Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Thailand-4.0_2 ้ที่ควรรํุ้

Thailand-4.0_2 ้ที่ควรรํุ้

Published by nguan2521, 2019-11-25 23:07:22

Description: Thailand-4.0_2

Search

Read the Text Version

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลือ่ นประเทศไทยสู่ความมั่งคงั่ มน่ั คง และย่ังยนื - กองทุนกูย้ มื เพ่ือสมาร์ทฟารม์ เมอร์ (ก.ย.ส.)  กองทนุ ระหวา่ งการประกอบอาชีพ - Risk Management และ Mitigation - Angel Fund และ Venture Capital Funds ข้อมูลและระบบสารสนเทศทางการเกษตร (Big Data) ประกอบไปดว้ ย - ศูนยข์ ้อมูลด้านความเหมาะสมของพ้ืนท่ีผลติ - ศูนย์ขอ้ มูลประมาณการผลผลติ สินค้าเกษตร - ศูนย์ขอ้ มูลสภาวะการตลาดและการค้า - ศูนยข์ ้อมลู บัญชรี ายชอื่ Smart Farmers และผู้ประกอบการด้านต่าง ๆ - ศนู ยข์ ้อมูลบัญชีรายช่ือหน่วยงานของรัฐและเอกชนท่ีให้บริการสนับสนุนข้อมูลข้ันตอนด้านต่าง ๆ ตลอดหว่ งโซ่ - ระบบบรหิ ารจดั การความรูด้ ้านการเกษตร การเชอ่ื มโยงหว่ งโซ่ผู้ผลิตสหู่ ่วงโซ่ผู้บริโภค ประกอบไปดว้ ย - ปจั จัยการผลิต เช่น สายพนั ธ์ุ เมล็ดพนั ธุ์ - ช่วงการเพาะปลูก เช่น Feed Technology เครื่องจักรกลการเกษตรสาหรับเกษตรกรราย ย่อย Precision Farming ห่นุ ยนต์เพอื่ การเกษตร IoT ภาคเกษตร - หลังการเก็บเกี่ยว เช่น ระบบการคัดคุณภาพ Food Processing Technology บรรจุภัณฑ์ ลอจิสติกส์ทั้งระบบ Cool Chain และ Cold Chain การเก็บรักษาและระบบการตรวจสอบ ยอ้ นกลับ Zero-Waste Technologies - การตลาด เช่น E-Commerce การพฒั นา Platform for Collaboration ประกอบไปดว้ ย - พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานเพอ่ื การแบ่งปนั ข้อมูลและความรู้ - พัฒนาระบบสหกรณ์แบบใหม่ที่เป็น Marketing Arms ให้กับเกษตรกรท่ีเป็น Smart Farmer และการพัฒนาคลสั เตอร์ - พัฒนาระบบการเงนิ และบัญชีสหกรณ์ - สนบั สนุน Smart Farmers ให้เปน็ ผบู้ รหิ ารสหกรณ์ - พัฒนากลไกโครงสรา้ งแบบ JA (Japan Agricultural Cooperatives) Group - 51 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลื่อนประเทศไทยสูค่ วามมัง่ คงั่ ม่นั คง และย่งั ยืน กล่มุ เป้าหมายทีจ่ ะพัฒนาเปน็ Smart Farmers เกษตรกรพนั ธ์ใุ หม่ (New Breeds) สรา้ งคนร่นุ ใหม่ไปกระตุ้นใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงในระดับ ชุมชน (Agent of Change) ต้องขยายโมเดลไปยังสถานศึกษาต่างๆ เพ่ือให้มีคนรุ่นใหม่มากพอท่ีจะเกิด ผลกระทบ (Impact)1 ประเด็นท้าทายของคนกลุ่มนี้ คือ ความด้อยประสบการณ์ ส่วนใหญ่มักมีปัญหาด้าน เงินทุน ดังนั้นต้องใช้ระยะเวลาในการพัฒนา เกษตรกรรุ่นใหม่ (Young Farmers) คนร่นุ ใหม่จากตา่ งสาขาอาชพี ที่ตอ้ งการทาธุรกิจเกษตร (เกษตรกรหน้าใหม่) สามารถดาเนินการไดใ้ นแทบทกุ จงั หวัด คนกลุ่มนี้ส่วนใหญ่จะอยู่ในอาเภอเมืองซ่ึงมีความ พร้อมอยแู่ ล้วในระดบั หนึ่ง การดาเนนิ การพรอ้ มกันในหลายจังหวัดจะเกดิ ผลกระทบ (Impact) ได้ เกษตรกรปจั จบุ นั (Existing Farmers) ซง่ึ มอี ยเู่ ป็นจานวนมาก แตข่ ับเคลื่อนยากมากเพราะ อายมุ าก ไมม่ สี รรพกาลังและไมช่ อบการเปล่ยี นแปลง ดงั นั้น ในการขบั เคลือ่ นจะใช้แนวทางคขู่ นาน โดย 1. พัฒนา Young Farmers ท่ีมีอย่ใู นทุกจงั หวัดใหเ้ ป็น Smart Farmers 2. พัฒนา New Breed และทาการจับคู่เกษตรกรรุ่นใหม่นี้ กับ Existing Farmers ที่มีความพร้อม และผา่ นการคดั เลอื ก เป้าหมาย เป้าหมายผลผลิตสะสมการสรา้ ง Smart Farmers จาก Young Farmers ระยะเวลา 5 ปี 10 ปี 15 ปี 20 ปี จานวน Smart Farmers 300 คน 1,000 คน 1,500 คน 2,000 คน เป้าหมายผลผลติ สะสมการสรา้ ง Smart Farmers จาก New Breeds ระยะเวลา 5 ปี 10 ปี 15 ปี 20 ปี จานวน Smart Farmers 100 คน 500 คน 1,500 คน 5,000 คน 1 ดังเช่นตัวอยา่ งของการพัฒนานิสติ ในหลกั สูตรบริหารจดั การทรัพยากรการเกษตร ของสานักวชิ าทรัพยากร การเกษตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 52 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคล่อื นประเทศไทยสูค่ วามมัง่ คัง่ ม่ันคง และยง่ั ยืน เปา้ หมายผลผลติ สะสมรวม 5 ปี 10 ปี 15 ปี 20 ปี 400 คน 1,500 คน 3,000 คน 7,000 คน ระยะเวลา จานวน Smart Farmers การยกระดับขีดความสามารถของ SMEs ความสาคัญของ SME ต่อภาคเศรษฐกจิ ของไทย จากปัจจุบันพบวา่ GDP ของธุรกิจ SMEs ในปี 2558 มมี ูลคา่ 5,559,534 ล้านบาท คิดเปน็ ร้อยละ 41.1 ของ GDP รวมทั้งประเทศ โดยมีจานวนวิสาหกิจรวม 2,765,986 ราย มีลักษณะการกระจายตัวอยใู่ น กลุ่มภาคการขายสง่ ขายปลีกมากทสี่ ดุ รองลงมาอยู่ในภาคการบริการ และภาคอุตสาหกรรม มีการจา้ งงานในธรุ กิจ SMES 10,749,735 คน หรือคดิ เปน็ รอ้ ยละ 80.44 ของการจา้ งงานรวมทัง้ หมด สาหรบั ด้านการส่งออกปี 2558 ประเทศไทยมีมลู คา่ การสง่ ออกโดยรวม 7,227,927.43 ล้านบาท แต่เปน็ การ สง่ ออกของ SMEs เพียง 1,980,434.58 ล้านบาท คิดเปน็ ร้อยละ 27.40 ของมลู ค่าการส่งออกท้งั หมด หรอื เม่ือพจิ ารณาจานวนของ SMEs ท่สี ง่ ออกของประเทศในปี 2559 พบว่าเปน็ SMEs 25,788 กิจการ จาก จานวนทงั้ ส้ิน 37,641 กจิ การ จะเห็นไดว้ า่ สถิติท่กี ล่าวถึงสะท้อนความสาคัญของ SMEs ในการเปน็ กลไกหลกั ในการขับเคล่อื น เศรษฐกิจของประเทศ แตถ่ ้าพจิ ารณาในเชิงคณุ ภาพจะเห็นได้วา่ ศักยภาพของ SMEs ไทยยังอยใู่ นระดับท่ีต่า นโยบายทีจ่ ะขบั เคลื่อน Thailand 4.0 ทล่ี ว้ นต้องอาศยั องคาพยพทุกภาคส่วนในการยกระดบั พัฒนาตนเองให้ “ก้าวขา้ ม” การเปน็ ประเทศที่มรี ายได้ปานกลางไปส่ปู ระเทศท่มี ีรายได้สงู โดยเฉพาะในส่วน ของการขับเคลื่อน SMEs ท่ีถือเป็นฐานสาคัญของภาคเศรษฐกจิ ไทย ปญั หาและความตอ้ งการของ SME ในประเทศไทย OECD (Organization of Economic Cooperation and Development) ซ่ึงเป็นการรวมกลุ่มของ ประเทศทพี่ ฒั นาแล้ว และเป็นต้นแบบของการส่งเสริม SMEs ได้ร่วมกับสานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอ่ ม(สสว.) จัดทาเอกสารประเมินการส่งเสริม SMEs ในไทย โดยได้ขอ้ มลู สรปุ ดังน้ี - 53 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลอื่ นประเทศไทยสู่ความม่ังคั่ง มัน่ คง และยัง่ ยนื  ประเทศไทยขาดการส่งเสริม SMEs อย่างบูรณาการ ที่ผ่านมา SMEs ของไทยพัฒนาอย่างไร้ ทศิ ทาง แผนแมบ่ ท SMEs แหง่ ชาติจัดทาโดย สสว. ไม่มหี น่วยงานของรฐั อ่ืนนาไปปฏบิ ัตติ าม  ประเทศไทยขาดการสนับสนุนงบประมาณประจาปีอย่างต่อเนื่อง (Multi–Year Budgeting) เพ่ือส่งเสริม SMEs รายสาขาอย่างต่อเน่ืองจนเป็นผลสาเร็จ ตาม Roadmap ของภาครัฐและ เอกชน  ประเทศไทยขาดการส่งเสริม SMEs แบบ Portfolio Approach ซ่ึงจะแบ่ง SMEs เป็นกลุ่มตาม วงจรธุรกจิ (Life Cycle) กลา่ วคือ กลุ่มพึ่งเรม่ิ ตน้ ธุรกิจ (Pre-Start-Up) กลุ่มเร่ิมต้นธุรกิจ (Start- Up) กลุ่มท่ีอยู่ในช่วงการขยายธุรกิจ (Expansion) กลุ่มท่ีอยู่ในช่วงการเติบโตของธุรกิจ (High Growth) กลุ่มท่ีอยู่ในช่วงการขยายธุรกิจสู่ต่างประเทศ (Internationalization) และกลุ่มท่ีอยู่ ในช่วงผกผันของธุรกิจ (Turn Around) ทาให้เกิดการส่งเสริม SMEs แบบซ้าซ้อน โครงการส่วน ใหญท่ ัว่ ประเทศเนน้ แตส่ ่งเสริมการเร่ิมตน้ ธุรกิจ (Start-Up)เปน็ หลัก ผลทเี่ กดิ ข้ึนกค็ อื - OTOP ไมส่ ามารถเติบโต เปน็ S - S ไมส่ ามารถเติบโตเป็น M - M ไมส่ ามารถเติบโตเป็น L  OECD ยังพบว่าประเทศไทยประสบวิกฤตที่เรียกว่า “The Missing Middle” (Missing M) กล่าวคือ ไทยมีวิสาหกิจขนาดกลางเพียงไม่ถึง 14,000 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.5 ของธุรกิจ SMEs ทั้งหมดในขณะที่สถิตติทั่วโลกแต่ละประเทศจะมี M อยู่ประมาณร้อยละ 5-10 ของ SMEs ท้ังหมด  โดยปกติธุรกิจขนาดกลาง (M) จะเป็นธุรกิจท่ีสามารถใช้ประโยชน์จากการค้าการลงทุนระหว่าง ประเทศ และเป็นกลุ่มซึ่งสามารถสร้างมูลค่าเพิ่ม มีนวัตกรรมใหม่ๆให้ประเทศ หากมีจานวน M น้อยประเทศนน้ั ๆ ยอ่ มมีวกิ ฤตเรอื่ งขดี ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศตามมาโดยปกติ  ธุรกิจขนาดกลาง (M) จะเป็นธุรกิจท่ีสามารถใช้ประโยชน์จากการค้าการลงทุนระหว่างประเทศ และเป็นกลุ่มซึ่งสามารถสร้างมูลค่าเพ่ิม มีนวัตกรรมใหม่ๆให้ประเทศ หากมีจานวน M น้อย ประเทศนั้นๆ ย่อมมีวิกฤตเร่ืองขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศตามมา สถานการณ์ SMEs ของไทยในปัจจุบัน สัดสว่ นของ SMEs ใน GDP ลดลงอย่างต่อเนอ่ื งจาก 42% ในช่วงก่อน วิกฤตเศรษฐกิจเอเชียในปี 2555 เหลือรอ้ ยละ 37 ทาให้ความหวังของประเทศไทยในการก้าวข้าม จาก ประเทศรายได้ปานกลาง เปน็ เรื่องท่หี ่างไกลความเป็นจริงมากข้นึ  ผลติ ภาพแรงงานของ SME ตา่ มาก SMEs ไทยเกอื บจะไม่ลงทนุ ในเทคโนโลยีเลย ในระยะเวลา 5 ปีท่ผี า่ นมา ทาให้ SMEs ไทยตดิ กับเร่อื งการวจิ ัยและพฒั นา และจะส่งผลต่อขดี ความสามารถของ ประเทศในระยะยาว ทาให้ SMEs ของไทย ผลติ สนิ คา้ ที่ยงั ขาดการเพ่มิ มลู ค่าของสนิ คา้  ภาคเศรษฐกิจนอกระบบ มีสัดส่วนในระบบเศรษฐกิจสูงมาก ธนาคารโลกรายงานว่ากว่าร้อยละ 50 ของธุรกิจ SMEs อยใู่ นภาคเศรษฐกิจนอกระบบ ซึ่งไมจ่ ดทะเบยี นการคา้ และไมม่ ีการเสยี ภาษี - 54 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคลอื่ นประเทศไทยสคู่ วามมงั่ คั่ง มั่นคง และยั่งยืน แนวทางการขับเคลอ่ื น SME ตามกรอบ Thailand 4.0 เปา้ หมาย เพมิ่ รายได้และสัดส่วนใน GDP ของ SMEs ให้ถึงร้อยละ 50 ของ GDP ประเทศ ภายใน 10 ปี ตวั ชีวดั ความสาเร็จ ประกอบไปดว้ ย 1. มลู คา่ ตลาดของสินค้าและบริการภายในประเทศ (GDP) ของ SME ขยายตัวเพ่ิมขน้ึ ไมน่ ้อย กวา่ ร้อยละ 4 ต่อปี (เพื่อให้สามารถเพ่ิมรายได้และสดั ส่วนใน GDP ของ SME ใหถ้ ึงรอ้ ยละ 50 ของ GDP ประเทศภายในปี 2567) 2. มูลค่าการสง่ ออกสนิ คา้ ของ SMEs ขยายตัวเพ่ิมข้ึนไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 5 ต่อปี (เพื่อเพ่ิม สดั ส่วนการสง่ ออกของ SMEs ให้ถึงรอ้ ยละ 40 ของมูลค่าการส่งออกท้งั หมดของประเทศ ภายในปี 2563) 3. มีจานวนผู้ประกอบการใหมแ่ ละผปู้ ระกอบการเดมิ เขา้ สรู่ ะบบภาษอี ยา่ งถกู ต้องเพ่ิมขึน้ ไม่น้อย กวา่ 60,000 รายตอ่ ปี กลุ่มเปา้ หมาย SMEs เพอื่ การพฒั นาตามศักยภาพ ยุทธศาสตร์การส่งเสริม SMEs ได้ กาหนดเป้าหมายในการส่งเสริมไว้ 3 กลุ่ม ดว้ ยกันคือ กลมุ่ Turn Around SMEs เปน็ กลุม่ ที่ต้องใหค้ วามช่วยเหลอื ในหลายๆสว่ น โดยท่ีผ่านมาภาครัฐ มีนโยบายออกมาชว่ ยเหลอื ให้ SMEs กลมุ่ นี้ ผา่ นโครงการ Rescue SMEs กลุ่ม Regular SMEs เป็นกลุ่มท่มี ีความพร้อมอยแู่ ลว้ ในระดับหน่งึ และสามารถขยบั ตวั เอง โดย จะต้องมีมาตรฐานที่อยู่ในระดับสากล มีการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ด้วยผลผลิตและสร้าง มูลคา่ เพม่ิ ดว้ ยนวัตกรรม มาตรการต่างๆท่ีรัฐบาลดาเนินการอยู่ในปัจจุบัน เพื่อสนับสนุนกลุ่ม Regular SMEs ประกอบไปด้วย  Ease of Doing Business  บรู ณาการแหลง่ เงินทนุ สาหรับ SMEs  จดั ตงั้ One Stop Service สาหรับ SMEs  ขยายผลโครงการพีจ่ งู นอ้ งโดยประชารฐั  ให้แตม้ ต่อ SMEs ในโครงการจัดซอ้ื จดั จา้ งภาครฐั  สง่ เสริมการทาตลาดในตา่ งประเทศผา่ นโครงการ SME Proactive  พฒั นาและเชอ่ื มโยง Regional Sourcing/Value Chain  สนับสนุนเร่ืองโครงสร้างพ้ืนฐาน และองค์ความรู้ด้านทรัพย์สินทางปัญญา การเข้าถึงข้อมูลสิทธิบัตร แนวโน้มเทคโนโลยแี ก่ SME - 55 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลือ่ นประเทศไทยสู่ความมง่ั คัง่ มน่ั คง และยั่งยนื กลมุ่ Strong SMEs เปน็ กลมุ่ ทมี่ ีศักยภาพและความพร้อมท่จี ะพัฒนาไปสู่การเป็น Smart SMEs มาตรการระยะสน้ั (ภายใน 1 -3 ปี) ประกอบไปดว้ ย  การพัฒนากองทนุ ประกอบด้วย กองทนุ เพื่อยกระดบั ขดี ความสามารถสู่ IDEs การสง่ เสรมิ SMEs Investment Companies และธุรกิจ Venture Capital  การจดั ตงั้ องค์กรสนับสนนุ ประกอบไปดว้ ย สถาบันขบั เคล่ือนยุทธศาสตร์เทคโนโลยี/อุตสาหกรรม เปา้ หมายรายสาขา Incubator, Accelerator, IDE Center  การยกระดบั ขีดความสามารถ ประกอบดว้ ย Spring สาหรับ SMEs (Standards, Productivity, Innovation) การพฒั นา Service Oriented Supporting Industries (อาทิ Service Design, Machine Tools, Logistics Service Providers, Information Services, etc.)  