Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Thailand-4.0_2 ้ที่ควรรํุ้

Thailand-4.0_2 ้ที่ควรรํุ้

Published by nguan2521, 2019-11-25 23:07:22

Description: Thailand-4.0_2

Search

Read the Text Version

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคลือ่ นประเทศไทยสคู่ วามม่งั คัง่ มน่ั คง และยั่งยนื ต้องการของประชาชน (Personalized หรือ Tailored Services) พร้อมทั้งอานวยความ สะดวกโดยมกี ารเช่อื มโยงกนั เองของทางราชการเพ่ือให้บริการต่างๆ สามารถเสร็จสิ้นในจุด เดียว ประชาชนสามารถเรยี กใช้บริการของทางราชการได้ตลอดเวลาตามความต้องการของ ตนและผ่านการติดต่อได้หลายช่องทางผสมผสานกันไม่ว่าจะติดต่อมาด้วยตนเอง อินเตอร์ เนทเวป็ ไซด์ โซเชยี ลมีเดยี หรอื แอปพลเิ คชั่นทางโทรศัพท์มือถือ 3. ต้องมีความฉลาดและรู้จักคิดริเริ่ม (Smart & Innovative Government) ซ่ึง หมายความว่าจะต้องทางานอย่างเตรียมการณ์ไว้ล่วงหน้า มีการวิเคราะห์ความเส่ียง สร้าง นวัตกรรมหรือความคิดริเริ่มและประยุกต์องค์ความรู้ในแบบสหสาขาวิชาเข้ามาใช้ในการ ตอบโต้กับโลกแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน เพื่อสร้างคุณค่า มีความยืดหยุ่นและ ความสามารถในการตอบสนองกบั สถานการณ์ตา่ งๆ ไดอ้ ย่างทันเวลา ตลอดจนเป็นองค์การ ที่มีขีดสมรรถนะสูงและปรับตัวเข้าสู่สภาพความเป็นสานักงานแบบดิจิตอล รวมท้ังทาให้ ขา้ ราชการมคี วามผูกพันต่อการปฏบิ ัตริ าชการ กลา่ วคือ - ในการทาหน้าที่ในฐานะเป็นผู้สนับสนุนการทางานของรัฐบาลก็จะต้องให้ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายท่ีตั้งอยู่บนฐานของข้อมูลสารสนเทศท่ีถูกต้องเชิงลึกและ สามารถนาไปปฏบิ ัติให้บงั เกดิ ผลไดจ้ ริง และเกดิ ความคุ้มคา่ - ในการทาหน้าที่ในฐานะเป็นผู้กากับดูแลก็จะต้องมีความเป็นกลางและตรงไปตรงมา รวมท้ังวางกฎระเบียบให้เหมาะสมและยกเลิกการควบคุมท่ีไม่เกิดประโย ชน์ลงเพ่ือ ไม่ให้เป็นภาระหรืออุปสรรคต่อประชาชนหรือการประกอบธุรกิจ ( Smart Regulation) - ในการทาหน้าท่ีในฐานะเป็นผู้ปฏิบัติก็จะต้องมีความซื่อสัตย์สุจริต มีการวางวาง ระบบการทางานให้สามารถบูรณาการเชอ่ื มโยงตามหว่ งโซย่ ุทธศาสตร์ตั้งแต่ต้ังต้นจน จบ และทางานร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานต่างๆ ภายในระบบราชการทุกระดับได้ รวมทง้ั ประหยดั ทรพั ยากรโดยใชท้ รพั ยากรและบริการตา่ งๆ รว่ มกนั  ในแง่ของหลักการและวิธีการทางาน ตลอดจนกระบวนทัศน์ และความเช่ือถืออันมีผลต่อ พฤติกรรมของขา้ ราชการก็จาเป็นต้องมีการปรบั เปลยี่ นใหมใ่ หส้ อดคลอ้ งกนั กล่าวคือ ระบบราชการแบบเก่า ระบบราชการ 4.0 Autonomy, Separation Collaboration - 101 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคลือ่ นประเทศไทยสคู่ วามมัง่ คั่ง ม่นั คง และยั่งยนื Fragmentation End-to-End Process Flow Hierarchy, Silo Cross-Boundary Management Program/Project Management Office Vertical Approach Horizontal Approach Standardization Analog Customization, Personalization Passive Rule-Based Digitization Procedure-Oriented Government-Driven Pro-active Redtape, Costly Innovation, Smart Regulation Close System Results-Oriented Upon Request Only Routine Work Citizen-Centric Data Collection Creating Value for the Public Stand Alone Doing More & Better with Less Intuition Open System Office-Hours Only Open Access Expert/Specialist Non-Routine Problem Solving Real-Time Capability Information, Knowledge & Resource Sharing Shared Services Data-Driven, Demand-Driven, Actionable Policy Solutions On-Demand Services Knowledge Worker & Beyond - Educability (Willingness & Ability to Learn) - Ethicability (Moral Reasoning) Public Administrator Public Entrepreneur - 102 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคลื่อนประเทศไทยสคู่ วามมั่งคง่ั มน่ั คง และย่งั ยืน เจด็ วาระการปรับเปลีย่ นกลไกขับเคล่อื นภาครัฐ เพอื่ ให้ภาครัฐสามารถเปน็ หน่ึงในตัวหลักในการขับเคลื่อน Thailand 4.0 จาเป็นอย่างยงิ่ ที่จะตอ้ งมกี ารปรับเปล่ียนกลไก (ดูรปู ท่ี 4.2) ดงั ต่อไปน้ี 1. การสร้างรฐั ที่นา่ เชื่อถือ 2. แหลง่ ทม่ี าของนโยบายสาธารณะ 3. การปรบั เปลย่ี นบทบาทภารกิจ อานาจหน้าที่ และรูปแบบการปฏบิ ตั ิราชการ 4. การสร้างภาคีความรว่ มมอื ระหวา่ งภาครัฐและภาคส่วนตา่ ง ๆ 5. การยกระดับขดี ความสามารถในการตอบสนองต่อความเปลีย่ นแปลง 6. การบรหิ ารจัดการการเงนิ และทรพั ยากร 7. การสรา้ งระบบราชการแบบไรร้ อยต่อ รปู ท่ี 4.2 : เจ็ดวาระการปรับเปล่ียนกลไกภาครัฐ การสรา้ งรัฐทน่ี ่าเชื่อถอื หัวใจสาคัญของการบริหารราชการแผ่นดินคือการมี “รัฐที่น่าเชื่อถือ” คุณลักษณะของรัฐท่ี นา่ เชือ่ ถอื ประกอบไปด้วย - 103 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลือ่ นประเทศไทยสูค่ วามมัง่ คง่ั มัน่ คง และยั่งยนื (1) การมนี ักการเมืองที่มีคุณภาพ ภายใต้ระบบการเมืองทมี่ ีประสิทธิภาพและมีเสถียรภาพ (2) การมีผู้นาทางการเมืองท่ีมีความซื่อสัตย์สุจริต มีความรู้ ความสามารถ มีวิสัยทัศน์กว้างไกล และมคี วามมุง่ มน่ั อยา่ งแรงกลา้ ในการขบั เคลอื่ นประเทศไปสู่การเปน็ ประเทศในโลกทหี่ น่งึ (3) การมียุทธศาสตร์ชาติที่ชัดเจน สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนท้ังจากภายนอกและ ภายในประเทศอย่างเป็นรปู ธรรม (4) การมีระบบราชการ สถาบัน และกลไกที่มีประสิทธิภาพในการขับเคลื่อนวิสัยทัศน์ รวมทั้ง กรอบยทุ ธศาสตร์ชาตใิ หเ้ กิดผลสัมฤทธ์ิ อุปสรรคสาคญั ประการหนึ่งท่ีทาให้ประเทศไทยไม่สามารถก้าวสู่ประเทศในโลกที่หน่ึง คือการไม่มี รฐั ท่นี า่ เช่ือถอื การไมม่ รี ัฐทน่ี า่ เชอ่ื ถือ ส่งผลให้ 1. เกดิ วงจรอบุ าทว์ระหว่างการปฏวิ ัติรัฐประหารกับการเลือกตั้ง 2. ขาดความตอ่ เน่อื งในการผลักดันนโยบายท่ีจะเปน็ ประโยชนต์ ่อประเทศในระยะยาวให้เกิดผล 3. โอกาสทจี่ ะผลักดันยุทธศาสตรท์ เ่ี ปน็ การปรบั เปล่ียนในระดับฐานรากเกิดข้ึนได้น้อย นโยบายประชา นยิ มจึงเข้ามาแทนที่ 4. ความมุง่ มนั่ อยา่ งแรงกล้าเพ่อื ขับเคล่ือนประเทศไทยไปสู่โลกทหี่ นง่ึ อยา่ งต่อเนื่องแทบจะไม่มเี ลย 5. ขาดโมเมนตัมของพลงั ความรว่ มมอื แบบประชารัฐ ระหว่างภาครฐั ประชาสงั คม และเอกชน การสร้างรัฐท่ีน่าเชื่อถือ ท่ีมีความชอบธรรม มีความรู้ความสามารถ และมีคุณธรรมจริยธรรม จึงเป็นกลไก สาคญั ในการขับเคลอ่ื นประเทศไทยไปสโู่ ลกทห่ี นง่ึ กลไกสาคัญในการสร้างรัฐท่ีน่าเช่ือถือ คือ การสร้าง “รัฐแห่งธรรมาภิบาล” โดยการยึด “หลัก ธรรมาภบิ าล” ซึง่ มีอยู่หกประการสาคญั ด้วยกนั คือ หลักความรับผิดชอบ โดยตระหนักถึงสิทธิหน้าที่ การมีจิตสานึกรับผิดชอบต่อสังคม การใส่ใจ ปญั หาของบา้ นเมอื ง มีความกล้าหาญทีจ่ ะรบั ผิดชอบผลจากการกระทา หลกั คณุ ธรรม ยดึ มน่ั ในความถูกต้องดงี าม ยดึ หลักความซ่อื สัตยส์ จุ รติ ขยันอดทน มีระเบียบวนิ ัย หลักการมีส่วนร่วม โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ และร่วมบริหาร จดั การในการพัฒนาประเทศ หลักความคมุ้ คา่ โดยการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรที่มีอยู่จากัดให้มีการใช้อย่างประหยัดคุ้มค่า เกิดประโยชน์ สงู สุด และสอดคล้องกับวิสยั ทัศน์ ยุทธศาสตรช์ าติ และแนวทางการพัฒนาที่ยงั่ ยนื - 104 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลื่อนประเทศไทยสคู่ วามม่งั คัง่ มั่นคง และยั่งยืน หลักความโปร่งใส เปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ให้สาธารณชนเข้าถึงได้สะดวก และมี สว่ นรว่ มตรวจสอบความถกู ตอ้ งในการดาเนนิ งาน หลักนติ ิธรรม มีกฎกตกิ า ขอ้ บังคบั ตา่ ง ๆ ทเ่ี ป็นธรรม เปน็ ทยี่ อมรบั ของสงั คม แหลง่ ที่มาของนโยบายสาธารณะ นโยบายสาธารณะเป็นเคร่ืองมือที่สาคัญในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยรัฐบาลจะขับเคล่ือน นโยบายสาธารณะไปสู่การบรรลุทิศทางและเป้าหมายในการบริหารประเทศ ซ่ึงในอดีตที่ผ่านมา การ กาหนดนโยบายสาธารณะจะมีท่ีมาจากการเสนอโดยภาคราชการเป็นส่วนใหญ่ แต่ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา พรรคการเมืองได้มีบทบาทมากย่ิงขึ้นในการกาหนดนโยบายสาธารณะของประเทศ อย่างไรก็ตาม นโยบาย สาธารณะที่มาจากพรรคการเมืองส่วนใหญ่เป็นนโยบายเพื่อแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า และส่วนใหญ่มีวาระที่ หวังผลทางการเมือง นโยบายส่วนใหญ่ท่ีออกมาจึงเป็นนโยบาย “ประชานิยม” ซ่ึงทวีความเข้มข้นมากข้ึน ในช่วงท่ีผ่านมา นโยบายประชานิยมส่วนใหญ่ได้ก่อให้เกิดประเด็นว่าด้วย Short-term Gain, Long-term Lost ขนึ้ เป็นภาระงบประมาณท่ีผลักให้คนรุ่นต่อ ๆ ไปต้องแบกรับ เพื่อให้เกิดธรรมาภิบาลในการกาหนดนโยบายสาธารณะ นโยบายสาธารณะที่ดีไม่ควรถูก กาหนดขึ้นจากฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเพียงฝ่ายเดียว และไม่ควรถูกกาหนดข้ึนเพื่อแก้ไขปัญหาระยะส้ันเป็นหลัก ซึ่ง เป็นปัญหาเฉพาะของช่วงเวลาใดเวลาหน่ึง ทั้งน้ี การกาหนดนโยบายสาธารณะที่ดี จะต้องมีความสมดุล ระหว่างการบริหารจัดการปัญหาเร่งด่วนเฉพาะหน้า การปฏิรูปประเทศและการลงทุนเพื่ออนาคต และเป็น นโยบายท่ีต่อเน่ืองสอดรับกับวิสัยทัศน์และกรอบยทุ ธศาสตร์ชาติ ดงั น้ัน การกาหนดนโยบายสาธารณะจะต้องมีท่ีมาจาก 3 ส่วน สาคัญประกอบดว้ ย ส่วนที่ 1 วิสัยทัศน์และกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ในฐานะเป็นกรอบหลักที่กาหนดทิศทางและสร้างความ ตอ่ เนื่องเพอื่ ไปสกู่ ารบรรลเุ ป้าประสงคร์ ่วมของคนในชาติ ส่วนท่ี 2 นโยบายของพรรคการเมือง ในฐานะที่สามารถสะท้อนความต้องการที่แท้จริงของประชาชน ส่วนท่ี 3 ระบบราชการ ในฐานะทีเ่ ป็นภาคส่วนทม่ี ีอานาจหน้าท่ใี นการดาเนินงานตามนโยบายสาธารณะ - 105 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคล่อื นประเทศไทยสคู่ วามม่ังค่ัง มัน่ คง และยงั่ ยืน การปรับเปลี่ยนบทบาทภารกิจ กรอบอานาจหน้าท่ีและรูปแบบการปฏิบัติ ราชการ ในอดีตที่ผ่านมา ประเทศไทยใช้ระบบการปกครองแบบรวมศูนย์อานาจ โดยภาครัฐส่วนกลางจะมี บทบาทเป็นผู้มีอานาจหน้าที่ ในการกาหนดกฎเกณฑ์อย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาด อย่างไรก็ตาม รูปแบบการ ปกครองในระบบดังกล่าวไม่สามารถตอบสนองต่อประเด็นท้าทายของโลกในศตวรรษที่ 21 ดังน้ัน ภาครัฐจึง จาเป็นต้องปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์และบทบาทภารกิจใหม่ โดยการส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคส่วนอื่น ๆ โดยเฉพาะภาคเอกชนและภาคประชาสังคม มีความเข้มแข็ง และสามารถเข้ามีส่วนร่วมในการตัดสินใจและ บริหารจดั การมากข้ึน ควบคไู่ ปกับการทบทวนบทบาทภารกจิ กฎระเบียบต่าง ๆ ของภาครฐั จาเป็นจะตอ้ งถูกนามาทบทวน โดย 1. การยกเลิกกฎระเบียบที่ไม่จาเป็น (Deregulation) เน่ืองจากกฎระเบียบดังกล่าวอาจจะไม่ ทันต่อการเปล่ียนแปลงและเปน็ อปุ สรรคตอ่ การดาเนนิ งานตามปกติของภาคสว่ นอนื่ ๆ 2. การแก้ไขเพิ่มเติมกฎระเบียบ (Reregulation) เนื่องจากกฎระเบียบที่มีผลใช้บังคับอยู่แล้ว แต่ขาดประสิทธิภาพในการบังคับใช้หรือไม่สนับสนุนการขับเคลื่อนประเทศได้ดีเท่าที่ควร ให้สามารถ ตอบสนองตอ่ ความเปลย่ี นแปลงและสถานการณ์ของโลกในศตวรรษท่ี 21 ไดด้ ยี งิ่ ขึ้น การปรับเปลี่ยนกลไกจากการดาเนินงานตามอานาจหน้าที่ เป็นการดาเนินงานโดยให้ ความสาคญั กับประเดน็ ภารกิจ ภูมิทัศน์โลกท่ีเปลี่ยนแปลงไปในปัจจุบัน ทาให้ระบบการปกครองรูปแบบเดิม ประสบปัญหา จึงจาเป็นต้องทบทวนและปรับเปล่ียนกลไกภาครัฐใหม่ โดยการปรับเปล่ียนจะต้องทาให้กลไก ภาครัฐดาเนินงานโดยให้ความสาคัญกับประเด็นภารกิจ (Agenda-Based) และการทางานร่วมกันเป็นเครือข่าย ของภาคสว่ นต่าง ๆ ทั้งภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คม มากกวา่ การดาเนินงานโดยยึดถือตามอานาจหน้าท่ี (Functional-Based) หรือการดาเนินงานแบบแยกสว่ น เนน้ เฉพาะประเด็นตามขอบเขตภารกิจภายใต้โครงสร้างของ กระทรวง ทบวง กรมแบบเดมิ เพื่อให้กลไกภาครัฐสามารถตอบสนองต่อเป้าหมายการพัฒนาและการขับเคลื่อน ประเทศได้อย่างแท้จรงิ การปรับเปลี่ยนองค์กรภาครัฐ จากเดิมที่เน้นการดาเนินงานตามอานาจหน้าท่ีอย่างเคร่งครัด มาเป็น องค์กรท่ีเน้นการดาเนินงานเพื่อให้บรรลุภารกิจน้ัน ก่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนกรอบความคิด ทักษะ และ พฤติกรรมคร้งั ใหญ่ - จากการยึดตามแบบแผนและตัวบทกฎหมายที่ตายตัว เป็นความยืดหยุ่นปรับตามภารกิจและ สถานการณ์ - จากการมีโมเดลการทางานเพยี งแบบเดยี ว เปน็ การยอมรับโมเดลการทางานหลากรูปแบบ - 106 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคลอ่ื นประเทศไทยสคู่ วามมั่งค่ัง มน่ั คง และย่ังยนื - จากการเน้นการดารงระบบให้คงสภาพเดิม เป็นการเน้นความสามารถในการปรับเปลี่ยนตามเง่ือนไข สภาพแวดลอ้ มทีเ่ ปล่ยี นแปลงไป - จากการเน้นรปู แบบและกระบวนการ เปน็ การเนน้ เนอื้ หาและผลลัพธ์ การปรับเปลี่ยนโครงสร้างอานาจแบบใหม่ท่ีให้ความสาคัญกับการสร้างเครือข่ายอานาจหลายขั้ว ดังกล่าว จะทาให้เกิดความโปร่งใสในการดาเนินงานมากยิ่งขึ้น เน่ืองจากทุกภาคส่วนสามารถเข้ามามีส่วน ร่วมในการตรวจสอบการดาเนินงานต่าง ๆ ได้ (Inclusion–Based Transparency) ซึ่งแตกต่างจากโครงสร้าง อานาจแบบเดิมท่ีมีลักษณะเป็นการรวมศูนย์ ทาให้มีเพียงภาครัฐเท่าน้ันที่มีอานาจดาเนินการควบคุมและ ตรวจสอบการบริหารจัดการทุกด้าน สง่ ผลใหค้ วามโปร่งใสมีระดบั ต่า (Exclusion–Based Transparency) ในทางปฏิบัติ การปรับเปลี่ยนจากการดาเนินงานที่ยึดถือตามอานาจหน้าที่ เป็นการดาเนินงาน โดยใหค้ วามสาคญั กบั ประเดน็ ภารกจิ มีเรอื่ งทจี่ ะต้องคานงึ ถงึ ดังน้ี (1) วิธีการหรือกระบวนการที่จะทาให้รูปแบบโครงสร้างและการกาหนดหน่วยงานภาครัฐมี “ความ ยืดหยุ่น” โดยไม่ยึดถือรูปแบบโครงสร้างตามข้อบทกฎหมายอย่างเคร่งครัดจนกลายเป็นอุปสรรคต่อการ ปฏิบตั งิ าน (2) วิธกี ารหรอื กระบวนการที่จะทาใหโ้ ครงสรา้ งของหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งแต่เดิมมีลักษณะเป็นหน่วยงาน ถาวร “จัดตังได้ยาก” และ “ยบุ เลิกไดย้ าก” ใหเ้ ปน็ หน่วยงานทสี่ ามารถ “จัดตังไดง้ ่าย” และ “ยุบเลกิ ได้ง่าย” (3) วิธีการหรือกระบวนการที่จะทาให้การดาเนินงานตามภารกิจของหน่วยงาน มีลักษณะเป็นการให้ อิสระในการกาหนด “โปรแกรม” หรือ “โครงการ” ที่สอดรับกับภารกิจหลัก และสามารถปรับให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ ตราบเท่าทโ่ี ปรแกรมหรอื โครงการเหล่าน้ันยังอยู่ภายใต้กรอบภารกิจของหน่วยงานดังกล่าว หรือสอด รับกบั วสิ ยั ทัศน์และกรอบยทุ ธศาสตรช์ าติ (4) วิธกี ารหรอื กระบวนการในการจดั หนว่ ยงานภาครฐั ให้สามารถ “บริการแบบเบด็ เสรจ็ ณ จดุ เดียว” (5) แนวคิดในการบริหารประเทศรูปแบบใหม่ ภาครัฐไม่จาเป็นต้องดาเนินงานทุกด้านด้วยตนเอง โดยหากภารกจิ ใดทภี่ าครฐั พิจารณาแล้วเหน็ วา่ หากมอบหมายให้ภาคส่วนอื่นดาเนินการจะสามารถตอบสนอง ต่อความต้องการของประชาชนได้ดีกว่าภาครัฐ ก็ให้ภาคส่วนอ่ืนเข้ามาเป็นผู้ดาเนินการแทนภาครัฐ ตามหลัก ที่เรียกว่า “Contestability” ในการนี้ ภาครัฐยังคงเป็นผู้กาหนดและควบคุมมาตรฐานและคุณภาพการบริหาร จัดการ การใหบ้ รกิ ารของภาคสว่ นนนั้ ๆ อยา่ งไรก็ตาม หากภารกิจบางอย่างไม่สามารถสร้างแรงจูงใจให้ภาคส่วน อ่ืนเขา้ มาดาเนนิ การได้ ภาครัฐก็จะตอ้ งรบั ภารกจิ หนา้ ท่เี หลา่ นน้ั มาดาเนนิ การเอง (6) การปรับเปล่ียนวิธีการประเมินผลและตัวชี้วัดการทางานขององค์กร จากตัวช้ีวัดประเมินผล ตามอานาจหน้าที่ในแตล่ ะองคก์ รนนั้ ๆ ทร่ี ับผิดชอบอยู่ เป็นตัวช้ีวัดเพ่ือประเมินผลการทางานของหน่วยงานที่ มีเป้าหมายเดียวกัน หรือภารกิจร่วมกัน ที่เรียกว่า “Joint KPIs” การวัดผลสัมฤทธ์ิผ่าน Joint KPIs จะ บรรลผุ ลกต็ ่อเมื่อมกี ารจัดการขอ้ มลู สารสนเทศ และการจัดการขอ้ มลู แบบบูรณาการระหวา่ งหน่วยงานต่าง ๆ - 107 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลอื่ นประเทศไทยสู่ความมงั่ ค่งั ม่ันคง และยั่งยนื (7) เพ่ือสะท้อนให้เห็นถึงผลลัพธ์ของการดาเนินงานของภาครัฐ ภาครัฐจะต้องจัดทารายงาน ให้ประชาชนได้รับทราบถึงผลของความคืบหน้าในการดาเนินงานต่าง ๆ ที่ภาครัฐได้ให้สัญญากับประชาชนไว้ หรือท่ี เรียกว่า “Citizen Report” ซ่ึงภาครัฐอาจจะรายงานให้ประชาชนได้รับทราบเป็นระยะ ในทุก ๆ ไตรมาส หรอื ทกุ ๆ ปี ขอบเขตภารกจิ และขนาดองคก์ รที่เหมาะสม วสิ ยั ทศั น์ประเทศและกรอบยทุ ธศาสตรช์ าติ จะ เปน็ ตัวกาหนดความชดั เจนในขอบเขตภารกิจของภาครัฐ จะทาให้ทราบไดว้ ่า ภารกจิ ใดท่ีภาครัฐยงั คงมบี ทบาท สาคญั และจาเปน็ ต้องดาเนินการเองต่อไป ขณะทภี่ ารกิจใดไมม่ คี วามจาเปน็ ตอ้ งดาเนินการอกี ตลอดจนภารกิจใด เป็นภารกจิ ใหมท่ ภ่ี าครฐั จะต้องรับผิดชอบดาเนนิ งาน ความชดั เจนในขอบเขตภารกิจดังกลา่ ว ยงั เปน็ ประโยชน์ตอ่ การกาหนดโครงสร้าง ขนาดและอตั รากาลงั ของหนว่ ยงานภาครฐั ท่ีเหมาะสมตามมา 1) กลมุ่ หน่วยงานภาครัฐ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี จะช่วยให้ภาครัฐสามารถทบทวนและจาแนกประเภทภารกิจ รวมทั้งรูปแบบขององค์กรและระบบการจ้างงานภาครัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยในด้านภารกิจ สามารถ จาแนกได้เปน็ 2 ประเภท ประกอบดว้ ย “ภารกิจหลกั ” และ “ภารกิจสนบั สนุน” ภารกิจหลักจะเป็นภารกิจท่ีหน่วยงานภาครัฐจาเป็นต้องดาเนินการและต้องปรับปรุงให้ดีย่ิงข้ึน อย่างต่อเน่ือง ขณะท่ีภารกิจสนับสนุน หน่วยงานภาครัฐอาจไม่จาเป็นต้องดาเนินการเอง และสามารถมอบอานาจ ให้หน่วยงานอื่น ๆ อาทิ องค์การมหาชนดาเนินการแทนได้ นอกจากนี้ ภารกิจใดที่ภาครัฐพิจารณาแล้วเห็นว่า การ มอบหมายให้ภาคเอกชนที่มีความเช่ียวชาญเฉพาะในภารกิจดังกล่าว ดาเนินการจะมีความเหมาะสม มี ประสิทธิภาพ และเกิดความคุม้ ค่ามากกว่าการดาเนินการเอง ตามหลัก (Contestability) ก็สามารถมอบหมาย ให้ภาคเอกชนดังกล่าวรับผิดชอบดาเนินการแทนได้ อันเป็นลักษณะของการจ้างหน่วยงานภายนอก (Outsourcing) สาหรับด้านรูปแบบขององค์กรและการจ้างงานภาครัฐนั้น ภารกิจใดที่ต้องรับผิดชอบดาเนินการ ด้วยตนเอง จะต้องจัดตั้งหน่วยงานขึ้นมารับผิดชอบดาเนินการเป็นการเฉพาะ และเมื่อภารกิจดังกล่าวบรรลุผล สาเร็จเป็นท่ีเรียบร้อย ก็สามารถยุบเลิกหน่วยงานให้ส้ินสุดลงตามภารกิจได้ รวมท้ัง สามารถพิจารณาจัดตั้ง หน่วยงานใหม่ตามภารกจิ ที่เกิดข้ึน ณ ช่วงน้นั และความจาเปน็ ตอ้ งดาเนินการไดต้ ่อไป กล่าวโดยสรุป แนวคิดดังกล่าวจะเป็นการปรับเปลี่ยนรูปแบบองค์กรภาครัฐของไทยจากเดิม ทม่ี ลี ักษณะจัดตัง้ และยบุ เลกิ ได้ยาก ตลอดจนให้ความสาคัญกบั การดาเนินงานบนพื้นฐานของอานาจหน้าท่ีเป็น หลัก เปลี่ยนมาเป็นองค์กรที่สามารถจัดตั้งและยุบเลิกได้ง่าย เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อการดาเนินงาน รูปแบบใหม่ที่ให้ความสาคัญกับประเดน็ ภารกิจได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ส่วนด้านการจา้ งงานภาครฐั ควรมีการปรับเปล่ียนลักษณะการจ้างงานจากที่ปัจจุบันที่ใช้ระบบ การจ้างงานตลอดชีพและเกษียณอายุราชการเม่ืออายุครบตามท่ีกฎหมายบัญญัติ (ยกเว้นกรณีประพฤติมิชอบ - 108 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลื่อนประเทศไทยสคู่ วามมั่งค่ัง มน่ั คง และยงั่ ยืน หรือกระทาความผิดร้ายแรง จึงจะถูกไล่ออกหรือปลดออกก่อนครบอายุราชการ) เป็นการจ้างงานตาม สัญญา โดยพิจารณาการจ้างงานตามภารกิจที่ภาครัฐจะต้องดาเนินการ ซ่ึงจะสอดคล้องกับระบบการ บริหารงานแบบมงุ่ ผลสมั ฤทธิ์ นอกจากนี้ ในดา้ นการจดั สรรบคุ ลากรภาครัฐ ควรมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการ จัดสรรจากเดิมที่ให้ความสาคัญกับการจัดสรรบุคลากรตามตาแหน่ง เป็นการจัดสรรบุคลากรตาม ภารกิจ เพ่ือให้สอดคล้องกับรูปแบบการดาเนนิ งานทีม่ ุ่งเน้นตามประเด็นภารกิจด้วย ในการพิจารณาเพื่อจัดสรรบุคลากรตามภารกิจจะต้องไม่ดาเนินการโดยมุ่งเน้นระบบอาวุโส เป็นสาคัญ แต่จะต้องดาเนินการตามหลักความรู้ ความสามารถ จะต้องมีการบริหารอัตรากาลังและการเคล่ือน ไหล ของบุคลากรภาครฐั อยา่ งมีประสิทธิภาพ โดย (1) พิจารณาคัดสรรคนเข้าดารงตาแหน่งจากทักษะ ความชานาญ และความสามารถของ บุคลากร โดยเป็นการคัดสรรจากภายนอกภาครัฐ (Lateral Entry) วิธีการนี้จะช่วยแก้ไขปัญหาการขาดแคลน บุคลากรระดับสูงในภาครัฐของไทยที่จะเกดิ ขนึ้ ในอนาคตอนั ใกล้ได้ดว้ ย (2) คัดสรรบุคลากรโดยพิจารณาจากทักษะ ความชานาญ ความรู้ และความสามารถเป็น สาคัญ โดยไม่คานึงถึงลาดับชั้นหรืออายุราชการของบุคคลดังกล่าว (Fast Track) ดังนั้น บุคลากรช้ันผู้น้อยที่มี ความสามารถจะมโี อกาสเข้าดารงตาแหนง่ ระดับสูงได้ตามความเหมาะสมของภารกจิ (3) ยมื ตัวบุคลากรจากภาคสว่ นอนื่ ๆ ท่ีมีความเช่ียวชาญ ความรู้ ความสามารถตามแต่ละภารกิจ เขา้ ดารงตาแหน่งในภาครฐั (Secondment)7 2) กลุ่มหนว่ ยงานรัฐวิสาหกิจ รัฐวิสาหกิจเป็นหน่วยงานที่รัฐและองค์กรในการกากับดูแลของรัฐ หรือหน่วยงานธุรกิจท่ีรัฐ เป็น เจ้าของ รวมท้ังบริษัทจากัดและห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ที่ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจมีหุ้นอยู่ด้วยเกินกว่าร้อยละ 50 ดังน้ัน รัฐวิสาหกิจจึงเป็นหน่วยงานหน่ึงในกลไกภาครัฐ และมีความจาเป็นที่จะต้องดาเนินการทบทวน 7 เพื่อให้การจัดโครงสร้างหน่วยงานและการจ้างงานภาครัฐในรูปแบบใหม่สามารถดาเนิน ไปอย่างมีประสิทธิภาพ จาเป็นจะต้องปรับเปล่ียนอานาจตามกฎหมายในการปรับปรุงโครงสร้างภาครัฐของ ไทย ซ่ึงในปัจจุบัน อานาจในการปรับปรุงโครงสร้างดังกล่าว เป็นอานาจของรัฐสภา โดยการปรับปรุงหน่วยงาน ภาครัฐในระดับกระทรวง ทบวง กรม จะต้องดาเนินการผ่านการตรากฎหมายระดับพระราชบัญญัติ ซ่ึงต้อง ได้รับคาแนะนาและยินยอมจากรัฐสภา ทาให้การดาเนินการมีกระบวนการที่ซับซ้อนและใช้เวลามาก พอสมควร อันเป็นอุปสรรคต่อการดาเนินการตามภารกิจภาครัฐรูปแบบใหม่ที่ให้ความสาคัญกับประเด็นภารกิจ ดังน้ัน จึงควรมีการเปล่ียนแปลงรูปแบบการดาเนินการดังกล่าว โดยกาหนดให้เป็นอานาจของฝ่ายบริหารโดยตรง ซ่ึงจะช่วยให้สามารถดาเนินการได้ง่ายและรวดเร็วย่ิงขึ้น เหมาะสมกับประเภทภารกิจที่ฝ่ายบริหารจะต้อง ดาเนนิ การ - 109 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคลื่อนประเทศไทยสคู่ วามมัง่ ค่งั มน่ั คง และยงั่ ยืน ขอบเขตภารกิจและการยุบเลิกด้วยเช่นกัน โดยหลักเกณฑ์ในการทบทวนขอบเขตภารกิจ รวมทั้งการยุบเลิก รัฐวิสาหกิจ เพื่อให้เกิดความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ประกอบด้วยหลักเกณฑ์ 3 ประการ ดังต่อไปนี้ 1) เป็นรัฐวิสาหกิจท่ีมีภารกิจในการให้บริการเก่ียวกับโครงสร้างพื้นฐานท่ีสาคัญของประเทศ (Infrastructure–Service Provider) หรือไม่ 2) เป็นรัฐวิสาหกิจที่มีภารกิจสาคัญในการเพ่ิมขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ หรือไม่ 3) เป็นรัฐวสิ าหกจิ ท่มี ีภารกจิ ในการใหบ้ ริการประชาชน หรือไม่ เม่อื พจิ ารณาทบทวนขอบเขตภารกิจรัฐวิสาหกิจของไทยตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวแล้ว จะได้ข้อสรุป ทสี่ ามารถจาแนกเป็นกรณีตา่ ง ๆ ได้ 3 กรณี ดงั น้ี (1) รฐั วิสาหกิจใดมีขอบเขตภารกิจที่ไม่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ข้างต้น จะต้องดาเนินการ ยบุ เลกิ ปรับเปลีย่ นภารกิจ หรอื มอบหมายให้หนว่ ยงานในภาคส่วนอืน่ ๆ ดาเนินการแทน (2) รัฐวิสาหกิจใดมีขอบเขตภารกิจที่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ข้างต้น แต่เม่ือพิจารณาตาม หลักประสิทธิภาพ ความคุ้มค่า และความเหมาะสม (Contestability) แล้ว พบว่า ภาคส่วนอ่ืน อาทิ ภาคเอกชน หรือทอ้ งถิน่ สามารถดาเนนิ การได้ดกี ว่า จะตอ้ งยุบเลกิ และมอบหมายใหภ้ าคส่วนอืน่ ๆ ดาเนนิ การแทน (3) รัฐวิสาหกิจใดมีขอบเขตภารกิจท่ีสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ข้างต้น แต่การดาเนินการ ในช่วงที่ผ่านมา ยังไม่มีคุณภาพหรือประสิทธิภาพดีเพียงพอ จะต้องปรับปรุงคุณภาพและยกระดับ ประสิทธิภาพ ให้สามารถบริการประชาชนไดด้ ยี ่งิ ข้นึ 3) กล่มุ หน่วยงานทอ้ งถิน่ กลไกภาครัฐของไทยในปัจจุบัน ยังคงใช้ระบบการปกครองในรูปแบบการรวมศูนย์อานาจ ทาให้ ภาครัฐส่วนกลางยังคงเป็นภาคส่วนสาคัญที่มีอานาจหน้าที่ในการพิจารณาและตัดสินใจประเด็นต่าง ๆ อย่างไรกต็ าม การดาเนินการดังกล่าวอาจไม่สอดคล้องกับสถานการณ์ของประเทศในปัจจุบันท่ีภาคส่วนต่าง ๆ รวมทั้งภาคท้องถ่ินมีบทบาทและภารกิจในการบริหารจัดการตนเองมากยิ่งข้ึน ดังน้ัน เพื่อให้ภาครัฐสามารถ ตอบสนองตอ่ ความเปลีย่ นแปลงทเี่ กดิ ขึน้ ได้อย่างเหมาะสม ภาครัฐจึงควรปรับเปล่ียนโครงสร้างอานาจ ผ่านการถ่าย โอนอานาจและความรับผิดชอบในการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ให้แก่ท้องถิ่นมากยิ่งข้ึน ซ่ึงเป็นไปตามหลักการ กระจายอานาจ โดยการถ่ายโอนอานาจดังกล่าว จะต้องกาหนดระยะเวลาในการดาเนินการให้ชัดเจน แต่ไม่ จาเป็นต้องถา่ ยโอนอานาจและความรบั ผิดชอบใหแ้ กท่ อ้ งถน่ิ ทุกแห่งพรอ้ มกนั ท้ังประเทศ เนื่องจากความพร้อม ของท้องถิ่นแต่ละพื้นที่อาจมีระดับแตกต่างกัน จึงสมควรถ่ายโอนอานาจและความรับผิดชอบตามความ เหมาะสมและศักยภาพของแตล่ ะท้องถ่ิน - 110 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคล่อื นประเทศไทยสู่ความมง่ั คัง่ ม่ันคง และยงั่ ยืน อยา่ งไรก็ตาม กอ่ นการดาเนินการกระจายอานาจดังกล่าว ภาครัฐส่วนกลางจะต้องสร้างความพร้อม แกท่ อ้ งถนิ่ เพ่ือให้ทอ้ งถิ่นสามารถดาเนินการตามภารกจิ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมายไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ โดยเฉพาะอย่างย่ิง การเตรียมความพร้อมในด้านความสานึกรับผิดชอบ พร้อมท้ัง ยกระดับขีดความสามารถของท้องถ่ินให้มี ประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน ท้ังในด้านการบริหารจัดการและเร่ืองอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากท้องถิ่นอยู่ภายใต้การ ควบคุมของภาครฐั ส่วนกลางมาเป็นเวลานาน จงึ อาจขาดทักษะความร้ใู นการบรหิ ารจดั การในประเด็นตา่ ง ๆ การสร้างภาคีความรว่ มมอื ระหวา่ งภาครฐั กับภาคส่วนตา่ ง ๆ การเปล่ยี นกระบวนทศั นจ์ าก “การปกครอง” มาสู่ “การรว่ มบรหิ าร จัดการ” ในอดตี ภาครฐั อาจจาเป็นต้องรวมศูนย์อานาจไวเ้ พ่ือความม่นั คง เนื่องจากแต่เดิมประเทศไทยต้อง เผชิญกับภัยคุกคามจากภายนอก แต่ในปัจจุบันสถานการณ์ของโลกไดเ้ ปลีย่ นแปลงไป ทาให้โครงสรา้ งการ ควบคมุ ดังกลา่ วไมเ่ อ้ือต่อการบริหารจัดการของภาครฐั อีกต่อไป มิเพียงเทา่ น้ัน ภาคประชาสังคม มีความรู้ เข้าถึง ข้อมูลขา่ วสาร และมีความพร้อมมากขนึ้ กว่าเดิม ดังนั้น ภาครัฐส่วนกลางจาเป็นจะต้องปรับลดอานาจ หน้าท่ี และ ภารกิจต่าง ๆ ลง และโอนถ่ายอานาจ หนา้ ที่ และภารกิจดงั กล่าว ไปสู่ “การร่วมบรหิ ารจัดการ” หรือ “การ บริหารจัดการตนเอง” ของท้องถิน่ และชมุ ชนใหม้ ากข้นึ อย่างไรกด็ ี การบริหารจัดการภาครัฐในส่วนภูมิภาคนั้น ยังจะต้องคงอยู่ในอีกระยะหนึ่ง โดยในระหว่าง การโอนถ่ายอานาจ หน้าที่ และภารกิจภาครัฐ ไปสู่การบริหารจัดการตนเองของท้องถิ่นและชุมชน การ บริหารจัดการส่วนภูมิภาคจะทาหน้าท่ีเป็นตัวเชื่อมโยงและประสานงานที่สาคัญระหว่างภาครัฐส่วนกลาง กับ การบริหารจัดการของท้องถิ่นและชุมชน ผ่านแนวคิดใหม่ที่เรียกว่า “การร่วมบริหารจัดการ” ซึ่งจะเป็น การปรับเปล่ยี นกระบวนทัศน์ครัง้ ใหญ่ 1) จากการเน้นความม่ันคงมาสู่การเน้นความมั่งคั่ง ในอดีตที่ผ่านมา ภาครัฐจะมุ่งเน้นและให้ ความสาคัญกับ “ความมั่นคง” ของชาติเป็นสาคัญ แต่ในปัจจุบัน สถานการณ์โลกได้เปลี่ยนไป “ความม่ังคั่ง” ได้ เขา้ มามบี ทบาทแทนที่ ซง่ึ หากมีความม่งั คง่ั เกิดขึ้นอย่างแท้จริง และกระจายตัวอย่างเท่าเทียม เป็นธรรม ครอบคลุม และทว่ั ถึง ความมนั่ คงในชาตกิ จ็ ะเกิดตามขนึ้ มา 2) ปรบั เปลย่ี นจากการใช้ “อานาจในแนวต้ัง” ไปสู่การใช้ “อานาจในแนวนอน” มากข้ึน น่ันหมายถึง การปรับเปลี่ยนการทางานที่เบ็ดเสร็จเด็ดขาดโดยภาครัฐไปสู่การทางานแบบสานพลัง “ประชารัฐ” โดยมีภาครัฐ ภาค ประชาสงั คม และภาคเอกชน เขา้ มาบูรณาการการทางานรว่ มกนั 3) เป็นการเปล่ียนจากอานาจนยิ มเปน็ การปลูกฝงั ระบอบประชาธิปไตย เพราะ “การร่วมบริหารจัดการ” นัน้ เป็นฐานความความคดิ หลักในระบอบประชาธปิ ไตยอยู่แล้ว - 111 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลอ่ื นประเทศไทยสูค่ วามมง่ั คงั่ มน่ั คง และยงั่ ยืน การยกระดบั ขดี ความสามารถในการตอบสนองตอ่ ความเปลยี่ นแปลง หากพิจารณาถึงสถานการณ์โลกในปัจจุบัน อาจจะให้คานิยามเก่ียวกับโลกในปัจจุบันได้ด้วยคาว่า VUCA (Volatility, Uncertainty, Complexity, Ambiguity) กล่าวคือ โลกในปัจจุบันเป็นโลกที่เต็มไปด้วย ความผันผวน ความไม่แน่นอน ความซับซ้อน และความไม่ชัดเจนที่มากข้ึน ดังน้ัน กลไกภาครัฐท่ีใช้อยู่ในปัจจุบัน อาจจะไม่สอดคล้องหรือไมส่ ามารถรบั มอื กับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเหล่านั้นได้ ดังจะเห็นจากการที่ประเทศไทย ตอ้ งเผชญิ กับปญั หาในเรื่องต่าง ๆ หลายประการ ในชว่ งท่ีผ่านมา เช่น - ปัญหาการประมงที่ผิดกฎหมาย โดยขาดการรายงานและไร้การควบคุม (Illegal, Unreported and Unregulated Fishing - IUU) - ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ (Climate Change) - ปญั หาการโยกยา้ ยถ่นิ แบบไมป่ กติของชาวโรฮนี จา ปัญหาเหล่านี้ประเทศไทยยังไม่สามารถรับมือได้อย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ เพราะฉะน้ันการ ออกแบบระบบและกลไกภาครัฐเพื่อตอบสนองต่อประเด็นท้าทายต่าง ๆ จึงเป็นส่ิงที่ต้องดาเนินการอย่าง เรง่ ดว่ น การพัฒนาขีดความสามารถเพ่ือตอบสนองต่อความเปลี่ยนแปลง เพ่ือรับมือกับสถานการณ์ โลกท่ีเต็มไปด้วยความผันผวน ความไม่แน่นอน ความซับซ้อน และความไม่ชัดเจนที่มากขึ้น ระบบและกลไกภาครัฐ จะต้องถูกออกแบบข้ึนมาใหม่ เพ่ือให้มีขีดความสามารถในการบริหารจัดการและรับมือกับการเปลี่ยนแปลง ทีจ่ ะเกดิ ขึน้ โดยมอี งคป์ ระกอบท่สี าคญั 4 ประการ ดังตอ่ ไปนี้ (1) การบริหารจดั การความเส่ยี งประเทศ (Country Risk Management) เม่ือประเทศไทยประสบกับสถานการณ์วิกฤต ภาครัฐจะต้องมีแผนรับมือและแผนบริหารจัดการ ความเสี่ยงต่าง ๆ ท่ีมีประสิทธิภาพ สามารถเขา้ ถงึ ปัญหาและแก้ไขปัญหาได้อย่างทันท่วงที เช่น การบริหารจัดการ ความเส่ียงประเทศเมื่อเกิดภาวะความผันผวนทางเศรษฐกิจซึ่งเกิดจากปัจจัยภายนอก อาทิ ปัญหาการ เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างรวดเร็วและรุนแรง ผลกระทบจากการดาเนินนโยบายของประเทศอ่ืน อาทิ มาตรการ Quantitative Easing หรอื ปัญหาการเกิดสงครามค่าเงิน เปน็ ตน้ (2) การบรหิ ารจดั การภยั คุกคามนอกรูปแบบ (Non-Conventional Threats Management) ภาครัฐจะตอ้ งสรา้ งกลไกที่สามารถรับมือกับภัยคุกคามท่ีมีความหลากหลายและซับซ้อนมากย่ิงข้ึน ซึ่งอาจเป็นภัยคุกคามที่เคยเกิดขึ้นมาแล้วหรือเป็นภัยคุกคามรูปแบบใหม่ เช่น ปัญหาการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ ปญั หายาเสพติด ภัยคกุ คามในโลกไซเบอร์ และปัญหาการก่อการรา้ ยขา้ มชาติ เป็นตน้ - 112 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลือ่ นประเทศไทยสู่ความมงั่ คง่ั มนั่ คง และยัง่ ยนื (3) การบริหารจัดการในสถานการณภ์ าวะวิกฤต (Crisis Management) เมื่อเกิดสถานการณ์วิกฤต ภาครัฐจะต้องมีกลไกในการบริหารจัดการสถานการณ์เหล่าน้ัน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถรองรับและแก้ไขปัญหาได้อย่างทันท่วงที ท่ัวถึง และรวดเร็ว เพ่ือยับย้ังไม่ให้ สถานการณ์วิกฤตรุนแรงหรือบานปลายมากขึ้นกว่าเดิม โดยภาครัฐจะต้องให้ความสาคัญกับการบริหาร จัดการ เพื่อแก้ไขสถานการณ์วิกฤตแบบบูรณาการร่วมกันกับทุกภาคส่วน ตั้งแต่ก่อนเกิดเหตุการณ์ ระหว่าง เกิดเหตุการณ์ และการเยียวยาภายหลังเหตุการณ์วิกฤต ในบางกรณี เช่น ในสถานการณ์อุทกภัย ภาครัฐ จะต้องใช้อานาจสั่งการอย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาดในการอพยพเคลื่อนย้ายประชาชนออกจากพื้นที่ประสบภัย หรือยับยั้งผลกระทบที่เกิดขึ้นให้มีความเสียหายน้อยท่ีสุด ส่วนในกรณีอื่น ๆ ภาครัฐอาจมอบหมายภารกิจให้ ภาคส่วนอื่น ๆ ดาเนินการแทนหรือดาเนินการเองได้ตามความเหมาะสม รวมท้ัง ในบางกรณี ภาครัฐอาจทา หนา้ ทเ่ี ป็นผปู้ ระสานงานให้แตล่ ะภาคส่วนเม่ือมีความจาเป็นต้องผนึกกาลงั กันระหวา่ งภาคส่วนตา่ ง ๆ ด้วย (4) การบรหิ ารจัดการสถานการณภ์ าวะวิกฤตทสี่ ามารถคาดการณไ์ ด้ (Predictable Surprises) สถานการณว์ กิ ฤตในบางกรณี เป็นสงิ่ ที่ภาครฐั สามารถคาดการณ์และควบคุมได้ล่วงหน้า แต่ภาครัฐ กลบั เพกิ เฉยไมด่ าเนนิ การ เนื่องจากไม่ตระหนักถึงความสาคัญและจาเป็น จนเกิดเป็นความเสียหายอย่างใหญ่หลวง ในเวลาตอ่ มา อย่างในกรณีของการตรงึ ค่าเงินบาทจนกระทั่งเกิดวิกฤตต้มยากุ้ง ดังนั้น ภาครัฐต้องปรับเปลี่ยน กระบวนการทางานใหม่ โดยให้ความสนใจในการป้องกันมากกว่าการคิดหาหนทางแก้ไข เพ่ือป้องกันไม่ให้ เกิดสถานการณ์วิกฤตข้ึนมาในอนาคต นอกจากน้ี ภาครัฐจะต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการทางานจากเดิมที่มุ่งเน้น รปู แบบการทางานในเชงิ รบั มาเปน็ รปู แบบการทางานในเชงิ รกุ มากข้ึน หากประเทศไทยสามารถปรับเปลี่ยนการบรหิ ารจดั การของภาครัฐได้อย่างเหมาะสม เพ่ือเตรียมความ พร้อมในการรับมือกับความเปล่ียนแปลงได้ ก็จะสามารถนาพาให้ประเทศไทยไปสู่อนาคตท่ีมีความมั่นคง มั่งคั่ง และยัง่ ยืนในสภาวการณ์ที่โลกมีความผนั ผวน ความไมแ่ นน่ อน ความซบั ซ้อน และความไมช่ ัดเจนได้ การปรับเปล่ยี นด้านการบริหารจดั การการเงินและทรัพยากร ในการขับเคล่อื นประเทศไปสเู่ ปา้ หมายตามยุทธศาสตรท์ ่ีได้กาหนดไว้ จาเป็นจะตอ้ งมกี ารจัดสรร งบประมาณทเ่ี พียงพอ รฐั จึงต้องพจิ ารณาจัดหาแหลง่ เงินทนุ ใหส้ อดรับกบั แหล่งที่ใช้ไปของเงินทุน การจัดทางบประมาณตามโครงการ (Program Based Budgeting) ในอดีตพบว่า ประเทศไทยจดั ทางบประมาณของประเทศในรูปแบบปีต่อปี ซ่งึ ไม่สอดคล้องกับยทุ ธศาสตร์ชาติท่ีมกี ารจดั ทาเป็น ช่วงเวลา คอื ระยะเวลายาว 20 ปี ระยะปานกลาง 5 ปี และระยะสั้น 1 ปี จึงจาเปน็ ต้องมีการปรับเปลยี่ น ระบบการจัดทางบประมาณ โดยเปน็ การจดั ทางบประมาณตามโครงการ (Program-Based Budgeting) ทส่ี อด รับกับวิสยั ทัศน์และกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ซ่งึ ในขั้นแรกต้องมีการวเิ คราะห์และแปลงวาระตามยุทธศาสตร์ออกมา - 113 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคลอ่ื นประเทศไทยสู่ความม่งั ค่ัง มัน่ คง และย่ังยนื เปน็ โครงการต่าง ๆ ต่อจากนั้นจงึ ดาเนนิ การวิเคราะห์ความสาคัญ ระยะเวลาและงบประมาณในแต่ละโครงการ เช่น โครงการระยะยาวบางโครงการอาจต้องลงทุนตั้งแต่ปัจจุบันอย่างต่อเนื่องไปตลอดระยะเวลา 20 ปี หรือ โครงการท่ีต้องเร่งดาเนินการในช่วงปัจจุบันแต่จะเห็นผลในอีก 5 ปีข้างหน้า หรือโครงการระยะสั้นที่ ดาเนินการแล้วเสรจ็ ภายใน 1 - 3 ปี เป็นตน้ หากยึดกรอบยุทธศาสตร์ชาติเป็นหลัก จะพบว่า ระบบการจัดทางบประมาณควรจะมีลักษณะ ดงั ต่อไปน้ี - การจัดทางบประมาณโดยคานึงถึงเหตุผล ความจาเป็นและความเร่งด่วนของแต่ละโครงการ มากกว่าเพ่ือตอบสนองต่อผลประโยชน์ทางการเมืองอย่างท่ีเป็นอยู่เดิม - การจัดทางบประมาณตามโครงการ ต้องทาการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการก่อน เช่น โครงการพัฒนาเพื่อปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจให้เป็นระบบเศรษฐกิจดิจิตอล หรือ โครงการพัฒนา เพื่อให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางทางการค้าของภูมิภาค เป็นต้น โดยต้องสามารถแจกแจงให้เห็นอย่างเป็น รูปธรรม มรี ายละเอียด ศกึ ษาผลกระทบ และสามารถบง่ ช้ีผลลพั ธข์ องโครงการทีเ่ ห็นได้อยา่ งชดั เจน - หากโครงการใดไมป่ ระสบผลสาเรจ็ ภาครัฐกต็ อ้ งมอี านาจในการยุบ เปล่ียนแปลง และยตุ ิโครงการ องคป์ ระกอบของการจัดทางบประมาณตามโครงการ การจดั ทางบประมาณตามโครงการ ประกอบไปด้วย 1. การจัดทางบประมาณประจาแบบปีต่อปี (Routine-Based Budgeting) ต้องพิจารณาโครงการ ตามงบประมาณแบบปีต่อปีว่า จะต้องใช้งบประมาณอย่างไร และโครงการดังกล่าวน้ันจะต้องเช่ือมโยง เป็น ฐาน หรือนาไปต่อยอดการพัฒนาโครงการอ่ืน ๆ ท่ีจะก่อให้เกิดผลประโยชน์ต่อโครงการตามงบประมาณระยะปาน กลางและระยะยาวในเรอื่ งใด 2. การจัดทางบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic-Based Budgeting) เป็นการลงทุนเพื่ออนาคต อาทิ การบริหารจัดการป่า การบริหารจัดการน้าทั้งระบบ การพัฒนาระบบรางเพื่อสนับสนุนให้ประเทศไทยเป็น ศูนยก์ ลางลอจิสตกิ ส์ เปน็ ต้น 3. การจัดทางบประมาณเพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการสนองตอบการเปล่ียนแปลง โดยการใช้ หลักการป้องกันล่วงหน้า ซึ่งให้ความสาคัญกับการป้องกันเหตุ (มากกว่าการแก้ไขเมื่อเหตุเกิดแล้ว) หรือรองรับ เหตุการณ์ที่คาดไม่ถึง ดังที่ทราบกันดี การเกิดภัยพิบัติแต่ละครั้งหากไม่มีการเตรียมการป้องกันล่วงหน้า จะ ก่อให้เกิดความเสียหายเป็นจานวนมาก จึงจาเป็นต้องตระหนักถึงงบประมาณในการเตรียมการป้องกันภัยพิบัติ มากกว่าการแก้ไขปัญหาเม่ือเกิดความเสียหายขึ้นแล้ว ดังนั้น การจัดทางบประมาณแบบน้ีจึงเป็นแบบเตรียม ความพร้อมเพ่ือรับมือกับเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนในลักษณะการใช้มาตรการป้องกันเชิงรุก มากกว่าการแก้ไขเม่ือเกิด เหตุการณ์วิกฤตแล้ว ซึ่งเป็นมาตรการเชิงรับ ขณะเดียวกันก็จะต้องมีการจัดสรรงบประมาณบางส่วน เพื่อไปจัดการ กบั เหตุการณท์ ีเ่ กดิ ข้นึ ทีค่ าดไม่ถึงด้วย เชน่ การเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาตทิ ่ไี ม่อาจคาดเดาได้ล่วงหนา้ เป็นต้น - 114 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคล่ือนประเทศไทยสู่ความมั่งค่งั มั่นคง และย่ังยืน การบรหิ ารจัดการงบประมาณในองคร์ วม การจัดทางบประมาณแบบองค์รวมจะต้องยึด ตามวิสัยทัศน์และกรอบยุทธศาสตร์ชาติเป็นสาคัญ โดยงบประมาณแผน่ ดนิ จะต้องก่อใหเ้ กิดผลสัมฤทธ์ิ โดย ตอ้ งมีข้อตกลงในการปฏบิ ัติงาน (Performance Agreement) ว่าถ้าไดร้ บั งบประมาณไปใช้ จะเกดิ ผลสัมฤทธ์ทิ ี่ เป็นประโยชน์อยา่ งแท้จรงิ กบั ประชาชนและประเทศชาติอย่างไร และจะต้องจดั ทารายงานตอ่ ประชาชน (Citizen Report) ด้วย (ดูรปู ที่ 4.3) รปู ท่ี 4.3 : การบริหารจดั การงบประมาณแบบองคร์ วม ในการบริหารจัดการงบประมาณในองค์รวมจะมีกลุ่มผู้ที่เกี่ยวข้องได้แก่ คณะกรรมการขับเคล่ือน ยทุ ธศาสตรช์ าติ รฐั บาล สานกั งบประมาณของรฐั สภา และประชาชน ระบบราชการแบบไรร้ อยต่อ “ระบบราชการแบบไร้รอยต่อ” เป็นการบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศของภาครัฐ โดยการสร้าง ฐานข้อมูลสารสนเทศขนาดใหญ่ (Big Data) ที่เป็นเอกภาพ บูรณาการ และประสานเชื่อมโยงบนดิจิตอล แพลตฟอร์ม เพ่ือให้มีการนาข้อมูลสารสนเทศมาประมวลผลผ่านแผนปฏิบัติการและการจัดการข้อมูลสารสนเทศ (Engagement Model) ซ่ึงจะทาการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจระดับ ยุทธศาสตรแ์ ละระดับบริหารจดั การของประเทศ อาทิ - 115 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคลอื่ นประเทศไทยสูค่ วามมั่งคั่ง มั่นคง และยง่ั ยืน - การตรวจสอบความโปรง่ ใสของภาครฐั - การปราบปรามการทจุ รติ คอรัปช่นั - การพัฒนาขีดความสามารถของมนุษย์ - การวางแผนทางด้านการเกษตร - การบริหารจดั การทรัพยากรและพลังงาน - การเตรียมการเพือ่ ป้องกนั และรบั มือภยั พบิ ตั ธิ รรมชาติ - การวางแผนทางดา้ นโลจสิ ติกสแ์ ละการขนส่ง - การบริหารจดั การเมืองอัจฉรยิ ะ รวมถึงการเปิดเผยข้อมูล (Open Data) และการให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ (Smart Services) กับประชาชนและภาคสว่ นตา่ งๆ การบูรณาการบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศของภาครัฐ เป็นหัวใจสาคัญของการสร้าง “รัฐที่ น่าเชื่อถือ” (Credible Government) สร้าง “รัฐบาลที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง” (People-Centered Government) และสร้าง “รฐั บาลท่ีมีความโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้” (Open Government) ให้ เกิดขนึ้ ไดอ้ ย่างเป็นรปู ธรรม ที่สาคัญ การบูรณาการบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศของภาครัฐ จะทาให้ภาครัฐและภาคส่วน ตา่ ง ๆ สามารถประสานเช่ือมโยงและแลกเปลยี่ นข้อมลู สารสนเทศซงึ่ กนั และกนั ใน ๓ ระดบั ดว้ ยกัน คือ 1) การเช่อื มโยงขอ้ มูลระหวา่ งหนว่ ยงานภาครัฐ (Government to Government – G toG) การสร้างความเชื่อมโยงของข้อมูลสารสนเทศระหว่างหน่วยงานภาครัฐด้วยกัน จะเป็นประโยชน์ ต่อการจัดการข้อมูลข่าวสารและการตัดสินใจในเชิงยุทธศาสตร์ ในการบริหารจัดการปกติ และในการบริหาร จัดการภาวะวิกฤต เช่น กรณีท่ีเกิดภัยพิบัติธรรมชาติ เร่ืองแรงงานข้ามชาติ เร่ืองการค้ามนุษย์ เรื่องยาเสพติด เป็นตน้ ซ่งึ การสร้างความเช่ือมโยงของข้อมลู สารสนเทศระหว่างหน่วยงานภาครัฐจะช่วยแก้ไขปัญหาปัจจุบันที่ หน่วยงานภาครัฐแต่ละองค์กรดูแลและจัดการข้อมูลสารสนเทศของตนเองอย่างเป็นเอกเทศ ทาให้การตัดสินใจไม่ สามารถดาเนนิ การได้อย่างครอบคลมุ และครบถว้ น รวมทัง้ ยงั ขาดความโปรง่ ใส ไมส่ ามารถตรวจสอบได้ 2) การเช่ือมโยงขอ้ มลู ระหว่างหน่วยงานภาครัฐและภาคธรุ กจิ (Government to Business – G to B) การเชื่อมโยงข้อมูลสารสนเทศระหว่างหน่วยงานภาครัฐและภาคธุรกิจ จะช่วยยกระดับขีด ความสามารถในการแขง่ ขนั ของภาคเอกชนได้ดยี ่ิงข้ึน - 116 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลอื่ นประเทศไทยสูค่ วามมง่ั ค่งั มัน่ คง และยงั่ ยืน 3) การเชอื่ มโยงขอ้ มูลระหวา่ งหน่วยงานภาครฐั และประชาชน (Government to People – G to P) การเช่ือมโยงข้อมูลสารสนเทศระหว่างหน่วยงานภาครัฐและประชาชน จะช่วยยกระดับขีด ความสามารถในการให้บริการสาธารณะของภาครัฐแก่ประชาชนในสังคมให้เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพมาก ยงิ่ ข้ึน กล่าวโดยสรุป กลไกภาครัฐเป็นกลไกที่มีความสาคัญท่ีสุดในการขับเคลื่อน Thailand 4.0 เน่ืองจาก เป็นกลไกท่ีมีขนาดใหญ่และมีศักยภาพระดับสูง ทั้งในด้านอานาจหน้าที่ตามกฎหมาย ทรัพยากร เครือข่ายและ อัตรากาลัง จึงเป็นกลไกที่มีสถานะเป็นเสมือน “คานงัด” ในการขับเคลื่อนประเทศไทยไปสู่อนาคตที่ดีย่ิงขึ้น ดงั นั้น การดาเนนิ การตามวาระการปรับเปลี่ยนกลไกภาครัฐท้ัง 7 ประการดังกล่าวมานี้ จะช่วยให้กลไกภาครัฐ สามารถใช้ศักยภาพที่มีอยู่ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น และสามารถขับเคลื่อนประเทศไทยไปสู่การเป็น ประเทศในโลกที่หน่ึง พร้อมกบั ความม่ันคง ม่นั ค่งั และยงั่ ยืนอยา่ งแท้จริงได้เป็นผลสาเรจ็ ต่อไป - 117 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลอ่ื นประเทศไทยสคู่ วามมง่ั คง่ั ม่ันคง และยงั่ ยนื ตอนท่ี 5 : ระบบการบรหิ ารจดั การการขับเคลอ่ื น Thailand 4.0 เพื่อใหก้ ารขับเคลื่อนโมเดล Thailand 4.0 บรรลผุ ล จะต้องมกี ารวางระบบการบริหารจัดการเป็น 3 ระดบั ดว้ ยกัน ได้แก่ 1. คณะกรรมการกากบั ดแู ลนโยบาย (Governing Body) 2. คณะทางานวางแผนการ พัฒนาตามกรอบนโยบาย (Designing Body) และคณะทางานในการขับเคลื่อนนโยบาย (Executing Body) (ดงั รปู ท่ี 5.1) คณะกรรมการกากบั ดูแลนโยบาย คณะกรรมการกากบั (Governing Body) ดูแลนโยบาย คณะทางานออกแบบ คณะทางาน คณะทางาน ออกแบบ (Designing Body) Thailand 4.0 กลาง รายวาระ/คลสั เตอร์ วาระ 1 23 บ่มเพาะ 4 5 สร้างกลไก 6 เตรียมกาลงั ผปู้ ระกอบการ สรา้ งความเขม้ แขง็ เศรษฐกิจระดบั เชือ่ มประเทศไทย คนสู่ 4.0 พฒั นาคลัสเตอร์ ของ18 คลัสเตอร์ จังหวดั สปู่ ระชาคมโลก คลสั เตอร์ อุตสาหกรรม อุตสาหกรรม อตุ สาหกรรม อุตสาหกรรม อุตสาหกรรม สาธารณสุข อาหารเกษตร เทคโนโลยชี ั้นสูง ดจิ ติ อลสมองกลฝงั ตวั สร้างสรรค์ คณะทางานในการขบั เคลอื่ น หน่วยงานขับเคลื่อนแต่ละกระทรวง (Executing Body) รูปท่ี 5.1 : ระบบการบรหิ ารจดั การการขบั เคล่ือน รายละเอยี ดการกากบั ดูแล (Governance Structure) 1. คณะกรรมการกากับดูแลนโยบาย (Governing Body) มีบทบาทหนา้ ท่ีในการ  เชื่อมโยงแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม และยุทธศาสตร์ความ มัน่ คง  บรู ณาการเชิงนโยบายและยุทธศาสตรร์ ะหวา่ งกระทรวงและภาคส่วนตา่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วข้อง 2. คณะทางานวางแผนการพฒั นาตามกรอบนโยบาย (Designing Body) - 118 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลือ่ นประเทศไทยสู่ความม่ังคัง่ มน่ั คง และย่งั ยนื ทีมบริหารจัดการสว่ นกลาง Thailand 4.0 มีหนา้ ทีค่ ือ  ออกแบบ กาหนดแนวทางการพฒั นางานในแตด่ า้ น หรือกล่มุ คลัสเตอร์  วางแผนทนี่ าทางของภาพรวม (Roadmap) ของการขับเคลื่อนในแตล่ ะวาระ  กาหนดเปา้ หมาย และตวั ชีว้ ัดผลสัมฤทธขิ์ องงานในภาพรวม  กาหนดและบริหารจดั การดาเนนิ งานในภาพรวม  จัดคาของบประมาณกลางเพ่ือการขับเคลอ่ื นกจิ กรรมในแต่ละคลัสเตอร์ที่มีความจาเป็น เร่งดว่ น (Special Funding)  ประเมินผลการดาเนินงานในภาพรวม และตดิ ตามประเมนิ ผลโครงการสาคัญ (Flagship Project)  ส่ือสารและประชาสัมพันธก์ ารการขบั เคล่อื นนโยบายในภาพรวม ทีมคณะทางานในวาระแต่ละกลุ่ม โดยมีตัวแทนจากกระทรวงท่ีเกี่ยวข้องมีบทบาทหน้าทีค่ ือ  เปน็ ศูนย์กลางของการพัฒนารายคลัสเตอร์ใน Thailand 4.0 เปน็ ตัวกลางในการเชอื่ มโยงการ ทางานภายในแตล่ ะกระทรวง (Focus Point & Center contact point within ministry)  รวบรวมความต้องการ ประเด็น ปัญหาของพัฒนาในแต่ละด้านอุตสาหกรรม  ตัง้ เปา้ หมาย และพัฒนาตัวช้ีวดั ผลสัมฤทธร์ิ ะดับยุทธศาสตรแ์ ละระดับปฏิบตั ิการ  จดั ลาดับความสาคัญของโครงการขบั เคล่ือนในแตล่ ะดา้ นหรือคลสั เตอร์ (Prioritize Project)  จัดสรรงบประมาณและกาลังคนเพ่ือขบั เคลื่อนในแตล่ ะดา้ นหรือคลัสเตอร์  ศึกษาโครงการของแต่ละหน่วยงานในการมุ่งสเู้ ป้าหมาย  บริหารจดั การความเชื่อมโยงของแต่ละโครงการ งบประมาณของแตล่ ะกระทรวง  ตดิ ตามประเมินความกา้ วหน้าของการดาเนนิ งาน (Implementation Plan)  ออกแบบกระบวนการ ขั้นตอนการดาเนินการ หนว่ ยงานหลัก หนว่ ยงานสนบั สนุน กาหนด กาลงั คน และงบประมาณ  ระบบประชาสัมพนั ธ์รายคลสั เตอรม์ ีข้อมูลความก้าวหนา้ (Communication Progress & Event)  ประชาสมั พนั ธค์ วามก้าวหน้าของการพฒั นาของคลสั เตอร์แถลงผลงานของการพฒั นาคลัส เตอร์รายไตรมาส - 119 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลอื่ นประเทศไทยสูค่ วามม่ังค่ัง มน่ั คง และยง่ั ยืน กิจกรรมสัมมนาของคณะทางานวางแผนการพฒั นาตามกรอบนโยบาย จะประกอบไปด้วย - จัดสมั มนา(Workshop) เรอ่ื งบทบาทของทีม Thailand 4.0 ภายในแตล่ ะกระทรวงกับ หนว่ ยงานตัวแทนทเ่ี ปน็ ศนู ย์กลางของแตล่ ะกระทรวง เชน่ สานักยุทธศาสตร์ - จัดสมั มนา Workshop Series แต่ละคลัสเตอร์เพ่ือกาหนดโจทย์ เพ่อื รวมรวมความ ต้องการ Priority Projects - จดั สมั มนาเพื่อแก้ไขรายคลัสเตอร์ เช่น สัมมนาแก้ไขด้านกฎระเบยี บต่างๆในคลัสเตอร์ 3. คณะทางานในการขับเคลื่อน (Executing Body) มีบทบาทหน้าทใ่ี นการ  เป็นทีมงานจากภายใต้กระทรวงตา่ งๆ (Inter-ministry agent) มีหน้าที่ประสานและเชื่อมโยง กบั นโยบายของกระทรวง  ขับเคลื่อนการดาเนินงานตามแผนงานการพัฒนาตามกรอบนโยบายตามงบประมาณของแต่ ละกระทรวง  ประสานงานขบั เคลื่อนผา่ นกลไกประชารัฐ  ประเมนิ ผลและจัดทีมเฉพาะกิจแก้ไขปญั หาข้อตดิ ขดั กลยทุ ธ์การส่ือสารแบรนด์ Thailand 4.0 ประเดน็ ปัญหา ● ประชาชน โดยเฉพาะระดับฐานรากนั้น มีการรับรู้และความเข้าใจต่อกลยุทธ์ Thailand 4.0 คอ่ นขา้ งนอ้ ย ● Thailand 4.0 น้ันยังไม่ได้เป็นไอเดียหลัก (Theme) ของทุกภาคส่วน ทั้งท่ีควรจะเป็นวาระ แหง่ ชาติ กลยทุ ธ์ ● พฒั นากลยทุ ธ์และอัตลักษณข์ องแบรนด์ Thailand 4.0 ● ระบุ Brand Key Massage ● พัฒนากลยุทธ์ทางการสื่อสารแบบบูรณาการ โดยให้มีความสอดคล้องกับภาคส่วนต่าง ๆ ทั้ง ภาครฐั และภาคเอกชน - กลยุทธ์ทางการส่ือสาร - สอื่ สารเมื่อเกิดภาวะวิกฤติ - 120 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคลือ่ นประเทศไทยส่คู วามม่งั คัง่ มนั่ คง และยง่ั ยืน ● การส่ือสารการตลาดแบบบูรณาการ (IMC) - Online - Offline - ในประเทศ - ต่างประเทศ ● ระบุผทู้ จ่ี ะเปน็ ตัวแทน (Brand Ambassader) ในการนาเสนอ Thailand 4.0 - นายกรัฐมนตรี วัตถปุ ระสงค์ ● เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับแบรนด์ Thailand 4.0 ทั้งในด้านของความหมาย จุดประสงค์ และผลกระทบตา่ ง ๆ ดว้ ยภาษาทเ่ี ข้าใจง่ายให้กับประชาชน ● เพื่อสร้างความรูส้ ึกของความเป็นเจ้าของประเทศให้กับประชาชน ให้เข้าใจในแนวคิด ให้เกิด ความเชอ่ื ถอื และศรทั ธาในแบรนด์ Thailand 4.0 ● เพือ่ กระตนุ้ ให้ทกุ ภาคส่วนเกดิ การมีส่วนรว่ ม กลุ่มเปา้ หมาย ● ประชาชนไทยท้ังประเทศ โดยเฉพาะฐานราก ● ภาครฐั และภาคเอกชน ● ผู้มอี ิทธิพลทางความคดิ และ NGOs ● สื่อมวลชน ● ผูน้ าทางความคิดในระดบั นานาชาติ Value Proposition ● Thailand 4.0 โมเดลส่คู วามมัง่ คั่ง มัน่ คง และยั่งยืน ผู้เกี่ยวข้องหลัก (Key Players) ● รฐั บาล ● กลมุ่ บริษทั ช้ันนา ● ตลาดหลกั ทรัพยแ์ หง่ ประเทศไทย / กลต. ● หอการคา้ ไทย สภาอุตสาหกรรมไทย - 121 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคล่อื นประเทศไทยสู่ความมงั่ คัง่ มน่ั คง และยง่ั ยนื ขอ้ เสนอ Tagline เบืองตน้ ● พลังคนไทย ร่วมสรา้ งประเทศไทย ● รวมพลงั ไทย รว่ มสร้างไทย ● พลงั ชาติไทย อนาคตประเทศไทย - 122 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคล่อื นประเทศไทยสู่ความมง่ั คงั่ ม่ันคง และยง่ั ยนื ตวั อยา่ งแผนปฎิบตั ิการข กลไกในการขบั เคลื่อนประเทศไท - 12

ขับเคลือ่ น Thailand 4.0 ทยส่คู วามม่ังค่ัง มนั่ คงและยั่งยนื 23 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลอื่ นประเทศไทยสู่ความมง่ั คง่ั ม่ันคง และยัง่ ยนื วาระที่ 1 : คนไทย 4.0 เป้าหมายของเกษตรกร 4.0 (Farmer 4.0) เพ่ือพฒั นาคนไทยใหเ้ ปน็ “มนุษย์ที่สมบรู ณ คณุ ลักษณะดงั นค้ี ือ • เปลีย่ นจากคนไทยทม่ี ีความรู้ ความสามารถและทกั ษะที่จากดั เป็นคนไทย • เปลี่ยนจากคนไทยท่ีมองเน้นประโยชน์สว่ นตน เป็นคนไทยทมี่ จี ติ สาธารณ • เปลยี่ นจากคนไทยแบบ Thai-Thai เป็นคนไทยแบบ Global Thai เปน็ ค • เปลีย่ นจากคนไทยที่เป็น Analog Thai เปน็ คนไทยทีเ่ ปน็ Digital Thai เป้าหมาย คุณลกั ษณะเป้าหมาย กลุม่ นกั ศึกษากอ่ นเข้า 1.เรยี นรเู้ พ่อื เสริมสร้างแรงบนั ดาลใจเปิดกวา้ งในสง่ิ ใหม่ๆ (Passion มหาวิทยาลยั 2.คดิ สร้างสรรค์ นวตั กรรมใหมๆ่ (Generative Learning) ระหว่างการศึกษา กลุ่มนักศกึ ษาระดับ 1. เรยี นทเ่ี กดิ จากความสง่ิ ทีอ่ ยากทาตอบโจทยเ์ ฉพาะบุคคล (Pers มหาวทิ ยาลยั 2. คดิ สร้างสรรค์ นวัตกรรมใหมๆ่ (Generative Learning) และก กลุ่มคนวยั ทางานใน กรอบ ภาคเอกชน/ภาครัฐ 1. เรียนท่ีเกิดจากความสิ่งท่อี ยากทาตอบโจทย์เฉพาะบคุ คล (Pers นอกการศึกษา 2. เรียนรูใ้ นเพอ่ื ตอบโจทย์ความตอ้ งการเฉพาะขององค์กร (Speci learning) 3. เรียนรู้การทางานรว่ มกนั (Sharing Incentive) 4. คดิ สรา้ งสรรค์ นวตั กรรมใหมๆ่ (Generative Learning) 5. เรยี นรู้ในการสร้างงานใหเ้ ป็น (Working Labor at Home) 6. เรยี นรู้ในส่งิ ใหมๆ่ เพอื่ สรา้ งประโยชน์ Re-productive Learnin - 12

ณ์ในศตวรรษท่ี 21” ควบคไู่ ปกับ การเปลี่ยนผ่านสู่ “คนไทย 4.0 ในโลกท่ีหนงึ่ ”โดยมี ยท่มี ีความรู้ ความสามารถและทกั ษะสูง ณะ มคี วามรับผดิ ชอบต่อสงั คม คนไทยทสี่ ามารถยืนอยา่ งมศี กั ดศ์ิ รีในเวทีสากล n-Driven) แนวทางของการพฒั นา • สร้างโอกาสให้เรยี นร้ดู า้ นความรทู้ กั ษะเพมิ่ ท่มี ีความสนใจในกลมุ่ นักศึกษา sonalized การคดิ ใน เปา้ หมายผ่านเครือข่ายของภาครฐั /ชอ่ งทางอิเลคทรอนิกส์ sonalized • เรยี นรใู้ นรูปแบบโครงการ Project Based Learning และสนบั สนุนใหเ้ กดิ การ ialized skill แสดงความสามารถผ่านการแข่งขันระดับต่างๆ • สร้างโอกาสนักศกึ ษาสามารถพฒั นาความรู้ทักษะเพมิ่ เตมิ ในสาขาเฉพาะที่ หลักสตู รในระดบั มหาวทิ ยาลยั ไมร่ องรับ เพือ่ เตรยี มพร้อมกาลงั คนในการเขา้ สู่ ภาคการผลติ และบรกิ าร • เพิม่ ความรู้ ทักษะของคนวยั ทางานผ่านการสร้างแรงจงู ใจผ่านมาตรการ ลดหยอ่ นการฝึกอบรม/ผ่านมาตรการของภาครฐั และสนับสนนุ คนไม่ได้ทางาน ประจาสามารถทางานอยู่บา้ นได้ • เพิ่มความรู้ ทกั ษะของพนักงานของรัฐโดยการสรา้ งแรงจูงใจผา่ นมาตรการ เลือนขนึ้ ตาแหน่ง หรืออัตราเงนิ เดอื น ng Engine 24 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคลอื่ นประเทศไทยสู่ความมั่งคงั่ ม่นั คง และยัง่ ยืน เป้าหมาย แนวทางการพัฒนา และโครงการสาคัญ เป้าหมาย แนวทางของการพัฒนา • เปลย่ี นจากคนไทยทม่ี คี วามรู้ พฒั นาหลักสตู รและกระบวนการเรยี นการ 1. โครง ความสามารถและทักษะท่จี ากดั สอน ระบบบริการจดั การการเรยี นรู้ 2. โครง เป็นคนไทยท่ีมคี วามรู้ รองรับกบั การพัฒนาไปส่คู นไทย 4.0 (ภายในระบบการศกึ ษา) ภาษา ความสามารถและทักษะสงู 3. โครง • เปล่ยี นจากคนไทยที่มองเน้น ปี 4. โครง ประโยชนส์ ่วนตน เป็นคนไทยที่มี ชีวติ ท จิตสาธารณะ มีความรบั ผดิ ชอบตอ่ 5. โครง สังคม Engin ผา่ นก • เปลีย่ นจากคนไทยแบบ Thai-Thai 6. โครง 7. โครง เปน็ คนไทยแบบ Global Thai 8. โครง อนาค เปน็ คนไทยทสี่ ามารถยืนอยา่ งมี 9. โครง คนท ศักดศ์ิ รใี นเวทีสากล 10. โครง แอนเิ • เปลีย่ นจากคนไทยที่เป็น Analog 11. โครง 12. โครง Thai เป็นคนไทยทเี่ ปน็ Digital 13. โครง 14. โปรแ Thai Indiv ปรบั กระบวนทศั น์และทักษะครไู ทย 15. โปรแ ภายใต้ครูไทย 4.0 Skill 16. โปรแ พัฒนากระบวนการเรยี นการสอนรองรับ Mod กบั การพัฒนาไปสคู่ นไทย 4.0 Lead (ภายนอกระบบการศกึ ษา) - 12

โครงการ งการจาก Education for All ภายใน 1 ปีสู่ Good Education for All ภายใน 5 ปี งการจาก “เดก็ ทกุ คนตอ้ งอ่านออกเขยี นได”้ สู่ “เด็กทกุ คนตอ้ งมคี วามสามารถในการใช้ าองั กฤษเป็นภาษาที่สอง” ภายใน 5 ปี งการจากปลกู ฝงั รกั การเรยี นรภู้ ายใน 1 ปี สกู่ ารสร้างวัฒนธรรมการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ ภายใน 5 งการจากการบรหิ ารจดั การภาระหนขี้ องผู้ประกอบวชิ าชพี ครูภายใน 1 ปี สกู่ ารสรา้ งคณุ ภาพ ทดี่ ีของวชิ าชีพครูภายใน 5 ปี งการเรยี นรู้ให้คดิ แบบคนไทย 4.0 STEAM Project Based Learning Science Technology neering Art and Mathematic ในระดบั มธั ยมและสนับสนนุ ใหเ้ กิดการแสดงความสามารถ การแขง่ ขนั ระดบั ตา่ งๆ งการศกึ ษาเขียนภาษาคอมพวิ เตอรร์ ะดบั มัธยม งการนักเรียนไทย 2 ภาษา พรอ้ มการโครงการแลกเปลย่ี น งการเรียนร้เู ตรียมความพร้อมนกั เรียนไทย 4.0 เสริมนอกโรงเรยี นในการเรียนรใู้ นสาขางาน คตผ่านชมรม หรือสือ่ การเรียนการสอนอิเลคทรอนกิ ส์ งการเรยี นรู้สาขาวิชาเฉพาะดา้ นทีผ่ ่านชอ่ งทางชมรมทเ่ี ปน็ สาขาวิชาที่เปน็ ชว่ ยให้ก้าวไปสู่ ทางานแบบ 4.0 ท่สี ามารถเข้าสโู่ ลกท่หี นง่ึ ในมหาวิทยาลยั ตน้ แบบ งการพัฒนาเรียนรู้อาชพี กบั บรษิ ัทในภาคเอกชน เช่น เรยี นAnimation Design กับสมาคม เมชัน งการมหาวทิ ยาลยั แบบเรียน 2 ภาษา ในโปรแกรมตน้ แบบ งการสนบั สนนุ การพัฒนาส่ือการเรยี น การสอนทีท่ นั สมัยสนับสนนุ ครู งการยกระดบั ครใู นการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ การสนบั สนนุ การสอนของครู แกรม In School อาทิ Education & Career Guidance, Enhanced Internship, vidual Learning Portfolio และ Young Talent Program แกรม Starting Work อาทิ Education & Career Guidance, Earn & Learn Program, Development Credit และ Individual Learning Portfolio แกรม Growing Your Career อาทิ Education & Career Guidance, Skills-Based dular Course, Mid-Career Enhanced Subsidy, Sectoral Manpower Plan, dership Development Program, Skill Development Credit และ Individual 25 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคล่ือนประเทศไทยสคู่ วามมัง่ คั่ง มน่ั คง และยั่งยืน เป้าหมาย แนวทางของการพฒั นา Lear 17. มาตร วางระบบนิเวศนใ์ นการสนบั สนุนการ เรียนรู้ของคนไทยภายใตย้ คุ การศกึ ษาไทย ร่วมใ แบบ 4.0 18. โครง 19. โครง 1. เช่น D 20. โครง Indu 21. โครง ความ 22. โครง 23. โครง ทา M - 12

โครงการ rning Portfolio รการลดหยอ่ นสาหรบั บริษัทเอกชนในการสง่ พนกั งานไปอบรมในสาขาวชิ าเปา้ หมาย หรือเข้า ในการสมั มนาทางวชิ าการ convention ระดับนานาชาติ งการพัฒนาเจ้าพนกั งานของภาครัฐไปสู่ Active Public Servant งการคูปองอบรมวชิ าชีพ 24 ช่ัวโมง สาหรบั กลมุ่ คนทย่ี งั ไมไ่ ด้ทางานการ หรือทางานอยูบ่ า้ น Design Social Media Marketing ต่างๆ เพ่ือสรา้ ง Productivity ให้กบั แรงงาน งการ Re-skill Labor ในภาคอุตสาหกรรมเพอื่ รองรับ Digital Transformation และ ustry 4.0 ในภาคอุตสาหกรรมการผลิตและการบรกิ าร งการพัฒนาระบบ MOOC สาหรบั การพฒั นาสื่อการเรยี นการสอนอิเลคทรอนกิ สร์ องรบั กับ มตอ้ งการของภาคอตุ สาหกรรม งการสนบั สนนุ การสรา้ งส่อื การเรยี นด้านอาชพี ต่างๆ งการประกวดแขง่ ขนั ในสาขาวชิ าใหมใ่ นทกุ ระดับการศึกษา เชน่ การวาดภาพ การถา่ ยภาพ การ Mobile application Robotic ตา่ งๆ เพ่อื เปิดโอกาสาในการใชค้ วามคิดสรา้ งสรรค์ในทุกระดบั 26 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคล่อื นประเทศไทยสู่ความมงั่ คัง่ ม่นั คง และย่ังยืน วาระท่ี 2 : อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) พฒั นาคลัสเตอรเ์ ทคโนโลย ประเทศไทยมีความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Advantages วัฒนธรรม (Cultural-diversity) เมื่อเทียบกับหลายประเทศ อย่างไรก็ดี ภายใต้การ ได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ จะมีอยู่จากัด ความจาเป็นอย่างยิ่ง ท่ีจะต้องปรับเปล (Competitive Advantages) ด้วยการเติมเต็มผา่ นองค์ความรู้ เทคโนโลยี และความค กลมุ่ ท่ี 1 เกษตรและอาหาร ใชเ้ ทคโนโลยีชีวภาพ (Food & Agricult การสรา้ งมลู คา่ ในระยะเวลา 20 ปี ปี 5 ปี 10 ปี มลู คา่ ตลาด (ลา้ นบาท) การเกษตร/เทคโนโลยชี ีวภาพ (Agriculture & Biotechnology) การแปรรูปอาหาร Biochemical) อตุ สาหกรรม เป้าหมาย แนวทางของการพฒั นาอุตสาหกรรม การเกษตรและ เพม่ิ มูลคา่ คณุ ภาพ และ กาหนดเปา้ หมายดา้ นการวิจยั ดา้ น เทคโนโลยชี วี ภาพ ลดต้นทุนโดยการใช้ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (Biotech (Agriculture & Biotech ในการผลติ Genomic) โดยเลอื กมงุ่ เน้นการพฒั นา Agro- Biotechnology) พชื ผลทางการเกษตร Product champion ที่สรา้ งมลู คา่ และมี มุง่ เปน็ ประเทศรบั จ้าง ปริมาณความตอ้ งการในอนาคต วิจยั เกษตร และส่งออก (พนั ธพ์ุ ชื เป้าหมายเพือ่ การบรโิ ภค vs วตั ถุดิบ เทคโนโลยเี กษตรภมู ภิ าค การผลิต) วางระบบการบริหารจัดการและการสนับสนุน งานการวิจยั ให้มคี วามตอ่ เนอ่ื ง - 12

ยแี ละอุตสาหกรรมแหง่ อนาคต s) ของการมีความหลากหลายทางชีวภาพ (Bio-diversity) และความหลากหลายทาง รแข่งขันของระบบเศรษฐกิจโลกดังเช่นในปัจจุบัน โอกาสที่จะใช้ประโยชน์จากความ ลี่ยนความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ ดังกล่าวให้เป็น ความได้เปรียบเชิงแข่งขัน คิดสรา้ งสรรค์ ture - Biotech) Agro 4.0 15 ปี 20 ปี (Food Processing Industry) เชอื้ เพลงิ ชวี ภาพ/เคมีชีวภาพ (Biofuels & โครงการ 1. โครงการกาหนดโจทยก์ ารวจิ ยั พืชแบบรวมศูนย์กลาง (Research Focus) โปรแกรมคดั เลอื ก พันธุพ์ ชื เกษตรเพ่ือการต่อยอดและขยายผล (Agro product champion Bank) 2. โครงการศึกษาพนั ธุ์เกษตรดา้ นคณุ คา่ โภชนาการ (Food Nutritious Fact) 3. โครงการพฒั นาขยายผลและตอ่ ยอดพนั ธุ์เกษตรเปา้ หมาย (Genomic Study) 4. โครงกาวิจัยมุ่งเปา้ เกษตรเปา้ หมายจากโจทยก์ ารวิจยั พืชรวมศนู ยก์ ลาง 5. โครงการจดั ตง้ั National Agro Research (NAR) ในการกากับการดแู ลการพัฒนา วิจยั เกษตร ของพชื เศรษฐกิจแตล่ ะกลุ่ม 6. มาตรการใหท้ ุนวจิ ัยแบบ Block Funding ระยะยาวตอ่ เน่ือง 7. โครงการ Food Research & Innovation Platform (One Product on Center of Excellent) เฉพาะรายพชื เศรษฐกจิ โดยสนบั สนุนทนุ การดาเนินงานในศูนยว์ จิ ยั ของมหาวิทยาลัย และมากากบั นโยบายโดยคณะกรรมการของแตล่ ะกล่มุ 27 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคลอื่ นประเทศไทยสู่ความม่งั ค่งั มั่นคง และย่งั ยืน อตุ สาหกรรม เป้าหมาย แนวทางของการพัฒนาอุตสาหกรรม ขยายผลการวิจยั ไปสู่การผลติ และการตลาด สนิ ค้าเกษตรแบบเฉพาะพื้นที่ พฒั นานักวจิ ยั สนับสนุนการขับเคลื่อน งานวิจัยรองรบั Agro 4.0 อตุ สาหกรรมการ • ผลติ อาหารแปรรปู ปรบั เปลย่ี นอตุ สาหกรรมท่ใี ช้เทคโนโลยแี ละ แปรรปู อาหาร สาหรบั ตามตลาด ใช้ระบบออโตเมชนั มาใช้ในกระบวนการผลติ - 12

โครงการ 8. มาตรการปรับปรงุ กฎระเบียบในการสนบั สนนุ อุตสาหกรรม 1. ชอ่ งทางที่ SME จะเข้าถึงเทคโนโลยีเกษตรและอาหาร 2. กฎ ระเบยี บสาหรับการใช้เอนไซม์ ในอาหาร 3. การอ้าง Lenient Regulations of Health Claim 4. ด้านการเลือกใช้ GMOs 5. นิยามของ Organic Product 6. การอานวยความสะดวกในขั้นตอนการย่นื จดสิทธบิ ตั ร 7. การกระชบั กระบวนการขึ้นทะเบียนปจั จยั การผลติ ด้านการเกษตร (สารพิษ สารเสริม อาหารเสริม ปุ๋ยชวี ภาพ) 8. การปรบั ปรุงกฎหมายของกระทรวงเกษตรฯ ให้ทันสมยั 9. การลดความซับซอ้ นในระบบการตรวจสอบโดยหน่วยงานภาครัฐ 10. การปรับเปลยี่ นทศั นคตขิ องเอกชน ราชการ อาจารย์ นักวจิ ัย ใหเ้ ปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั 11. กฎ ระเบยี บของมหาวิทยาลยั และแหลง่ ทุนวิจยั เกย่ี วกับเรือ่ งทรัพย์สินทางปัญญา และการ จัดการผลประโยชน์ 9. โครงการ Translational Researches จาก Prototype to Pilot 10.โครงการวิจัยตอ่ ยอดการพัฒนาพชื เกษตรแบบเฉพาะพ้นื ท่ี (Area based Agro-research) โครงการทาตลาดสนิ คา้ เกษตรโดยใช้ GI 11.โครงการการสร้างตลาดสินคา้ เกษตรแบบ Science based Marketing โดยใช้ Genetic x Environment (GxE) แบบอุตสาหกรรมไวน์ 12.โครงการตอ่ อายุนกั วิจยั เกษยี ณอายใุ นภาครัฐและมหาวทิ ยาลยั (Extend retired program for retire research scholar) 13.โครงการพัฒนาสายงานอาชีพของนกั วจิ ยั ของรฐั เชน่ การกาหนดใหน้ กั วจิ ยั ของรฐั ออกไปทางาน กบั ภาคเอกชนเมอ่ื อายงุ านครบ 14.มาตรการใหท้ ุนวจิ ยั แบบ Block Funding ระยะยาวต่อเน่ืองเพื่อทาใหน้ กั วิจัยในงานวจิ ยั ต่อเนือ่ ง 1. โปรแกรมเพม่ิ ขีดความสามารถจากระบบออโตเมชัน Enhance Thai Food Processing Automation 28 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคล่อื นประเทศไทยสู่ความม่งั คั่ง มนั่ คง และยง่ั ยนื อตุ สาหกรรม เปา้ หมาย แนวทางของการพฒั นาอุตสาหกรรม เฉพาะกลมุ่ และควบคมุ รักษาคณุ ภาพของวัตถุดิบ (Food • เพ่ิมการใชร้ ะบบออโต Processing เมชน้ั ในการควบคมุ Industry) การผลิตรักษา อุตสาหกรรม คณุ ภาพ พัฒนาอาหารแปรรูปสาหรบั ผ้บู ริโภคเฉพาะ เชื้อเพลิงชวี ภาพ กลุม่ และเคมีชีวภาพ (Biofuels & พัฒนาคลัสเตอรก์ ารผลติ เชื่อมโยงหว่ งโซก่ าร Biochemical) ผลิต • เพม่ิ ใช้ Biotech ใน ส่งเสริมการวิจยั ด้าน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การพัฒนาผลผลิตของ ในการพัฒนาพนั ธุ์พชื พลงั งานแบบมงุ่ วตั ถดุ บิ พลังงานให้ได้ เป้าหมาย (พฒั นากลมุ่ พืชพลังงานทส่ี ามารถ ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ ผลิตพลังงานไดส้ งู ) หรอื ให้เหมาะสมกบั การใช้งานแตล่ ะ ประเภท วางระบบการบรหิ ารจัดการและการสนบั สนุน งานการวจิ ยั ใหม้ ีความตอ่ เน่อื ง ขยายผลการวจิ ัยไปสู่การผลติ และการตลาด สินคา้ เกษตรแบบเฉพาะพ้นื ที่ พฒั นานกั วิจัยสนับสนนุ การขับเคลอ่ื น งานวิจยั รองรับ Agro 4.0 - 12

โครงการ 2. โครงการ Food Process Automation ในสว่ นทเี ปน็ common processเชอ่ื มโยงกบั ผู้ ให้บริการดา้ นการวางระบบ Automation ในประเทศ 3. โครงการพัฒนาเทคโนโลยีสนบั สนนุ การแปรรปู การผลติ เชน่ Plasma Technology Feed Technology 4. โครงการพฒั นาอาหารสาหรบั ผ้บู รโิ ภคเฉพาะกลุ่ม เชน่ คนสงู อายุ คนโรคเบาหวาน คนขาด สารอาหาร ฯลฯ 5. โครงการพฒั นากลุ่มพ้ืนทีเ่ กษตร City (Cluster Agro City) Agro-Zone cluster เกษตร City เชน่ Herbal City / Tea City / Durian City ตลาด Supply Chain 1. โปรแกรมคัดเลือกพนั ธุ์พชื พลังงาน Agro Energy product champion เพ่ือการต่อยอดและ ขยายผล 2. โครงการวจิ ัยต่อยอดแบบม่งุ เป้าหมาย เช่นการพฒั นาคณุ สมบัตพิ นั ธพ์ุ ืชพลงั งานท่ใี หพ้ ลังงาน สูงสุด และ Yield สูงสดุ 3. โครงการศกึ ษาสภาพแวดล้อมทเ่ี หมาะสมตอ่ การคณุ สมบตั ิของพนั ธ์พุ ืชให้พลังงาน (GxE สาหรับพนั ธ์พุ ืชพลังงาน) 4. โครงการจดั ตัง้ National Agro Research (NAR) ในการกากับการดแู ลการพฒั นา วิจยั เกษตร ของพืชพลังงานแตล่ ะกลมุ่ 5. มาตรการให้ทนุ วิจยั แบบ Block Funding ระยะยาวตอ่ เนอ่ื ง 6. โครงการ Food Research & Innovation Platform (One Product on Center of Excellent) เฉพาะพชื พลังงานโดยสนับสนุนทุนการดาเนินงานในศนู ย์วิจยั ของมหาวิทยาลยั และมากากบั นโยบายโดยคณะกรรมการของแตล่ ะกลุม่ 7. โครงการขยายผลสายพันธุ์พืชใหพ้ ลงั งาน 8. โครงการตอ่ อายนุ กั วิจัยเกษยี ณอายุในภาครัฐและมหาวิทยาลยั (Extend retired program for retire research scholar) 9. โครงการพัฒนาสายงานอาชีพของนักวิจัยของรฐั เช่น การกาหนดใหน้ กั วจิ ยั ของรฐั ออกไป ทางานกับภาคเอกชนเมอ่ื อายุงานครบ 10. มาตรการใหท้ นุ วจิ ัยแบบ Block Funding ระยะยาวต่อเน่อื งเพอ่ื ทาให้นักวิจัยในงานวจิ ัย ต่อเนอ่ื ง 29 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลอื่ นประเทศไทยสคู่ วามมั่งคง่ั มนั่ คง และยั่งยืน กลมุ่ ที่ 2 สุขภาพ ใช้เทคโนโลยีชีวการแพทย์ (Health & Wellness – การสร้างมลู คา่ ในระยะเวลา 20 ปี ปี 5 ปี 10 ปี มลู ค่าตลาด (ลา้ นบาท) อตุ สาหกรรม เป้าหมาย แนวทางของการพัฒนาอตุ สาหกรรม อตุ สาหกรรม • เปน็ ผู้ผลิตและใชใ้ น พัฒนาอุปกรณ์การแพทยเ์ พอื่ รองรับ อุปกรณ์การแพทย์ ประเทศ และสง่ ออก ความต้องการในอนาคตและอุปกรณ์ (Medical Device ตลาดรองในประเทศ การแพทยท์ ีม่ ีการนาเข้าสูง Industry) เพือ่ นบา้ น หรอื ตลาด รอง เชน่ อนิ เดยี ทม่ี ี สรา้ งตลาดกาลังซื้อในประเทศโดยใช้ ความต้องการสูง กาลงั ซื้อจากภาครฐั ในการพัฒนา อตุ สาหกรรมอุปกรณ์การแพทย์ ยกระดับมาตรฐานผใู้ ห้บรกิ ารโครงสร้าง สนบั สนนุ ไมซ์ อตุ สาหกรรม • เพ่มิ ความน่าเชือ่ ถอื ของ ส่งเสรมิ การผลติ ของสมุนไพรที่มีศกั ยภาพ สมุนไพร (Thai สนิ คา้ ในตลาดผบู้ รโิ ภค ตามความตอ้ งการของประเทศ Herb Industry) • เพิ่มจานวนสมนุ ไพรที่ ผ่านรบั รองดา้ น - 13

– Biomedical) การแพทย์ 4.0 (Healthcare 4.0) 15 ปี 20 ปี โครงการ • โครงการพัฒนาอุปกรณ์การแพทยท์ นั สมัย • โครงการ Medical Kit Made in Thailand e.g., อปุ กรณ์ Single Use Device) สาหรบั โรงพยาบาลรัฐ • โครงการ Medical device /Equipment สาหรับผสู้ งู อายุ at Home • โครงการ Medical device /Equipment สาหรบั ผสู้ ูงอายุสาหรับใชใ้ นโรงพยาบาล • โครงการ Smart Medical device application สาหรบั ผสู้ งู อายุท่วั ไป และคนท่วั ไป • โครงการจดั งานนิทรรศการอปุ กรณก์ ารแพทย์ของไทย • มาตรการจงู ใจในการใช้อุปกรณก์ ารแพทยข์ องในประเทศ • มาตรการจงู ใจการใชอ้ ุปกรณก์ ารแพทย์ไทยสาหรับโรงพยาบาลเอกชน • โครงการเพมิ่ ประสทิ ธิภาพของการรบั รองหรือรบั บริการจากหนว่ ยงานในการกากับดูแล และรบั รอง เชน่ กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ อย. องคก์ ารเภสัช กรมทรัพยส์ นิ ทางปัญญา, GLP PK lab • โครงการ ISO Certified Testing โปรแกรมเพ่ิมขดี ความสามารถของสมุนไพรไทย 1. โครงการวดั ประสิทธิภาพการใชส้ มุนไพรไทย โดยมีงานวจิ ัยรบั รอง 2. โครงการศกึ ษากลุ่มสมนุ ไพรทมี่ สี รรคุณสาหรับกล่มุ ผบู้ รโิ ภคเฉพาะกลมุ่ เชน่ เชน่ การ ชะลอวัย ความงาม ผวิ พรรณ โดยมงี านวจิ ยั รับรอง 30 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคลื่อนประเทศไทยส่คู วามม่งั ค่ัง มัน่ คง และยั่งยืน อตุ สาหกรรม เป้าหมาย แนวทางของการพฒั นาอตุ สาหกรรม คณุ สมบตั ิที่เชอื่ ถอื ได้ พฒั นาอตุ สาหกรรมและการตลาด สมุนไพรให้มีคณุ ภาพระดบั สากล ส่งเสรมิ การใชส้ มุนไพรเพือ่ การรักษาโรค และการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ สร้างความเข็มแข็งของการบริหารและ นโยบายภาครัฐเพือ่ การขับเคลื่อน สมนุ ไพรอย่างย่งั ยนื บรกิ ารทาง • เพิ่มจานวนผู้ใชบ้ ริการ • พฒั นา Medical City โดยการสรา้ ง การแพทย์ ทางการแพทยจ์ าก ความแตกตา่ งกนั ดา้ นการบรกิ ารใหม้ ี (Medical ตา่ งประเทศไทย ความเฉพาะดา้ นในแตล่ ะผใู้ ห้บรกิ าร Services) • เพมิ่ คุณภาพและ • พฒั นาชอ่ งทางดา้ นการบริการด้านการ ประสิทธภิ าพการ เพมิ่ ใหง้ า่ ยตอ่ การใหบ้ รกิ าร ให้บริการของผู้ ให้บรกิ าร กลุ่มท่ี 3 กลมุ่ เคร่อื งมืออจั ฉริยะและหนุ่ ยนต์ ใช้เทคโนโลยเี มคาทรอนกิ การสร้างมลู คา่ ในระยะเวลา 20 ปี ปี 5 ปี 10 ปี มูลค่าตลาด (ล้านบาท) - 13

โครงการ โปรแกรมพัฒนาตลาดของสมนุ ไพรไทย 1. โครงการกาหนดให้สถานพยาบาลใช้ยาสมนุ ไพร 2. โครงการใหเ้ กษตรการปลกู สมนุ ไพรไวใ้ ชส้ าหรบั ครัวเรอื น 3. โครงการสรา้ งตลาด 10 สมุนไพรสาหรบั กลุม่ ผบู้ รโิ ภคเฉพาะ 4. โครงการประชาสมั พนั ธก์ ารใช้สมนุ ไพรสาหรบั การทาอาหารไทย เชน่ การทาสอื่ ตา่ งๆ 5. โครงการศึกษาการใช้ หรอื แปรรปู สมนุ ไพรไทยสาหรับครวั เรอื น และอาหารไทย 6. โครงการสร้างความนา่ เชือ่ ถอื เรื่องของสรรพคณุ ของสมนุ ไพรไทยเปรยี บเทยี บกบั ยา ประเภทอื่นๆ 7. โครงการพฒั นาคลัสเตอรส์ มุนไพร (Herbal City) 4 จงั หวดั เชอื่ มโยงพน้ื ทกี่ ารผลิตในแต่ ละจังหวดั 8. โครงการปรับปรุงกระบวนการรับรองคุณสมบัตสิ มนุ ไพรไทยของ อ.ย. 9. โครงการเพม่ิ จานวน Clinical Research Centers 10. โครงการพฒั นาเกณฑ์การองคป์ ระกอบของเมอื งสุขภาพ Medical Hub & City ของ ประเทศไทย 11. โครงการจดั กลมุ่ และคัดเลอื กเมอื ง Medical Treatment 12. โครงการจดั กลมุ่ และคดั เลือกเมืองพักพ้ืน Post Medical Recovery City 13. โครงการขบั เคลอื่ นการพฒั นาเมือง Medical Hub & City รองรับกลุ่มลูกค้าแตล่ ะกลมุ่ ประเภทในภูมิภาค กส์ (Smart Devices & Robotics – Mechatronics) 15 ปี 20 ปี 31 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคลือ่ นประเทศไทยสคู่ วามมั่งคง่ั มัน่ คง และยง่ั ยืน คลัสเตอร์ อุตสาหกรรม เปา้ หมาย แนวทางของการพ กลมุ่ อตุ สาหกรรม อุตสาหกรรมยานยนต์ • สร้างอุตสาหกรรม • ใชก้ ลไกด้านภาษ เทคโนโลยีทนั สมยั สมยั ใหม่ (New สนบั สนุนรถยนต์ อตุ สาหกรรม (Advance Automotive อนาคต Mass Technology Industry) logistics • รว่ มพฒั นาอุตสา Industry) อุตสาหกรรมออโตเมชัน นาอุตสาหกรรมใ และหุ่นยนต์ (Industry • ธุรกจิ ทีเกีย่ วข้องกับการ ตา่ งประเทศ Automation & บารุงรกั ษา Robotics) อุตสาหกรรมยานยนต์ • พฒั นาอตุ สาหกร สนบั สนนุ รถไฟฟ • เปลยี่ นอตุ สาหกรรมที่ ใช้แรงงานสูงมาส่อู อโต • พัฒนาผ้ใู ห้บรกิ า เมชันในอตุ สาหกรรม Integration สาห แรงงานสูง รวมถงึ ภาค บรกิ าร • สนบั สนุนการนา ประกอบและผล • วางกลไกในการส อตุ สาหกรรม เช ภาษเี พื่อสรา้ งแร อุตสาหกรรมการ • สร้างให้เกดิ • สนบั สนนุ การจดั บินลอจิสติกส์ อตุ สาหกรรมการบิน ซอ่ มบารุงเครอ่ื ง (Aviation and และ ซ่อมบารงุ สาหรบั Logistics Industry) ภูมภิ าคอาเซยี น • พฒั นาช่างเทคน บรกิ ารในภมู ภิ าค กลมุ่ ที่ 4 ดิจทิ ัล 4.0 (Digital 4.0) ดจิ ิทลั และอินเทอร์เนต็ ออฟติง ใชเ้ การสร้างมูลค่าในระยะเวลา 20 ปี ปี 5 ปี 10 ปี มลู ค่าตลาด (ล้านบาท) - 13

พัฒนาอตุ สาหกรรม โครงการ ษใี นการพฒั นา 1. โครงการว่ มมอื ในการวจิ ยั การพฒั นาอปุ กรณร์ ถยนตอ์ นาคตร่วมกับ าหกรรมกับบรษิ ทั ชั้น ผู้ผลิตช้นิ สว่ นตา่ งๆมาตรการภาษีในการพัฒนาอตุ สาหกรรมรถยนต์ ในแตล่ ะสาขาใน อนาคต Mass logistics รรมบารุงรกั ษา ฟ้า รถไฟไทย าร System 2. โครงการลดภาษนี าเขา้ ชิ้นสว่ นเพอ่ื การประกอบและผลิตระบบ ออโตเม หรับ Automation ชัน าเช้าช้นิ ส่วนเพื่อการ 3. โครงการพฒั นา System Integrator ไทยเพอ่ื สนบั สนุน Industrial ลิตระบบ ออโตเมชนั Automation สาหรับอตุ สาหกรรมเปา้ หมาย สนบั สนุนการพัฒนา 4. มาตรการจูงใจด้านภาษีสาหรบั การปรับเปล่ยี นกระบวนการผลติ ไปสู่ ชน่ มาตรการจงู ใจทาง Industrial Automation รงจูงใจ 5. โครงการสนับสนนุ การประดษิ ฐ์ Creative Robot สาหรบั ภาคบรกิ าร ตอบปัญหาผู้บรโิ ภค 6. โครงการประกวดสิ่งประดิษฐ์ Creative Robot ต่างๆ 7. โครงการพัฒนาระบบนิเวศนส์ นับสนนุ การพัฒนาประดิษฐ์ Creative Robot เช่นการพัฒนาผูใ้ ห้การบรกิ ารทา Prototype ดตัง้ ธรุ กิจการใหบ้ รกิ าร 8. โครงการสนบั สนนุ การธรุ กิจการให้บรกิ ารซ่อมบารงุ เคร่ืองบินของไทย งบินของประเทศไทย 9. โครงการพัฒนาช่างเทคนิคซอ้ มบารุงเครือ่ งบินร่วมกับต่างประเทศ นิคซอ้ มเพื่อรองรับการ ค เทคโนโลยสี มองกลฝังตัว (Digital & IOT - Embedded Technology) 15 ปี 20 ปี 32 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคล่ือนประเทศไทยสคู่ วามมง่ั คั่ง ม่ันคง และย่งั ยืน อตุ สาหกรรม เป้าหมาย แนวทางของการพัฒนาอตุ สาหกรร อุตสาหกรรมดจิ ติ อล สร้างผ้ปู ระกอบการ พฒั นาชอ่ งทางในการเขา้ ถงึ โครงสร้าง อุตสาหกรรม Startup ทพี่ ัฒนาอปุ กรณ์ สนับสนนุ ธรุ กจิ ดิจติ อล อิเลก็ ทรอนกิ ส์อัจฉริยะ ท่ีตอบปญั หาของ (Digital Equipment ภาคอตุ สาหกรรมการผลติ Industry) และการบริการ พัฒนาระบบนิเวศน์ (Eco system) สนับสนุนการพฒั นาอตุ สาหกรรมดิจิตอ Platform กลาง สนบั สนุนการพฒั นา ขยายความตอ้ งการของอปุ กรณ์ (Digita Equipment & IoT Software) กลุ่มที่ 5 สร้างสรรคแ์ ละวฒั นธรรม ใชค้ วามรูด้ ้านการบริการเพิ่มมลู ค การสรา้ งมลู ค่าในระยะเวลา 20 ปี ปี 5 ปี 10 ปี มูลคา่ ตลาด (ล้านบาท) - 13

รม โครงการ 1. โครงการพัฒนาเครอื่ งมอื แก้ไขปญั หาจงั หวดั ขาก ดิจิทลั เทคโนโลยี เช่น ระบบเตอื นภยั การอานวยความสะดวกการท่องเทีย่ ว การบริการตา่ งๆ 2. โครงการ Uplift Startup เพ่อื ต่อยอด Survived Startup 3. โครงการสนบั สนุนการบรหิ ารจดั การสาหรับธรุ กิจ Digital Startup 4. โครงการสนับสนุนการประดษิ ฐ์ Digital Application /device สาหรับภาคบรกิ าร ตอบ ปญั หาของอุตสาหกรรม e.g., Aging Society 5. โครงการพฒั นา Digital Application & Equipment สาหรับ Agro SMEs Business & Tourism & MICE & Health Services 6. โครงการสนับสนุนใหบ้ รษิ ัทรายใหญใ่ นแตล่ ะอตุ สาหกรรมสนับสนนุ การพฒั นาธรุ กิจ Digital Startup ตอบโจทยป์ ญั หา 7. โครงการพัฒนาอปุ กรณ์เครอื ขา่ ยสนบั สนุนการพฒั นา Smart City 8. โครงการเชือ่ มผลงานวจิ ยั ของ NECTEC แบบม่งุ เป้าหมายไปสเู่ ชิงพาณชิ ย์ 9. โครงการใช้ศนู ยข์ ้อมลู (Data Center) สาหรับข้อมูลภาครฐั อล 10. โครงการ Uplift Working Space ของ Digital Startup 11. โครงการพฒั นา IoT Platform สาหรบั การเช่อื มโยง al 12. มาตรการสนับสนนุ การลงทนุ สรา้ งพัฒนาตน้ แบบในสว่ นทเ่ี ป็น shared Platform สาหรบั ประโยชนส์ ่วนรวมโครงการเมอื งอัจฉรยิ ะ Smart City โดยเงินนักลงทุนเอกชน 13. โครงการ Smart Command center : 1 province โดยเช่ือมโยงระบบ Safety และ Early Warning ของแต่ละเทศบาล อบต. และจังหวดั เข้าด้วยกนั เชน่ วงจรปิดใน Province wide surveillance ในแตล่ ะพ้นื ที่ 14. โครงการประเมนิ Smart City Index ค่า (Creative & Culture - High Value Services) 15 ปี 20 ปี 33 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคล่อื นประเทศไทยสคู่ วามมัง่ คัง่ มนั่ คง และย่ังยืน อตุ สาหกรรม เปา้ หมาย แนวทางการพัฒนาอุตสา 1. บรกิ ารดา้ นสุขภาพ • - เปน็ 1 ใน 3 ของ 1. มงุ่ เน้นความเชีย่ วชาญในสาขาแพท และการแพทย์ ประเทศทีม่ ีบริการด้าน ความต้องการสงู ในอนาคต เชน่ จัก (Wellness & สขุ ภาพและการแพทย์ เพศ ศลั ยกรรมความงาม เวชศาสต Medical) ที่ดีทีส่ ุดในเอเซยี รรม (Product/Service Innovati • - เปน็ ศนู ยก์ ลางธุรกจิ 2. ยกระดับการให้บรกิ ารสปา และนว 2. บรกิ ารดา้ นดิจิทัล • - มตี า่ งชาตเิ ดินทางมา เปน็ การดแู ลสุขภาพแบบองคร์ วม คอนเทนต์ (ภาพยนตร์ ใช้บริการในประเทศ Health/Total Wellness Cente โฆษณา แอนนิเมชัน เพ่ิมขนึ้ ปีละกว่ารอ้ ยละ แพทยแ์ ผนไทย สมุนไพรไทย ผสาน 1๐ ตัว มวยไทย มารังสรรค์ให้เขา้ กับว • ตอ่ เน่อื ง การดูแลสขุ ภาพ (Business Innov (Consumption 3. ผลักดนั การสรา้ งธุรกิจนาร่องร่วมก Abroad) เพอื่ เป็นต้นแบบการสรา้ งธุรกจิ บรกิ • - สามารถขยายกจิ การ ด้านสขุ ภาพและการแพทย์ เช่น โร ไปในต่างประเทศ ไม่ ภเู บศร์ (Process Innovation ) น้อยกวา่ 2๐ แหง่ /ปี 4. ๔. บูรณาการกับหน่วยงานท้ังภาค ทวั่ โลก (Commercial การสรา้ งกลมุ่ startup และบม่ เพา Presence) ผู้ประกอบการทีม่ ีศกั ยภาพ • -ตลาดเป้าหมาย ไดแ้ ก่ ๕. สรา้ งความเช่อื มน่ั และแสดงศักย อาเซยี น ตะวนั ออก ไทยใหเ้ ปน็ ท่รี ู้จักทง้ั ในและตา่ งประเ กลาง จีน ญป่ี นุ่ อินเดีย ๖. บูรณาการหน่วยงานภาครฐั เพอ่ื แ ออสเตรเลยี อเมรกิ า อุปสรรคอานวยความสะดวกการปร ยุโรป (Ease of Doing Business) เชน่ กา ใบรับรองตา่ งๆ รวมทั้งการใช้ประโย เชงิ รุกในระดับทวิพาคแี ละพหุพาคี Medical Hub, Medical Tourism -ศูนย์กลางการค้าดิจิทัล • ส่งเสรมิ ใหผ้ ูป้ ระกอบการสรา้ งคอนเ คอนเทนต์ และแหลง่ ผลติ ตนเอง(IP) ใหม้ ากข้นึ แทนการรบั จา้ ดิจิทัลคอนเทนต์และ - 13

าหกรรม โครงการ ทย์เฉพาะทางทม่ี ี 1. โครงการเตรยี มความพรอ้ มในการผลติ /จดั หาบุคลากรวิชาชพี ทเ่ี ชย่ี วชาญใน กษแุ พทย์ แปลง สาขาเปา้ หมาย ตร์ชะลอวัย ทนั ตก ion) 2. โครงการสง่ เสรมิ องค์ความร้ทู ั้งในระดบั พื้นฐานและระดบั สงู ในด้าน วดไทยแบบด้งั เดมิ ความกา้ วหน้าวิชาชพี เฉพาะ ดา้ นการตลาด (Market, Network, ม Holistic Entrepreneurial Knowledge) เทคโนโลยี นวตกรรมและความคดิ er โดยใชภ้ ูมปิ ญั ญา สรา้ งสรรค์ และภาษาต่างประเทศ นกับศลิ ปป้องกัน วิถชี วี ิตสมัยใหม่ใน 3. โครงการบม่ เพาะธรุ กจิ สขุ ภาพและการแพทย์ครบวงจรเพอื่ สร้างธรุ กิจ vation) ตน้ แบบ และ Startup กับภาคเอกชน การที่มมี ลู คา่ สูง 4. โครงการสง่ เสรมิ การสร้างมาตรฐานการใหบ้ ริการใหเ้ ปน็ ทยี่ อมรับในระดับ รงพยาบาลอภยั สากล ครัฐและเอกชนใน 5. โครงการส่งเสรมิ การสร้างแบรนดไ์ ทยให้ติดตลาดโลกและใชป้ ระโยชนจ์ าก าะจนสามารถเป็น ทรัพยส์ ินทางปญั ญาอย่างมีประสทิ ธิภาพ ยภาพของบริการ 6. โครงการสรา้ งภาพลักษณผ์ ่านกจิ กรรมท้งั ในและตา่ งประเทศ เช่น การ เทศ นาเสนอผลงาน/ประกวดในเวทโี ลก การโฆษณาประชาสมั พนั ธ์ การร่วมงาน แก้ไขปญั หา แสดงสนิ ค้าระดบั โลก ระกอบธรุ กจิ ารขอใบอนญุ าต 7. โครงการจดั กิจกรรมระดับนานาชาติ (Big Event)ในประเทศไทยอยา่ ง ยชนจ์ ากการเจรจา ตอ่ เนอื่ ง เพ่ือสร้างการยอมรับจากต่างประเทศ เช่น การประชุมเชงิ วชิ าการ ในประเด็น ระดบั โลกConference, Symposium, การดึงงานแสดงสนิ ค้าทเ่ี กีย่ วขอ้ ง m ระดบั โลกมารว่ มกนั จดั ในไทย (World Class International Fair) เทนตท์ ี่เปน็ ของ างผลิต 8. โครงการสร้างเครอื ข่ายความรว่ มมือทั้งในและนอกคลัสเตอรเ์ พ่ือส่งเสรมิ การเขา้ มาใช้บรกิ ารในประเทศรวมทั้งขยายธุรกิจไปต่างประเทศ (Inward& 34 - Outward Service) 1. โครงการผลติ และสรา้ งบคุ ลากรใหต้ รงตามความต้องการของตลาดและ ความก้าวหนา้ เทคโนโลยี (เทคนคิ ความคดิ สร้างสรรค์ การตลาด ภาษา) 2. โครงการสง่ เสริมการใช้เทคโนโลยรี ่วมกนั

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคลือ่ นประเทศไทยสูค่ วามมงั่ คั่ง มน่ั คง และย่ังยืน อุตสาหกรรม เป้าหมาย แนวทางการพฒั นาอุตสา เกม ) อนั ดับ 1 ในอาเซียน (Outsource) โดยเน้นการใช้แนวค -Top 3 ผู้นาด้าน (Fighting, Food, Fashion, Film, อุตสาหกรรมบันเทงิ ของ DNA ของไทย ในการนาเสนอ เอเซีย • พัฒนาทรพั ยากรมนุษยใ์ หม้ คี วามคิด - ธุรกจิ เป้าหมาย ทนั กับเทคโนโลยเี พอ่ื สร้างนวตั กรรม คณุ ภาพเปน็ ที่ตอ้ งการของตลาดตา่ -ธุรกจิ สร้างผลงานที่มี • สนับสนุนการนาเทคโนโลยดี ิจิทลั ทีก่ ลิขสิทธิ์ (Content) ต่างประเทศมาใชใ้ นการเรยี นการสอ พัฒนาของสถาบันการศกึ ษา -ธรุ กิจบริการ • ยกระดับการให้บรกิ ารอย่างครบวงจ สนับสนนุ (Pre/Post ระดับสากล และมสี ิ่งจูงใจท่ีไมแ่ พป้ Production & • ส่งเสรมิ การบริโภคและใชป้ ระโยชน Supporting Related, นท้ี ง้ั ในและตา่ งประเทศ Location) • ให้ความรคู้ วามเข้าใจแก่ผ้ปู ระกอบก เกี่ยวขอ้ ง เชน่ สญั ญาการรว่ มทุน/ร่ว -ธรุ กิจบรกิ ารวชิ าชพี เพือ่ ไม่ให้เสยี เปรียบในการดาเนนิ ธรุ เฉพาะ (Talent) เช่น ผู้ ต่างประเทศ กากบั /ผสู้ รา้ ง/นักแสดง/ • ผลกั ดนั ความรว่ มมือระหวา่ งภาครฐั นักเขยี นบท/นักออกแบบ ผลงานทมี่ ีคอนเทนต์ของตนเอง นา ผพู้ ฒั นาโปรแกรม สมยั ของสินค้าและบริการไทย ผ่าน ตลาดเป้าหมาย: ในและ เกมส์ โฆษณา แอนนเิ มชนั ทกุ ปีต่อ ต่างประเทศ (Local & • บรู ณาการหน่วยงานท้งั ภาครฐั และเ Global) Creative Startup และบม่ เพาะจน - 13

าหกรรม โครงการ คดิ “๕F” 3. โครงการมาตรการจูงใจทั้งบริษทั ตา่ งชาตใิ ห้มาใช้บรกิ ารในไทย เช่น ภาษี Festival) ซง่ึ เปน็ Cash Rebate และบริษัทไทยใหล้ งทนุ ในโครงสรา้ งพ้ืนฐานเขน่ เครือ่ งมือ อปุ กรณ์ โรงถ่าย ดสร้างสรรค์ เท่า มผลงานใหม่ๆ ทมี่ ี 4. โครงการส่งเสรมิ การเผยแพรด่ จิ ทิ ัลคอนเทนตไ์ ทยผ่านเครอื ข่ายออนไลน์ างประเทศ และออฟไลนท์ ้ังในประเทศและตา่ งประเทศ ก้าวหนา้ ใน อน การวิจยั / 5. โครงการสร้างการตะหนักร้ถู ึงความสาคญั ของทรัพยส์ นิ ทางปัญญาและ กฎหมายระหวา่ งประเทศ จร ดว้ ยคณุ ภาพ ประเทศคู่แข่ง 6. โครงการร่วมทนุ สรา้ งดจิ ิทลั คอนเทนต์ไทยสสู่ ากลระหว่างภาครฐั กบั นต์ ่อยอดจากธรุ กิจ ผปู้ ระกอบการไทย ภายใตแ้ นวคดิ Creative Thailand การในกฏหมายท่ี 7. ๗. โครงสร้างความรว่ มมอื ระหว่างภาครัฐไทยกบั ตา่ งประเทศในการสรา้ ง วมผลิต ลขิ สทิ ธิ์ ดจิ ิทัลคอนเทนต์ รกิจกับคคู่ ้า 8. (Co-Production) ฐกับเอกชนผลติ 9. ๘. โครงการบม่ เพาะ Thai Talent สตู่ ลาดโลกผา่ นกิจกรรมบูรณาการของ าความเป็นไทยร่วม นธุรกจิ ภาพยนตร์ หน่วยงานตา่ งๆ อเนอื่ ง 10. ๙.โครงการสรา้ งภาพลกั ษณผ์ ่านกจิ กรรมท้งั ในและตา่ งประเทศ เชน่ การ เอกชน สรา้ งกลมุ่ นสามารถเปน็ นาเสนอผลงาน (Pitching) /ประกวดในเวทโี ลก การโฆษณาประชาสมั พนั ธ์ การการร่วมงานแสดงสนิ ค้าระดับโลก งานแสดง Film Festival 11. 1๐. โครงการจดั กิจกรรมระดบั นานาชาติ (Big Event)ในประเทศไทย เช่น การประชมุ เชิงวชิ าการระดบั โลก Conference, Symposium, การ ประกวดแข่งขนั การจัดเทศกาลระดบั นานาชาติ หรอื การนางานแสดงสนิ ค้า ระดับโลกมาจดั ในไทย (World Class International Fair) 12. 11. โครงการสร้างเครือข่ายความรว่ มมอื ท้ังในและนอกคลัสเตอร์เพอ่ื ส่งเสริมการเข้ามาใชบ้ ริการในประเทศรวมทง้ั ขยายธรุ กจิ ไปตา่ งประเทศ (Inward & Outward Service) 13. 12.โครงการ Creative Startup Proactive ทใ่ี ห้เงนิ ทุนสาหรับ Talent พฒั นาผลงานสตู่ ลาด หรือสนบั สนนุ การเขา้ ถงึ แหล่งทนุ ใหม่ Venture Capital, Crowdfunding 35 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลือ่ นประเทศไทยสู่ความมัง่ ค่งั ม่ันคง และยั่งยนื อตุ สาหกรรม เปา้ หมาย แนวทางการพัฒนาอุตสา ผปู้ ระกอบการทมี่ ีศกั ยภาพ • สร้างความเช่อื มน่ั และแสดงศกั ยภา คอนเทนตไ์ ทยให้เปน็ ทร่ี ูจ้ ักทง้ั ในแล • บูรณาการหน่วยงานภาครฐั เพอื่ แกไ้ อานวยความสะดวกการประกอบธรุ Doing Business) เช่น การขอใบอน ตา่ งๆ รวมท้ังการใช้ประโยชนจ์ ากก ระดับทวิพาคแี ละพหุพาคี - 13

าหกรรม โครงการ าพของธรุ กจิ ดิจทิ ัล ละต่างประเทศ ไขปญั หาอปุ สรรค รกิจ (Ease of นุญาต ใบรับรอง การเจรจาเชิงรกุ ใน 36 -


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook