสินชีวิต บุตรในครรภ์ก็ต้องสินชีวิต ตาม แต่ต้วยเดชะบุญของพระราชาโอรสในพระครรภ์ที่ไต้เคยสร้าง สมมาอย่างดีตั้งแต่อดีตชาติ จึงยังไม่สินพระชนม์ไปพร้อมกับพระ มารดา เนื่องจากไม่มีผู้ใดเฉลียวใจ พระศพจึงถูกนำไปถวายพระเพสิง ในขณะที่เพลิงกำลังลุกไหม้พระศพอยู่นั้น ครรภ์ของพระนาง ถูกความร้อนก็ระเบิดแดกออก พระราชโอรสในพระครรภ์กระเด็นไป ตกลงบนกอหญ้าแฝก พระอัยยิกาจึงทรงนำไปเลี้ยงไว้ พระราชทาน นามว่า ทัพพะ พระทัพพกุมารมีสติปัญญาเฉลียวฉลาดมาก ฝืกใฝ่ในธรรม มา ตั้งแต่จำความไต้ ครั้นเจริญพระชี'นษๆไต้ ๗ ชันบา ไต้ฟ้งพระธรรม เทศนาของพระลัมมาลัมพุทธเจ้าแล้ว ก็บังเกิดความเลื่อมใสศรัทธา นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ฝ^
อย่างยิ่ง ประกอบกับในอดีตชาติเคยปฏิบัติธรรมสร้างสมบารมีมา อย่างยิ่งยวด ทำ ให้ทรงพิจารณาเห็นความไม่เที่ยงของกังขารได้โดย รวดเร็ว จึงตัดสินพระทัยเสด็จออกบรรพซา ในวันบรรพซานั้นเอง ขณะปลงพระเกคา พระทัพพกุมาร ทรง สามารถประคับประคองใจให้สงบตั้งมั่นอยู่ภายใน บรรลุธรรมกาย สำ เร็จเป็น พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี ไปดานลำดับ ครั้นปสงพระเกศาหมด ก็สำ เร็จเป็น พระอรหันต์อยู่ ณ ที่นั้นเอง นับ ว่าท่านเป็นพระอรหันต์ตั้งแต่ยังไม่ได้เข้าพิธีบรรพซา เมื่อสำเร็จเป็นพระอรหันต์แล้ว ท่านก็ทรงเล็งเห็นว่า บัดนี้ ภารกิจในการปราบกิเสสได้เสร็จสินลง เหลือแต่ภารกิจเพื่อสงเคราะห์ ซาวโสก จึงกราบทูลพระบรมศาสดาต่อหน้าที่ประชุมสงฆ์ รับท่าหน้าที่ จัดเสนาสนะ คือจัดที่อยู่อาตัยของสงฆ์ และเป็นภัตตุเทศกไนพระ เซตวันมหาวิหาร ในสมัยพุทธกาล พระอารามทั้งหลายเป็นสมบัติของสงฆ์ที่มา จากทิศทั้งลื โดยมีพระกัมมากัมพุทธเจ้าเป็นประธาน ตังนั้นพระภิกษุ ที่เดินทางมาจากสถานที่ต่างๆ จึงเข้าพักอาตัยในพระอารามได้โดยไม่ มีข้อจำภัดแต่อย่างใด เนื่องจากเซตวันมหาวิหารเป็นศูนย์กลางการเผยแผ่พระพุทธ ศาสนาในยุคนั้นแสะพระกัมมากัมพุทธเจ้าเสด็จมาประทับครั้งละนานๆ จึงมีพระภิกษุจำนวนมากผกัดเปลี่ยนกันมาเฝืาอยู่เสมอๆ มีความจำเป็น อย่างยิ่งที่จะต้องมีพระภิกษุรูปใดรูปหนื่งประจำหน้าที่จัดเสนาสนะ ฟ๖ นิทานชาดกเล่มฬนึง
ศาลา กุฏิ ให้พระภิกษุเหล่านั้นได้เข้าพักอาสัย และปฏิบ้ตธรรมอย่าง เหมาะสม พระทัพพมัลลบุตร เมื่อได้รับมอบหน้าที่ให้จัดเสนาสนะ แสะ เป็นภัตตุเทศก์ด้วยแล้ว ก็ทำ หน้าที่ได้อย่างดีเยี่ยม ถึงแม้โตยวัยท่าน จะยังเยาว์อยู่ แต่ก็มีความเป็นเลิศอยู่ถึง ๔ ประการ คือ 9. มีปฏิภาณดี ๒. มีความจำดี พู้ายุพรรษาของพระภิกษุสงฆ์ทั่วไป ๓. มีความสนใจ ติดตามเหตุการณ์ และผสงานอยู่เสมอ ๔. ไม่ลำเอียง ไม่เห็นแก่หน้าผูใด งานในหน้าที่ของท่านเป็นงานที่ยุ่งยาก และมักมืปัญหาเฉพาะ หน้าให้ด้องแก้ไขอยู่เสมอ เพราะ 9. พระภิกษุมีจำนวนมากด้วยก้นยากที่จะจัดการให้ถูกใจได้ ทุกรูป ๒. การปฏิบ้ตทุกอย่างด้องระวังให้อยู่ในกรอบของวินัยสงฆ์ ดังนั้นเรื่องที่อยู่อาภัย เรื่องอาหาร จึงด้องจัดให้ถูกด้อง เหมาะสม ตามอายุพรรษาของพระภิกษุแต่ละรูปที่ผลัดเปลี่ยนกันมาเรื่อยๆ บางครั้ง ท่านด้องขอร้องให้พระภิกษุที่อาภัยอยู่ก่อนสละที่พัก ให้พระภิกษุที่มาใหม่ ซึ่งมีอายุพรรษาสูงกว่า ดามธรรมดาแล้วด้องเกิด การไม่พอใจก้นบ้าง แต่ท่านก็มีวิธีการเกลี้ยกล่อมให้ยอมตาม จนได้ อย่างเรียบร้อย นิทานชาดกเล่มmง ๘๘
พระทัพพมัลลบุตรทำงานอย่างไม่เห็นแก่เหน็ดเหนื่อย แม้ เวลาดึกดื่นเที่ยงคืน ท่านก็ยังต้องออกมาต้อนรับพระภิกษุผู้มาถึง ใหม่และจัดหาที่พักให้ ในสมัยนั้น การจัดหาคบเพลิงและตะเกียงเป็นเรื่องยากลำบาก ในเวลากลางคืนจำเป็นต้องให้แสงสว่างนำทาง ท่านจึงเห้า เตโชกสิณ อธิษฐานให้มีเปสวเพลิงที่นิ้วห้ของท่านต้วยฤทธิ'พระอรหันต์ แล้วให้ ลํองทางเดิน นำ พระภิกษุอาคันตุกะเห้าที่พักตามที่ต่างๆ อยู่เสมอ พระภิกษุบวชใหม่จากต่างแดนไต้ทราบกิตติคัพท่ของท่าน ในเรื่องนี้ ก็อยากเห็นบ้าง อุตลำห์เดินทางมาจนถึงเขตวันมหาวิหาร แต่ไม่ยอมเห้าพักในเวลากลางวัน รออยู่จนมีดคา แล้วจึงเห้าไปใน มหาวิหาร โดยหวังจะไต้เห็นพระทัพพมัลสบุตรซูนี้วเพลิงนำทางไป แล้วก็ไต้เห็นสมใจ แต่ท่าให้พระทัพพมัลลบุตรต้องเหน็ตเหนื่อยโดย ใช่เหตุ ถึงกระนั้น ท่านก็ไม่เคยปริปากปนหรีอท้อถอยแต่ประการใด ในเรื่องอาหารของพระภิกษุสงฆ์ ก็ยิ่งยุ่งยากมากขึ้นไป อีก เพราะอาหารของพระภิกษุสงฆ์ไต้มาหลายรูปแบบ คือ ๑. โดยการออกบิณฑบาต กรณีนี้ไม่มีป็ญหา ๒. วับนิมนต์ไปฉันที่บ้านกรณีนี้มีป็ญหาเรื่องการจัดเปลี่ยนเวร พระให้วับนิมนต์ ต้องจัดหมุนเวิยนให้ทั่วถึงกัน โดยไม่เห็นแก่หน้าใคร ๓. อาหารที่มีผู้นำมาถวายที่พระอาราม กรณีนี้มีปีญหาเป็น ประจำว่า ถ้าอาหารไม่เพียงพอกับจำนวนพระภิกษุจะท่าอย่างไรอาหาร ประณีต ไม่ประณีต จะแปงสรรอย่างไร จึงจะยุติธรรม นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
พระทัพพมัลลบุตรจัดการแก้ปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยหลักการ ง่ายๆ คือ 'ะ). พยายามจัดแปงอาหารให้เป็นกลุ่ม อาหารดี ประณีต จัด ให้แก่พระภิกษุที่มีอายุพรรษามากและภายในกลุ่มก้1ห้พระภิกษุแต่ละรูป จับลลากอาหาร เพื่อไม่ให้เกิดความลำเอียง พระภิกษุกลุ่มที่มีอายุพรรษารองลงมา ก็ได้อาหารที่ประณีต รองลงมา และด้องจับสลากภายในกลุ่มเซ่นเดียวกัน ๒. พระภิกษุบางรูปโดยวัยแล้ว ชรามาก แต่อายุพรรษาน้อย จึงมีปัญหาเรื่องชนิดอาหารอยู่บ้าง ท่านก็ใช้หลักอนุโลมว่า อาหาร ร้อนนัก เผ็ดนัก ย่อยยากนัก ก็จัดให้พระภิกษุหนุ่มลำ หรับพระภิกษุชรา ก็ให้ได้อาหารที่เหมาะกับวัย การแบ'งสรรปันล่วนอาหารในกรณีเซ่นนี้จำด้องใช้หลักเมตตา ธรรม และอุเบกขาธรรมอย่างยิ่งยวด พระทัพพมัลลบุตร มีวิธีเจรจา ที่นุ่มนวล และอดทนอย่างยิ่ง จึงได้รับความร่วมมีอขจัดปัญหาเฉพาะ รายได้สำเร็จอยู่เสมอ ดังนั้น ท่านจึงเป็นที่ยอมรับนับถือในหมู่สงฆ์ ทั้งหลายว่า เป็นภัตตุเทศก์ที่มีความสามารถเป็นเลิศเสมอมา นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ฝ๙
อธิบายสัพฑ์ ตัณฑุลนาฬิชาดก (อ่านว่า ตัน-ดุ-ละ-นา-ลิ-ชา-ดก) ตัณฑุลนาฬิ ทะนานข้าวลาร ทัพพะ หญ้าแฝก มัลละ ข้อวงส์กพัดริย์ของอินเดียโบราณ (มัลลกษ้ตริย์) ทะนาน ข้อมาตราตวงโบราณ ๒0 ทะนานเป็น <ร) ถัง อาคันตุกะ แขกผู้มาหา พระโสดาบัน พระอริยบุคคลขั้นแรกในพระพุทธศาสนาเป็นผู้ที่ มีดีลบริสุทธึ๋บริบูรณ์ แต่มีสมาธิและปัญญาพอ ประมาณ สามารถสะถังโยขน์เบื้องตาได้ (กิเสส อย่างละเอียด) เข้าถึงธรรมกายพระโสดาในตน เมื่อ ละจากโลกแล้ว ย่อมไปเกิดในสุคติภูมิ แต่ยังด้อง เวียนว่ายตายเกิดในมนุษยไสก เพื่อทำความเพียร ต่ออีกอย่างมากไม่เกิน ๗ ขาติ ก็จะหมดกิเลส เด็ดขาด ได้เป็นพระอรหันต์ พระสกทาคามี พระอริยบุคคลขั้นที่ ๒ ในพระพุทธศาสนาเป็น ผู้ที่มิดีลบริสุทธิ'บริบูรณ์ และมีสมาธิปัญญาพอ ประมาณ เซ่นเดียวถับพระโสดาบัน แต์มีกิเสส เบาบางกว่าพระโสดาบัน ถ้าหากมิได้บรรลุธรรม วีเศษสูงขึ้นไปในขาตินี้ทำนจะกลับมาเกิดอีกเพียง ขาติเดียวเทำนั้นแล้วก็จะได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์ พระอนาคามี พระอริยบุศคสขั้นที่ ๓ ในพระพุทธศาสนาเป็น (;?0 นิทานขาดกเล่มหนึ่ง
พระอรหันต์ ผู้ที่มีสืล และฝ็มาธิบริสุทธิบริบูรณ์ แต่มีปัญญาพอ ประมาณ มีกิเลลเบาบางกว่า พระโสดาบัน และ พระสกทาคามี ถ้าหากมีได้บรรลุธรรมวิเศษสูงขึ้น ไปในชาตินี้ เมื่อสินชีวิต ก็จะไปเกิดในพรหมโลกชั้น สุทธาวาส และจะได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์ดับขันธ์ เข้าส่พระนิพพานที่พรหมโลกนั้นไม่ด้องมาเวียน- ว่ายตายเกิด ให้ทุกข์ทรมานในวัฏลงสารอีกต่อไป พระอริยบุคคลชั้นสูงสุดในพระพุทธศาสนาเป็นผู้ที่ มีติส สมาธิ แสะปัญญาบริสุทธิบริบูรณ์ เป็นผู้หมด กิ เสสแล้วเมื่อถึงคราวสินชีวิตดับขันธ์ธรรมกายก็ เข้าส่พระนิพพาน ไม่ด้องกลับมาเวียนว่ายตายเกิด อีกต่อไป พระคาคาประจำชาดก กิมคฺฆติ ตณฺฑุลนาฬิกา พาราณสิอนุตรพาหิรานิ อสฺสปญจสเตตานิ เอกา ตณฺฑุลนาฬิกา ข้าวสารทะนานเดียวมีราคาเท่าไร พระนครพาราณสิทั้งภายใน แสะภายนอก มีราคาเท่าไร ข้าวสารทะนานเดียวมีราคาเท่าม้า ๕00 ตัวเทียวหรือ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๘(ร)
เทวรรรมซาคก ซาดกว่าด้วยความเป็นผู้มีหิริโอตตัปปะ สถานที่ตรัสซาดก เซตวันมหาวิหาร นครสาวัตถี สาเหตุที่ตรัสซาดก ครั้งหนึ่งในสมัยพุทธกาล มี กุ พี ผู้หนึ่งเป็นคนเจ้าสำรวย รักสวยรักงาม และเห็นแก่ความสะดวกสบายจนน่าระอา วันหนึ่ง เขามี โอกาสได้ฟ้งพระพุทธโอวาทอันไพเราะจับใจ ประกอบด้วยเหตุแสะผล ลุ่มลึกไปตามสำดับ บังเกิดความเลื่อมใสศรัทธาจนเปียมล้นใคร่จะสละ เหย้าเรีอนออกบวชเซ่นเพื่อนบ้านบ้าง แต่ติดขัดด้วยเรื่องครอบครัว จนกระทั่งต่อมาไม่นานนัก เมื่อภรรยาเสิยซ่วิตลงจึงได้ออกบวช แต่โดย เหตุที่มีนิล้ยเจ้าสำรวยมาแต่ด้น ดังนั้นก่อนจะออกบวช ได้จัดแจงให้ ข้าทาสบริวารไปซ่วยกันสร้าง กุฏิหลังงามขนาดใหญ่ใขัวัสตุก่อสร้าง ขันติเตริยมไว้หลังหนึ่งที่เขตวันมหาวิหาร นิทานชาดกเล่มหนึ่ง (^๓
โดยวินัยพุทธบัญญ้ตแล้ว ถ้าพระภิกษุรูปใดปรารถนาจะสร้าง กุฏิอยู่เอง จะต้องสร้างเป็นกุฏิขนาดเล็ก มีขนาดกว้างยาวเท่าที่กำหนด เพียงอาต้ยอยู่ไต้ลำพังๆ ก็พอแล้ว ห้ามสร้างใหญ่โตเกินกว่านั้นเป็น อันขาด แต่ถ้าต้องการกุฏิขนาดใหญ่กว่าที่กำหนดจะต้องหาเจ้าภาพ มาสร้างให้ ห้ามสร้างเองโดยเด็ดขาด เนื่องจากกุฎมพีผู้นี้รู้พระวินัย อยู่บ้าง จึงรีบมาสร้างกุฏิเตรียมไว้ก่อน อีกทั้งยังสราง โรงไฟ และ โรงครัวไว้เก็บตุนอาหารอีกต้วย แม้เครื่องนุ่งห่ม เซ่น สบง จีวร ฯสฯ ก็จัดเตรียมไว้หลายชุด เพื่อผลัดเปลี่ยนไต้ตามใจชอบ ดังนั้นหลังจาก บวชแล้ว ท่านจึงมี บริขาร ต่างๆ สะสมไว้จนล้นกุฏิ เท่านั้นไม่พอ ยัง เรียกคนรับใช้เก่ามาคอยติดตามปรนนิบ้ต นวดมีอ นวดเท้า ประกอบ อาหารให้ฉันตามใจขอบเซ่นเดียวกับฆราวาสอีกต้วย วันหนื่ง ขณะที่ท่านกำลังสาละวนขนสบง จีวร ลังฆาฏิเป็น ลำ รับๆ แสะเครื่องนุ่งห่มอื่นๆ ที่มีอยู่มากมายเป็นกองพะเนิน ออกมา ตากที่หลังกุฏินั้น เพื่อนพระภิกษุกลุ่มหนื่งผ่านมาเห็นเช้าจึงกล่าว ตำ หนิว่า \"พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงมีพุทธานุญาตจำกัดให้ พระภิกษุมีเพียงผ้าสามผืน คือ สบง จีวร และสังฆาฏิไวใช้นุ่งห่มเท่าใวั้น เพื่อผืกความเป็นผู้มักน้อยแต่ท่านกสับมักมาก สะสมบริขารไว้มากมาย ล้นเหลือ ช่างไม่เป็นการสมควรเลย\" แล้วก็นำดัวพระภิกษุเจ้าลำรวย รูปนี้ไปเฝึาพระผู้มีพระภาคเจ้า พระบรมคาสดา ครั้นทรงซักถามได้ความตามเป็นจริงแล้ว ก็ทรงตำหนิซํ้าอีกว่า ๘๔ นิทานชาดกเล่มฬนึ่ง
\"ดูก่อนภิกษุในศาสนาของเรานี้ล้วนสรรเสริญคุฌของความ เป็นผู้มักน้อย สันโดษ รักสงบ และการปรารภความเพียรเผาผลาญ กิเลสให้นี้นไปมิใช่หริอ แล้วทำไมเธอจึงไม่เชื่อพีง กสับทำในล้งที่ไม่ควร สะสมบริขารไว้มากมายถึงปานนี้\" พระภิกษุเจ้าสำรวยได้ยินดังใเน แทนที่จะสำนึกผิด กลับเกิด โทสะพลุ่งพล่านแสดงอาการฮึดฮัด กล่าวประซดประชันพระพุทธองค์ ขึ้นว่า \"ถ้าเช่นนั้น ต่อไปนี้ข้าพระพุทธเล้าจะบวชอยู่ในคาสนานี้โดย นุ่งแด'เพียงผ้าสบงผืนเดียวอย่างนี้เท่านั้น\"ว่าแล้ว ก็สลัดจีวรที่ห่มทิ้ง เสิย ยืนเปลือยอกอยู่ท่ามกสางหมู่สงฆ์ พระลัมมาลัมพุทธเจ้าก็มิได้ทรงถือโทษ กลับทรงพระกรุณา ระลึกชาติหนหลังด้วยบุพเพนิวาสานุสติญาณ ตรัสเตือนสติด้วยพระ สุรเลืยงอันกังวานนุ่มนวสว่า \"ดูก่อน ภิกษุ เมื่อชาติปางก่อนโน้น เธอเคยเกิดเป็นผืเนี้อนั้า ต้องเถึยเวลาฟองเทียวแสวงหา เทวธรรม คือ หิริ โอตตัปปะ ต้วย ความลำบากยากแค้นแสนสาหัสถึงถึบสองปีจึงพบบัดนี้เธอไต้มาบวช อยู่ในพระคาสนาที่สอนให้มิเทวธรรมตั้งแต่ต้นแล้ว แต่เธอกสับละทิ้ง เทวธรรม จะหาความสะอายบาป กสัวบาปแม้แต่น้อยมิไต้ ถึงกสับ มายืนเปลือยอกประชดประข้นเราเช่นนี้ สมควรแล้วหริอ\" พระภิกษุรูปนั้นได้ฟังพระพุทธดำรัสอันไพเราะจับใจเปียมล้น ด้วยพระกรุณา มิได้ทรงถือโทษแต่ประการใด กั!ด้สติรีบหยิบจีวรขึ้นมา นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๘๕
ห่มใหม่ กราบถวายบังคมอยู่แทบพระยุคลบาท ขอพระราชทาน อภัยโทษ แล้วนั่งอยู่ในที่อันควร ภิกษุทั้งหลายจึงกราบทูลอาราธนาพระผู้มีพระภาคเจ้าให้ทรง เล่าเรื่องการแสวงหาเทวธรรมในอดีตชาติของพระภิกษุรูปนั้นพระ องค์จึงทรงแสดง เทวธรรมชาดก ดังนี้ เนื้อหาซาดก ในอดีตกาล สมัยพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติ ณ กรุงพาราณสีในครั้งนั้น พระอัครมเหสิทรงมีพระราชโอรสพระองค์แรก ทรงพระนามว่า มหิสสาสกุมาร ครั้นมหิสสาสกุมารทรงเจริญวัยพอ วิ่งเล่นไปมาได้แล้ว พระนางก็ทรงมีพระราชโอรสองค์ที่สองทรงพระ นามว่า จันทกุมาร แต่พระนางสร้างสมบุญมาน้อย จึงเสด็จสวรรคต ตั้งแต่พระราชโอรสยังทรงพระเยาว์ พระเจ้าพรหมทัตทรงมีมเหสิใหม่ และทรงโปรตปรานมาก ต่อมาเมื่อพระนางทรงมีพระราชโอรสองค์หนี่ง ทรงพระนามว่า สุริย- กุมาร พระราชาทรงปลาบปลื้มพระทัยอย่างยิ่ง ถึงกับออกพระโอษฐ์ พระราชทานพรแก่พระราชโอรสองค์นี้ว่า ถ้าพระมเหสิทรงปรารถนา จะขอสิงโตให้แก่พระราชโอรสพระองค์นี้ จะพระราชทานให้ตาม ประสงค์ทุกประการ พระนางทรงน้อมรับด้วยความดีพระทัย แต่ผลัต ไปขอรับพระราชทานพรในวันข้างหน้า พระมเหสิองค์ใหม่นี้มีได้ทรงตั้งอยู่ในราชธรรม เมื่อสุริยกุมาร ๘อ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
เจริญวัยพอสมควร พระนางก็กราบทูลพระเจ้าพรหมทัตทวงถึงเรื่อง ที่เคยพระราชทานพรให้แก่สุริยกุมารเมื่อแรกประสูติ ด้วยการทูล ขอราชลมปติกรุงพาราณสิให้แก่พระราชโอรลของพระนางเอง พระเจ้าพรหมทัดทรงตกพระทัย นึกไม่ถึงว่าพระมเหสิจะขาด ความเที่ยงธรรมถึงกับทูลขอเซ่นนี้ แต่ก็มิอาจจะทำประการใดได้ ครั้น จะไม่ให้ก็เกรงเสิยสัจจะ ครั้นจะให้ก็กลัวเสิยความยุติธรรม เพราะโดย พระราชประเพณีแล้วพระราชลมปติควรดกแก่พระราชโอรฝืองคใหญ่ คือ มหิลลาลกุมาร พระองค์ทรงพยายามชี้แจงเหตุผลอันควรไม่ควร นานาประการแก่พระมเหสิ เพื่อให้ล้มเลิกความตั้งใจนั้นเสิย แต่พระนาง ก็ยังทรงยืนกรานเฝืาอ้อนวอนขอพระราชลมปติแก่พระรา'ชโอรสืองด้ เล็กอยู่เซ่นเดิม เมื่อทรงดระหนักถึงพระอัธยากัยที่อิจฉาริษยาของพระมเหสิ เซ่นนี้ พระราชาทรงวิดกว่า ถ้าไม่ยอมรับวาจาเสิยแต่ด้น พระนาง อาจคิดปองร้ายต่อพระราชโอรลองค์พื่ทั้งลองเป็นแน่ จึงทรงตัดสิน พระทัยหาทางออกโดยมีพระราชกระแลรับลังให้หาพระราชโอรฝ็ทั้ง ลอง แล้วดรัลเล่าความหลังว่า \"ลูกรักของพ่อ เมื่อครั้งสุริยกุมารเกิด พ่อพลั้งปากอนุญาตให้ แม่ของเขาขอพรได้ตามปรารถนา บัตนี้ เขาก็มาทวงสัญญา ขอราช สมป้ตให้แก่ลูกของเขาแล้ว ถ้าพ่อปฏิเสธก็จะเกิยคำพูต ผิตวิสัยกษ้ตริย์ ถ้าให้เจ้าทั้งสองก็จะเดือดร้อน เพื่อตัดป็ญหานี้ ขอให้เจ้าทั้งสอง เห็นแก่พ่อซึ๋งชราแล้ว เข้าปาไปแสวงหาพระอาจารย์ซึ่งรุ่งเรืองด้วย วิทยาคม เพื่อดืกษาหาความรูให้เซึ่ยวชาญเล้ยแต่บัดนี้เมื่อพ่อตายแล้ว นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
จึงค่อยย้อนกลับมาครองราชฝ็มบ้ติเถิด\" พระราชโอรฝ็ทั้งสองทรงรับฝ็นองพระบรมราชโองการแล้ว กราบถวายบังคมลา เสด็จออกจากพระบรมมหาราชวัง ขณะนั้น สุริยกุมารกำลังสำราญพระอิริยาบทอยู่ที่พระลาน หสวง ครั้นทอดพระเนตรเห็นเจ้าพี่ทั้งสองทรงเครื่องรัดกุมเลด็จผ่านมา ก็เข้าไปไต่ถาม เมื่อทรงทราบความแล้ว ก็ไม่ทรงเห็นด้วยกับพระราช มารดา แต่ก็ไม่อาจจะทำประการใดได้ จึงทูสขอตามเสด็จไปด้วย ทั้งสามกุมารดั้นด้นเดินทาง เข้าป่าหิมพานต์เพี่อแสวงหาพระ อาจารย์ ระหว่างการเดินทาง ก็ได้จัดแจงถากถาง ปรับพื้นที่ปัดกวาด บริเวณร่มรื่นแห่งหนึ่งเพี่อสร้างที่พักอาลัย ฝ่ายสุริยกุมารยังเด็กเกิน กว่าจะช่วยทำงานได้ จึงถูกไข้ให้ไปหานั้าดื่ม สุริยกุมารเดินไปได้ลักพักหนึ่งก็พบสระนํ้าใหญ่ใลละอาดด้วย ความดีใจ ไม่ทันจะพิจารณาก็ต่วนเดินลงไปตักนํ้าในสระทันที เนึ่องจากสระนํ้าแห่งนี้เป็นที่อยู่อาลัยของ ผีเถิอนํ้า ตนหนึ่ง ซึ่งอยู่ในความปกครองของ ท้าวเวสสุวรรณพระองค์ทรงมีพระกรุณา ปรารถนาจะให้ผีเสิอนั้าสำนึกบาป จึงมีเทวบัญชาบังลับไว้ว่าห้ามออก ไปจับลัตว์ แสะคนกินนอกบริเวณสระนํ้านี้เป็นอันขาด แม้คนที่ลงมา ในสระนี้ถ้าเป็นผู้รู้เทวธรรมก็ห้ามทำอันตราย ให้ดั้งใจดีกษาเทวธรรม จากผู้นั้น แล้วจึงจะพันเวร ดังนั้น ทันทีที่สุริยกุมารถ้าวลงไปในสระนํ้า ก็ถูกผีเฐ้อนํ้าจับ ตัวไว้แล้วซักถามว่า รู้จักเทวธรรมหรือไม่ สุริยกุมารยังเด็กเกินไปที่ นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
จะรู้จักเทวธรรม แต่ก็ไม่พรั่นพรึง ทรงตอบไปตามปฏิภาณของเด็กว่า \"เทวธรรม ก็คือ พระจันทร์ และพระอาทิตย์\" ผีเสือนํ้านั้นแม่'ไม่รู้ว่า เทวธรรมคืออะไรก็ตาม แต่ก็พอจะ ส์นนิษฐานได้ว่าไม่ใช่ จึงขังสุริยกุมารไวในวังได้นํ้า เพื่อเป็นอาหารมี้อ ต่อไปของตน ฝ่ายมหิสลาสกุมาร ครั้นเห็นว่าน้องคนเล็กหายไปนานก็เป็น ห่วงใช้ให้จันทกุมารไปตามหา เมื่อจันทกุมารเดินตามรอยน้องขายไป ถึงสระนํ้าก็ไม่ทันจังเกตอีกเช่นกัน ทันทีที่ก้าวลงไปในนํ้าจึงถูกผีเสือ ป้าจับไว้ แสะขักถามเรื่องเทวธรรม จันทกุมารเดาตอบไปว่า \"เทวธรรม ก็คือ ทิศทั้งก็ใฌั้เอง\" ผีเสือป้าตรองแล้ว รู้ว่าไม่ใช่ จึงจับไปขังรวมไว้กับสุริยกุมาร เมื่อจันทกุมารหายไปอีกคนมหิสลาสกุมารก็นึกเฉลียวใจว่า คง จะมีอันตรายอย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้นแก่น้องทั้งสองเป็นแน่ จึงเดิน สะกดรอยตามไป จนกระทังถึงสระป้า ก็จังเกดเห็นรอยเท้าที่น้องทั้ง สองเดินลงไปในสระป้านั้น แต่ไม่มีรอยเท้ากจับขึ้นมาเลยก็แน่ใจว่า ในสระป้านี้ จะด้องมีจัตว์ร้ายหรึอผีเสือป้าอากัยอยู่อย่างแน่นอน พระองค์ทรงกระซับพระขรรค์ แสะถึอธนูเตรียมพร้อมไว้แล้วสำรวจดู รอบๆ ขอบสระอย่างระมัดระวังโดยไม่ยอมก้าวล่วงลงไปในสระป้าเลย ผีเสือป้าคอยทีอยู่ในสระ เมื่อเห็นว่า มหิสลาสกุมารไม่ยอม ลงไปในสระแน่แล้ว จึงแปลงกายเป็นช่างก่อสร้างเดินเช้ามาหาแล้ว แสร้งถามว่า นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๘๙
\"ท่านคงเดินทางมาเหน็ดเหนื่อย ทำ ไมไม่ลงไปดื่มนํ้า อาบนํ้า ให้สบายเดิยก่อนเล่า?\" พระกุมารทรงเห็นช่างก่อสร้างนั้นแล้ว ก็ทรงสันนิษฐานได้ ทันทีว่า คงจะเป็นผีเสือนํ้าแปลงตัวมา จึงตรัสถามตรงๆ ว่า \"เจ้าเป็นยักษ์ใช่ไหม ทำ ไมจ้งจ้บน้องทั้งสองของเราไป?\" ผีเสือนํ้านั้นถึงแม้จะดุร้ายเหี้ยมโหด แต่ก็รักษาคำสัตย์ไม่ยอม กล่าวเท็จ รับสารภาพว่าได้จับสองกุมารนั้นไปจริง เพราะเป็นอาหาร ของตน และท้าวเวสสุวรรณก็ทรงประทานอนุญาตไว้ พระกุมารทรง นึกรู้ว่า ผีเสือนํ้าตนนี้ด้องไม่ใช่ยักษ์นํ้าธรรมตาๆ คงจะมีเงื่อนงำอะไร สักอย่างเป็นแน่ จึงตรัสถามว่า \"เจ้าจ้บมนุษย์กินได้ทุกคนหรือ?\" ผีเสือนํ้าก็ตอบตามตรงว่า \"เราจับกินได้ทุกคน ยกเว้นแต่ผู้ที่รู้จ้กเทวธรรมเท่านั้น\" พระกุมารจึงตรัสว่า \"ถ้าท่านอยากรู้เทวธรรม เราจะอธิบายให้ฟง แต่การกล่าว ถึงเทวธรรมนั้น ด้องกล่าวด้วยความเคารพ ถ้าผู้กล่าวยังมีร่างกาย สกปรก เปรอะเป้อน ปากยังไม่ได้บ้วน ที่นั้งยังไม่ได้ปูลาดไว้อย่างดี และผู้ฟิงยังนั้งสูงเสมอกับผู้กล่าว แสดงว่าไม่เคารพในธรรมอย่าง แท้จริง ยังไม่สมควรจะแสดงเทวธรรม ฉะนั้น ถ้าเจ้าอยากจะฟืง ก็ จงริบไปจัดหานํ้ามาให้เราชำระร่างกายให้สะอาดเถึยก่อน จัดที่นั้งให้ สูงกว่าพื้น แสะเจ้าจงนั้งพนมมีอฟืงด้วยความเคารพเถิด\" ๙0 นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
ผีเสือนํ้าได้ฟ้งดังนั้นก็ดีใจจนนํ้าตาคลอ เพราะทนทุกข์ทรมาน อยู่ในสระนี้เพื่อรอฟ้งเทวธรรมมานานถึงสิบสองปีแล้ว จึงรีบกระว- กระวาดจัดหาให้ตามความประสงค์ของพระกุมารทุกประการ ครั้นพระกุมารประทับบนอาสนะแล้ว กล่าวเป็นพระคาถาว่า \"สัปบุๅษผู้สงบระงับ ประกอบด้วยหิริ และโอตตัปปะ ตัง้มํ่นอยู่ ในธรรมอันผ่องแผ้ว ท่านเรียกผู้นั้นว่า เป็นผู้มีธรรมของเทวดาโนโลก\" แล้วอธิบายขยายความในพระคาถาว่า \"เทวธรรม คือ คุณธรรมลองประการด้วยกัน ได้แก่ หิริ และ โอตตัปปะ หิริ คือความละอายต่อบาป โอตตัปปะ คือความเกรงกลัว ต่อผลของบาป หิริ มีเจตนาละอายต่อความชั่วสามประการด้วยกัน คือคิดชั่ว พูดชั่ว แสะทำชั่ว โดย ปรารภตัวเอง เป็นเหตุให้เกิดความสะอาย โอตตัปปะ มีลักษณะเป็นความกลัวภัยจากผลแห่งความชั่วที่ จะเกิดตามมาภายหลัง เซ่น กลัวตกนรก กลัวคนติฉินนินทา เป็นเรื่อง ของการ ปรารภผู้อี่น เป็นเหตุ อุปมาดังว่า มีเหล็กสองก้อน ก้อนหนึ่งเป็นเหล็กเย็น แต่เปีอน อุจจาระ เหล็กอีกก้อนหนึ่งเป็นเหล็กร้อนแดง แต่ไม่เปีอนอะไร เหล็กเย็น ไม่เป็นอันตราย แต่เป็นที่น่ารังเกียจ ใครๆ จึงไม่ยอมหยิบ นึ่งเปรียบ เสมีอนหิริ เหล็กร้อน ทำ ให้กลัวไม่กล้าแตะด้องเพราะกลัวอันตรายจาก นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๙๑
ความร้อนนั้น ซึ่งเปรียบเสมือนโอตตัปปะ สาเหตุที่จะทำให้บุคคลเกิดหิริ โอตตัปปะขึ้นได้ มือยู่ ๕ ประการด้วยกัน คือ •ะ). เมื่อคำนึงถึง ชาติสกุล ของตนว่า ได้เกิตมาในสกุลที่ดี มืซึ่อเสิยง ครั้นจะทำความชั่วก็ละอาย และกลัวจะถูกตำหนิติเตียน ไปถึงบรรพบุรุษ เสิยซื่อเสิยงวงศ์ตระกูล ๒. เมื่อคำนึงถึง วัย คือคิดว่า ตนเองก็อายุมากถึงเพียงนี้แล้ว ครั้นจะทำความชั่ว ก็ละอาย และกลัวเด็กจะลบหลู่ดูหมื่นสินความ เคารพนับถือ ๓. เมื่อคำนึงถึง ความสามารถ คือ ความที่ตนเป็นผู้มีฝืมือ มืความกล้าหาญ ความเข้มแข็ง ครั้นจะต้องมาทำความชั่ว เซ่น ลักขโมย หรีอขอเขากิน ฯลฯ ก็นึกละอาย กลัวเขาจะดูถูกดูหมื่นว่าสินไร้ฝืมือ ๔. เมื่อคำนึงถึง ความเป็นพหูสูต คือ คิดถึงความที่ตนเอง เป็นผู้มืการคืกษา นึกถึงคุณของครูบาอาจารย์ที่อุตส่าห์เหน็ดเหนื่อย ส์งสอนอบรมมา ครั้นจะต้องมาทำความชั่ว เซ่น ฉ้อโกงเขา ฯสฯ ก็ นึกละอาย และกลัวผู้อื่นติเตียน เมื่อมหิสลาสกุมารไต้อธิบายแจกแจงถึงความหมายของหิริ โอตัปปะ อย่างละเอียดชัดเจนโดยนัยต่างๆ แล้ว ในที่สุตผีเสือนํ้าก็ เข้าใจชาบขึ้ง เกิดความเลื่อมใสศรัทธา ใคร่จะประพฤติธรรมตามที่ ไต้พีงทุกประการ แต่อย่างไรก็ตาม ความเห็นแก่ตัวของผีเสือนํ้านั้นก็ ยังไม่หมด จึงกล่าวแก่มหิสลาสกุมารว่า 6cTa นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
\"เอาเถิด เราเปีอแล้วว่า ฟานเป็นผู้รู้เทวธรรมจริง เราอนุญาต ให้ท่านดื่มและใช้นํ้าในสระนี๋ใด้ตามใจชอบ แต่จะคืนน้องให้ท่านได้ เพียงคนเดียวเท่า!วั้น เพราะเรายังด้องกินเนื้อมนุษยเป็นอาหารอยู่ ท่าน ด้องการจะให้ปล่อยน้องคนไหนก็จงรีบบอกมา?\" มหิสสิาลกุมารตรัสส์งให้คืนน้องชายคนเล็ก ผีเสิอนํ้าได้ยิน ดังนั้น จึงกล่าวโทษมหิสสาสกุมารทันทีว่า \"ท่านบัณฑิต ท่านรู้จักเหวธรรมก็จรีง แต่ท่านไม่ประพฤดีตน ตามเหวธรรมเลยทำไมท่านจึงทูตออกมาได้ว่าให้ปล่อยน้องชายคนเล็ก แหนที่จะให้ปล่อยน้องคนโต การกระทำเช่นนื้ได้ชื่อว่าไม่ให้เกียรติแก่ ผู้มีอายุชื่งมีคุณธรรมสูงกว่า\" มหิสสาสกุมารจึงตรัสตอบว่า \"ดูก่อน ผีเนื้อนํ้า เรารู้จักเหวธรรม และประพฤติเหวธรรมด้วย การที่เราด้องเอาน้องคนเล็กกลับไป ยอมทิ้งน้องคนกลางไว้ก็เพราะ น้องคนเล็กไม่ได้เกิตร่วมมารตาเดียวกับเราและการที่เราด้องมาอยู่ใน ป้านื้ก็เพราะมารตาของน้องคนนื้ทูลขอราชสมบัติให้แก่เชา พระราช บิตาของเราเกรงว่า เราจะได้รับอันตรายจากพระมารตาเนื้ยง จึงให้ เรามาอยู่ป้า แต่น้องคนเล็กกลับหนีมารตาตามเรามาด้วย ถ้าเราไม่ ได้ตัวเขากลับไปถึงเราจะทูตความจรีงว่าน้องชายคนเล็กลูกยักษ!นป้า จับกินเถึยแล้ว ก็คงไม่มีใครเชื่อ เขาย่อมครหาว่า เราสองคนพี่น้องร่วม มีอกันฆ่าน้องชายคนเล็กเพี่อประโยชน้ในราชสมป้ติ เรากลัวคำครหา จึงขอให้คืนน้องคนเล็กแก่เรา\" นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๙๓
ผีเสัอนํ้าได้ฟิงดังนั้น ก็มีความเลื่อมใสศรัทธาอย่างแท้จริง กล่าวสรรเสริญว่า \"ดีแล้ว ดีแล้ว ท่านบัณฑิต ท่านเป็นผู้รู้จักเทวธรรมและ ประพฤติตามด้วยจริง เราจะคืนน้องของท่านให้ทั้งลองคน\" เมื่อได้น้องชายคืนแล้ว มหิสสาสกุมารก็เทศนาลื่งสอนผีแอนํ้า ด้วยความกรุณาต่อไปว่า \"ดูก่อน ผีเทั้อนํ้า ตัวท่านเกดมากินเลือดกินเนื้อของผู้อื่นก็ เพราะบาปที่ลร้างไว้ตั้งแต่ชาติปางก่อน เดี๋ยวนื้ ท่านก็ยังทำบาปอยู่ จงเลิกประพฤติเช่นนื้เถิด มิฉะนั้น ท่านจะไม่พ้นจากขุมนรกเป็นแน่\" จากนั้น ทั้งสามพระกุมารก็อาดัยอยู่ในป่ากับผีเสือนํ้าตนนั้น จนกระทั้งวันหนึ่ง มหิสสาสกุมารกังเกดเห็นดาวนักขัตฤกษ์มัวหมอง ก็ทราบว่า พระราชบิดาเสด็จสวรรคตแล้ว จึงพากันกกับเมืองพร้อมกับ พาผีเสือนั้าตนนั้นไป่ด้วย จัดที่อยู่และอาหารให้กินอย่างมนุษย์ แสะ ให้บำเพ็ญคืลภาวนาไป่จนตลอดชีวิต เมื่อมหิสสาสกุมารเสด็จขึ้นครองราชสมบิตแล้วก็พระราชทาน ตำ แหน่งมหาอุป่ราชให้แก่จันทกุมาร แสะทรงแต่งตั้งสุริยกุมารเป็น เสนาบดี ๙(ร: นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
ประชุมซาดก ครั้นพระสิ'มมาส์มพุทธเจ้าทรงแสดงชาดกจบลงแล้ว ได้ทรง เทศนาอริยล้จ ๔ โดยนัยต่างๆ ในflสุดพระภิกษุรูปนั้นก็สามารถ ประคับประคองใจให้สงบ ตั้งมั่นไม่หวั่นไหว หยุดนิ่งอยู่ภายใน จนบรรลุ ธรรมกายพระโสดา เป็นพระโสดาบัน พระอริยเจ้านั้นด้นในพระพุทธ ศาสนาเที่ยงแท้ ว่าจะหมดกิเลสเด็ดขาดเป็นพระอรหันต่ในอีกไม่เกิน ๗ ชาติเบื้องหน้าอย่างแน่นอน พระล้มมาล้มพุทธเจ้าทรงประชุมชาดกว่า ผีเสัอนํ้า ในครั้งนั้น ได้มาเป็นพระภิกษุผู้มีบริขารมาก สุริยคุมาร ได้มาเป็นพระอานนท์ จันทคุมาร ได้มาเป็นพระสาริบุดร มหิสสาสคุมาร ได้มาเป็นพระองค์เอง ข้อคิดจากซาดก ๑. ถึงแม้ว่าเราจะตั้งใจทำความดี แต่ก็อาจถูกคนพาสประชด ประหันให้บ้างจงอย่าใส่ใจเลย เพราะแม้แต่พระล้มมาล้มพุทธเจ้าผู้ทรง คุณอันประเสริฐ ก็ยังเคยถูกประชดประหันเซ่นกัน ๒. ความเป็นผู้มีเหตุผส เห็นการณ์ไกล ไม่ลำเอียง ย่อมเป็น ปอเกิดแห่งความเลื่อมใสศรัทธา และเป็นที่มาแห่งลาภทั้งปวง นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๙&'
อรฃายสัพท์ เทวธรรมชาดก (อ่านว่า เท-วะ-ทำ-มะ-ชา-ดก) เทวธรรม ธรรมสำหรับทำให้บุคคลเป็นเทวดา คือ หิริ โอตตัปปะ กุฎุมพี คนมั่งมี ชาวบ้านผู้มีอันจะกินระตับเศรษฐี กุฏ ที่อยู่สำหรับพระภิกษุ โรงไฟ โรงที่ลร้างไว้สำหรับเป็นที่ผิงไฟในฤดูหนาว และ อบตัวด้วยสมุนไพร เพี่อรักษาอาการเจ็บปวย และโรคบางชนิดในสมัยพุทธกาลตามรัดต่างๆ จะสร้างโรงไฟไว้เป็นส่วนรวมเพี่อให้พระภิกษุที่ เดินทางมาไกลๆได้เข้าอบตัวให้หายจากอาการ บริขาร อ่อนเพลีย ปวดเมื่อย ขัดยอกเป็นไข้ เป็นด้น เครื่องใช้สอยของพระภิกษุในพุทธศาสนามี ๘ อย่าง คือ สบง จีวร อังฆาฏิ บาตร มีดโกนหรือ มีดตัดเล็บ เข็มประคดเอว กระบอกกรองนํ้ารวม เรียกว่า อัฐบริขาร ผีเสิอนํ้าหรือรากษส ยักษ์ชนิดหนึ่งที่อาตัยตามสระนํ้าหรือตามปอ ตามบึง ถ้ามีฤทธิ'มากก็อยู่ในมหาสมุทร เรียกว่า ผีเลีอสมุทร ท้าวเวสสุวรรณ เป็นเทพเจ้าหนึ่งในลีของผู้ปกครองสวรรค์ชั้น ที่หนึ่ง (จาตุมหาราชิกา) ทำ หน้าที่ควบคุมดูแล ความประพฤดิของพวกยักษ์ให้อยู่ในขอบเขต Gcb นิทานชาดกเล่มหนึ่ง
ไม่ให้ประพฤติตนเกะกะเกเรรบกวนมนุษย์ เทพเจ้าสิองค์นี้ เรียกว่า ห้าวจตุโลกบาล ได้แก่ ท้าวเวสสุวรรณ (มียักษ์เป็นบริวาร) ท้าวธตรรู (มีคนธรรพ'เป็นบริวาร)ท้าววิรุฬหก (มีอสูรเป็น บริวาร) และท้าววิรุพปักษ์ (มีนาคเป็นบริวาร) พดูสูต ผู้สดับตรับฟ้งมาก ผู้สืกษาเล่าเรียนมาก พระคาถา'ประจำซาดก หิริโอตฺตปฺปสมปนฺนา สุกฺกธม.มสมาหิตา สนฺโต สปฺปุริสา โลเก เทวธมฺมาติ วุจฺจเร ดัปบุรุษผู้สงบระงับ ประกอบด้วยหิริแสะโอตดัปป; ตั้งมั่นอยู่ในธรรมอันผ่องแผ้ว ท่านเรียกว่าผู้มีธรรมของเทวดาในโลก นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๙๘
Wii\\o •ไ^ ,III_ mi'11 11\" i^jyT')' {jiff rjP* m iiln
- r r\" ■' -. . ■^. f,- , ! - . ■^/! ^ i\"' i' \" \" °| \" ) \"'/ !<=_.r^f>i T~ '' รํ '''\"^' \\'''' '/^ - ' '' กัฎฐหาริซาดก ชาดกว่าด้วยการลือชั้นวรรณะจัด สถานที่ดรัสชาดก เซตวันมหาวิหาร นครสาวัตถี สาเหตุที่ดรัสชาดก นับแต่โบราณ ดินแดนประเทศอินเดียอันเป็นถิ่นกำเนิตของ พระพุทธศาสนามีการถีอ'^น วรรณะ กันอย่างรุนแรงแม้ในหมู่พระ ประยูรญาติของพระอัมมาอัมพุทธเจ้าเองก็ตาม พระพุทธองค์ทรง พยายามอย่างยิ่งยวดที่จะขจัดป็ญหานี้ให้สินไป แต่เนื่องจากเป็น ปัญหาเรื้อรังมานาน จึงยากแก่การแก้ไข ดังเซ่น นิทานชาดกเล่มหนึ่ง ๙๙
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138