การสร้างแพลทฟอรม์ ความรว่ มมือระหวา่ งมหาวิทยาลัย SMEs และหนว่ ยงานของรฐั  การพฒั นาองค์ความร้แู ละการบรกิ ารจดั การ อาทิ จดั ตัง้ Entrepreneurial Academy การพัฒนา โปรแกรม e-Learning สาหรับ SMEs การพฒั นาทกั ษะสาหรับคลัสเตอร์เทคโนโลยี/อตุ สาหกรรมแห่ง อนาคต เป็นต้น ส่วนมาตรการระยะปานกลาง (ภายใน 3-5 ป)ี ประกอบไปด้วย  Digital Transformation สาหรับ SMEs  การพัฒนา Open Innovation สาหรบั SMEs  การสร้าง SMEs Big Data  การส่งเสริมให้ SMEs ลงทุนใน R&D  การสรา้ งเครือขา่ ยความร่วมมือ ด้วยการสรา้ ง Global Collaborative Network & Partnerships การเปลี่ยนธรุ กจิ บริการแบบดงั เดิม เป็น High Value Services ภาคบริการของไทยมบี ทบาทสาคัญต่อการพัฒนาและรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศมาก ขน้ึ อยา่ งต่อเนือ่ งทง้ั ยังเป็นองค์ประกอบพ้ืนฐานในการช่วยสนับสนุนภาคการผลิตอ่ืนๆ ในปี 2558 ภาคบริการ มีสัดส่วนร้อยละ 51.9 ของ GDP มีการจ้างงานร้อยละ 45 ของการจ้างงานรวม อย่างไรก็ตามเม่ือ เปรียบเทียบกับประเทศที่พัฒนาแล้วที่ใช้ภาคบริการเป็นแรงขับเคลื่อนหลักของระบบเศรษฐกิจ จะเห็นได้ว่า ประเทศเหลา่ น้นั จะมสี ัดส่วนภาคบริการสูงถงึ ร้อยละ 70-80 ของ GDP และมกี ารจา้ งงานในอตั ราท่สี ูงเชน่ กัน - 56 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคลอื่ นประเทศไทยสู่ความมง่ั คง่ั มนั่ คง และยงั่ ยนื ด้วยบริบทการเปลี่ยนแปลงของโลกในปัจจุบัน ที่เปลี่ยนจากยุคอุตสาหกรรมสู่ยุคดิจิตอล เกิด Connectivity, Interactive, Mobility อย่างรวดเร็ว ทาให้มีการแข่งขันมากข้ึน ประเทศไทยจาเป็นต้องปรับ โครงสรา้ งเศรษฐกิจการคา้ ระหว่างประเทศจากที่ขน้ึ กบั ภาคการค้าสินค้าเป็นหลัก เป็นการเน้นภาคบริการมาก ขึ้น และท่ีผ่านมาการส่งเสริมธุรกิจบริการเป็นไปอย่างไร้ทิศทาง ไม่เป็นระบบ และไม่สามารถใช้ศักยภาพของ จุดเด่นที่มีอยู่ได้อย่างเต็มศักยภาพ การก้าวสู่ Thailand 4.0 พลังขับเคล่ือนในกลุ่มอุตสาหกรรมนี้ต้องมีพลัง และแรงพออยา่ งมีทิศทาง ธรุ กจิ บริการในมุมมองเชงิ ธรุ กจิ ท่ีให้ความสาคัญกับการสร้างมูลค่าให้กับลูกค้า ที่ปัจจุบันได้ผลกระทบ จากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ รูปแบบธุรกิจใหม่และพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปล่ียนแปลงไป สามารถแบ่งธรุ กิจบรกิ ารไดเ้ ปน็ 4 ประเภทหลักๆ ดง้ นี้ 1. ธุรกิจบริการด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน (Infrastruture Services) ได้แก่ สถาปัตยกรรม วิศวกรรม กอ่ สรา้ ง การขนส่ง การกระจายสนิ ค้า การเงิน 2. ธรุ กิจบรกิ ารด้านสนับสนุนการประกอบธรุ กจิ (Supporting Business Services) 2.1 เก่ียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและบริการต่อเน่ือง (Information Technology and Related Services) เช่น Computer Consultancy, Software Developer, Data Processing, Database Management, Call Center 2.2 ไม่เก่ียวกับ IT (Non-IT Business Related) เช่น การวิจัยและพัฒนา การให้เช่า เครื่องมืออุปกรณ์ การสารวจตลาด บริการให้คาปรึกษาด้านบริหารจัดการองค์กร บริการแปล บริการสืบหา บรกิ ารรักษาความปลอดภยั การประกันภยั การบรรจุภณั ฑแ์ ละการพิมพ์ 3. ธุรกิจบริการวิชาชีพเฉพาะ (Professional Services) เช่น นักบัญชี นักกฎหมาย แพทย์ ทันต แพทย์ 4. ธุรกิจบริการที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิต (Quality of Life Services) เช่น บริการที่เก่ียวข้องกับ การศกึ ษา สขุ ภาพ กฬี า บนั เทิง การโรงแรม การเลย้ี งรบั รอง การทอ่ งเทย่ี วและวฒั นธรรม สาหรับประเทศไทยธุรกิจบริการที่มีศักยภาพ เป็นที่ยอมรับในระดับสากล มีผู้ประกอบการและ บุคลากรที่มคี วามรคู้ วามสามารถและประสบการณ์เป็นจานวนมาก มีธุรกิจต่อเน่ืองและธุรกิจพื้นฐานท่ีเข้มแข็ง และมีคุณภาพ เกี่ยวข้องกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์และการนาวัฒนธรรมที่ทรงคุณค่ามาสร้างมูลค่าเพิ่ม สามารถพัฒนาสูก่ ารเป็นธรุ กิจบรกิ ารท่ีมมี ลู คา่ สงู (High Value Services) มี 6 ธุรกิจ ได้แก่ - ธุรกิจบริการด้านสุขภาพและการแพทย์ (Wellness & Medical Service) สุขภาพ: สปา เสริมสวย บริการผสู้ งู อายุ การแพทย์: การตรวจรา่ งกาย ทนั ตกรรม ศลั ยกรรม - 57 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคล่ือนประเทศไทยสู่ความมง่ั คงั่ มนั่ คง และย่งั ยนื - ธรุ กิจบรกิ ารดา้ นดิจิทลั คอนเทนต์ (Digital Content Service) ภาพยนตร์ โฆษณา แอนนิเมช่ัน เกม ซอฟแวร์ - ธุรกิจบริการด้านการต้อนรับ (Hospitality Services) เช่น การบริการท่องเที่ยว การบริหารจัดการ โรงแรม การจดั เลีย้ ง การจัดอีเวนต์ - ธุรกิจบริการด้านการศกึ ษา (Education) - ธุรกิจบริการวิชาชีพเฉพาะ เช่น นักออกแบบ นักบัญชี นักกฏหมาย ที่ปรึกษา แพทย์ ทันตแพทย์ นักพัฒนาไอที - ธรุ กจิ บรกิ ารดา้ นโลจิสตกิ สก์ ารค้า เชน่ บรกิ ารขนสง่ สินค้า คลังสินค้า ศูนย์กระจายสินค้า โลจิสติกส์ ไอที การส่งจดหมายและพสั ดุ โดยมมี าตรการยกระดบั ขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ของ 6 คลัสเตอร์บริการดังกล่าว ประกอบไปด้วย (ดังตารางท่ี 2.1) ตาราง 2.1 : มาตรการยกระดับขดี ความสามารถในการแข่งขันของภาคบรกิ าร ระยะสั้น (ภายใน 1 -3 ปี) ระยะกลาง (3-5 ปี)  การสง่ เสริมการลงทุนใน 6 คลัสเตอรบ์ รกิ าร  การจัดตงั้ Service Innopolis  การพัฒนา Service Design Cluster เพือ่ เปา้ หมาย  การจดั ตัง้ กองทุนเพ่ือการพฒั นา 6 คลสั เตอร์บริ สนบั สนนุ High Value Services  การสร้าง Global Collaborative Network การเปา้ หมาย  การ ส่งเสรมิ Incubator และ Accelerator ใน 6 คลัสเตอรบ์ ริการเปา้ หมาย  การสรา้ ง Global Market Network ใน 6 สาหรบั High Value Service Startup  การกาหนดมาตรฐานในการให้บริการใน 6 คลัสเตอรบ์ ริการเป้าหมาย คลสั เตอร์บรกิ ารเป้าหมาย การส่งเสรมิ การพฒั นา Startups ประเทศท่ีเปน็ ผนู้ าด้านการส่งเสริมธุรกจิ เกดิ ใหม่ (Startup) ในอาเซียน ประกอบไปดว้ ย  สิงคโปร์: รัฐบาลรว่ มกับภาคเอกชน ในการผลักดนั ธุรกจิ ชนิดใหม่  มาเลเซีย: MaGIC ซง่ึ ได้รบั การสนบั สนนุ ทงั้ หมดจากรฐั บาล - 58 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคล่อื นประเทศไทยสคู่ วามมงั่ คั่ง มั่นคง และยัง่ ยืน  เวยี ดนาม: มี Silicon Valley of Vietnam ผลักดันโดยกระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละ ICT  อินโดเนเซีย: เพิ่งเปิดตวั “1,000 Startups Movement” โดยตง้ั เปา้ จะพฒั นาธรุ กจิ เกิดใหม่ 1,000 ธุรกจิ ภายในปี 2020 ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นา Startups ภายใต้ Thailand 4.0 ภายใต้แนวคิดของการเปล่ียนจากการ “ปักชา” เป็น “รากแก้ว” ท้ัง 5 กลุ่มเทคโนโลยีหลักจะ เปรียบเสมือนเป็น “ต้นนา” และ 5 อุตสาหกรรมเป้าหมาย จะเปรียบเสมือนเป็น “กลางนา” ที่จะก่อให้เกิด Startup ผู้ประกอบการและเครือข่ายวิสาหกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมต่างๆมากมายท่ี “ปลายนา” ท่ี หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจท่ีเน้นเทคโนโลยีเกษตร (Agritech) เทคโนโลยีอาหาร (Foodtech) ธุรกิจ สุขภาพ (Healthtech) หุ่นยนต์ (Robotech) e-Commerce ธุรกิจการท่องเท่ียว (Traveltech) และธุรกิจ การออกแบบ (Designtech) เป็นตน้ (ดูรูปท่ี 2.10) รูปที่ 2.10 : ห่วงโซก่ ารสรา้ งมูลคา่ ใน Thailand 4.0 การสรา้ ง Enabling Ecosystem สาหรับ Startups ณ ขณะนี้ ประเทศไทยมีธุรกจิ เกิดใหม่ขน้ึ มากมาย ครอบคลุมไปทง้ั ประเทศ ซึง่ เปน็ เรื่องท่ีดี แต่การ เกดิ ใหม่ที่เปน็ อยู่ในปจั จุบัน ยังไมม่ ี Enabling Ecosystem ท่ชี ัดเจนและตอ่ เนื่องกนั ทาใหไ้ ม่มีการลนื่ ไหลของ วงจรการเกดิ ธรุ กจิ ใหม่ ไปจนถงึ การขยายตวั เป็นธุรกจิ ระดับโลกได้ ดังน้นั ภายใต้ Thailand 4.0 รฐั บาลมี - 59 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลือ่ นประเทศไทยส่คู วามม่ังคงั่ ม่ันคง และยง่ั ยนื นโยบายสง่ เสริมอย่างจริงจังในทกุ ๆขนั้ ตอนของธรุ กิจเกดิ ใหม่ ต้งั แต่เรื่องของ Ideas, Angel หรือ Venture Investors, Incubators, Accelerators, Exchange Market สาหรับการ Exit หรอื Expand รฐั บาลมีนโยบายผลักดนั ให้ประเทศไทยเปน็ “ศูนย์กลางเชือ่ มโยงและปลายทางการลงทุน Startup ของอาเซยี น” 1. สนบั สนนุ ใหเ้ กดิ การประกวดไอเดีย โดยตัง้ เป็นเวทปี ระกวดท่ัวประเทศ โดยเนน้ ไอเดียทจ่ี ะทาธุรกิจ ในกลุ่มที่อยูใ่ น Thailand 4.0 โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง ใน 5 กลุ่มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเปา้ หมาย 2. ให้แรงจูงใจท่ีแรงและเด่นชัด กับผู้ลงทนุ เร่มิ แรก Angel และ Venture Investors เพราะเป็นผู้ที่ เสี่ยงมากท่ีสุดในการลงทุนจริงๆ ในส่วนนี้ ควรใหแ้ รงจงู ใจพเิ ศษกับธรุ กิจเกิดใหม่ ที่ร่วมทนุ กับต่างชาติ เพราะเทา่ กบั มคี นมากลั่นกรองแล้ววา่ เป็นธุรกิจท่นี ่าจะขยายตัวในระดบั โลกได้ 3. มนี โยบายสง่ เสรมิ จริงจังใหเ้ กดิ การบ่มเพาะและเร่งโตสาหรบั ธรุ กจิ เกดิ ใหม่ (Incubators และ Accelerators) ซง่ึ ส่วนใหญ่ คอื ภาคเอกชน 4. มีนโยบายจดั ต้ังตลาดหลักทรัพยส์ าหรับธุรกจิ เกดิ ใหม่ เพ่ือให้ผู้ลงทุนเร่มิ ต้นไดข้ ายหุ้นของธรุ กจิ เกดิ ใหมท่ ่ปี ระสบความสาเรจ็ แลว้ (Pop Corn Business) ให้กับผลู้ งทนุ รายอื่นทส่ี นใจ และเป็นการเพิ่ม ทนุ ใหก้ บั ธุรกจิ น้ันด้วย สว่ นนตี้ ้องมีนโยบายจาก กลต และตลาดหลกั ทรัพย์ โดยมมี าตรการที่จะสร้างระบบนเิ วศน์ท่ีเอื้อต่อการบ่มเพาะ Startup อันประกอบไปด้วย (ดังตารางท่ี 2.2 – 2.4) 1) การสนบั สนุนดา้ นการเงินและมาตรการบรหิ ารความเสี่ยง 2) การพฒั นาศกั ยภาพและขีดความสามารถของ Startup ไทย 3) การสร้างความเชือ่ มโยงกบั ภูมภิ าคและประชาคมโลก ตาราง 2.2 : สนับสนุนดา้ นการเงนิ และลดความเส่ยี ง (Finance and Risk Capital) กลยุทธ์ ประเดน็ หนว่ ยงาน 1. จัดตง้ั Government Angel  สนับสนุน Pre – Seed ให้กบั สตารท์ อัพ ก.คลัง ก.พาณชิ ย์ Fund เพอ่ื สร้าง Seed Money เพ่อื สร้าง Prototype สูงสดุ ร้อยละ 85 ก.วทิ ยาศาสตร์ และเอกชนท่สี นใจร่วมลงทุน ของค่าใชจ้ า่ ยจริง และเทคโนโลยี  สรา้ ง Matching Fund องค์กรเอกชน - 60 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคล่อื นประเทศไทยส่คู วามม่ังคั่ง มนั่ คง และย่ังยนื หรือ VC และรฐั ในสดั ส่วน 1:6 2. ยกเว้นภาษกี ารลงทุนในสตาร์ท ก.คลัง อัพ หรอื ภาษีเงนิ ได้ทั้งหมดของ สตาร์ทอัพที่ผา่ นเกณฑ์ 6 ปแี รก  องค์กรเอกชนสามารถหักคา่ ใช้จ่ายภาษี ก.คลงั จากการลงทนุ ตลาดหลักทรพั ยฯ์ 3. สนบั สนนุ ภาคเอกชน ตง้ั Angel สภาอุตฯ/สภา Fund และ Corporate  ถ้าลงทนุ จะไดร้ บั ยกเวน้ ภาษกี าไรทัง้ หมด หอการค้าฯ Venture Fund แต่ต้องเขา้ Exit & Expand Scheme ใน ตลาดหลกั ทรพั ย์ท่ตี ้ังขึ้นใหม่ ก.คลงั 4. สรา้ งความเข้าใจและแรงจูงใจให้ ตลาดหลักทรัพยฯ์ เกิด Angel Investor  ขน้ึ ทะเบียน High Net Worth Individual สภาอุตฯ/สภา และ Angel Investor หอการค้าฯ 5. การประเมินมลู คา่ ทรัพย์สินทาง ปญั ญา  สรา้ งความเข้าใจในการลงทุนในสตารท์ อัพ ก.คลัง  นกั ลงทุนสามารถนามาหักภาษีได้และได้รับ ก.พาณิชย์ สมาคมประเมิน การยกเวน้ ภาษีเมื่อได้ผลกาไรจากการ เขา้ มูลคา่ ทรัพยส์ ิน Exit & Expand Scheme ในตลาด ทางปัญญา หลักทรัพย์ที่ตง้ั ขึ้นใหม่  สนับสนนุ ให้เกิดนักประเมินมูลคา่ ทรัพย์สิน ทางปญั ญา  ใหส้ ถาบันการเงนิ มหี นา้ ท่ีประเมนิ มูลค่า ทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา - 61 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลอื่ นประเทศไทยสคู่ วามมง่ั คง่ั มนั่ คง และยัง่ ยนื ตาราง 2.3 : สง่ เสริมศกั ยภาพสตารท์ อพั ไทย (Capability to Grow) กลยทุ ธ์ ประเด็น หน่วยงาน 1. รฐั ร่วมมือกับมหาวิทยาลยั จัดต้ัง  สร้าง Cluster ความถนดั ของสถานศึกษา สกอ. ศูนย์ใหค้ าปรึกษา สตารท์ อัพ ด้านธรุ กจิ เทคโนโลยี และ และมหาวิทยาลัยในแตล่ ะพนื้ ท่ี มหาวทิ ยาลยั นวัตกรรม ตามพ้ืนทแ่ี ละความ ถนัดพเิ ศษ  เชือ่ มโยงการทางานกบั เอกชนในพน้ื ที่ สภาอตุ ฯ/สภา 2. ร่วมกนั จัดตั้ง IDE Center ภมู ิภาค  สนบั สนุนมหาวิทยาลยั และเอกชนในการ หอการค้าฯ 2. มหาวทิ ยาลัยจัดตงั้ VC Unit ดึงอาจารย์และผู้เช่ยี วชาญจาก กรมทรัพยส์ ินทาง เพ่ือร่วมลงทนุ กับงานวจิ ัยของ คณาจารย์ นกั ศึกษา และ ต่างประเทศเพอ่ื ให้บริการความรกู้ ับ ปัญญา ก.พาณิชย์ สตารท์ อัพ สตาร์ทอัพ  โครงการแลกเปลี่ยนผเู้ ช่ยี วชาญในแต่ละ สาขาจากมหาวิทยาลยั และศูนย์วจิ ัยช้ันนา ของโลก  มหาวทิ ยาลัยจัดต้ังบรษิ ัทท่ีสมารถร่วมทุน สกอ. ในนวัตกรรม มหาวทิ ยาลัย  ภาคเอกชนร่วมกาหนดทศิ ทางการลงทนุ สภาอตุ ฯ/สภา และวจิ ยั หอการค้าฯ 3. สนบั สนนุ ภาคเอกชนจดั ต้ัง  ใหอ้ งค์ความรู้ เทคโนโลยี และร่วมลงทนุ สภาอุตฯ/สภา Startup Center กบั สตารท์ อัพ หอการค้าฯ  รฐั ให้ทนุ สนบั สนนุ เอกชนจดั ต้ัง Incubator/Accelerator Platform ใน อุตสาหกรรมท่ีตอบสนองแนวทางประเทศ ไทย 4.0  รฐั รว่ มลงทนุ ในลกั ษณะ Matching Fund - 62 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ความม่งั ค่งั มน่ั คง และยง่ั ยนื ตาราง 2.4 : พฒั นาขดี ความสามารถใหม่และเชื่อมโยงกบั ภูมภิ าคและประชาคมโลก (Global Linkage) กลยทุ ธ์ ประเด็น หนว่ ยงาน 1. ประกาศ Startup Visa เพื่อ ● Startup Visa ที่มนี วตั กรรมท่สี ง่ เสรมิ ก.ตา่ งประเทศ ดึงดดู พรสวรรค์และขีด ความสามารถใหม่ ๆ Thailand 4.0 และมีศกั ยภาพในการ ก.แรงงาน 2. ใหส้ ตารท์ อพั ไทยสามารถจ้าง ลงทนุ และเตบิ โต แรงงานทักษะสงู ตา่ งชาติได้ โดยง่าย ● ตอ้ งเปน็ เจ้าของหรอื ร่วมลงทุนในสตารท์ 3. สนบั สนุนใหเ้ กดิ การถา่ ยโอน อัพไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 15 องค์ความรู้ ประสบการณก์ บั สตาร์ทอัพ นกั ลงทนุ และที่ ● ปรบั ปรุงหลกั เกณฑ์และข้ันตอนการจัดทา ก.ตา่ งประเทศ ปรกึ ษาจากท่วั โลก Work Permit สาหรับสตาร์ทอพั ก.แรงงาน 4. สรา้ งประเทศไทยใหเ้ ป็น จุดหมายในการลงทุนสตาร์ท ● ให้การสนบั สนุนทักษะท่ขี าดแคลน เช่น อพั (Startup Investment Programmer, Data Scientist ● โครงการแลกเปลย่ี นผูเ้ ช่ียวชาญในแต่ละ ก.ต่างประเทศ สาขาจากมหาวทิ ยาลัยและศูนยว์ ิจัยช้นั ก.พาณิชย์ นาของโลก ● จดั ตั้ง ASEAN Global Startup Center ในเมอื งสาคญั ๆ เพื่อดึงใหเ้ กิดการลงทุน และเชือ่ มโยงองค์ความรู้และความร่วมมือ เช่น Silicon Valley, Berlin, Tel Aviv, Seoul ● โครงการ Startup Exchange Program/Mentor Exchange Program ● จดั ตัง้ คณะทางานหรือทีป่ รึกษาที่มีความ เชีย่ วชาญ จากท่ัวโลก ● รว่ มกบั องค์การนานาชาติ เชน่ WEF เพอื่ สรา้ งความเชื่อมโยงและแลกเปลย่ี นองค์ ความรู้และบุคลากร ● ปรับกฎหมายเพ่อื สง่ เสริมการลงทุนจาก ก.ตา่ งประเทศ ตา่ งประเทศ ก.พาณิชย์ ● โครงการรว่ มมือกบั ประเทศในอาเซยี นใน BOI - 63 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลือ่ นประเทศไทยสูค่ วามมั่งคัง่ มัน่ คง และยัง่ ยืน Destination) การปรับปรุงกฎหมายเพ่ือสง่ เสริมสตารท์ อพั รว่ มกัน ตวั อยา่ ง ASEAN Fintech Collaboration Program ● จดั ASEAN Startup Expo/Forum เป็น ประจาทุกปี เพ่ือเป็น Showcase ของ สตารท์ อัพอาเซียน และศนู ยร์ วมนกั ลงทนุ ทวั่ โลก ● ASEAN / World Startup Roadshow เพอื่ แนะนาศกั ยภาพสตาร์ทอัพไทยและ อาเซียน ● กาหนด Startup District ตามศกั ยภาพ ของพื้นท่ี - 64 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคล่ือนประเทศไทยส่คู วามม่ังคัง่ มัน่ คง และยง่ั ยนื วาระที่ 4: การเสรมิ ความเขม้ แขง็ ของเศรษฐกิจภายในประเทศ ผา่ นกลไกของ 18 กลุ่มจงั หวัด และ 77 จังหวัด Thailand 4.0 มุ่งเน้นการสร้างสังคมแห่งโอกาสและสังคมแห่งความเท่าเทียม สร้างความเป็นธรรม ในการเขา้ ถงึ ทรัพยากร สรา้ งความสามารถใหแ้ ก่ผ้คู นเพอ่ื เพ่มิ รายได้ ลดค่าใชจ้ า่ ย และยกระดับคุณภาพชีวติ ประเทศไทยยังมีปัญหาความเหลื่อมล้าระหว่างภูมิภาค การกระจายผลประโยชน์อันเป็นผลพวงจาก การเติบโตทางเศรษฐกิจยังคงมีความเหลื่อมล้าปรากฎอยู่ระหว่างกลุ่มพื้นที่กรุงเทพมหานคร ภาคกลาง และ ภาคตะวันออก เปรียบเทียบกับกลุ่มพื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้ โดยกลุ่มพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานคร ภาคกลาง และภาคตะวันออก ซ่ึงเป็นพ้ืนท่ีเป้าหมายหลักของการพัฒนา เศรษฐกิจ ได้รับผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ทั้งในรูปรายได้ของภูมิภาค รายได้ประชากรต่อหัว จานวนเงิน ลงทุน แรงงานทักษะท่ีกระจุกตัวอยู่ในพื้นที่ดังกล่าว ดังนั้น หน่ึงในประเด็นเชิงนโยบายที่ภาครัฐต้องให้ ความสาคัญ คงหนีไม่พ้นการกระจายการเติบโตทางเศรษฐกิจไปยังภูมิภาคอื่น ๆ อย่างทั่วถึง การส่งเสริมให้ เกิดการจ้างงานและการลงทุนในภูมิภาค และการกระจายผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นให้เท่าเทียม (ที่มา: IMF ๒๐๑๒) ดังนั้น การเสริมความเข้มแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศ ผ่านกลไกของ 18 กลุ่มจังหวัดและ 77 จังหวัด จะเป็นยุทธศาสตร์ท่ีสาคัญในการกระจายทรัพยากร ความเจริญ ความมั่งคั่ง และโอกาสลงไปสู่ระดับ พ้ืนที่ เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันพร้อมกับการลดความเลื่อมล้าให้อยู่ในระดับที่ สามารถยอมรบั ได้ การกระจายความมั่งคง่ั สรู่ ะดบั ภูมิภาค เกาหลีใต้ เป็นตัวอย่างท่ีดีของการพัฒนาเชิงพ้ืนท่ีในระดับภูมิภาค โดยวางตาแหน่งเชิงยุทธศาสตร์ใน แต่ละภูมิภาคเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน หนึ่งในยุทธศาสตร์หลักของเกาหลีใต้คือการเป็น ศูนย์กลางของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ โดยกาหนดให้ Seoul Metro-Area เป็นศูนย์กลางทางด้าน การเงิน โลจิสติกส์ อิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคโนโลยีชีวภาพ กาหนดให้เกาะเจจู ซ่ึงอยู่ ทางใต้ เป็นเมืองระดับนานาชาติ ที่เน้นทางด้านการท่องเท่ียว เทคโนโลยีชีวภาพ และเทคโนโลยีสารสนเทศ และอีกสามเขตเศรษฐกิจพิเศษ อยู่ที่ ปูซาน กวางหยาง และอินชอน เน้นทางด้านโลจิสติกส์ และบริการ ด้านการเงิน นอกจากน้ียังจัดให้มี 6 ย่านอตุ สาหกรรมสาหรับนักลงทุนต่างชาติ โดยมี 523 นิคมอุตสาหกรรม รองรับ - 65 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคล่ือนประเทศไทยส่คู วามม่ังค่งั มั่นคง และย่งั ยืน ตาแหน่งเชงิ ยทุ ธศาสตร์ทางเศรษฐกจิ ของ 18 กล่มุ จงั หวัด สาหรับประเทศไทย รัฐบาลได้มีการกาหนดตาแหน่งเชิงยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจของทั้ง 18 กลุ่ม จังหวัด ประกอบไปด้วย ● ภาคเหนือตอนบน 1 เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เมืองนวัตกรรมเกษตรและอาหาร สุขภาพ ● ภาคเหนือตอนบน 2 เป็นประตูสู่อนุภาคลุ่มน้าโขงและ ASEAN+3 ศูนย์กลางการท่องเท่ียวที่ เปน็ มติ รกบั สิ่งแวดล้อม ● ภาคเหนือตอนล่าง 1 เปน็ ศูนย์กลางการค้าและการบริการสี่แยกอินโดจนี และประตูสู่เมยี นมา ● ภาคเหนือตอนลา่ ง 2 เปน็ ศนู ยก์ ลางธุรกิจขา้ วและทอ่ งเทย่ี วมรดกโลก ● ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 เป็นศูนย์กลางการค้าของอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขงและประตูสู่ อาเซียนตะวนั ออกและจีน ● ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 เป็นศูนย์กลางสินค้าเกษตรและปศุสัตว์ และการท่องเที่ยว ท่เี ป็นมิตรกบั สิง่ แวดล้อมแห่งภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ● ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง เป็นเมืองนวัตกรรมเกษตรและอาหาร และโลจิสติกส์ภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ● ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1 เป็นเมืองเศรษฐกิจสร้างสรรค์อารยธรรมขอมและกีฬา และศูนย์กลางการค้าสินค้าเกษตร ● ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 เป็นศูนย์กลางข้าวหอมมะลิโลก และประตูสู่อาเซียน ตะวันออก ● ภาคกลางตอนบน 1 เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมมรดกโลก และเมืองนวัตกรรม ทางด้านอาหาร ● ภาคกลางตอนบน 2 เป็นฐานการผลิตอาหารเพอ่ื สุขภาพ ● ภาคกลางตอนกลาง เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมสีเขียว การท่องเที่ยวท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และประตสู ู่อาเซยี นและโลก ● ภาคกลางตอนล่าง 1 เป็นศนู ย์กลางการค้าและการท่องเทีย่ วเชิงสรา้ งสรรคแ์ ห่งภาคตะวันตก ● ภาคกลางตอนล่าง 2 เป็นศูนย์กลางการค้าประมงแปรรูป สินค้าเกษตรและการท่องเท่ียว นานาชาติ ● ภาคตะวันออก เปน็ ศูนยก์ ลางผลไม้ออแกนิค อตุ สาหกรรมสะอาด และการท่องเทย่ี วเชงิ สขุ ภาพ ● ภาคใตฝ้ ่งั อ่าวไทย เปน็ ศนู ย์กลางการค้าสนิ ค้าเกษตรภาคใต้ (ยางพารา ปาลม์ น้ามัน ผลไม)้ - 66 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคล่อื นประเทศไทยสูค่ วามมง่ั คั่ง มั่นคง และยั่งยืน ● ภาคใต้ฝั่งอนั ดามัน เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวท่ีมีคุณภาพระดับโลก และเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ดา้ นวิทยาการอาหาร ● ใต้ชายแดน เป็นเมืองนวัตกรรมเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร (ยางพารา ประมง อาหารฮาลาล) ประตูส่อู าเซียนตอนใต้ (ดงั รูปที่ 2.11) รูปที่ 2.11 : ตาแหน่งเชิงยทุ ธศาสตร์ทางการค้า การลงทนุ และการท่องเทย่ี วของ 18 กลมุ่ จังหวดั การพฒั นาโครงสร้างเศรษฐกจิ และระบบตลาดภายในประเทศ เพือ่ ให้การขบั เคลื่อนเศรษฐกิจภายในประเทศเป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ จาเป็นอย่างย่ิงต้องมี โครงสร้างพ้นื ฐานและระบบตลาดรองรบั กลา่ วคือ ต้องมีระบบและแนวทางการดาเนินการทเ่ี ปน็ มาตรฐาน เดยี วกนั มีฐานข้อมูลการค้าและโครงขา่ ยเช่ือมโยงเพื่อรองรบั ธรุ กรรมการผลติ และการค้า ตง้ั แตร่ ะดับตน้ น้า กลางนา้ ปลายน้า โดยใหเ้ กษตรกร วิสาหกจิ ชุมชน สหกรณ์ และผปู้ ระกอบการขนาดกลาง ขนาดเล็ก เขา้ ถงึ และสามารถใชป้ ระโยชน์ไดบ้ นแพลทฟอร์มเดยี วกนั ตงั้ แต่ระดับชมุ ชน ระดับจงั หวัด ระดบั ภมู ภิ าค และ ระดบั ประเทศ ดงั นี้ ระดบั ชุมชน ตอ้ งส่งเสริมให้มีตลาดหรือจุดรวบรวม ผลผลติ หรือ ผลติ ภัณฑ์ ตลอดจนภูมิปญั ญา ของคนในท้องถ่ิน เพ่ือใหเ้ ปน็ แหล่งศูนยก์ ลางเศรษฐกจิ การค้าของแตล่ ะชมุ ชน โดยแตล่ ะตลาดหรอื จุดรวบรวม จะตอ้ งสามารถเลา่ เร่ืองราวถ่ายทอดจุดขายจดุ เด่นที่เปน็ อัตลกั ษณ์เฉพาะ และคนในชมุ ชนมสี ่วนร่วม ในการ พัฒนารูปแบบและสร้างมลู ค่าเพ่มิ ตลอดจน ส่งเสรมิ และพัฒนาใหเ้ ป็นอตุ สาหกรรมท่ีผสาน การท่องเท่ยี วเชิง - 67 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคล่อื นประเทศไทยสู่ความม่งั คง่ั มนั่ คง และย่ังยนื อนรุ กั ษ์ ทั้งนี้ รปู แบบตลาดหรือจุดรวบรวมสินค้าอาจพฒั นาจากแหลง่ การคา้ ด้ังเดิมหรือสง่ เสรมิ ใหม้ ีจดุ รวบรวมในแหล่งทเ่ี ปน็ ต้นน้า หรอื เปน็ ศูนยก์ ลางทีส่ ามารถเชอื่ มโยงกับวัฒนธรรมท้องถิน่ อันจะเป็นการสรา้ ง โอกาสในการขายท้ังสนิ ค้าและบรกิ ารแกช่ ุมชน ระดับจังหวดั ต้องมีตลาดกลางรวบรวมสินคา้ จากแตล่ ะตลาดโดยทาหน้าที่เป็นจุดรวบรวมและ จดุ กระจายสนิ คา้ และภูมปิ ัญญาของคนในจงั หวัด (Hub & Spoke) โดยตลาดหรอื จุดรวบรวมระดับจังหวัด ต้อง สะท้อนถึงวฒั นธรรมแนวคิดและภมู ปิ ญั ญาของแตล่ ะชุมชนในจงั หวัด โดยมกี ระบวนการพฒั นาต่อยอด ท้ังด้าน การสร้างมูลค่าเพิ่มและนวัตกรรมในเชิงอตุ สาหกรรมและการพาณชิ ย์ ที่เช่ือมโยงกบั ภมู ิภาคและประเทศ ระดับภาค ส่งเสริมให้มอี ตุ สาหกรรมขนาดใหญท่ ี่สามารถแปรรูปและสามารถสร้างมลู ค่าเพิม่ ให้กบั ผลผลติ หรือผลิตภณั ฑข์ องภูมิภาคในเชิงอุตสาหกรรม โดยมุ่งเน้นการนาเทคโนโลยีสมัยใหมเ่ ข้ามาช่วย ในการ ผลติ แปรรูป และจดั การ ตลอดจนพัฒนานวตั กรรมจากผลผลติ ผลิตภณั ฑ์ และวฒั นธรรมของชมุ ชน ท้ังนี้ ใน แต่ละภาคต้องมีคลงั สนิ คา้ กลางเพื่อรองรับผลผลิตทางการเกษตรหรอื ผลิตภณั ฑ์จากชุมชน วสิ าหกจิ ชุมชน เพอื่ รองรับการค้าและสร้างความมั่นคงของคนในภาค โดยเฉพาะในพ้นื ท่ีทเี่ ปน็ จดุ เช่ือมโยงกับประเทศเพื่อน บา้ น จะตอ้ งมีศูนย์กลางการจัดเก็บผลผลิตในภมู ิภาค และสามารถรองรับผลผลิตจากประเทศเพ่ือนบ้าน ใน การสนับสนนุ ภาคอตุ สาหกรรมการผลิต และการค้าสนิ ค้าส่งออกหลกั ของประเทศ ระดบั ประเทศ ประกอบไปด้วย ● พฒั นาระบบฐานข้อมลู (Big Data) ต้องมีระบบการรวบรวมข้อมลู การผลติ ในประเทศและความ ต้องการสนิ ค้าและผลิตภัณฑ์ทง้ั ภายในและต่างประเทศ โดยนาระบบเทคโนโลยีเข้ามาเชอ่ื มโยงและเผยแพร่ ต้ังแตต่ น้ นา้ จนถึงปลายน้า ● สร้างนกั การตลาดมืออาชีพในแตล่ ะผลิตภณั ฑจ์ ากแต่ละชมุ ชน ทาหน้าทใ่ี ห้คาปรึกษาแนะนาและ เช่ือมโยงการค้าจากระดับชมุ ชนสูร่ ะดับประเทศทง้ั ในระบบตลาดสนิ คา้ จรงิ และระบบตลาดสนิ ค้าดิจติ อล ● สรา้ งกลไกสภาพคล่องส่งเสรมิ พฒั นาให้มรี ะบบการรับรองใบประทวนสินคา้ เพอ่ื เป็นสนิ ทรัพยใ์ น การใช้เปน็ หลักประกันในการกู้ยืมหรอื ใชเ้ ป็นตราสารในการจา่ ยชาระได้เสมือนเงนิ สด ภายใต้รปู แบบแนวคิด การใช้ระบบแลกเปลีย่ นสินค้า (Barter Trade) อนั จะทาใหเ้ กดิ สภาพคล่องแกเ่ กษตรกร ผู้ผลติ รายเลก็ รายยอ่ ย ในการมที นุ เพ่ือผลติ และพฒั นาสินค้า ● ธนาคารผลผลติ (Commodity Bank) โดยใหม้ ธี นาคารรบั ฝากผลผลติ ทางการเกษตรท่ีเกษตรกร สามารถนาผลผลติ มาฝากโดยได้รับชาระค่าสนิ ค้าสว่ นหนง่ึ โดยธนาคารสามารถนาผลผลติ ไปจาหน่ายหรือแปร รปู เพือ่ จาหน่ายในประเทศและต่างประเทศ และธนาคารจะจา่ ยผลตอบแทนเป็นเงินแก่เกษตรกรท่ีนาผลผลิต มาฝากเสมือนการเข้าร่วมลงทุน และธนาคารจะจ่ายผลตอบแทนคา่ วัตถุดิบพร้อมเงนิ ปนั ผลจากกาไรท่เี กิดข้ึน - 68 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคล่อื นประเทศไทยสูค่ วามมัง่ คั่ง ม่ันคง และยง่ั ยนื ทั้งนี้ หากธนาคารประสบผลขาดทุน เกษตรกรทุกคนก็จะได้รบั ผลกระทบท่ีเฉล่ยี กันไป แต่ยังคงสามารถอยู่ได้ (Share-Profit & Share-Loss) เพอื่ ให้กระบวนการผลติ แปรรปู และจหนา่ ย เชือ่ มโยงกนั อย่างมปี ระสิทธภิ าพ แต่ละชุมชน แต่ละ จังหวดั แตล่ ะกลุ่มจังหวัด จะตอ้ งหาจดุ รว่ มและเขา้ สู่การค้าบนแพลทฟอร์มเดยี วกนั โดยมีทง้ั กลไกและระบบ ตลาดรองรับตงั้ แต่ต้นน้าจนถึงปลายน้าอยา่ งครบวงจร ซงึ่ จะตอ้ งมีแผนการจัดการท้ังเพ่ือการสร้างความม่ังคงั่ และความมนั่ คงแกช่ มุ ชน (ดงั ตารางที่ 2.5) ตารางที่ 2.5 : แนวทางการพัฒนาปัจจยั พน้ื ฐานทางการตลาดเพ่ือขบั เคล่ือน 77 Engines ระดบั ชุมชน ระดับจงั หวดั ระดบั ภาค สินคา้ นาร่อง/ภมู ปิ ัญญา 8,500 สินคา้ ผลิตภัณฑ์ทีไ่ ด้รับการคัดสรรเป็น  นคิ มอุตสาหกรรมภาค 1 สินคา้ /ตาบล Product Champion ของจงั หวดั 18 แห่ง 18 คลสั เตอร์ ตลาดชุมชน Farm Outlet 8,500 แห่ง ตลาดกลางจังหวัด 77 แห่ง  Innovation Hub 1 แห่ง/ตาบล ศูนย์รวบรวบและกระจายสนิ ค้า (Hub-Spoke) 77 แหง่ Trade operators ระดบั ประเทศ Big Data ขอ้ มลู สนิ คา้ – Smart Marketer การ เสรมิ สภาพคล่องแก่ภาค ธนาคารผลผลติ ตลาดทุนเพื่อเกษตรกร ความต้องการ ตลาดบริกร การผลติ และผ้ผู ลิตรายยอ่ ย (เช่อื มโยงการคา้ สินคา้ กบั การทอ่ งเท่ยี ว) การจดั ตัง Innovation Hub ในระดับภมู ิภาค หนึ่งในเป้าหมายของ Thailand 4.0 คือ การกระจายโอกาสลงสู่ระดับภูมิภาค ดังน้ัน 5 วาระการ วิจัยเชิงบูรณการที่ได้กล่าวไว้ข้างต้นสามารถพัฒนาเป็น Innovation Hub กระจายออกไปตามภูมิภาคต่างๆ ประกอบไปดว้ ย 1. Innovation Hub ทางดา้ นเกษตรและอาหาร 2. Innovation Hub ทางด้านสังคมสูงอายุ - 69 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคล่อื นประเทศไทยสู่ความม่งั ค่ัง มั่นคง และยัง่ ยืน 3. เมืองอจั ฉริยะ 4. Innovation Hub ทางด้าน Smart Energy 5. Creative Hub ทางดา้ นเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ส่วนวาระอ่ืนๆ อาจเตรียมความพร้อมโดยการสนับสนุนการวิจัยแบบมุ่งเป้า ก่อนพัฒนาเป็น Innovation Hub ในระยะถัดไป รายละเอียดการดาเนินการและการสนับสนุนของ 5 วาระการวิจัยเชิงบูรณา การ มีดงั น้ี Innovation Hub ทางด้านเกษตรและอาหาร Roadmap ของทางด้านเกษตรและ อาหาร คือการพัฒนาสู่ “Advanced Bio-Based Economy” โดยการปรับเปล่ียน Fragmented Industry ท่ีเป็นอยู่ในปัจจุบัน ไปสู่การสร้าง Integrated Value Chain เพ่ือยกระดับ Bio-Based Industry จาก Volume-Based Industry เป็น Value-Based Industry นั่นหมายถึงการขยับปรับเปล่ียนจาก อุตสาหกรรมอาหารข้ันพ้ืนฐาน อุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นพื้นฐาน และ Bio-Fuels ไปสู่อุตสาหกรรม Neutraceuticals, Bio-Based Medicine, Specilaity Chemicals และ Bio-Based Plastics ในอนาคต (ดงั รปู ที่ 2.12) รูปท่ี 2.12 : Innovation Hubs ด้าน “เกษตรและอาหาร” - 70 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคล่อื นประเทศไทยสู่ความมัง่ คง่ั ม่นั คง และยั่งยืน จากการท่ีประเทศไทยมีพ้ืนฐานเป็นประเทศเกษตรกรรม ซึ่งมีความแตกต่างกันในแต่ละภูมิภาค มี อุตสาหกรรมรองรับที่แตกต่างกัน การสร้างนวัตกรรมจึงต้องแยกตามภูมิภาค และเน่ืองจากแต่ละภูมิภาคมี กลไกพืน้ ฐานรองรับอยแู่ ล้ว ต้ังแตอ่ ุตสาหกรรม สถาบันการศึกษา อุทยานวิทยาศาสตร์หรือห้องปฏิบัติการของ มหาวิทยาลัย โรงงานต้นแบบ หากเพ่ิมส่วนท่ีขาดคือ การเข้าถึงข้อมูลสิทธิบัตร แนวโน้มเทคโนโลยีใน อุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร เพ่ือให้การวิจัยสามารถเข้าสู่ตลาดและใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ได้ ห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์วิจัย เคร่ืองมือระดับ Pilot Scale และบุคลากรวิจัย ในรูปแบบ Innovation Hub ก็ จะทาให้กลไกการพัฒนาเทคโนโลยีสู่เชิงพาณิชย์สมบูรณ์ข้ึน โดยในแต่ละภูมิภาคอาจมีมากกว่า 1 Hub ขึ้นอยู่ กบั ความแตกต่างเชิงภมู ศิ าสตรห์ รือศกั ยภาพของพ้นื ที่ ท้งั นี้เป้าหมายหลกั ของ Innovation Hub ดา้ นเกษตรและอาหาร คอื การพัฒนานวัตกรรมด้านเกษตร และอาหารให้สามารถส่งเสริมและส่งออกเทคโนโลยีท่ีเหมาะกับเกษตรกรรายย่อย สร้างความเป็นอยู่ท่ีดีขึ้น ของเกษตรกร และรายได้ที่เพ่ิมข้ึนให้ประเทศ สามารถลดความเหล่ือมล้า เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน และเป็นการเติบโตทเ่ี ปน็ มติ รกบั สิง่ แวดล้อม วาระเกษตรและอาหารเน้นเทคโนโลยีชีวภาพเป็นฐาน และเสริมด้วยเทคโนโลยีหุ่นยนต์และดิจิทัล สามารถดาเนินการใน 4 ภูมิภาคท่ีมีความแตกต่างของทรัพยากร และความเข้มแข็งของมหาวิทยาลัยในทั้ง 4 ภูมภิ าค มหาวทิ ยาลยั ต่างประเทศระดับโลกท่ีสามารถเปน็ ผู้ร่วมพัฒนานวตั กรรมด้านนี้ ประกอบไปดว้ ย 1. Wageningen University, Netherlands 2. University of California at Davis, USA 3. Massey University, New Zealand 4. Cornell University, USA Innovation Hub ทางด้านสังคมสูงอายุ โจทย์คือการเปล่ียนวิกฤตเป็นโอกาส โดยการ พัฒนา “อุตสาหกรรมผู้สูงวัย” ด้วยการบูรณาการ 5 กลุ่มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเป้าหมาย เพื่อตอบ โจทย์ประเดน็ ท้าทายของการเข้าสู่สังคมสงู วัย โดยวางตาแหน่งเชิงยุทธศาสตร์ของอุตสาสหกรรมสูงวัยของไทย ใน Global Silver Market พร้อมๆกับการสร้าง Healthy Aging, Happy Aging ให้เกิดข้ึน เพื่อตอบโจทย์ สงั คมไทย 4.0 - 71 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลอื่ นประเทศไทยส่คู วามม่ังคั่ง ม่ันคง และยั่งยืน วาระสังคมสูงอายุ เน้นเทคโนโลยีการแพทย์เป็นฐาน และเสริมด้วยเทคโนโลยีหุ่นยนต์ ดิจิทัล และอื่น ๆ สามารถดาเนินการในลักษณะ Hub & Spoke มี Hub อยู่ส่วนกลาง และ Spoke ใน 3 ภูมิภาค ตามความเข้มแข็ง ของมหาวิทยาลัยในภมู ิภาค ดังแสดงในรปู ท่ี 2.13 รปู ท่ี 2.13 : การดาเนินการของ Innovation Hub ดา้ นสังคมสูงอายุ มหาวิทยาลยั ตา่ งประเทศทระดับโลกท่สี ามารถเป็นผู้รว่ มพัฒนานวัตกรรมด้านน้ปี ระกอบไปดว้ ย 1. Harvard University, USA 2. University of Oxford, UK 3. Johns Hopkins University, USA 4. National Taiwan University, Taiwan - 72 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคลือ่ นประเทศไทยสู่ความม่งั คั่ง ม่นั คง และยัง่ ยนื การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ Roadmap ของการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ คือ “การพัฒนา 5 เมือง อัจฉริยะ เต็มรูปแบบ ภายใน 10 ปี” โดยในเบ้ืองต้นมีโครงการท่ีจะผลักดันให้เห็นผลเป็นรูปธรรม ในระยะ ตา่ งๆ ดงั น้ี(ดังตารางท่ี 2.6) ตาราง 2.6 : โครงการภายใต้วาระการสร้างเมืองอัจฉรยิ ะ (Smart City) ระยะสั้น (ภายใน 1 -3 ปี) ระยะกลาง (3-5 ปี) ระยะยาว ( 5-10 ปี) 1. การสรา้ งความเข้าใจในบรบิ ทของ 1. การขยายบนั ทกึ ความเขา้ ใจไปยงั 1. การสรา้ งโครงขา่ ยส่อื สาร เมืองอัจฉรยิ ะ (Smart City) การ เครอื ขา่ ยเมืองทวั่ ประเทศ ครอบคลมุ ไปยังหน่วยงานราชการ สร้างระบบตน้ แบบทสี่ ามารถ 2. การวางโครงขา่ ยการส่อื สารเพ่ือ สถานทต่ี า่ งๆ โรงเรียน และชมุ ชน เข้าถงึ ประชาชนในเมืองใหเ้ ขา้ ถึง รองรบั IoT และระบบ Cloud บ้านเรือน ไดง้ ่าย Data Services เต็มรปู แบบ เพื่อ 2. การจดั ตั้งศูนยก์ ลางเมืองอจั ฉริยะ 2. การวางโครงขา่ ยการสอ่ื สาร เปน็ ขอ้ มูลสาหรบั สรรพสงิ่ ในระดบั ภมู ภิ าคอาเซยี น เพื่อ พืน้ ฐานให้กับกลุ่มตวั อยา่ ง (Information of Everything) ดงึ ดูดเครอื ขา่ ยเมืองอัจฉรยิ ะจาก 3. การสร้างชมุ ชนของกลุ่มนกั วจิ ยั 3. การจัดต้ังศูนยเ์ มืองอจั ฉรยิ ะ ใน ภายนอก ภาคเอกชน และหน่วยงานภาครฐั ระดบั เทศบาลเพอ่ื ให้มีเจ้าหน้าที่ 3. การสรา้ งระบบเศรษฐกิจดจิ ิทัล เพื่อวาง Roadmap ของระบบ ดแู ลจดั การระบบได้เอง และมี เพอ่ื เช่ือมโยงระบบต่างๆของเมือง อปุ กรณอ์ จั ฉรยิ ะ (IoT Smart การอบรมแก่ประชาชนอยา่ ง อจั ฉริยะ City) หลกั ที่ทกุ เมอื งต้องการ ต่อเน่ือง 4. การจัดต้ัง Metropolis 4. การจัดทาบันทกึ ความเข้าใจ Innovation Centre ในเมอื ง รว่ มกนั ระหว่างภาครฐั สถานบนั ขนาดใหญ่เพื่อเป็นคลัสเตอรห์ ลกั การศกึ ษา และภาคเอกชน ในแต่ละภมู ิภาค โครงการเมืองอัจฉริยะ เน้นเทคโนโลยีดิจิทัลเป็นฐาน และเสริมด้วยเทคโนโลยีอ่ืน ๆ สามารถ ดาเนินการในลักษณะจังหวัด หรือกลุ่มจังหวัด เชื่อมการพัฒนาจังหวัดให้เป็นจังหวัด 4.0 โดยแต่ละจังหวัด/ กลุม่ จังหวัดจะมีประเด็นทีแ่ ตกต่างกันไป ดงั แสดงในรูปที่ 2.14 - 73 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคลือ่ นประเทศไทยสู่ความมงั่ คง่ั มนั่ คง และยั่งยนื รปู ที่ 2.14 : การดาเนินการของเมืองอจั ฉริยะ มหาวิทยาลัยต่างประเทศระดบั โลกทส่ี ามารถเปน็ ผู้ร่วมพัฒนานวัตกรรมในดา้ นนี้ประกอบไปด้วย 1. Standford University, USA 2. MIT, USA 3. The University of Melbourne, Australia 4. Tsinghua University, China Innnovation Hub ทางด้าน Smart Energy จะเน้นเทคโนโลยีพลังงานเป็นฐาน และ เสริมด้วยเทคโนโลยีอ่ืน ๆ เช่น ดิจิทัล และเทคโนโลยีชีวภาพ สามารถดาเนินการในภาพรวมของประเทศ มี - 74 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลื่อนประเทศไทยส่คู วามมัง่ คงั่ ม่ันคง และย่งั ยนื Hub ใหญ่ดูแลประเด็น ประสิทธิภาพพลังงาน และการพัฒนาเมืองในด้านพลังงาน และสิ่งแวดล้อม และมี เครือขา่ ยรับผดิ ชอบด้าน Energy Conversion ของพลงั งานในรูปแบบตา่ ง ๆ ตามพืน้ ที่ (ดงั รปู ท่ี 2.15) รูปท่ี 2.15 : การดาเนินการของ Innovation Hub ดา้ น Smart Energy มหาวทิ ยาลยั ตา่ งประเทศระดบั โลกท่ีสามารถเป็นผ้รู ่วมพัฒนานวตั กรรมดา้ นนีป้ ระกอบไปด้วย 1. Cal Tech, USA 2. KAIST, Korea 3. VTT, Finland Innovation Hub ทางด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ จะเน้นการเพ่ิมมูลค่าจากศิลปะ วัฒนธรรม อาหาร การออกแบบ และความคิดสร้างสรรค์ ผสมผสานกัน โดยใช้อุตสาหกรรมบริการเป็นฐาน และเสรมิ ด้วยเทคโนโลยีอน่ื ๆ เชน่ ดิจทิ ัล ใชป้ ระโยชน์จากจุดเด่นในแตล่ ะภูมภิ าค (ดงั รปู ท่ี 2.16) - 75 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลื่อนประเทศไทยสคู่ วามมง่ั ค่ัง ม่นั คง และยง่ั ยนื มหาวิทยาลัยตา่ งประเทศระดบั โลกทส่ี ามารถเปน็ ผรู้ ่วมพัฒนานวตั กรรมด้านน้ีประกอบไปดว้ ย 1. Royal College of Art, UK 2. KOCCA และ KIDP เกาหลใี ต้ 3. Rhode Island School of Design, USA 4. Politecnico di Milano, Italy รปู ท่ี 2.16 : การดาเนนิ การของ Creative Hub การปรบั เปลยี่ นการจัดสรรงบประมาณในตา่ งระดบั การบริหารจัดการเงินและทรัพยากรแบบใหม่จะต้องยึดภารกิจเป็นหลัก รวมท้ังขับเคลื่อนตามวาระ ในระดับต่าง ๆ ประกอบด้วย - 76 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคล่อื นประเทศไทยสคู่ วามมง่ั ค่งั มั่นคง และยั่งยนื - วาระระดับชาติ เช่น วาระดา้ นเศรษฐกิจ ด้านความมน่ั คง ดา้ นสงั คม เปน็ ตน้ - วาระระดับภมู ภิ าค เช่น วาระของกล่มุ จังหวดั ในประเด็นต่าง ๆ อาทิ จังหวัดภูเก็ต กระบ่ี และพังงา ต้องการให้กลุ่มพื้นที่ตนเองเป็นแหล่งท่องเท่ียวระดับโลก หรือพ้ืนท่ี 3 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ต้องการเขต เศรษฐกจิ พเิ ศษ เป็นตน้ - วาระระดับจังหวดั ซ่ึงจะสามารถตอบสนองต่อความต้องการของแตล่ ะจังหวดั เม่ือวาระในการขับเคล่ือนแต่ละระดับเกิดความชัดเจนและมีความสอดรับกันระหว่างภารกิจของ ภาครฐั สว่ นกลาง สว่ นภูมิภาค และจงั หวัด การจัดทางบประมาณตามวาระการขับเคลื่อนระดับต่าง ๆ จะสามารถ ดาเนินการให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ลดปัญหาความซ้าซ้อนของภารกิจและงบประมาณ รวมท้ังสะท้อน ภาพบรู ณาการของภารกิจและงบประมาณที่จะไปตอบโจทย์ Thailand 4.0 (ดังรปู ที่ 2.17) รปู ที่ 2.17 : การบูรณาการงบประมาณตามวาระการขับเคลื่อนระดบั ต่าง ๆ การสร้างกลไกขับเคลอื่ นการเตบิ โตระดบั จงั หวัด เพื่อตอบโจทย์การสร้างความม่ังค่ัง มั่นคง และย่ังยืนอย่างเป็นรูปธรรม รัฐบาลจะเน้นการสร้างกลไก การขับเคล่ือนการเติบโตในระดับพ้ืนท่ีผ่านการพัฒนา “แผนยุทธศาสตร์จังหวัด 4.0” ซ่ึงหากประสบ ความสาเรจ็ จะกอ่ ให้เกดิ “77 Provincial Growth Engines” ทีม่ พี ลงั มหาศาล - 77 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลื่อนประเทศไทยสคู่ วามมง่ั คัง่ มัน่ คง และยงั่ ยืน “แผนยุทธศาสตร์จังหวัด 4.0” เป็นสัญญาประชาคมของประชารัฐในระดับพ้ืนที่ (ระหว่างผู้ว่า ราชการจงั หวัด พาณิชยจ์ งั หวัด อุตสาหกรรมจงั หวดั หอการคา้ สภาอุตสาหกรรม YEC, Young FTI, BizClub ท้องถิ่น ผู้นาชุมชน ฯลฯ) ซึ่งเป็นการวางยุทธศาสตร์ท้ังระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว ท่ีเช่ือมโยง ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ซ่ึงแผนยุทธศาสตร์จังหวัด 4.0 เป็นกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ประชาชนมีความเป็นเจ้าของ จึงถือเป็นกระบวนการปลูกฝังระบอบประชาธิปไตย มิเพียงเท่าน้ันแผน ยุทธศาสตร์จังหวัด 4.0 ยังเป็น Demand-Driven ตอบโจทย์ความต้องการของประชาชนในพื้นท่ี ลดโอกาส การสูญเสียจากการใช้ทรัพยากรอย่างไม่มีประสิทธิภาพ อันเน่ืองมาจาก Supply-Driven ที่มาจากภาค ราชการ ประการสาคัญคือแผนยุทธศาสตร์จังหวัด 4.0 จะปิดก้ันโอกาสการแทรกแซง หรือดาเนินมาตรการ ประชานยิ มทมี่ าจากนักการเมืองอยา่ งดังเช่นในอดตี ในมิติทางเศรษฐกิจ แผนยทุ ธศาสตร์จงั หวดั 4.0 จะกระตุ้นใหเ้ กิดการทาใหจ้ งั หวัดเป็นพื้นท่ีท่ีน่าสนใจ เพอ่ื ดึงดูดการลงทุนจากภายนอก การสร้างคนในพ้ืนที่ให้มผี ลิตภาพสูง รวมถึงการสร้างสินค้าและบริการมูลค่า สูงของจงั หวัดทสี่ ามารถแข่งขันได้ กลุ่มเป้าหมายภายใต้แผนขับเคลื่อนยุทธศาสตร์จังหวัด 4.0 สามารถจาแนกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1. การปรับเปล่ยี นกลุ่มวิสาหกิจ 2.0 ไปสู่วิสาหกิจ 3.0 ประกอบด้วย การยกระดับมาตรฐานและผลิต ภาพ การเข้าถึงแหล่งเงินทุน การสร้างเครือข่ายธุรกิจ และการเข้าถึงตลาด ให้เริ่มเกิดผลสัมฤทธ์ิใน 1-3 ปี 2. การปรับเปลี่ยนกลุ่มวิสาหกิจ 3.0 ไปสู่วิสาหกิจ 4.0 ประกอบด้วย การสร้างนวัตกรรม การพัฒนา โมเดลธุรกิจ การทาธุรกิจบนดิจิตอลแพลทฟอร์ม การสร้างเคร่ืองข่ายการค้า และการลงทุนใน ตา่ งประเทศ ให้เรมิ่ เกดิ ผลสมั ฤทธิ์ใน 3-5 ปี พร้อมกันนั้น จาเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องมีการยกระดับโครงสร้างพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจและระบบตลาด ของจังหวัดให้แข็งแกร่ง อาทิ เส้นทางคมนาคม โลจิสติกส์ ระบบอินเตอร์เน็ต ตลาดกลางสินค้าเกษตร ตลาด ชมุ ชน ตลาดอีคอมเมอร์ส และกองทุนพฒั นาจังหวัด Provincial Venture Capital ฯลฯ - 78 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคล่อื นประเทศไทยสู่ความมงั่ คงั่ ม่นั คง และยั่งยืน วาระที่ 5 : บรู ณาการอาเซยี น เช่ือมประเทศไทยส่ปู ระชาคมโลก ภูมิรฐั ศาสตรโ์ ลกในศตวรรษที่ 21 การส้ินสุดลงของสงครามเย็น นามาสู่การเปล่ียนแปลงทางภูมิรัฐศาสตร์คร้ังสาคัญจาก “โลกสอง ขัว” กลายเป็น โลกในสามรปู แบบใหม่ ดังต่อไปน้ี 1. โลกขวั เดยี ว (Unipolar World) เปน็ โลกท่ีมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นาอย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาด ทั้งใน มติ ทิ างการเมือง และการทหาร 2. โลกหลายขัว (Multi-Polar World) เป็นโลกท่ีมีหลายขั้วอานาจ เช่น สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป จีน ญ่ปี นุ่ อนิ เดยี รสั เซีย บราซิล เป็นตน้ 3. First Amomg Equals (The 1+X World) เป็นแนวคิดที่อยู่ระหว่างสองแนวคิดแรก คือ สหรัฐอเมริกายังมีบทบาทนาในเกือบทุกด้าน และในแต่ละด้านก็จะมีมหาอานาจอ่ืนเป็นผู้นาร่วม เช่น เรื่อง เศรษฐกิจ อาจจะมสี หรฐั อเมริกา ร่วมกบั สหภาพยโุ รป ญป่ี นุ่ และจนี รว่ มกนั เปน็ ผู้นา ด้านความม่ันคงอาจจะมี สหรฐั อเมรกิ า สหภาพยุโรป และรสั เซยี ร่วมกันเป็นผนู้ า เป็นตน้ พร้อม ๆ กับการสิ้นสุดลงของสงครามเย็น กระแสโลกาภิวัตน์ได้เปลี่ยนโลกไปสู่ยุคที่ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง องค์กรหรือปัจเจกบุคคลมีมากข้ึน โดยการรวมตัวของ “ผู้เล่นที่ไม่ใช่ภาครัฐ” (Non-State Actors : NSAs) เช่น International Governmental Organizations (IGOs: อาทิ WTO, WEF, World Bank), International Non-Govermental Organizations (INGOs: อาทิ Greenpeace, World Wildlife Federation, Amnesty International และ The World Social Furum) รวมถึงเครือข่ายขบวนการก่อการร้าย กลุ่มทหารรับจ้างอิสระ และโจรสลดั ข้ามชาติ เกิดเป็น “โลกไร้ขัว” (Non-Polar World) ภมู เิ ศรษฐศาสตร์โลกในศตวรรษท่ี 21 ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจที่สาคัญของโลกที่จะเกิดขึ้นในช่วง 3 – 4 ทศวรรษนับจากนี้ คือ ความเปล่ียนแปลงขัว้ อานาจทางเศรษฐกิจ โดยมีการเปลย่ี นถ่ายอานาจทางเศรษฐกจิ จากโลกตะวนั ตกมาสู่ โลกตะวนั ออก โดยเฉพาะอย่างย่ิงประเทศในบริเวณสามเหลี่ยมเศรษฐกิจของทวีปเอเชีย หรือที่เรียกว่า “The New United States of Asia (The New USA)” อันประกอบด้วยประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก นา โดยจนี ญี่ปนุ่ และเกาหลีใต้ ประเทศในภูมภิ าคเอเชยี ใต้ นาโดยอนิ เดยี และทีส่ าคญั คอื ประเทศในภูมิภาคเอเชีย - 79 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคลอ่ื นประเทศไทยสูค่ วามม่งั คั่ง มนั่ คง และยง่ั ยืน ตะวันออกเฉียงใต้ (ดังรูปที่ 2.18) ซ่ึงจะเป็นพลังขับเคล่ือนร่วมกันของประเทศสมาชิกอาเซียน ในฐานะท่ีเป็น ประเทศหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศไทยจาเป็นต้องเตรียมความพร้อมให้สามารถรองรับ กับโอกาสทางเศรษฐกิจที่เกิดข้ึน ผ่านการปฏิรูปและการปรบั เปล่ียนประเทศอย่างเหมาะสม ซึ่งหากประเทศ ไทยไม่ดาเนินการเตรียมความพร้อมดังกล่าว อาจทาให้ประเทศไทยต้องสูญเสียโอกาสในการพัฒนาทาง เศรษฐกจิ ไปอยา่ งน่าเสียดาย รูปท่ี 2.18 : The United States of Asia ดังน้ัน ประเทศไทยจึงจาเป็นต้องมี “กรอบยุทธศาสตร์” (Grand Strategy) ท่ีชัดเจนในการรับมือ กับพลวัตที่เกิดข้ึนท้ังในภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์โลก เพ่ือให้สามารถขับเคล่ือนประเทศอย่างมั่นคง ม่ังค่ัง และยัง่ ยนื ในโลกศตวรรษที่ 21 ยุทธศาสตร์การค้าและการลงทุนของประเทศไทยในเวทโี ลก ควบคู่กับการเปลี่ยนผ่าน จาก Thailand 1.0 ไปสู่ Thailad 3.0 ยุทธศาสตร์การค้า การลงทุน ของประเทศไทยมีการปรับเปลยี่ นจากยุทธศาสตร์การทดแทนการนาเข้า สู่ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการส่งออก - 80 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลอ่ื นประเทศไทยสู่ความม่ังคั่ง มน่ั คง และยงั่ ยนื สู่ยุทธศาสตร์การดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ การเคล่ือนไหลของเงินทุนอย่างเสรี และการพัฒนา เศรษฐกิจคขู่ นานตามลาดับ พลวัตของโลกได้เปล่ียนไป การเชื่อมต่อกันอย่างสนิท (Connected World) ทาให้ระบบ เศรษฐกิจโลกเปลี่ยนแปลงจาก One Country, One Market เป็น One World, One Market ดังนั้น เพื่อให้สอดรับกับทิศทางการเปล่ียนแปลงดังกล่าว ยุทธศาสตร์การค้า และการลงทุนภายใต้ Thailad 4.0 จะ เนน้ ใหส้ ่วนของการผลักดันให้ประเทศไทยเป็น Trading & Service Nation การวางตาแหน่งเชงิ ยุทธศาสตร์เปน็ Trading & Service Nation มาตรการผลกั ดนั การเป็น Trading & Service Nation จะประกอบไปด้วย 1) การดงึ ดูดให้บรรษทั ข้ามชาตใิ ช้ประเทศไทยเปน็ Regional Head Quarter 2) การพฒั นาคลสั เตอรอ์ ุตสาหกรรม 3) การพฒั นาระเบียบเศรษฐกจิ ตะวนั ออก 4) การจดั ตั้งเขตเศรษฐกิจพเิ ศษในบริเวณชายแดน 5) การพฒั นาให้ประเทศไทยเปน็ Logistic Hub 6) การพัฒนาใหป้ ระเทศไทยเปน็ Digital Economy อยา่ งสมบรู ณ์ การบูรณาการของเศรษฐกิจในบรบิ ทของ CLMVT สมาชิกของกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนประกอบด้วย บรูไน พม่า กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย และเวียดนาม เป็นภูมิภาคที่เช่ือมต่อระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกและ มหาสมทุ รอนิ เดีย และมีประชากรมากกว่า 622 ล้านคน หากทกุ อย่างดาเนินไปตามแผนท่ีวางไว้ ประมาณการ ว่าเศรษฐกิจในภูมิภาค ASEAN โดยรวมในปัจจุบันที่มีมูลค่า 2.6 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ประมาณ 91 ล้าน ล้านบาท) อาจเพิ่มเป็นสองเท่าภายในปี พ.ศ. 2573 ดังนั้น จึงจาเป็นต้องมีการกาหนดยุทธศาสตร์ในการ เชอ่ื มโยงกับ ASEAN โดยเฉพาะประเทศในกลมุ่ CLMV ใหช้ ดั เจน ประเทศในกลุ่ม CLMV อันประกอบด้วยกัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และเวียดนามเป็นเพ่ือนบ้านท่ี ใกล้ชิดของไทย ปัจจุบันมีการเติบโตทางเศรษฐกิจที่สูง IMF World Economic Outlook ฉบับเดือนตุลาคม 2559 ระบคุ าดการณ์เศรษฐกจิ ของกลมุ่ CLMV ในปี 2559 ในภาพรวม ยังคงมีอัตราการขยายตัวในระดับสูงท่ี - 81 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคลื่อนประเทศไทยสู่ความมัง่ คงั่ ม่นั คง และยั่งยนื เฉล่ีย 7.15 % CLMV จึงเป็นประเทศเป้าหมายในการลงทุนของเอกชนไทย พร้อมๆกับการเป็นตลาดรองรับ สนิ ค้าไทยไดเ้ ปน็ อยา่ งดี แนวคิดเชิงยุทธศาสตร์ คือ ท่ีต้ังของไทยต้ังอยู่ในจุดยุทธศาสตร์ที่มีศักยภาพเป็น Regional Hub ของ CLMV ซ่งึ จะเป็นประโยชน์ต่อไทยในการเชอ่ื มโยงห่วงโซ่อุปทานกับประเทศเพื่อนบ้าน การก้าวสู่การเป็น Regional Hub เร่ิมต้นจากการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน์ จาก “Border” เป็น “Bridge” และจาก “Nation to Nation” เปน็ “City to City” ผ่านแนวคิด “CLMV as Our Home Market” กล่าวคือ ความเป็นพรมแดนท่ีมีต่อกัน จะค่อยๆสลายไป เปิดจุดผ่านแดนให้มากข้ึน โดยมองเป็น สะพานเช่ือมทางการค้าระหว่างกัน พร้อมๆกันนั้น จะต้องมองตลาด 4 ประเทศเหล่าน้ีเป็นเหมือนตลาด ภายในของไทย โดยมี 4 เมอื งหลักท่สี าคญั คือ เวยี งจนั ทร์ ย่างกุ้ง พนมเปญ และโฮจิมินทร์ และ 16 เมืองรอง สาคญั ไดแ้ ก่ มณั ฑะเลย์ เมยี วดี มะริด ทวาย ไฮฟอง ฮานอย เกิ่นเทอ เสียมราฐ พระสีหนุ เกาะกง หลวงพระ บาง สะหวันนะเขต จาปาสัก เซบู ดาเวา และสลังงอ ซ่ึงเป็นเมืองเศรษฐกิจรองที่มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ สูง (ดตู าราง 2.7) ตาราง 2.7 : เมอื งศักยภาพในกลมุ่ ประเทศ CLMV ลาดับ ประเทศ เมอื ง/ประเทศ ขอ้ มูลประกอบ 1 เมียนมา ย่างก้งุ - อดีตเมืองหลวง และเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและศูนย์กลาง กระจายสนิ คา้ ของประเทศ - ประชากรประมาณ 6 ล้านคน (จากประชากรท้ังประเทศ 54 ล้านคน) - มีทา่ เรอื ในเมือง สะดวกตอ่ การทาการค้าทางนา้ - มสี นามบนิ ทัง้ ระหว่างประเทศภายในประเทศ ล่าสุดเพิ่งสร้าง อาคารผู้โดยสารใหม่ และขยายลานจอดรถเพ่ือรองรับการ ขยายตวั ของอุตสาหกรรมการบนิ - อยู่ใกลเ้ ขตเศรษฐกิจพิเศษตลิ ะวา ห่างเพียง 25 กิโลเมตร ตองยี - เมืองหลวงของรัฐฉาน ซ่ึงตั้งอยู่ทางตอนเหนือของเมียนมา มัณฑะเลย์ ห่างจากอาเภอแม่สาย จ. เชียงราย 480 กม. มีชาวไทใหญ่ อาศัยอยู่มากที่สุด ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธ์ุขนาดใหญ่อันดับ 2 ของเมียนมา - มีเส้นทางเชื่อมโยงกับมัณฑะเลย์ และกรุงเนปิดอว์ และ พรมแดนทางทิศเหนือของรฐั ฉานตดิ กบั ประเทศจนี - เมืองหลวงเก่า และเมืองใหญ่อันดับ 2 ของเมียนมา เป็น ศูนย์กลางเศรษฐกิจและศูนย์กระจายสินค้าของเมียนมา ตอนกลาง-เหนอื - 82 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคลือ่ นประเทศไทยส่คู วามมง่ั ค่ัง ม่ันคง และยงั่ ยนื - ประชากร 1.5 ล้านคน - มีทาเลท่ีตั้งอยู่ในจุดยุทธศาสตร์ซึ่งสามารถเชื่อมโยงเส้นทาง คมนาคมระหว่างเมียนมา จีน อินเดีย และไทย ทาให้เมือง มัณฑะเลย์เป็นจุดเช่ือมโยงการค้าทั้งในประเทศและระหว่าง ประเทศ - มีสนามบินนานาชาติ โดยมีเส้นทางการบินสู่กรุงเทพ และ เช่อื มต่อกบั ย่างกุ้ง รวมถงึ เมืองรองอ่นื ๆ ในเมยี นมา - มีนิคมอตุ สาหกรรมมณั ฑะเลห์ มะริด - มะริดเป็นเมืองหน่ึงในเขตตะนาวศรี ต้ังอยู่ใต้สุดของเมียนมา เป็นเมืองทา่ ที่สาคญั ทางตอนใตข้ องเมยี นมา - เป็นแหล่งทรัพยากรทางทะเลท่ีอุดมสมบูรณ์ และเป็นแหล่ง ป้อนวัตถุดิบที่สาคัญของไทย กว่า 80% ของสัตว์น้าทะเล ทงั้ หมดในไทยมาจากมะริด - ปัจจุบันมีการเชื่อมต่อกับประเทศไทย ผ่านด่านชายแดนมู ด่อง-สิงขร ระยะทาง 180 กิโลเมตร ทาให้สามารถส่งสินค้า อาหารทะเลมายังประเทศไทยได้สะดวก มีการลงนาม สถาปนาเมืองพี่เมืองน้องระหว่าง จ.ประจวบคีรีขันธ์ กับ ตะนาวศรี เม่ือวันท่ี 9 ตลุ าคม 2557 2 สปป.ลาว เวียงจนั ทน์ เมืองหลวงของสปป.ลาว ตั้งอยู่ตอนกลางของประเทศ ตรงข้าม จงั หวดั หนองคาย สะหวันนะเขต - แขวงที่ตั้งอยู่ตอนกลางค่อนไปทางใต้ของประเทศ มีชายแดน ติดเวียดนามและประเทศไทย มีเมืองไกสอน พมวิหาน เป็น เมอื งหลักของแขวง - เป็นเมืองใหญ่อันดับ 2 ของ ลาว อยู่บนเส้นทางระเบียง เศรษฐกิจแนวตะวันออก-ตะวันตก (เส้นทางหมายเลข R9) โดยมีสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 2 เช่ือม มุกดาหาร – สวุ รรณเขต เปน็ ทตี่ ง้ั ของเขตเศรษฐกิจพิเศษสะหวันเซโน คาม่วน - แขวงท่ีตั้งอยู่ตอนกลางค่อนไปทางใต้ของประเทศ มีชายแดน ติดเวียดนามกับประเทศไทย อยู่บนเส้นทางหมายเลข 8 โดยมี สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ 3 เชื่อม นครพนม-คาม่วน (ทา่ แขก) - ท่ีตั้งของเขตเศรษฐกิจจาเพาะท่าแขก และเขตเขตเศรษฐกิจ จาเพาะภูเขยี ว จาปาศักดิ์ - แขวงต้ังอยู่ทางตอนใต้สุดของประเทศ มีชายแดนติดประเทศ ไทยและกมั พชู า มีเมืองปากเซเป็นเมืองหลักของแขวง - เมือง ใหญอ่ นั ดับ 3 ของลาว - ศูนย์กลางการเมืองการปกครองและเศรษฐกิจ รวมไปถึงการ ทอ่ งเทยี่ วของลาวตอนใต้ - 83 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลอ่ื นประเทศไทยสู่ความมั่งคงั่ มนั่ คง และย่ังยนื 3 เวียดนาม ฮานอย - เมืองหลวงของประเทศเวียดนาม ศูนย์รวมการบริหารของ ประเทศ อยู่บนเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ (North- South Economic Corridor) โฮจิมินห์ - เมืองสาคัญอันดับ 1 ทางเศรษฐกิจของเวียดนาม GDP สูงสุด ท่ีสุดของประเทศ (ร้อยละ 20) มีกาลังซ้ือจากเวียดนามโพ้น ทะเล - ศูนย์กลางธุรกิจการค้า การเงิน รัฐบาลมีการพัฒนาการคมนาคม สร้างรถไฟความเร็วสูง รถไฟใต้ดิน และท่าอากาศยานแห่งใหม่ ซ่ึงหากสมบูรณ์จะใหญ่กว่าสุวรรณภูมิ รองรับผู้โดยสารปีละ 100 ลา้ นคน สนิ ค้าปีละ 5 ลา้ นตนั - ตั้งอยู่บนเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจตอนใต้ (Southern Economic Corridor) ไฮฟอง - เมอื งใหญ่อนั ดับ 3 ของเวยี ดนาม เมอื งท่าสาคญั ทางตอนเหนือ - มีท่าเรือน้าลึกใหญ่อันดับ 2 รองจากโฮจิมินห์ ประชากร 3 ล้านคน ห่างฮานอย 120 กม. อยู่ใกล้ชายแดนจีน สินค้า สว่ นมากมาจากจีน เป็นโอกาสของสินค้าไทยอยา่ งมาก เก่นิ เทอ - อย่ทู างตอนใตข้ องเวียดนาม ห่างจากโฮจิมินห์ 170 กม. - ศูนยก์ ลางการคมนาคมทางนา้ ของลุม่ นา้ โขง 14 จังหวัด - แหล่งผลิตและจาหน่ายข้าว ผลไม้ พืชอุตสาหกรรมเขตร้อน และสินค้าประมง ทาให้เป็นเมืองศูนย์กลางเศรษฐกิจลุ่มน้า โขงดา้ นพาณชิ ย์ การเงนิ บริการ วฒั นธรรมและเทคโนโลยี ดานัง - เมืองท่าสาคัญทางตอนกลางของประเทศ อยู่บนเส้นทาง ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (เส้นทางหมายเลข R9) - เป็น 1 ใน 5 เมืองท่ีมีสถานะเป็นเทศบาลนคร บริหารจาก ส่วนกลางในระดับเดียวกับจังหวัด (นครโฮจิมินห์ ไฮฟอง เก่ิน เทอ ดานัง และวนิ ห)์ 4 กมั พชู า พนมเปญ - ศูนย์ราชการ ศูนย์กลางธุรกิจทั้งด้านการค้า การลงทุน และ ภาคอตุ สาหกรรม การศึกษา ของประเทศกัมพูชา - เป็นจุดกระจายสินค้าหลัก จากที่นาเข้ามาจากต่างประเทศ และกระจายไปยงั จงั หวัดตา่ งๆ ของกัมพชู า -โอกาสการค้าการลงทุนของไทย : ธุรกิจก่อสร้าง และสินค้าที่ เกี่ยวเนื่อง เช่น เฟอร์นิเจอร์ ของตกแต่งบ้าน สินค้าอุปโภค บริโภค และธุรกิจบริการท่ีเก่ียวข้อง เช่น การออกแบบ การ บริหารจัดการอสังหาริมทรัพย์ และอื่นๆ เช่น โรงแรม สปา ความงาม โรงงานอุตสาหกรรม การเกษตรแปรรปู เป็นต้น เสียมราฐ - เป็นจังหวัดที่มีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงเป็นอันดับ 2 ของกัมพูชา รองจากกรงุ พนมเปญ - 84 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคลอื่ นประเทศไทยสคู่ วามมง่ั คั่ง มน่ั คง และย่ังยนื สีหะนุวลิ ล์ - เศรษฐกิจของเสียมเรียบขึ้นกับธุรกิจการท่องเที่ยวและภาค บริการเป็นหลัก สร้างรายได้ให้กับประเทศกัมพูชาสูงถึง ประมาณ 30% ของจีดพี ี รวมของประเทศ - เป็นจุดเชื่อมโยงระบบโลจิสติกส์เพื่อการพัฒนาการค้า การ ลงทุน และการท่องเท่ียวไทย-กัมพูชา-เวียดนาม เนื่องจาก ต้ังอยู่บนทางหลวงหมายเลข 6 ซ่ึงเป็นเส้นทางระเบียง เศรษฐกิจตอนใต้ (Southern Economic Corridor) ภายใต้ กรอบ GMS - มีแหล่งท่องเท่ียวที่สาคัญของโลก คือ “นครวัด - นครธม” รองรับนักท่องเท่ียวจากท่ัวโลกปีละประมาณ 3 ล้านคน (แนวโนม้ จานวนนกั ท่องเทีย่ วเพม่ิ ขึ้นปลี ะร้อยละ 20) - โอกาสการค้าการลงทุนของไทย : ธุรกิจบริการ การท่องเท่ียว โรงแรม สปา ความงาม สนิ ค้าอุปโภคบริโภค - จังหวัดท่องเท่ียวแหล่งใหม่ของกัมพูชา ดึงดูดนักท่องเที่ยว ประมาณปีละ 2 ล้านคน (นักท่องเที่ยวต่อจากการเยือน จังหวดั เสยี มเรียบ) - ได้รับการคัดเลือกจากต่างชาติให้เป็น “จังหวัดชายหาดที่ สวยงามที่สุดในโลก” ซ่ึงรัฐบาลกัมพูชามีนโยบายส่งเสริมให้ จงั หวดั พระสหี นนุ ี้ เปน็ จงั หวดั ยทุ ธศาสตรอ์ กี หนึ่งจงั หวัด - มีท่าเรอื น้าลึกขนาดใหญแ่ หง่ เดียวของประเทศกัมพูชา (ท่าเรือ สีหนุวลิ ล์) ในการนาเข้า/ส่งออกสินค้า - โอกาสการค้าการลงทนุ ของไทย : การท่องเที่ยวทั้งระดับท่ัวไป และระดับสุดหรู โรงแรม ธุรกิจบริการ สปา ความงาม สินค้า อุปโภคบริโภค อุตสาหกรรมสิ่งทอ หรือสินค้าอุตสาหกรรม อ่ืนๆ ท่ีจะผลิตเพือ่ สง่ ออกตอ่ ไปยงั ประเทศท่สี าม รปู แบบการทาธุรกจิ ระหวา่ งประเทศในศตวรรษที่ 21 ภายใต้กระแสโลกาภิวตั น์ ทไ่ี ม่เพียงแต่มีการเคล่ือนไหลของสินคา้ แต่มกี ารเคลื่อนไหลของบริการ ทุน และผู้คน เพอ่ื ให้สอดรับกับรปู แบบการคา้ และการลงทนุ ทเี่ ปลย่ี นแปลงไป จาเป็นต้องมีการกาหนดยุทธศาสตร์ ร่วมกบั ภาคเอกชน ใน 2 กลมุ่ ใหญ่ ๆ คือ กล่มุ ท่ี 1 การบริการให้ “ชาวต่างชาติ” ทเ่ี กิดข้ึน “ในประเทศไทย” กล่าวคือ “ผใู้ ห้บริการชาวไทย” ไมไ่ ด้ออกไปใหบ้ รกิ ารในต่างประเทศ กลมุ่ นีป้ ระกอบด้วย 2 Modes of Supply ไดแ้ ก่ - Mode 1: Cross Border Supply - Mode 2: Consumption Abroad - 85 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคลือ่ นประเทศไทยสู่ความม่งั คง่ั มนั่ คง และยัง่ ยนื กลมุ่ ท่ี 2 การบริการให้ “ต่างชาติ” ท่ีเกดิ ข้ึนท่ี “ตา่ งประเทศ”กลา่ วคอื “ผู้ใหบ้ รกิ ารชาวไทย” ไป ใหบ้ ริการทต่ี ่างประเทศ ในกลุ่มน้ปี ระกอบดว้ ย 2 Modes of Supply ได้แก่ - Mode 3: Commerce Presence - Mode 4: Presence of Natural Person WTO เคยประมาณการไวใ้ นปี 2011 ว่าการค้าบรกิ ารในโลกมสี ัดส่วนดังน้ี: Mode 1: Cross-Border Supply อยู่ท่ีร้อยละ 30, Mode 2: Consumption Abroad อย่ทู ่รี ้อยละ 10, Mode 3: Commercial Presence อยู่ทรี่ ้อยละ 55 และ Mode 4: Presence of Natural Persons อยู่ท่ีร้อยละ 52 Mode 1: Cross Border Supply เป็นการบรกิ ารชาวตา่ งชาติ โดยผู้ให้บริการชาวไทยไมต่ ้องปรากฏตัวอย่ใู นประเทศของลกู ค้า เป็นการ ให้บริการผ่านส่อื และโทรคมนาคม เชน่ การบญั ชี บริการด้าน IT แอพพลเิ คช่ันต่าง ๆ หรือผูป้ ระกอบการใน กลมุ่ “Startups” ทใ่ี นปจั จบุ ันมีจานวนมากขึ้นเรื่อย ๆ หนว่ ยงานภาครฐั ท่สี ามารถให้การสนบั สนนุ ธุรกจิ บรกิ ารใน Mode น้ี มีทั้ง “กระทรวงพาณชิ ย์” ใน การสง่ เสริมศักยภาพผู้ประกอบการ และเปน็ ตัวกลางในการเชอื่ มโยงกับผู้บรโิ ภค ดา้ น “Digital / Mobile Commerce” และ “กระทรวงดจิ ิตอล” ทจี่ ะช่วยสร้างระบบ IT , Internet ความเร็วสูง เพ่ืออานวยความ สะดวกท้ังผู้ซื้อ และผู้ขาย 2 ประเทศท่ีมกี ารจัดทาสถติ ิการคา้ บริการของตนโดยแยกตามโหมดพบ 2 ประเทศ คอื นวิ ซีแลนด์กับ อนิ เดยี โดยใชก้ ารสารวจแบบสอบถาม (Survey) กับผ้ปู ระกอบการแลว้ นามาประมวลผล - นิวซีแลนด์ แยกออกมา 3 โหมด คือ 1/2/4 (ส่วนบริการโหมด 3 ใชส้ ถิติเงินลงทนุ ทางตรงจาก ตา่ งประเทศได้)ใน 9 สาขาบริการ เช่น ICT, การเงิน, บริการการคา้ , บรกิ ารธรุ กิจ, บรกิ ารวิชาชพี , บริการ บนั เทิง เป็นต้น และยังได้แยกการสง่ ออกบริการตามประเทศดว้ ย โดยการคา้ บริการของนวิ ซีแลนด์ส่วนใหญค่ อื 85.8% อยู่ในโหมด 1 นา่ จะเกดิ จากพื้นท่ีประเทศทีเ่ ปน็ เกาะอยูห่ า่ งไกล การค้าโหมด 1 มากที่สุดกบั ออสเตรเลีย อเมรกิ า และ องั กฤษ ส่วนโหมด 4 ค้ามากท่ีสุดกบั ออสเตรเลยี อเมรกิ าและ UAE เปน็ ตน้ - อินเดีย ไดแ้ ยก 4 โหมดบริการใน \"บรกิ ารคอมพิวเตอร์ บริการ IT และ BPO\" ซ่ึงเป็นบรกิ ารที่ อนิ เดยี มีขีดความสามารถสงู พบว่าอนิ เดียค้าบริการในกลุ่มนี้สูงสดุ ในโหมด 1 (67.4%) รองลงมาคอื โหมด 4 (17.7%) - กรณสี หรฐั อเมริกา แมจ้ ะไม่ได้จดั เกบ็ บริการเป็น 4 โหมดตาม WTO โดยตรง แตก่ ไ็ ด้เก็บแยกข้อมูล ในโหมด Cross-border services หรือโหมด 1 ในการค้าบรกิ ารของประเทศไว้ - 86 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคล่ือนประเทศไทยส่คู วามม่งั ค่ัง มนั่ คง และยัง่ ยนื Mode 2: Consumption Abroad เปน็ ภาคบรกิ ารท่ีผู้ประกอบการไทยมีความโดดเด่น เพราะมผี บู้ ริโภคต่างชาติเข้ามาใชบ้ ริการใน ประเทศไทยเป็นจานวนมาก อาทิ ธุรกิจบรกิ ารทอ่ งเท่ยี ว บรกิ ารทางการแพทย์ และ บริการทางการศึกษา ใน Mode น้ี ท้งั ภาครฐั และภาคเอกชนตา่ งมีความเขม้ แข็ง ไม่ว่าจะเปน็ “กระทรวงพาณิชย์” ทม่ี กี าร จัดงานแสดงสินค้านานาชาติ เพอื่ ดึงดูดนกั ลงทนุ ผู้บริโภคชาวต่างชาติ นอกจากนย้ี งั มี กระทรวงการทอ่ งเทีย่ ว และกีฬา, ททท. ท่ีประชาสัมพนั ธก์ ารท่องเที่ยวไทยอย่างสม่าเสมอ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศกึ ษา สส ปน.(MICE) และสมาคมธุรกิจตา่ ง ๆ ก็ช่วยกนั ผลกั ดัน ทาให้เรามศี กั ยภาพมากในกลุ่มน้ี Mode 3: Commercial Presence ผู้ให้บริการไทยออกไปตัง้ ธุรกิจเพอ่ื ให้บริการในต่างประเทศ เช่น ธนาคารพาณิชย์ไทยใน CLMV ร้านสปา คลนิ กิ ความงามในต่างประเทศ การก่อสรา้ ง ร้านอาหารไทยท่มี ีกว่า 12,000 แหง่ ทั่วโลก เปน็ ต้น ธุรกิจบรกิ ารใน Mode นี้ มีการขยายตวั มากขน้ึ เร่ือย ๆ ภาครัฐสามารถสนับสนุน ในดา้ นการอานวยความ สะดวก เจรจาลดขั้นตอนในการไปตั้งธรุ กจิ ส่งเสริม Franchise บรกิ ารไปต่างประเทศ รวมทง้ั ช้ีเปา้ “ทาเล” ท่ี เหมาะสม ซ่งึ เปน็ ภารกิจหลักของกระทรวงพาณชิ ย์ นอกจากนี้ เรายังมคี วามรว่ มมือกบั BOI ในการส่งเสรมิ การ ลงทนุ ในต่างประเทศอีกดว้ ย Mode 4: Presence of Natural Person เปน็ การไปประกอบอาชีพสาขาบริการตา่ ง ๆ ชวั่ คราวในต่างประเทศ เช่น การประกอบวิชาชพี ให้ คาปรึกษากฎหมายท่ีตา่ งประเทศ ครูไทยที่ไปสอนภาษาไทยท่ีตา่ งประเทศ วิศวกรไทยในต่างประเทศ หรือ นกั ออกแบบและสร้างภาพการต์ ูน ภาพเคลื่อนไหว หรอื Animator ไทยท่ไี ปทางานในสตูดโิ อระดบั โลกอยา่ ง Pixar และล่าสดุ ทีม Story Artist คนไทย ท่ีมสี ่วนร่วมในภาพยนตร์แอนเิ มช่ันรางวัลออสการ์อย่าง Frozen ธรุ กิจบริการใน Mode น้ี มีมากขึ้นเรื่อย ๆ และเราต้องสง่ เสรมิ Talent & Skilled Worker Development โดยกระทรวงพาณชิ ย์จะสง่ เสรมิ พัฒนาและดูแลธรุ กจิ บริการวิชาชีพ สง่ เสริมการทาธรุ กิจใน ต่างประเทศ รวมทั้งเจรจาลดอปุ สรรคในการเข้าสูต่ ลาด นอกจากน้ี ยังมกี ระทรวงการต่างประเทศ และสมาคม วชิ าชีพ ท่ีคอยดแู ละให้ความช่วยเหลอื คนไทยในต่างแดน - 87 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลือ่ นประเทศไทยส่คู วามม่ังคั่ง มนั่ คง และย่ังยนื ธรุ กจิ บริการทอี่ ยู่ในแต่ละ Mode of Supply มี \"Service Ecosystem\" ทแ่ี ตกต่างกัน กล่าวคอื แต่ ละ Mode จะมเี ง่ือนไข กฎกติกาและมาตรฐาน ตลอดจนมี Degree of Freedom ในการสร้างความแตกต่าง ในตวั บริการท่แี ตกต่างกัน ดงั นน้ั เพอ่ื ยกขีดความสามารถในการแข่งขนั ของผปู้ ระกอบการธรุ กิจบริการไทยใน เวทีโลก ถงึ เวลาแล้วทป่ี ระเทศไทยจะต้องมี \"นโยบายและยุทธศาสตร์ภาคบรกิ ารตามราย Modes of Supply\" ดังกล่าว ซ่งึ กระทรวงพาณชิ ย์จะเปน็ เจ้าภาพในเรอื่ งดังกล่าวร่วมกับภาคธุรกิจบรกิ ารท่ีเกี่ยวข้องต่อไป - 88 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคล่อื นประเทศไทยสู่ความมั่งคั่ง ม่ันคง และยัง่ ยนื ตอนท่ี 3 การปฎิรูประบบวิจัยเพือ่ ก้าวสู่ Thailand 4.0 การปฏิรูปโครงสร้างและระบบการบรหิ ารงานวจิ ัยของประเทศ เพ่ือให้การสร้าง กลุ่มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเป้าหมาย ตลอดจนการผลักดันการวิจัยเพื่อตอบ โจทย์วาระประเทศเกิดผลสัมฤทธิ์ในทางปฎิบัติ จาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องมีการปฎิรูปโครงสร้างและระบบการ บริหารงานวจิ ัยของประเทศ ปญั หาหลกั ในระบบการบริหารงานวิจัยของประเทศ ● หน่วยงานสนับสนุนการวิจัยโดยเฉพาะแหล่งทุนต่าง ๆ ขาดเป้าหมายและทิศทางที่ชัดเจน มีการ ทางานซา้ ซอ้ น บทบาทและภารกจิ ของหนว่ ยงานมีความสบั สน บางหน่วยงานมีหลายบทบาท เป็น ทั้งหน่วยให้ทุน และทาวิจัยเอง เกิดผลประโยชน์ขัดแย้ง มีช่องว่างการผลักดันงานวิจัยโดยเฉพาะ ด้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม สู่การใช้ประโยชน์ในเชิงพาณชิ ย์ อาทิ - หนว่ ยงานทรี่ ัฐจดั ต้งั ข้นึ เพื่อพัฒนางานวจิ ัยสกู่ ารใชป้ ระโยชน์ขาดศักยภาพในการปฏบิ ตั ิภารกิจ ให้ลลุ ว่ ง กลับไปทาภารกจิ ของมหาวทิ ยาลัย เชน่ งานวจิ ยั พ้ืนฐาน เน้นผลงานตีพิมพ์มากกว่า การพฒั นาเทคโนโลยี ทาใหผ้ ลงานทีม่ กี ารนาไปใช้ประโยชน์มจี านวนนอ้ ยกว่าที่ควรจะเปน็ และทาหนา้ ทเ่ี ปน็ ผู้จดั สรรทุนเอง ซ่งึ เกดิ การขดั กนั ของผลประโยชน์อย่างชัดเจน - หน่วยงานรัฐท่ีได้รบั การจัดสรรงบวิจัยบางหน่วยงาน ขาดศักยภาพในการทาวิจัย เนอื่ งจาก ไม่ไดม้ ภี ารกจิ วจิ ยั อยา่ งแท้จริง ทาให้ไมม่ ีแผนพฒั นากาลังคนในดา้ นนี้มารองรบั จึงต้องจดั สรร งบตอ่ ไปยังหน่วยงานวจิ ยั และมหาวทิ ยาลยั - มหาวิทยาลัยถูกคาดหวังให้ทาทกุ ส่ิงทุกอยา่ งเกนิ บทบาทของตวั เอง เช่น จะต้องนาผลงานวจิ ยั ไปใช้ประโยชน์ในเชงิ พาณชิ ยท์ ัง้ ๆ ทเี่ ปน็ บทบาทของหน่วยพฒั นาเทคโนโลยี และเอกชน ● นโยบายกับการปฏิบัติสวนทางกัน การเมืองแทรกแซง และมีผลประโยชน์ทับซ้อน เช่น กรณี องค์ประกอบของกรรมการตัดสินทุนหรือกรรมการบริหารหน่วยงานจัดสรรทุนมีผู้ที่มีส่วนได้ส่วน เสยี ร่วมอยดู่ ว้ ย เปน็ ตน้ ● ปญั หาด้านจรยิ ธรรม เช่น การขโมยความคดิ ของผขู้ อทนุ แล้วเอาไปทาวจิ ัยเอง เปน็ ต้น - 89 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลอื่ นประเทศไทยสคู่ วามมงั่ ค่ัง มั่นคง และยง่ั ยนื ● หน่วยงานวิจัยยังขาดความเช่ือมโยงกับตลาด ขาดการศึกษาวิเคราะห์ตลาด แนวโน้มเทคโนโลยี ขาดการวิเคราะห์ในข้อมูลสิทธิบัตร ทาให้การวิจัยที่ออกมาไม่สามารถขอรับความคุ้มครอง ทรพั ยส์ ินทางปญั ญาได้ ไม่สามารถตอบโจทย์การนาไปใชป้ ระโยชน์เชิงพาณชิ ย์ได้ ● ขาดการกระจายความเจริญด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม สู่ภูมิภาค เกือบทุกอย่าง กระจุกตัวอยูส่ ่วนกลาง ประเดน็ ปญั หาดงั กลา่ วก่อใหเ้ กดิ ช่องว่างทีเ่ รยี กว่า หบุ เหวมรณะ (Valley of Death) ในการเช่ือมโยงงานวิจยั สู่กา รูปที่ 3.1 : หบุ เหวมรณะของการวิจยั การจะก้าวข้ามหุบเหวมรณะ (ดูรูปที่ 3.1) เพื่อให้สามารถสร้างนวัตกรรมสู่การใช้ประโยชน์ จาเป็น อย่างยิ่งตอ้ งมีการปรบั โครงสร้างการสนบั สนุนการวจิ ยั และพฒั นาดังน้ี หนว่ ยนโยบายวจิ ยั ของประเทศ สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ (วช.) ต้องเปน็ หน่วยงานกาหนดนโยบายและยุทธศาสตร์การ วิจัยทค่ี รอบคลุมทุกมิติ (ลักษณะเดียวกับ สวทน. แตเ่ น้นนโยบายวจิ ยั ภาครฐั เป็นหลกั โยงกบั การจัดสรร งบประมาณแผ่นดนิ ใหห้ นว่ ยจัดสรรทนุ วิจยั ) ไมเ่ ปน็ หนว่ ยงานใหท้ นุ วจิ ยั ปรับขนาดใหก้ ระชบั 3 3 อาจมีภารกจิ สนับสนุนอ่นื ๆ ที่ทาได้ดีอยแู่ ลว้ เชน่ ภารกิจด้านจรยิ ธรรม คุณภาพและมาตรฐานการวิจยั การ ยกยอ่ งชมเชยนักวิจัย และการพัฒนาศักยภาพนกั วจิ ยั เปน็ ตน้ - 90 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคล่ือนประเทศไทยส่คู วามมั่งค่งั มั่นคง และย่ังยืน ส่วนสานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) มี บทบาทท่ีชัดเจนอยู่แล้วคือกาหนดนโยบายท่ีส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอันนาไปสู่ การสร้างนวัตกรรมเพ่ือสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยเน้นนโยบายการวิจัยของ ภาคเอกชน ขบั เคล่ือนใหเ้ กิดงานวจิ ยั และนวตั กรรมในภาคเอกชน4 เพอื่ ใหเ้ ป็นเอกภาพในการกาหนดนโยบายวิจยั พฒั นา และนวัตกรรมของประเทศ เสนอใหม้ ีการยุบ รวมให้ สวทน. อย่ภู ายใต้ วช. ขึ้นตรงกบั นายกรัฐมนตรีไมส่ งั กดั กระทรวง แต่มีรูปแบบการบรหิ ารท่คี ลอ่ งตวั แบบ สวทน. การวจิ ยั เชงิ พนื ฐานและประยุกต์ (Basic & Applied Research) ปรับโครงสร้างหน่วยงานท่ีให้ทุนวิจัยของประเทศให้มีบทบาทภารกิจที่ชัดเจน เพ่ือให้สามารถ ขบั เคล่ือนการวจิ ัยและพฒั นาของประเทศเปน็ ไปอย่างมีทศิ ทาง ประกอบไปด้วย  หน่วยใหท้ นุ ท่เี น้นการเพม่ิ ขดี ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ประกอบไปด้วยหน่วย ให้ทุนดา้ นวิทยาศาสตร์ วศิ วกรรมศาสตร์ และสงั คมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง (SCI) หน่วยให้ทุนด้าน เกษตร (AGRI) และหน่วยให้ทุนดา้ นวิทยาศาสตร์สุขภาพ (HEALTH)  หน่วยให้ทุนท่ีเน้นการพัฒนาชุมชนและสังคมเชิงพื้นท่ี โดยมีเป้าหมายเพื้อสร้างสังคม ฐานความรู้ มหี น่วยใหท้ นุ ดา้ นการพฒั นาชมุ ชนและสงั คมเชงิ พื้นที่ (SOC) โดยกาหนดให้งบประมาณวิจัยของรัฐ เฉพาะการวิจัยเชิงพ้ืนฐานและประยุกต์ ท้ังหมดผ่าน 4 หน่วยงานน้ีในลักษณะกองทุน งบประมาณที่จัดสรรให้หน่วยให้ทุนทั้ง 4 น้ี ควรเป็น Package ครั้งละ 5 ปี และมีการประเมินผลทุกปี ให้ทั้ง 4 หน่วยงานเป็นองค์กรอิสระขึ้นอยู่กับนายกรัฐมนตรี เพ่ือให้ปราศจาก อิทธิพลของการเมอื งหรือภารกิจของกระทรวง มีความเป็นอสิ ระในการจัดการ และสามารถทางานที่หน่วยงาน ตอ้ งการขบั เคล่ือนไดเ้ ตม็ ท่ี การจัดสรรงบประมาณให้พิจารณาแผนท่ีสอดคล้องกับนโยบายท่ี วช. และ สวทน. จดั ทา ใหม้ งี บประมาณท่เี พียงพอโดยไม่ต้องมีการสมทบจากผู้วิจัย และสามารถให้ทุนในระยะยาวได้ ไม่ผูกกับ งบประมาณรายปี สามารถจัดสรรครุภณั ฑ์ชั้นสงู ที่จาเป็นตอ่ การวจิ ยั ที่มีคณุ ภาพ ผู้บริหารหน่วยงานเหล่าน้ีต้อง เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ และมีประสบการณ์สูงในการบริหารงานที่เกี่ยวข้อง โดยไม่จากัดอายุหรือวาระ การทางาน ส่วนกรรมการของทุกหน่วยงานจะต้องไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน เช่นไม่เป็นผู้รับทุนหรือผู้บริหาร หน่วยงานท่ีรับทนุ เปน็ ต้น 4 บางภารกจิ ทีไ่ มเ่ กย่ี วข้องกับนโยบาย เช่น THAIST ควรย้ายไปอยู่หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วข้อง - 91 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลือ่ นประเทศไทยสูค่ วามมั่งคั่ง มนั่ คง และย่ังยืน การพัฒนางานวิจัยต่อยอดเพ่ือใช้ประโยชน์ (Development, Prototype, Launch) แบ่งเปน็ 2 มิติดว้ ยกนั คือ มิติการเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ให้ปรับบทบาทและตัวช้ีวัด ของ สวทช ท้ัง 4 ศูนย์ (NECTEC, BIOTEC, MTEC, NANOTEC) วว. และหน่วยงานอ่ืนท่ีมีภารกิจสอดคล้อง เพ่ือ รองรับงานส่วนน้ี เน้นการพัฒนาเทคโนโลยี การสร้างต้นแบบ เพ่ือส่งต่อให้ภาคเอกชนนาไปผลิตหรือ ดาเนินการเชิงพาณิชย์ โดยรัฐลงทุนโครงสร้างพ้ืนฐานและบุคลากร ส่วนงบประมาณการวิจัยให้ขอจาก ภาคเอกชนเป็นหลกั เนอ่ื งจากเปน็ ภารกจิ พัฒนาเทคโนโลยีเพ่ือภาคเอกชน และให้มีศูนย์วิจัยและพัฒนาเฉพาะ ทางในทุกภูมภิ าคท่สี อดคลอ้ งกบั ประเดน็ ของภูมิภาคและดาเนนิ การร่วมกับอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค (ไม่ใช่ ลักษณะศนู ย์ความเป็นเลศิ ของ สกอ. ในปัจจุบนั ) ในการขยายผลเชิงพาณิชย์ (Product Launch) จะเน้นการพัฒนานวัตกรรมที่ต่อยอดของ ภาคเอกชนเป็นหลัก มีองค์กรท่ีรองรับอยู่แล้วคืออุทยานวิทยาศาสตร์ในแต่ละภูมิภาค หรือ Innovation Center ของบางสถาบันซ่ึงจะต้องทางานร่วมกับมหาวิทยาลัยและศูนย์วิจัยแห่งชาติเพื่อพัฒนาให้เอกชน สามารถสรา้ งนวัตกรรมสู่การผลิตเชิงพาณิชยไ์ ด้เอง ในสว่ นของกระทรวงต่าง ๆ ไม่ควรมีงบวิจัยพ้ืนฐาน ให้มีเฉพาะงบพัฒนาที่สอดคล้องกับภารกิจของ หน่วยงานเทา่ นั้น มิตกิ ารพัฒนาชมุ ชนและสงั คมเชิงพืนที่ กาหนดให้มีโครงสร้างระบบวิจัยในการพัฒนาชุมชน และสังคม โดยเน้นการวจิ ัยทีต่ อบสนองพ้นื ที่ซงึ่ มีหนว่ ยงานสนบั สนุนทุนวิจัยที่เฉพาะ (SOC) ทีไ่ ดก้ ล่าวมาแล้ว องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) จะต้องสนับสนุนทุนวิจัยในการพัฒนาชุมชนท่ีอยู่ในความ รับผิดชอบ ทางานรว่ มกบั สถาบนั การศึกษาและประชาชน โดยกาหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจะต้องใช้ งบประมาณอย่างน้อย 5% ในการพัฒนาท้องถิ่นด้วยการวิจัย เพื่อสร้างสังคมที่ใช้ปัญญาในการดารงชีพและ สรา้ งรายได้ - 92 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคลือ่ นประเทศไทยสคู่ วามมงั่ คงั่ มัน่ คง และยั่งยืน กาหนดให้หน่วยงานของรัฐในภูมิภาค และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องมีตัวช้ีวัดผลงานในการ ทางานร่วมกับสถาบันการศึกษา และหน่วยวิจัยในพื้นท่ี ถ่ายทอดองค์ความรู้จากงานวิจัยสู่การใช้ประโยชน์ เพ่อื ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน การปฎริ ูปมหาวทิ ยาลัย เนือ่ งจากมหาวิทยาลยั มีนกั วจิ ัยกวา่ 80% ของประเทศ และหลายมหาวทิ ยาลยั มศี ักยภาพในการสร้าง นวัตกรรมต่อยอดจากงานวิจัยพื้นฐานหรือประยุกต์ จึงเป็นการสมควรที่จะสนับสนุนให้มหาวิทยาลัยมีบทบาท ท่ีเข้มแข็งในด้านนี้ ทางานร่วมกันเป็นเครือข่ายเพ่ือเสริมสร้างความแข็งแรงของระบบสร้างนวัตกรรมของ ประเทศ ในการขับเคลื่อน Thailand 4.0 จาเป็นต้องพัฒนามหาวิทยาลัยให้เป็น “มหาวิทยาลัย 4.0” ด้วย การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์การบริหาร และพัฒนาบุคลากรในองค์กรให้มีความทันสมัย การบริหาร จาเปน็ ตอ้ งคล่องตวั ยืดหยุ่น และเน้นธรรมาภบิ าล มองประโยชน์ส่วนรวมโดยเฉพาะเป้าหมายของชาติ เปิดใจ และทางานเป็นเครอื ขา่ ยรว่ มกับองค์กรภายนอกมากขนึ้ ขอ้ เสนอรปู แบบการดาเนินการของ “มหาวทิ ยาลยั 4.0” มดี งั ต่อไปนี้ ใช้มหาวิทยาลัยเป็นฐานการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ในเบื้องต้นจะเริ่มจาก มหาวิทยาลัยในกลุ่ม ทปอ. 27 แห่ง และสร้างความเข้มแข็งให้สถาบันการศึกษาอ่ืน ๆ ในทุกภูมิภาครวมทั้ง อาชีวศึกษา เน่ืองจากมหาวิทยาลัยมีหลายระดับ จึงจาเป็นต้องแบ่งประเภทของมหาวิทยาลัยตามความเข้มแข็ง และความถนัด มีความรับผิดชอบท่ีแตกต่างกันแต่เสริมการทางานซ่ึงกันและกัน มีตัวช้ีวัดที่เหมาะสมแตกต่าง กันดงั น้ี - มหาวิทยาลัยวจิ ัย เปน็ แกนนาของเครอื ขา่ ย เน้นการวจิ ยั เพอ่ื สร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ ที่จาเป็น ต่อการพฒั นาประเทศ การสร้างนวัตกรรมขั้นสงู สรา้ งกาลังคน ตอบสนองวาระของชาติ - มหาวิทยาลัยเฉพาะทาง เน้นเน้นการวิจัยและนวัตกรรม รวมท้ังสร้างกาลังคนเฉพาะทางท่ี เช่ียวชาญ - มหาวิทยาลัยเชิงพืนท่ี เน้นการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนหรือพ้ืนที่ให้มีศักยภาพสูงข้ึน ผลักดนั การพัฒนากลมุ่ จังหวัด รวมถึงการพฒั นา “จงั หวัด 4.0” - 93 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคลอ่ื นประเทศไทยสคู่ วามม่ังค่งั มัน่ คง และย่งั ยืน ท้ังน้มี หาวิทยาลัยท้ัง 3 กลุ่มในพื้นท่ีเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน จะร่วมทางานเป็นเครือข่าย โดยเน้น การวิจัยเชิงยุทธศาสตร์ตามวาระประเทศ เพ่ือสร้างองค์ความรู้และสร้างคน หากมีงานวิจัยรองรับอยู่แล้ว สามารถตอ่ ยอดได้เลย โดยไม่จาเปน็ ต้องดาเนนิ การซ้าอีก ร่วมกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศที่มีชื่อเสียงในแต่ละประเด็นการวิจัย เพ่ือให้สามารถ พัฒนาเทคโนโลยีข้ันสูงของประเทศได้ เนื่องจากปัจจุบันวิวัฒนาการของศาสตร์ต่าง ๆ มีความก้าวหน้าแบบ กา้ วกระโดด การทางานเชิงเด่ียวจะทาให้ไมส่ ามารถตามโลกได้ทัน จงึ จาเปน็ ต้องรว่ มทางานกับผู้ท่ีมีองค์ความรู้ ทป่ี ระเทศยังขาดในลักษณะเสริมสรา้ งศักยภาพ ทางานร่วมกับเครือข่ายองค์กรบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (คอบช.) และหน่วยงานวิจัยอื่น ๆ โดย คอบช.เป็นผู้กาหนดประเด็นวิจัยตามนโยบายของคณะกรรมการวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ และ ควรบรรจกุ ารวิจัยเชิงบรู ณาการเปน็ เปา้ หมายการวิจัยที่สนับสนุนการวิจัยต้ังแต่ การวิจัยข้ันพ้ืนฐาน ประยุกต์ การพัฒนาเทคโนโลยี การสาธิต จนกระทัง่ การพฒั นาต้นแบบ อนั นาไปสกู่ ารใช้ประโยชนเ์ ชิงพาณชิ ย์ ดึงภาคเอกชนในพืนที่มาลงทุน โดยใช้กลไกที่มีอยู่แล้วมาสนับสนุน เช่น Supercluster, Cluster, เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ Food Innopolis, อุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค มาตรการหักลดหย่อน ภาษี 300% ร่วมกับสานพลังประชารัฐให้เสริมการทางานร่วมกัน ให้เกิด Innovation Hubs สอดรับตามวาระ ประเทศและตามความต้องการของแต่ละภมู ภิ าค พัฒนาความเชีย่ วชาญของแตล่ ะ Innovation Hub ให้สอดคล้องกับการพัฒนาพืนที่ มุ่งยกระดบั คณุ ภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ จากการวิจยั สู่การใช้ประโยชน์ ดงึ สถาบันการเงิน และการลงทนุ ในรปู แบบตา่ ง ๆ มาแปลงนวัตกรรมสเู่ ชงิ พาณิชย์ ทางานร่วมกับกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ และ IDE Center ทั้งใน ส่วนการเป็น Techno Lab และ Idea Lab ในภูมิภาค กลา่ วคือ เปน็ ศนู ย์ข้อมูลเพ่ือการสืบค้นสิทธิบัตร และ แนวโน้มเทคโนโลยีท่ัวโลก การให้คาปรึกษาแนะนาเร่ืองการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาแก่นักวิจัยและ ผู้ประกอบการในพืน้ ท่ี และการให้คาแนะนาเป็นพี่เลี้ยง เพ่ือต่อยอดความคิดให้เป็นนวัตกรรมท่ีสามารถออกสู่ ตลาดได้ - 94 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลอ่ื นประเทศไทยสคู่ วามม่งั คั่ง ม่นั คง และยงั่ ยืน รัฐสนับสนุนโครงสร้างพืนฐานที่จาเป็น เช่น อุปกรณ์ เคร่ืองมือวิจัยที่มีคุณภาพ รวมท้ังผ่อน คลายมาตรการท่ีจาเปน็ และออกกฏหมายสนับสนนุ การพัฒนานวตั กรรม กลไกขบั เคลอ่ื น ข้อเสนอเชงิ ดาเนนิ งาน ● สร้างเครือข่ายพันธมิตรขับเคล่ือนงานวิจัยพ้ืนฐานและประยุกต์ ทั้งในระดับชาติและระดับ ภูมิภาค ประกอบด้วย ภาคเอกชน มหาวิทยาลัย สถาบันวิจัยในประเทศ สถาบันการเงิน สถาบันวิจัยและ มหาวิทยาลัยชน้ั นาในต่างประเทศ และหนว่ ยงานรัฐ ในส่วนของมหาวิทยาลยั จะมีมหาวิทยาลยั วจิ ัยเป็นแกนนา มีมหาวิทยาลัยท่ีเชี่ยวชาญในสาขานั้น ๆ เข้าร่วมในการสร้างองค์ความรู้ และมีมหาวิทยาลัยเชิงพื้นท่ีร่วมทางานวิจัยตอบสนองพ้ืนที่ โดยเน้นความ เตรียมความพรอ้ มทางเทคโนโลยี TRL 1-3 พร้อมๆไปกบั การสรา้ งกาลังคนรองรับ ● เครือข่ายพันธมิตรจะร่วมกันดาเนินการจัดต้ัง Innovation Hubs ในแต่ละภูมิภาคตาม 5 วาระ การวิจัยเชิงบูรณการ Innovation Hub แต่ละแห่งจะเน้นการต่อยอดงานวิจัยในลักษณะ Translational Research ส่กู ารใชป้ ระโยชน์ ใชโ้ ครงสร้างเดมิ ทม่ี อี ย่แู ล้ว เช่น อทุ ยานวิทยาศาสตร์ หรือหน่วยงานที่มีลักษณะ เดยี วกัน มีการทางานกบั ภาคเอกชนอย่างเข้มแข็ง โดยเน้นระดับความพร้อมของเทคโนโลยี TRL 4 เป็นต้นจน สามารถสง่ ต่อภาคเอกชนผลติ ในเชิงพาณชิ ยไ์ ด้ ต่อเชอ่ื มจากข้อ 1 ข้างตน้ (ดงั รปู ท่ี 3.2) รูปที่ 3.2 : Technology Readiness Level (TRL) - 95 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคล่อื นประเทศไทยสู่ความมงั่ คงั่ มนั่ คง และยัง่ ยนื ● มหาวิทยาลัย อาชีวศึกษา และเอกชนร่วมกาหนดแผนสร้างกาลังคนตามยุทธศาตร์การพัฒนา National Brain Power ให้เกิดนกั วจิ ัยสาหรบั ภาคเอกชน และแรงงานทักษะสูง แบบมเี ปา้ หมายสอดคล้องกับ ทิศทางของประเทศ ข้อเสนอเชิงงบประมาณ ● รัฐบาลสนับสนุนเคร่ืองมือวิจยั ผ้เู ชย่ี วชาญตา่ งประเทศ ทุนบัณฑิตศึกษานานาชาติ ทุน Postdoc ทุนสนับสนุนความร่วมมือกับต่างประเทศ ในการพัฒนากลุ่มมหาวิทยาลัยลักษณะ Program Base กาหนด ตวั ชีว้ ัดทแี่ ตกตา่ งกันในแต่ละกลมุ่ ใหส้ ามารถทางานใด้ตามแผนงาน (อาทิ World Ranks สาหรับมหาวิทยาลัย วจิ ัย/Regional Ranks สาหรับมหาวิทยาลัยเฉพาะทาง/งานวิจัยท่ีใช้ประโยชน์ชุมชนสาหรับมหาวิทยาลัยเพื่อ ชุมชน) โดยจัดสรรงบประมาณภาครฐั ปีละ 20,000 ลา้ น จานวน 5 ปี ● สนับสนุนให้เกิด Innovation Hubs ในแต่ละภูมิภาคตาม 5 วาระการวิจัยเชิงบูรณการ โดยการ ร่วมทุนระหว่างรัฐและเอกชนที่จะได้รับประโยชน์ ให้มีโครงสร้างพื้นฐานท่ีเอื้อต่อการพัฒนานวัตกรรม สนับสนุนโครงสร้างพ้ืนฐาน เช่น ศูนย์ข้อมูลสิทธิบัตรและแนวโน้มเทคโนโลยี โรงงานต้นแบบและเคร่ืองมือ บุคลากร และการบริหาร และผ่อนคลายมาตรการที่จาเป็นรวมท้ังกฏหมาย โดยใช้งบประมาณภาครัฐ ปีละ 30,000 ล้าน จานวน 5 ปี และงบประมาณเอกชน ปีละ 60,000 ล้าน จานวน 5 ปี มีการประเมินผลงานที่ ชดั เจนและเขม้ ขน้ ● จัดให้มีกองทุนวิจัยเพื่อพัฒนานวัตกรรม Translational Research Fund ต่อยอดงานวิจัยไปใช้ ประโยชน์เชงิ พาณชิ ย์ โดยรฐั ร่วมลงทุนกับเอกชนในรูปแบบ PPP ● จัดสรรงบประมาณสนบั สนนุ การวจิ ยั ทม่ี ่งุ เปา้ ใหห้ น่วยจัดสรรทุนวิจัย (Granting Agencies) และ เป็นโปรแกรมระยะยาว 5 ปี กาหนดตามทศิ ทาง 5 เร่อื งท่ีเป็นวาระการวจิ ยั เชงิ บรู ณการ ข้อเสนอเชิงมาตรการสนับสนนุ ● ปฏิรูปกระบวนการที่เก่ียวข้องกับการรับรองมาตรฐานหรือคุณภาพผลิตภัณฑ์ เช่น อย. และ สมอ. ใหม้ ีความสะดวกรวดเร็ว - 96 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคลือ่ นประเทศไทยส่คู วามมัง่ ค่ัง มน่ั คง และย่งั ยนื ● ผ่อนปรนระเบียบในร่าง พระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ เพ่ือให้ มหาวทิ ยาลัยมีความคล่องตัวในการใช้จ่ายงบประมาณตามระเบียบเงินรายได้ของมหาวทิ ยาลัย5 ● การแก้กฏหมายที่เก่ียวข้องให้เอื้อต่อการสร้างนวัตกรรมในประเทศ เช่น พ.ร.บ. ส่งเสริมการใช้ ประโยชนผ์ ลงานวิจัยและนวตั กรรม (Bayh-Dole Act)6 ● การปฏริ ปู กระบวนการดา้ นการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา การประเมินมูลค่าทรัพย์สินทาง ปญั ญา การแก้ไขปญั หาการละเมิดทรัพยส์ นิ ทางปัญญา ● การยกเวน้ ภาษนี าเข้าวัสดแุ ละอปุ กรณก์ ารวิจัย ● การเรง่ กระบวนการพจิ ารณาผลิตภณั ฑน์ วัตกรรมท่ขี นึ้ ทะเบยี นนวตั กรรมไทย ● สร้างเส้นทางอาชพี สาหรับบุคลากรตาแหน่งนักวจิ ยั 5 เนอื่ งจากการวิจัยและพัฒนาจาเปน็ ตอ้ งอาศัยระเบียบการบรหิ ารการเงนิ ท่คี ลอ่ งตัวแตส่ ามารถตรวจสอบได้ เพอ่ื ให้เกดิ ความรวดเรว็ และสะดวก ปัจจุบนั ทกุ มหาวิทยาลยั มรี ะเบียบการใชเ้ งนิ ที่คล่องตัวอยู่แลว้ จงึ ไม่ควรออกกฏหมายทจ่ี ะ ทาให้เกดิ ความย่งุ ยากในการบรหิ ารอกี เพราะจะทาใหเ้ กิดอุปสรรคตอ่ การพฒั นาเป็นอย่างมาก 6 ผลงานวิจยั ทร่ี ฐั สนับสนนุ ผ่านหน่วยงานตา่ ง ๆ ทส่ี ามารถจดทะเบียนสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตรได้ สิทธิความ เป็นเจ้าของนั้นเป็นของรัฐท้ังหมดหรือก่ึงหน่ึง การถ่ายทอดเทคโนโลยีจากทรัพย์สินทางปัญญาเหล่านั้นทาได้ยาก เน่ืองจาก หน่วยงานรฐั ไม่มคี วามพรอ้ มในการดาเนนิ การ จึงมีจานวนสิทธบิ ัตรทสี่ ามารถนาไปพฒั นาใชป้ ระโยชน์เชงิ พาณิชยไ์ ด้นอ้ ยมาก สถานการณ์เช่นน้ีเกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาก่อนปี ค.ศ. 1980 รัฐสภาของสหรัฐฯตระหนักถึงปัญหาเหล่านี้ จึง พยายามสรา้ งกลไกทางกฎหมายข้นึ ใหม่ โดยการออกกฎหมาย Bayh-Dole Act ข้นึ มวี ัตถปุ ระสงคห์ ลกั คือต้องการส่งเสริมให้ มีการใช้ประโยชน์ในทรัพย์สินทางปัญญาท่ีเกิดจากการให้ทุนวิจัยของเงินงบประมาณภาครัฐ โดยการพยายามเชื่อมโยงกับ สถาบันวิจัย มหาวิทยาลัย ธุรกิจขนาดเล็ก และภาคอุตสาหกรรม กฎหมายน้ีได้แก้ไขปรับปรุงท้ังกฎหมายสิทธิบัตรและ เครื่องหมายการค้า หลักการสาคัญของกฎหมายฉบับ คือให้สิทธิแก่สถาบันวิจัยที่ไม่แสวงหากาไรและธุรกิจขนาดเล็กในการ เลือกท่ีจะถือครองสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาท่ีเกิดจากเงินงบประมาณของรัฐ เว้นแต่มีสถานการณ์พิเศษท่ีสถาบันวิจัย พิจารณาว่าตนเองเป็นเจ้าสิทธิจะดีกว่าหรือเป็นประโยชน์มากกว่า รวมท้ังกาหนดให้ผู้ทาวิจัยที่เลือกจะเป็นเจ้าของสิทธิใน ทรัพยส์ นิ ทางปญั ญาดังกลา่ วตอ้ งผูกพันตนเองในการพยายามใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยส์ ินทางปัญญา เปน็ ตน้ ท้งั นก้ี ่อนกฎหมาย Bayh-Dole มีผลใช้บงั คบั มหาวทิ ยาลัยไดร้ ับสิทธิน้อยกว่า 250 ฉบับต่อปี หลังจากนั้นในปี ค.ศ. 2000 มหาวิทยาลัยและสถาบันวจิ ัยภาครัฐในสหรฐั และแคนาดามากกว่า 330 สถาบันไดเ้ ขา้ มาเกีย่ วข้องกับการถ่ายทอด เทคโนโลยี โดยช่วยสร้างธุรกิจใหม่ ๆ (Startup) ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยกับอุตสาหกรรมช่วยให้ผลงานวิจัยของ มหาวิทยาลัยเขา้ สตู่ ลาดหรอื ใช้ประโยชน์เชงิ พาณิชยไ์ ด้รวดเรว็ ขึ้น และในปจั จบุ นั มีหลายประเทศได้รับรูปแบบและแนวคิดของ กฎหมายฉบบั นไ้ี ปปรบั ใช้ ในประเทศของตนเอง เช่น ประเทศญป่ี ่นุ และสหราชอาณาจกั ร เปน็ ต้น ประเทศไทยจงึ ควรเร่งออก กฏหมายนเี้ พื่อใหเ้ กดิ การใชป้ ระโยชน์เชิงพาณิชยจ์ ากงานวิจยั มากขน้ึ - 97 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลือ่ นประเทศไทยสูค่ วามม่งั คงั่ มั่นคง และย่ังยนื ตอนที่ 4 : การปรบั เปลยี่ นกลไกภาครัฐเพอ่ื รองรับ Thailand 4.0 การดาเนินการปฏิรูปประเทศและปรับเปล่ียนให้ประเทศไทยสามารถมุ่งสู่ Thailand 4.0 ได้เป็น ผลสาเร็จ จาเป็นตอ้ งขบั เคล่ือนผา่ นกลไกภาครฐั อย่างไรก็ตาม ภาครัฐกลับกลายเป็นอุปสรรคตัวสาคัญที่ทา ให้ไม่สามารถขับเคลื่อนประเทศไทยไปสู่โลกท่ีหนึ่ง อันมาจากสาเหตุสาคัญมาจากการมีกลไกภาครัฐท่ีไร้ ประสทิ ธภิ าพ กลไกภาครฐั ทไ่ี รป้ ระสทิ ธภิ าพ เม่ือพิจารณาจากรูปแบบ โครงสร้างและระบบของกลไกภาครัฐในประเทศไทย จะพบว่า กลไก ภาครัฐของไทยกาลังเผชิญกับวงจรอุบาทว์ที่สร้างอุปสรรคต่อการขับเคล่ือนประเทศในหลายด้าน (ดูรูปที่ 4.1) โดยวงจรดงั กลา่ วสามารถจาแนกสาเหตุที่มาของปญั หาได้ 4 ประการ คือ รปู ที่ 4.1 : วงจรท่สี รา้ งอปุ สรรคต่อการขบั เคล่ือนกลไกภาครัฐ ประการท่ีหนึ่ง กลไกภาครัฐของไทยด่อนวันท่ี 22 พฤษภาคม 2557 ถูกแทรกแซงโดยฝ่ายการเมือง และเป็นการแทรกแซงที่มีความเก่ียวข้องกับการทุจริตคอรัปชั่น จึงเป็นการบริหารราชการแผ่นดินที่ตอบ โจทย์ผลประโยชน์ทางการเมืองเป็นหลัก ไม่ได้สนองตอบความต้องการท่ีแท้จริงของประเทศชาติและ - 98 -

Thailand 4.0 โมเดลขบั เคล่ือนประเทศไทยสคู่ วามมัง่ คั่ง มั่นคง และย่งั ยนื ประชาชน การแทรกแซงดงั กลา่ ว ทาใหไ้ มม่ คี วามคิดอ่านที่จะออกแบบยทุ ธศาสตร์ชาติในระยะยาวอย่างเป็นจริง เป็นจัง รวมถึงกาหนดบทบาทภารกิจของภาครฐั ใหส้ อดรับกบั กรอบยทุ ธศาสตรด์ ังกล่าว ประการทสี่ อง เมอื่ ภาครัฐไม่สามารถกาหนดบทบาทภารกิจท่ีชดั เจน สง่ ผลให้ทรัพยากรของภาครัฐถูกใช้ ในภารกจิ ที่ไมจ่ าเป็น และไม่สามารถสร้างผลสัมฤทธ์ิท่ีเป็นรปู ธรรมต่อการขับเคลื่อนและพฒั นาประเทศ ประการทส่ี าม ผลจากการท่ภี าครัฐไม่สามารถบริหารจดั การทรัพยากรได้อย่างมีประสิทธิผล ทาให้ ประสิทธภิ าพการดาเนนิ งานภาครัฐตกตา่ ลง และเกิดผลกระทบในเชงิ ลบต่อผลสัมฤทธ์ิการปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ โอกาสทปี่ ระชาชนจะไดร้ ับประโยชน์จากการดาเนนิ งานของภาครัฐไมส่ ามารถเกิดขึ้นได้ นอกจากน้ี การบรหิ ารจัดการทรพั ยากรภาครฐั ทข่ี าดประสทิ ธภิ าพ ยงั เป็นช่องทางทเี่ ออื้ ให้เกดิ การทจุ ริต ในภาครัฐง่ายยิ่งข้ึน เนื่องจากเจ้าหน้าที่รัฐบางกลุ่มบางท่านสามารถใช้อานาจหน้าท่ีของตนตามช่องทางท่ีไม่ ชอบด้วยกฎหมาย เพื่อเอื้อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งแก่ตนเองหรือกลุ่มบุคคลกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง โดยขาด จิตสานกึ ในการทางานเพอ่ื ประโยชน์สาธารณะ ประการที่ส่ี ในขณะที่ภาครัฐพยายามแก้ไขปัญหาการทุจริต โดยการกาหนดกฎเกณฑ์และมาตรการ จานวนมาก เพ่ือควบคุมและป้องกันการใช้อานาจหน้าท่ีโดยมิชอบด้วยกฎหมายของเจ้าหน้าท่ีรัฐ แต่กฎเกณฑ์และ มาตรการดังกล่าว กลับส่งผลเป็นอุปสรรคต่อภาคเอกชนและภาคประชาชนผู้ใช้บริการ มิเพียงเท่าน้ัน เนื่องจาก เจ้าหน้าท่ีภาครัฐมีความกังวล เกรงว่าจะถูกลงโทษหากไม่ยึดตามกฎเกณฑ์และมาตรการต่าง ๆ ทาให้ขาดความ ยืดหยุ่น แทนท่ีจะยึดเอาผลสัมฤทธ์ิ กลับยึดกฎเกณฑ์ต่างๆเป็นตัวตั้ง ทาให้ไม่สามารถสนองตอบความต้องการของ ประชาชนได้อย่างแท้จริง ความไม่กล้าตัดสินใจ โดยเฉพาะเมื่อต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงในเง่ือนไข สภาพแวดล้อมหรอื ประเด็นท้าทายใหม่ๆ ทาให้เจ้าหน้าท่ีรัฐใช้วิธีการเล่ือนการตัดสินใจออกไป โดยไม่ตระหนักว่า “ต้นทุนของการเลื่อนการตัดสินใจ” (Cost of Delay) ได้ถูกผลักไปอยู่กับภาคเอกชนหรือภาคประชาชน ผใู้ ชบ้ รกิ ารแลว้ การปฏิรูประบบราชการเพื่อรองรบั Thailand 4.0 เพ่ือรองรับต่อยุทธศาสตร์ประเทศไทย 4.0 ภาครัฐหรือระบบราชการจะต้องทางานโดยยึดหลักธรร มาภิบาลเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนเป็นหลัก (Better Governance, Happier Citizens) ในการนี้ หมายความว่า ระบบราชการไทยจะต้องวางเป้าหมายการทางานของตนให้สามารถเป็นท่ีไว้วางใจและเป็นพึ่ง ของประชาชนได้อยา่ งแท้จรงิ - 99 -

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลือ่ นประเทศไทยสคู่ วามม่งั คง่ั มั่นคง และย่งั ยนื กลไกการทางานของภาครัฐหรือระบบราชการต้องปรับเปล่ียนโครงสร้าง แนวคิดและวิธีการทางาน ของตนใหมด่ งั น้ี  ในแง่ของโครงสรา้ งจะต้องเปลยี่ นจากเดมิ ท่ีเนน้ ให้ภาครัฐหรอื ระบบราชการเป็นกลไกหลักในการ บริหารกิจการบ้านเมืองไปสู่การเปิดกว้างให้กลไกหรือภาคส่วนอื่นๆ ในสังคม เช่น ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ได้เข้ามามีส่วนร่วม อันเป็นการผนึกกาลังความร่วมมือกันเพ่ือพัฒนาประเทศ หรือแก้ปัญหาความต้องการของประชาชนท่ีมีความสลับซับซ้อนมากข้ึนจนไม่มีภาคส่วนใดใน สงั คมจะสามารถดาเนินการได้ลุล่วงด้วยตนเองโดยลาพังอีกต่อไป หรือเป็นการบริหารบ้านเมือง ในรูปแบบประชารัฐ ซ่ึงหมายความว่าจะต้องมีการจัดระเบียบความสัมพันธ์ในเชิงโครงสร้างให้ สอดรับกับการทางานในแนวระนาบ ในลักษณะของเครือข่าย มากกว่าตามสายการบังคับบัญชา ในแนวด่ิง รวมทั้งยังต้องเช่ือมโยงการทางานภายในภาครัฐด้วยกันเองให้สอดรับประสานกัน ไม่ ว่าจะเป็นราชการบริหารส่วนกลาง สว่ นภูมิภาค และสว่ นท้องถ่ิน  คุณลักษณะของ “ราชการไทย 4.0” เป็นดงั ต่อไปน้ี 1. ต้องเปิดกว้างและเช่ือมโยงเข้ากับทุกฝ่าย (Open & Connected Government) หมายความว่าต้องมีความเปิดเผยโปร่งใสในการทางาน โดยบุคลภายนอกสามารถเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารของทางราชการหรือมีการแบ่งปันข้อมูลซึ่งกันและกัน และสามารถเข้ามา ตรวจสอบการทางาน ได้ รวมจนถึงการโอนถ่ายภารกิจที่ภาครัฐไม่ควรดาเนินการเอง ออกไปให้แกภ่ าคเอกชนและภาคประชาสงั คมเปน็ ผรู้ บั ชอบดาเนินการแทน นอกจากนี้ต้อง มีการยกระดับความสัมพันธ์ในการทางานระหว่างภาครัฐและภาคส่วนอ่ืนๆ ในสังคมให้ สูงขึ้นไปกว่าการประสานงานกัน หรือทางานด้วยกัน ไปสู่การร่วมมือกัน อย่างแท้จริง โดย จัดระบบให้มีการวางแผนเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายท่ีต้องการร่วมกัน มีการ ระดมและนาเอาทรัพยากรทุกชนิดเข้ามาแบ่งปันและใช้ประโยชน์ร่วมกัน มีการยอมรับ ความเสีย่ งและรับผดิ ชอบตอ่ ผลสาเรจ็ ทเี่ กดิ ขึน้ ร่วมกนั 2. ต้องให้ประชาชนเป็นศูนย์กลาง (Citizen-Centric Government) ซ่ึงหมายความว่า ต้องทางานในเชิงรุกและมองไปข้างหน้า โดยตั้งคาถามกับตนเองเสมอว่าประชาชนจะได้ อะไร? ม่งุ เน้นแก้ไขปัญหาความต้องการและตอบสนองความต้องการของประชาชน โดยไม่ ต้องรอให้ประชาชนเข้ามาติดต่อขอรับบริการหรือร้องขอความช่วยเหลือจากทางราชการ (Pro-Active Public Services) รวมทั้งใช้ประโยชน์จากข้อมูลของทางราชการ (Big Government Data) และระบบดิจิตอลสมัยใหม่ในการจัดบริการสาธารณะที่ตรงกับความ - 100 -


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook