Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สันโดษ เคล็ดลับแห่งความสุข

สันโดษ เคล็ดลับแห่งความสุข

Published by จริยา พาศิริ, 2021-08-06 05:14:48

Description: สันโดษ เคล็ดลับแห่งความสุข

Search

Read the Text Version

สนั โดษ ...เคล็ดลบั ของความสขุ พระอาจารยม์ ิตซูโอะ คเวสโก

พระอาจารยม์ ิตซโู อะ คเวสโก

เคล็ดลับของความสขุ เคลด็ ลบั ของความสขุ ที่คนเรามกั จะมองขา้ มไป คือ “ความสันโดษ” ซง่ึ เป็นสงิ่ ท่มี ีอยู่ เป็นอยู่ ซ่อนอยู่ในตวั เราทีน่ ี่ เดย๋ี วนี้ อวิชชา ความไมร่ ู้ และตณั หาความทะยานอยาก เป็นสิ่งที่ปิดบังทาำ ใหเ้ รามองไม่เห็นวถิ ีแห่งความสขุ อนั เกดิ จากความสนั โดษ

ความสันโดษ เป็นมงคลข้อท่ี 24 ในมงคล 38 ประการ มงคลเป็นเหตุแหง่ ความสุข ความกา้ วหนา้ ในการดาำ เนนิ ชวี ิต ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ ใหพ้ ุทธศาสนิกชนนำาไปปฏิบัติ นาำ มาจากบทมงคลสูตรท่พี ระพุทธเจา้ ตรสั ตอบปัญหาทเ่ี ทวดาถามวา่ คุณธรรมอนั ใด ท่ีทาำ ให้ชวี ิตประสบความสุขความเจริญ ความสุขอนั เกิดจากความสนั โดษนน้ั เราไม่ตอ้ งแสวงหาอะไรนอกตัวเรา

ไมต่ ้องทำาอะไรพเิ ศษ ไปกวา่ สง่ิ ท่ีเราทำาทกุ วนั น้ี ทุกส่งิ ทุกอย่างเหมอื นเดิม เราเพยี งแต่เปิดใจใหก้ ว้าง ยอมรบั ความจรงิ ตามธรรมชาติ ด้วยจติ ใจทเี่ ป็นธรรม แลว้ ยินดีพอใจในสงิ่ ทม่ี ี ที่เปน็ ทห่ี ามาได้ดว้ ยความซือ่ สัตยส์ ุจริต รู้จักคดิ ดี คดิ ถูก เทา่ นั้นแหละ

ความสันโดษ อันเป็นบ่อเกิด ของความพอใจสขุ ใจ มันกผ็ ดุ ขึน้ มาเอง โดยอัตโนมตั ิ ท่ีน่ี เดีย๋ วน้ี

นัสรูดิน กับ มสุ ตาฟา นัสรดู ินมเี พ่ือนสนิทคนหนึง่ ชือ่ มสุ ตาฟา มุสตาฟาเป็นคนที่ไม่ฉลาด นัสรดู ินเป็นคนเฉลยี วฉลาด แต่ชอบทำาเปน็ คนโง่ และขยนั ลอ้ เลยี นเพอื่ นบา้ น วนั หนึ่งมสุ ตาฟาตนื่ แตเ่ ช้ามดื ด้วยความทอ้ แทก้ ไ็ ปหานสั รดู ิน บอกวา่ เพ่อื นเอย๋ บ้านผมที่อยู่มนั แคบ กล่ินอับ ไมค่ ลอ่ งตัวเลย ผมไม่มีความสุข กลัดกลมุ้ มาหลายปีแล้ว ช่วยผมหนอ่ ยได้ไหม เงินที่จะขยายห้องก็ไม่มี

นสั รูดนิ บอกวา่ เอาละ แกตอ้ งเชื่อข้านะ เช่อื ทุกอย่างนะ แล้วจะชว่ ยใหส้ บายขึน้ มสุ ตาฟาบอกว่าผมจะเชือ่ ทกุ อยา่ งทน่ี ายบอก นสั รูดินได้ทีก็บอกวา่ คนื นีน้ ะ เอาแพะเข้าไปล่ามในห้องนอนของแก มุสตาฟางงแต่ก็เช่อื ฟังนัสรูดิน รุ่งเช้าตนื่ มาตาแดง มาหานัสรูดนิ ผมนอนหลับๆ ต่ืนๆ เจ้าแพะวายร้าย มันร้องทั้งคืน ไหนวา่ จะช่วยให้ผมมีความสขุ นสั รูดนิ บอกว่า เอานา่ เชื่อฉนั คืนนี้เอาลาเขา้ ไปอกี ตัวหนง่ึ ไปล่ามด้วยกัน มุสตาฟาคนโงก่ ็ทำาตาม เอาลาเข้าไปล่าม

รุ่งเช้าก็โผเผมาบอกวา่ เจ้าแพะกับลามันทะเลาะกนั ทั้งคนื รอ้ งและเตะกันและถา่ ยมูลออกมา ห้องผมก็เล็กอยู่แล้ว เหมน็ คล้งุ ไปหมด ไหนวา่ จะชว่ ยผมใหส้ บายขน้ึ ไงล่ะ นสั รูดนิ บอกว่าเอาน่า คนื น้ีได้เรือ่ งเอาม้าเข้าไปอกี ตวั หนึง่ พอรงุ่ เช้ามุสตาฟาไม่มีแรง เพราะไม่ได้นอนทงั้ คนื บอกนัสรูดินช่วยผมด้วย ชว่ ยใหผ้ มมคี วามสุขหนอ่ ย นัสรูดินบอกว่า เอาละไดท้ ่แี ลว้ คืนน้ีเอาแพะออกจากหอ้ งไป พอรุง่ เช้ามุสตาฟามาหา นัสรดู นิ ก็ถามว่าเป็นไงบ้าง มุสตาฟาจงึ บอกวา่ ค่อยยงั ชั่วนิดหนง่ึ แล้ว

นัสรดู ินบอกว่า ง้นั คืนนี้เอาลาออกไป ร่งุ เช้ามุสตาฟาบอกวา่ ผมรู้สึกว่าห้องผมกวา้ งขึ้น นสั รูดนิ บอกวา่ เอ้าคนื นี้แกเอาม้าออกไปจากหอ้ ง ร่งุ เช้ามุสตาฟาเดนิ ย้ิมเผลบ่ อกว่า แหม ผมรู้สึก เปน็ สขุ เหลือเกิน หอ้ งผมรู้สกึ มนั กวา้ งขวางดี คงมหี ลายคนทเ่ี ป็นแบบมุสตาฟาน่ีแหละ ไมร่ จู้ กั พอใจตนเองเทย่ี วคิดฟุ้งซ่านไป ครัน้ สญู เสียไปทีละน้อย พอได้คนื มาจึงเหน็ คณุ ค่า ของที่ตนมอี ยู่ ถา้ รู้จกั คิดดี คิดถกู เสยี ต้ังแต่ตน้ กจ็ ะสุขใจ สบายใจ ไมต่ อ้ งกระวนกระวายใจใหเ้ ป็นทกุ ข์

สนั โดษ มาจากภาษาบาลวี ่า สนั โตสะ สัน แปลว่า ตน โตสะ แปลวา่ ยินดี สันโดษ จึงแปลว่า ยนิ ดี พอใจ อมิ่ ใจ สุขใจ กบั ของของตน กลา่ วโดยย่อคือ ใหร้ ู้จกั พอ ใหร้ ู้จักประมาณตน ลักษณะของสนั โดษมี 3 ประการคือ ยินดีตามมี ยินดตี ามได้ ยินดตี ามควร

เม่อื เราเข้าใจกฎแหง่ กรรม ยอมรบั กฎแหง่ กรรมดว้ ยปัญญาชอบ แล้วกจ็ ะพอใจ ในสงิ่ ท่มี ีอยู่ เป็นอยู่ ตามฐานะของตนในปัจจุบนั ยอมรับว่าส่ิงทีป่ รากฏอยใู่ นปัจจบุ ัน สมบรู ณ์แล้วด้วยเหตุผล อดีต........เป็น........เหตุ ปัจจุบัน....เป็น........ผล .....มันเป็นกรรมเก่า พระพุทธเจา้ ตรสั ว่า กรรมเก่า คอื ตา หู จมูก ล้ิน กาย ใจ ร่างกายจติ ใจของเรา รวมทัง้ สิ่งท่ีเป็นท่ีพึ่งอาศยั ของกาย เช่น พ่อแม่ พนี่ อ้ ง สามีภรรยา ลกู ๆ บุคคลต่างๆ ตลอดจนทรพั ย์สมบัติ สถานท่ี บ้าน สังคม ประเทศชาติ ทเ่ี ราตอ้ งไปเกย่ี วข้อง ลว้ นเปน็ กรรมเก่า

ยินดีตามมี โลกธรรม 8 ทเ่ี ราประสบอยู่ในปจั จุบนั โลกธรรมฝ่ายน่าปรารถนา ไดล้ าภ ได้ยศ สรรเสริญ สุข โลกธรรมฝ่ายไมน่ ่าปรารถนา เสื่อมลาภ เสอ่ื มยศ นินทา ทกุ ข์ ล้วนเป็นผลจากการกระทำาของเราทง้ั สิ้น ดังนั้น ทุกสงิ่ ทกุ อยา่ งทีป่ รากฏมีอยเู่ ปน็ อยใู่ นปัจจุบัน จงึ สมบรู ณ์ดว้ ยเหตแุ ละผล เราจงึ ต้องยินดพี อใจ แม้มีบางสิ่งบางอย่าง “ไมถ่ ูกใจ” ก็ตอ้ งอาศัยปัญญาชอบที่จะยอมรับความจรงิ จนทำาใจใหส้ งบ สบายได้

ยินดีตามได้ ยนิ ดีกับของสว่ นท่ไี ดม้ า คอื เมือ่ แสวงหาประโยชนอ์ ันใดแล้ว ได้เทา่ ไรกพ็ อใจเทา่ นน้ั ยนิ ดพี อใจในสิง่ ทไี่ ด้ เมื่อเราใชช้ ีวิตอยูใ่ นสงั คม เรายอ่ มมีความปรารถนา อยากได้ อยากมี อยากเป็น และเมือ่ เราแสวงหาสิ่งท่ตี ้องการด้วยความตงั้ ใจ ความพยายามอย่างดีทีส่ ุดตามกาำ ลงั ตนแลว้ เราตอ้ งยอมรับผลท่ไี ด้ เพราะเราก็ได้อาศัยบุญเก่า ไดใ้ ชค้ วามขยันหมนั่ เพียร ความมานะอดทน ความสามารถ กำาลังกาย กาำ ลงั ใจ กำาลังสตปิ ัญญา เตม็ ท่ีแลว้ มันเป็นเพราะการกระทาำ ทง้ั ในอดีตและปัจจบุ ันร่วมกันออกผล เรียกว่าสิง่ ท่ไี ด้มันกพ็ อดๆี กบั การกระทาำ ของตนเองท้ังนั้น เมื่อเข้าใจจุดนี้ก็จะสบายใจ มีความยนิ ดีพอใจในสิ่งท่ไี ด้

ยนิ ดตี ามควร ยนิ ดีกบั ของทส่ี มควรแกต่ นเทา่ น้นั สิ่งใดทีม่ ีอยูห่ รือจะได้มา หากเหน็ ว่าไม่สมควรกับเรา กไ็ ม่ยนิ ดี ไม่ยอมรับไว้ การจะตัดสินว่า ควรหรือไมค่ วรนั้น ใหพ้ ิจารณาโดยใช้หลกั 3 ประการ คือ ควรแกฐ่ านะ ควรแก่ความสามารถ ควรแก่ศีลธรรม

ฐคาวนรแะก่ ใหพ้ ิจารณาวา่ ปัจจบุ ัน เราอยูใ่ นฐานะอะไร เช่น เป็นฆราวาส หรอื เปน็ นกั บวช เป็นผู้ใหญ่ หรอื ผู้น้อย เช่น เม่ือเราเปน็ ฆราวาส มีใครเอาบาตร เอาจีวรมาให้ เราก็ไมค่ วรใช้ หรอื เมือ่ เราเป็นพระ กไ็ ม่ควรรับของทไ่ี มเ่ หมาะสมแกฐ่ านะตน เช่น อาวธุ บหุ รี่ เหลา้ หนงั สือโป๊ วดิ โี อเกมส์ เปน็ ต้น

คคววรแากม่ สามารถ คนเราเกดิ มามกี ำาลงั ความสามารถไม่เทา่ กนั ทงั้ กำาลังกาย กาำ ลงั ใจ กำาลงั สติปญั ญา ดังนน้ั เราควรรกู้ าำ ลังความสามารถของตนเอง และแสวงหา หรอื ยอมรับเฉพาะของทคี่ วรแกก่ าำ ลงั ความสามารถของตนเองเท่านัน้ เช่น ถงึ แม้ว่าครอบครัวเราจะมีอำานาจบารมี สามารถฝากงานในตาำ แหน่งสูงๆ ให้กับเราได้ แตถ่ ้าเราพิจารณาถึงกำาลงั สติปัญญาและประสบการณ์ ของเราแล้ววา่ ยังไมพ่ รอ้ มทจี่ ะรับผิดชอบงานได้ กไ็ ม่ควรยินดรี ับตาำ แหนง่ เป็นตน้

ศีลธครวรรแมก่ ของใดก็ตามแมค้ วรแก่ฐานะของเรา ควรแกค่ วามสามารถของเรา แตถ่ า้ ไปยินดกี ับของน้นั แล้ว ทาำ ให้เราผิดศีลธรรม เสยี ช่อื เสยี งเกยี รติยศ ศกั ด์ิศรี ก็ไมค่ วรยินดกี ับสิง่ ของนนั้ เชน่ ของทล่ี กั ขโมย ฉ้อโกงเขามา ของผิดกฎหมาย เช่น อาวุธเถอื่ น ยาเสพตดิ ของท่ีเขาให้เพือ่ เป็นสินจา้ งรางวัลในทางท่ผี ดิ หรอื ในกรณที ีเ่ ราแตง่ งานมีครอบครัวแลว้ เมอ่ื มีใครมารักมาชอบเราแบบชสู้ าว แม้เราพอใจในตัวเขามากแค่ไหนก็ตาม กไ็ มค่ วรรบั ไมค่ วรตอบสนอง เป็นตน้

อทิ ธิบาท 4 ค่กู ับสันโดษ คนจำานวนมาก เขา้ ใจความหมายของสนั โดษผิดไป คิดว่าสนั โดษคือการพอใจอยคู่ นเดยี ว หรือการไม่ทาำ อะไร หากนำาหลกั การของสันโดษไปใช้แล้ว จะทำาใหป้ ระเทศชาติไมเ่ จริญ ประชาชนไม่รู้จักพัฒนาตน เพราะพอใจในสภาพตามมตี ามเกดิ ตามธรรมชาติ เป็นอยู่อยา่ งไรก็พอใจแคน่ ั้น มนี ้อยแคไ่ หนก็ไม่ต้องขวนขวายไปหามาเพิ่ม

ความจรงิ แล้ว..... การพอใจอยูค่ นเดียว ภาษาบาลเี รียกว่า ปววิ ติ ตะ ไม่เรียกสนั โดษ ส่วนการไมท่ าำ อะไรน้นั ภาษาบาลเี รียกว่า โกสชั ชะ คอื ความเกยี จคร้าน

คาำ สอนของพระพทุ ธเจ้าเรื่องสันโดษ ไมไ่ ด้สอนใหค้ นเกยี จคร้านท้อถอย ไมข่ ยนั หมนั่ เพียรในการทาำ หนา้ ท่กี ารงาน ซ่งึ เปน็ อปุ สรรคขวางกั้นความเจริญ อย่างท่มี ีการเข้าใจผิดกนั พระพทุ ธเจ้าสอนเรื่องความสนั โดษ เพ่ือให้เรารู้จักพอใจ กับสงิ่ ท่ตี นมอี ยู่ ส่ิงท่ตี นได้มา และส่งิ ที่สมควรแกฐ่ านะของตน เม่ือเรามคี วามสันโดษเปน็ คุณธรรมประจาำ ใจแล้ว ก็ขจัดเสยี ซึ่งความโลภ ไมม่ กี ารเบียดเบียน แกง่ แย่งชงิ ดี อจิ ฉารษิ ยา ทจุ ริตฉอ้ โกง มุ่งร้ายทาำ ลายกนั

พระพุทธศาสนามีหลกั คาำ สอนเกีย่ วกับการดาำ เนินชวี ิตวา่ ด้วย หลักอิทธบิ าท 4 ซง่ึ หมายถงึ ทางแห่งความสำาเรจ็ ในกจิ อนั เปน็ กุศล ไมว่ ่าจะเป็นทางโลก หรือทางธรรม ทกุ ส่ิงทกุ อยา่ งจะสาำ เร็จตามทตี่ ง้ั ใจ ถ้าเราปฏบิ ัติตามหลกั อทิ ธิบาท 4 ซงึ่ มีองค์ประกอบ 4 ประการคอื

ฉนั ทะ มคี วามพอใจในสิง่ ท่ีทำา โดยเราต้ังเปา้ หมายไว้ วิริยะ ตามความเหมาะสมกับฐานะ จติ ตะ และกำาลังความสามารถของเรา วิมงั สา ความเพียรพยายามและต้ังใจทำาส่งิ นน้ั ความเอาใจใส่ จิตใจจดจ่อกบั ส่ิงที่ทำาอยู่ ปัญญาท่พี จิ ารราใครค่ รวญหาเหตุผล เพ่อื แก้ปญั หาหรือพัฒนาให้ดยี ิง่ ขน้ึ

เมอื่ เราอยากมี อยากได้ อยากเป็นอะไรก็ตาม ก่อนอน่ื ให้เข้าใจตัวเอง รจู้ กั ฐานะ ความรู้ ความสามารถของตน แล้วตง้ั เป้าหมายไว้ ลงมือทาำ ตามเป้าหมายน้นั ดว้ ยความพอใจ เพยี รพยายามเต็มกาำ ลังความสามารถ เอาใจใส่เพ่อื ใหส้ ำาเรจ็ ตามทีต่ งั้ ใจ เมอ่ื ได้ผลออกมาอยา่ งไร กใ็ ห้ยินดพี อใจตามทไี่ ด้ ตามท่เี ปน็ ถึงแมว้ า่ ไมบ่ รรลุเป้าหมายทีต่ ้งั ไว้ก็ตาม กใ็ ห้สนั โดษ

อิทธิบาท 4 เป็นการสร้างเหตทุ ี่ดีของการกระทาำ เพือ่ ให้ประสบความสาำ เร็จ สันโดษ เป็นความยนิ ดพี อใจในผลท่ไี ด้รบั

เมอ่ื เราดำาเนนิ ชีวิตด้วยคุณธรรม ตามหลักอิทธบิ าท 4 และสันโดษแล้ว ชวี ิตน้กี ไ็ มต่ อ้ งทกุ ข์ร้อนอะไรมากมาย สอบเข้ามหาวิทยาลยั ไม่ได้ ตกงาน ผิดหวงั ในความรัก ไม่ได้ในส่งิ ท่ปี รารถนา ก็ให้เขา้ ใจวา่ เม่ือเราต้ังใจทำาดีดว้ ยใจที่สงบ เราได้ทำาเหตทุ ี่ดแี ลว้ กต็ ้องยอมรับผลด้วยใจทสี่ งบเหมอื นกัน จงึ จะเรยี กว่าทำางานดว้ ยความปล่อยวาง ไมย่ ดึ มัน่ ถอื มั่น รกั ษาหวั ใจของนกั กฬี า ร้แู พ้รู้ชนะรู้อภัย

ความพ่ายแพไ้ มไ่ ด้ทำาใหท้ ้อถอย แต่ทำาใหม้ คี วามหวงั ในอนาคต ตัง้ ใจทำาความดีในปจั จบุ ันดว้ ยสุขภาพใจดี ตงั้ ใจทาำ ความดี ด้วยหลกั อทิ ธิบาท 4 ยอมรับผลด้วยความสนั โดษ

มส่งิ ทักีค่ จนเระา ไม่สนั โดษ สงิ่ ท่ีคนเรามักแสวงหา อย่างไมร่ จู้ กั พอ ไม่รู้จกั ประมาณ ไดแ้ ก่ อำานาจ ยศ ตำาแหนง่ ทรพั ย์สมบตั ิ กามคุณ 5 อาหาร

ตยอศำาำาแนหาจน่ง หลวงพ่อชาท่านเทศนใ์ หพ้ ระเณรฟงั ว่า ผ้าขาว (คนท่เี ตรียมบวช) เณร พระบวชใหม่ อาจจะคดิ ว่าเปน็ หลวงพอ่ น้สี บาย นั่งหวั แถวเป็นอันดับแรก นงั่ พิงหมอนสามเหลี่ยม ใครๆ ก็กราบไหว้ ตักอาหารเป็นองค์แรก เลอื กอาหารได้ตามใจชอบ จรงิ ๆ แล้ว พระท่ีบวชนานๆ พรรษามาก ความรับผิดชอบก็มากมาย ไม่สบายหรอก

ใครได้เปน็ แล้วก็อยากจะอยอู่ ยา่ งพระบวชใหมๆ่ ย่งิ เป็นเจ้าอาวาส บางทเี ปรียบเสมอื นเป็นถงั ขยะ รบั ปัญหาสารพดั ปญั หาก่อสร้าง ดแู ลความเรียบร้อยศาลา เสนาสนะ ปัญหาคนงาน ปัญหาของพระเณร เรื่องยงุ่ ๆ ตา่ งๆ นานามนั ก็ท่วมหวั เจ้าอาวาสกนั ทง้ั น้นั หลวงพอ่ ชาทา่ นเคยพูดกับลูกศิษย์ ซึ่งเปน็ พระฝร่ังองค์แรกที่ได้รับตำาแหน่งเจ้าอาวาส เพ่ือเตอื นสตใิ หเ้ ตรยี มใจไว้รับสถานการณ์ เพราะถ้าหากไมม่ ีกำาลงั ใจ ก็คงเครยี ด กล้มุ ใจ ทนเหมน็ ไมไ่ หวเหมอื นกนั ทกุ ข์ของผนู้ ้อยมี ทกุ ขข์ องผู้ใหญ่มนั ก็มี เราจึงควรรู้จกั ฐานะ หนา้ ทีข่ องตนเอง แลว้ ก็มคี วามสุข ความพอใจในปัจจบุ ัน ทน่ี ี่ เดย๋ี วนี้จะดีกว่า เมื่อเราไดเ้ ปน็ ผู้ใหญ่ กจ็ ะเป็นผใู้ หญท่ ่ดี ี พอใจ สุขใจได้

ทรัพยส์ มบตั ิ ความรู้สึกวา่ เรายังมที รัพยส์ มบัติไม่พอ มนั เกิดจากการเปรยี บเทียบกับคนอนื่ เมือ่ เราเปรยี บเทียบแล้วกอ็ าจจะเกิดโลภ อยากจะมีเหมอื นเขา เลยกลายเปน็ ยากจนเพราะว่ามไี มพ่ อ ไม่ใช่เพราะไม่มี ถงึ รวยแคไ่ หน เปน็ มหาเศรษฐี ถา้ ไม่รจู้ กั พอ ก็กระวนกระวายใจเป็นทุกข์อย่นู น่ั แหละ จนอาจรูส้ กึ มีปมดอ้ ย อิจฉาเพอ่ื นในวงสงั คมของมหาเศรษฐดี ้วยกัน เพราะรู้สึกวา่ เขามีมากกว่า บางคนไมว่ า่ จะรวยมากขนาดไหนกย็ ังข้เี หนียว เป็นใจเปรต คอยแต่โลภอยากไดอ้ ย่างเดียว บางครั้ง ความทกุ ข์เกิดจากการมีมาก

ดังตวั อย่างในข่าวหนังสือพมิ พ์ เรือ่ งชาวบ้านคนหนึง่ ถูกสลากกินแบง่ ของรัฐบาล ไดเ้ งินรางวลั หลายลา้ นบาท แทนท่ีจะมคี วามสุข กลบั ทะเลาะกนั ในหมู่ญาตพิ ่ีน้อง จนเกิดเรอ่ื งวุ่นวาย เจา้ ตัวถึงกับฆ่าตัวตายเลยก็มี แตถ่ ้าเรารจู กั สนั โดษ พอใจในสิ่งทีม่ ี ไม่ว่าจะมีมาก มีน้อย เรากม็ ีความสุขไดเ้ สมอตามอตั ภาพของเรา

กามคุณ 5 หมายถึง สิง่ ท่ีน่าปรารถนา น่าพอใจ มี 5 อย่างคอื รูป เสยี ง กลน่ิ รส และ สัมผัสทางกาย ความติดใจในกามคณุ เป็นเหตใุ ห้จิตใจฟงุ้ ซ่าน ทาำ ให้คนเราตอ้ งด้ินรนแสวงหาเงินทอง เพอื่ ให้ได้มาซง่ึ ความสขุ จากกามคุณ ความไม่รจู้ กั พอในกามคุณ มักกอ่ ใหเ้ กดิ ปัญหาในชีวติ ครอบครวั และสังคม เช่น เมื่อไม่สันโดษในทรัพยส์ ินที่ตนมี ก็ทาำ ใหเ้ กดิ ความโลภไปลกั ขโมยเขา เมอื่ ไมส่ นั โดษในความเป็นคู่ครองกัน แลว้ กน็ อกใจกนั แย่งแฟนกัน ความพอใจในกามคณุ สำาหรับมนษุ ย์เรา จึงตอ้ งอยู่ในกรอบของศลี ธรรม ไมเ่ บยี ดเบียนตนเอง และไมเ่ บยี ดเบยี นผูอ้ น่ื ไมเ่ ช่นนนั้ กามคณุ ก็จะกลายเปน็ โทษ

อาหาร คนเราเมอ่ื มีอาหารรับประทานอย่แู ลว้ สว่ นมากกม็ ักจะยังไมพ่ อใจ ยงั อยากจะไปรบั ประทานอาหารแพงๆ ตามภัตตาคารหรูๆ หรือบางครั้ง แมว้ า่ จะสั่งอาหารแพงๆ จากภตั ตาคารมากินแล้ว กย็ งั รู้สึกไมอ่ รอ่ ย ไม่พอใจอีก คนมาอยใู่ นวัด รับประทานอาหาร วนั ละมือ้ เดียวหรอื บางท่ีเป็นคนงาน ทำางานหนักๆ เมอ่ื หิวแล้ว รับประทานอะไรมนั ก็อรอ่ ยทั้งน้นั เป็นความสุขแบบเรียบงา่ ย

อาจารย์เดินทางออกจากญปี่ ุ่นมาอย่ตู ่างประเทศ ตง้ั แตอ่ ายุ 20 ปี กลับไปเยย่ี มบ้านคร้ังแรกหลังจากท่จี ากมาประมาณ 15 ปี ประเทศญ่ีปุ่นเปล่ียนไปมาก สถานีรถไฟใหญ่ทส่ี ุดในกรุงโตเกียวสมยั กอ่ นท่เี ป็นอาคารชัน้ เดยี ว เปลยี่ นเป็นชานชลาทขี่ ุดลงไปใตด้ นิ 3 ชัน้ บนตกึ สูง เมอื่ ก่อนเคยเดินทางดว้ ยรถไฟใชเ้ วลา 9 ช่ัวโมง เดย๋ี วน้เี หลอื 3 ชัว่ โมงถงึ ทหี่ มาย อาหารการกินสมบูรณ์ อาหารบางอย่างทีเ่ คยเปน็ เมนูพิเศษ เดย๋ี วนกี้ ลายเป็นอาหารธรรมดาๆ แต่พส่ี าวอาจารยบ์ อกว่ายงั คดิ ถงึ สมัยเด็กๆ อยเู่ สมอ ในฤดูร้อน เอาแตงกวามาแชใ่ นน้ำาพธุ รรมชาตทิ เ่ี ย็นจัด ซ่งึ อยใู่ กลบ้ า้ นแลว้ เอามาจิม้ กบั มิโสะ มันก็อร่อยดี มีความสขุ แล้ว ทกุ วันน้ถี ึงจะกินอาหารอุดมสมบูรณ์มากกว่า แต่เม่ือนกึ ถงึ ความสุขในการกนิ ทีไรก็นกึ ถงึ สมยั เด็กๆ ทกุ ครัง้

สมยั ทอี่ าจารย์ยงั เด็ก แมพ่ ดู เสมอว่า ชีวิตในชนบทดที ีส่ ุด มีข้าวปลาอาหารพออย่พู อกนิ ไมต่ ้องเครยี ดอะไร แมไ่ มเ่ คยบอกใหอ้ าจารย์ต้องเรียนหนังสอื สูงๆ ต้องรวย ต้องมียศ มีตาำ แหนง่ ถึงจะมีความสุข อาจารยร์ ้สู ึกว่าน่าจะจรงิ ตามทแ่ี มพ่ ูด คำาพูดของแม่ทำาใหร้ ู้จกั สนั โดษ พอใจกับชีวติ แบบเรยี บง่าย พออยู่พอกิน รกั กันสามคั คีกันในครอบครวั กม็ ีความสุขแล้ว

สเสือันก็รโู้จดัก ษ สมมติว่าเพ่ือนของเรา 3 คนไปธุดงค์ ปฏบิ ัตธิ รรมในป่าท่มี สี ัตว์ป่านานาชนดิ เสอ้ื ชา้ งป่า กระทิง หมี หมูปา่ หมาป่า อีเกง้ กวาง ฯลฯ เสอื ซึ่งเป็นสัตวป์ า่ ทกี่ นิ เน้ือเปน็ อาหาร กอ็ าศัยอยู่ประจาำ ในบริเวณนน้ั ซง่ึ ตามปกติ ในพ้ืนท่ปี ระมาณ 100 ตารางกิโลเมตร ของปา่ ก็จะมเี สือหากินอยหู่ นง่ึ ตัว

ทน่ี ีอ้ าจารย์กต็ ั้งคำาถามข้นึ มาวา่ ถ้าเพื่อนทั้ง 3 คนน้ีปกั กลดอยูห่ า่ งๆ กนั พอสมควร เม่ือเสอื ออกหากนิ แลว้ เสือจะกินใคร ถ้าตอบวา่ แล้วแต่โชค ก็มีโอกาสคนละประมาณ 33% เทา่ ๆ กนั แต่ตามหลกั พระพุทธศาสนา กไ็ ม่มีโชคดี โชคร้าย อะไรจะเกดิ ก็ต้องมีเหตุ ทุกสิ่งทกุ อย่างล้วนเกิดขึ้นเพราะเหตุ ถ้ามีใครมเี วรมีกรรมกับเสือ คนนนั้ ก็โดนก่อน แต่ถา้ ไม่มีเวรกรรมตอ่ กันมาก่อน ก็ยังมีเหตุอีกเหมือนกัน บางทีเราอาจคิดว่า เสือจะไลก่ ดั ๆๆ ทงั้ 3 คน ใหต้ ายกอ่ น แลว้ ค่อยๆ กิน แตธ่ รรมชาติของเสอื ก็ไมใ่ ชอ่ ย่างนนั้ เสือจะกัดเฉพาะคนเดียว

สมมุติวา่ ถ้าเสอื มีกเิ ลสชอบแสวงหาอาหารรสชาติอร่อย เหมอื นมนษุ ย์ ตอนเช้ากล็ ่ากวางกนิ สักตัว เลอื กกินเน้ือเฉพาะสว่ นทอี่ รอ่ ยๆ ตอนกลางวนั ก็ออกหากวางอกี สกั ตัว ตอนเย็นออกหาอาหารอีก ก่อนนอนอีกสักมอื้ เท่ากับวันหนึง่ ๆ เสอื ออกลา่ สัตวม์ าเป็นอาหาร 4 ตัว ปีหนง่ึ มี 365 วนั ก็เทา่ กบั เสอื ตวั หนงึ่ กินสตั วอ์ น่ื เปน็ อาหารปลี ะ 1,460 ตัว ถ้าเสือมีแฟนกต็ ้องคิดเปน็ สองเท่า เท่ากบั วา่ การดาำ รงชีวิตของเสอื คูห่ น่ึง ตอ้ งใชส้ ัตว์อืน่ เป็นอาหารปลี ะเกอื บ 3,000 ตวั 10 ปี กจ็ ะเทา่ กบั เกือบ 30,000 ตัว ซึ่งถ้าเปน็ เช่นนี้จรงิ ๆ เสอื ก็จะต้องสญู พันธ์แุ น่นอน เพราะอาหารทงั้ ปา่ ก็ไมพ่ อเลี้ยงเสอื แตเ่ สือมนั กม็ ปี ัญญา ร้จู ักฆ่าสัตว์เทา่ ทจ่ี าำ เป็นเท่าน้ัน

เมือ่ ไดอ้ าหารแลว้ มนั กก็ นิ หมดทุกสว่ น แทะจนถึงกระดกู กินอม่ิ แลว้ กอ็ ยู่ไปอกี หลายวันจนกวา่ จะหิวจึงออกหากินใหม่ เรียกวา่ เสอื มนั ก็รู้จกั สันโดษ กินเพอื่ อยู่ มิใชเ่ พื่อความเอร็ดอรอ่ ยติดใจในรสชาติ เมื่อเสืออมิ่ แล้ว แม้มีสตั ว์ท่ีดูแลว้ นา่ อร่อย มนั ก็ไม่ทาำ ลายสตั วป์ า่ ทอี่ ยรู่ ่วมกันในบริเวณนนั้ จงึ ไม่ใช่วา่ ต้องระแวดระวงั กลัวเสืออยู่ตลอดเวลา ดงั นัน้ สาำ หรบั 3 คน ทีป่ ักกลดอยู่ ถ้าเสอื จบั เพอ่ื คนหน่งึ กนิ เป็นอาหารแลว้ อีก 2 คน ก็โลง่ ใจได้วา่ ปลอดภยั ใจเย็นๆ ค่อยๆ ถอยออกไปได้ ทีนอี้ าจารยก์ ็ต้งั คำาถามข้นึ มาว่า “ปัญหาอยูท่ วี่ า่ ใครจะเป็นเหย่ือของเสอื ?” “คาำ ตอบคือ คนทไ่ี มม่ ศี ีลนน่ั แหละ”

ใครมีศีลดีศีลไมด่ ี เพ่อื นกัน 3 คนนี้ ต่างกร็ กู้ นั อยใู่ ช่ไหม แตศ่ ีลในทีน่ ี้กไ็ มไ่ ด้หมายความว่าคนท่เี ขา้ วัดประจาำ ศีลดี คนทชี่ อบเท่ียว รอ้ งเพลงคาราโอเกะศลี ไม่ดกี ไ็ ม่ใช่ ศีล 5 ศีล 8 ศลี 227 เป็นอาการของศีล ตวั ศีลอยทู่ ่ตี ัวเจตนา ศีลคือหนักแนน่ เป็นปกติ ไม่ยนิ ดี ยินร้าย สาำ หรบั ในสถานการณ์นก้ี ็คือไมย่ นิ รา้ ย ถ้ากลวั เสอื จะกนิ คือเกิดอาการยนิ ร้าย ศลี ก็บกพร่อง คนที่กลวั มากท่สี ุด ไม่อยากตายมากทีส่ ดุ ก็จะตายกอ่ นเพอื่ น เพราะความกลัวทำาใหร้ า่ งกายผลติ ฮอร์โมนชนิดหน่ึงข้นึ มา เสือก็จะมสี ญั ชาติญาณตามกล่ินของฮอร์โมนนี้ ปกติของสตั ว์ป่าก็แสวงหาคู่และหาอาหารโดยใช้จมูก คอื อาศยั การได้กล่นิ ไม่ใช่จากการเหน็ รูป แล้วทาำ ให้เกิดกเิ ลสเหมอื นมนุษย์

ทีนี้ เมือ่ เสอื ออกหากินแล้วได้กลิ่นมนุษย์ คนท่ใี จเสีย กลัวมากที่สุดจึงตกเปน็ เหยื่อของเสือ ดังนัน้ คนท่ีใจหนักแนน่ ไมย่ ินร้าย ใจเป็นปกตกิ ็ปลอดภัย เรียกวา่ ใจเปน็ ศลี ศีลถึงใจ เมือ่ ใจเปน็ ศีล ศีลหนักแน่นในจติ ใจแลว้ ใจก็สงบระงับความกลัวได้ ศีลจงึ จะรกั ษาเรา ตงั้ แตส่ มยั พุทธกาล พระอริยเจ้าอยใู่ นปา่ ปกตกิ ็ไมโ่ ดนสัตวป์ า่ ทำารา้ ย เพราะทา่ นกร็ ักษาศีล ถ้าศลี ทีใ่ จบริสทุ ธิ์ อย่างนอ้ ยไมเ่ กิดอาการกลัว ก็ปลอดภัยในระดับหน่งึ ถ้าดีกว่านี้อกี คอื เจริญเมตตาภาวนา ก็ย่ิงปลอดภยั มากย่งิ ขึ้น และหากว่าเจรญิ วปิ ัสสนา พจิ ารณาร่างกายจนเกิดปัญญา

มองเหน็ ว่าร่างกายน้ี เป็นสกั ว่า ธาตดุ ิน นาำ้ ลม ไฟ ไม่ใชส่ ตั ว์ ไม่ใช่บุคคล ไม่ใช่เรา ไมใ่ ช่เขา ไม่ใช่ตวั ตน เปน็ อนตั ตา ก็จะไม่มใี ครตาย ไมม่ ีใครฆา่ เมือ่ ศลี สมบรู ณ์ในใจแล้ว ศีลกจ็ ะรักษาเราใหป้ ลอดภยั

มนุษย์เรานา่ จะเรยี นรจู้ ากสัตว์ปา่ บ้าง เอาเสอื เป็นแบบอย่าง คอื กนิ เพอ่ื อยู่ ไม่ใช่เห็นแกก่ ิน ละโมบโลภมาก แล้วไปทาำ ลายทรพั ยากรธรรมชาติ ทีต่ นเองอาศยั อยู่จนเสยี สมดลุ และไม่สามารถดาำ รงชีวติ ได้ ปญั ญาของสตั วป์ ่ามันก็มเี หมอื นกนั รจู้ กั สันโดษ มชี ีวติ แบบพออยูพ่ อกนิ

นกแขกเต้า กับชาวนา มีนกแขกเต้าฝูงหน่งึ ประมาณ 500 ตัว อาศัยอยู่ในปา่ ง้ิวบนยอดเขาแหง่ หน่ึง เมื่อถึงเวลาหากนิ ฝูงนกแขกเต้า ต่างพากนั บินไปกินข้าวสาลีในนา ของชาวมคธ เมอื่ กนิ ขา้ วสาลอี ม่ิ แลว้ ต่างกบ็ นิ กลับรังด้วยปากเปลา่ ๆ ทั้งน้นั

ส่วนพญานกแขกเตา้ ทเ่ี ป็นหัวหน้า เมือ่ กินอมิ่ แล้ว ยงั ตอ้ งคาบข้าวสาลี อกี ๓ รวงกลบั ไปด้วย ชาวนาเหน็ ก็แปลกใจ จึงพยายามดกั จับพญานกแขกเตา้ ใหไ้ ด้ ด้วยการสงั เกตท่ยี นื ของพญานกนน้ั แลว้ วางบ่วงดกั ไว้ วนั หนง่ึ พญานกถกู จบั ได้ ชาวนาจงึ ถามพญานกวา่ “นกเอ๋ย ทอ้ งของท่านคงจะใหญ่กวา่ นกอนื่ เพราะเมื่อทา่ นกนิ อ่มิ แลว้ ยงั ต้องคาบรวงข้าวกลับไป อีกวนั ละ 3 รวง เป็นเพราะทา่ นมียุ้งฉาง หรอื เปน็ เพราะเรามเี วรต่อกันมาก่อน”

พญานกตอบวา่ “ขา้ พเจ้าไมไ่ ดม้ ยี ุง้ ฉาง และเราก็ไม่มเี วรตอ่ กัน แตท่ ค่ี าบไป 3 รวงนนั้ รวงหนง่ึ เอาไปใช้หนี้เกา่ รวงหนงึ่ เอาไปให้เขา และอกี รวงหน่ึงเอาไปฝงั ไว้” ชาวนาไดฟ้ ังกเ็ กิดความสงสัย จงึ ถามว่า “ทา่ นเอารวงไปใชห้ นใี้ คร เอาไปให้ใคร และเอาไปฝงั ไว้ท่ีไหน”

พญานกแขกเต้าจึงตอบวา่ “รวงทห่ี นึง่ เอาไปใชห้ นเ้ี กา่ คอื เอาไป เลย้ี งดูพอ่ แมเ่ พราะทา่ นแก่แล้ว และเปน็ ผู้มพี ระคุณอย่างมาก ท้งั ให้กาำ เนิด และเล้ยี งดูข้าพเจา้ จนเติบใหญ่ นับวา่ ข้าพเจา้ เปน็ หนีท้ ่านจงึ สมควรเอาไปใชห้ น”ี้ “รวงท่สี องเอาไปใหเ้ ขา คอื เอาไปให้ลูกนอ้ ยทง้ั หลายทยี่ งั เล็กอยู่ ไมส่ ามารถหากนิ เองได้ เมอื่ ข้าพเจ้า เลยี้ งในตอนนี้ ต่อไปยามขา้ พเจา้ แก่เฒา่ เขากจ็ ะเลยี้ งตอบแทน จดั เปน็ การใหเ้ ขา” “รวงทีส่ ามเอาไปฝงั ไว้ คอื เอาไปทำาบุญด้วยการให้ทาน กบั นกทแ่ี ก่ชรา นกท่ีพกิ ารหรือเจ็บป่วยไม่สามารถหากินเองได้ เท่ากับเอาไปฝังไว้ เพราะบัณฑิตทัง้ หลาย กลา่ วว่า การทำาบุญเปน็ การฝังขมุ ทรัพยไ์ ว้”

ชาวนาได้ฟงั แลว้ เกิดความเล่ือมใสวา่ นกนี้เปน็ นกกตญั ญูตอ่ พอ่ แม่ เป็นนกทีม่ ีความเมตตาตอ่ ลูกน้อย ใจบุญ มปี ญั ญารอบคอบ มองการณ์ไกล พญานกไดอ้ ธิบายตอ่ ไปว่า “ข้าวสาลีที่ขา้ พเจา้ กนิ เข้าไปนัน้ กเ็ ปรียบเสมือนเอาไปท้งิ ลงไปในเหวท่ไี มร่ จู้ ักเตม็ เพราะขา้ พเจา้ ตอ้ งมากินทุกวนั วันนก้ี นิ แล้ว พร่งุ นก้ี ็ต้องมากินอีก กินเท่าไรก็ไมร่ จู้ ักเตม็ จะไมก่ นิ กไ็ มไ่ ด้เพราะถ้าท้องหิวก็ต้องเปน็ ทกุ ข”์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook