Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานวิจัย ปี2563

งานวิจัย ปี2563

Published by nonglak, 2021-09-09 15:28:36

Description: งานวิจัย ปี2563

Search

Read the Text Version

วิจยั ในช้นั เรยี น เรือ่ ง การพฒั นาการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) การสร้างผลิตภัณฑ์สู่งานอาชีพ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี นางสาวนงลักษณ์ บุญล้อม ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา จันทบุรี ตราด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

2 ชื่อวิจัย การพฒั นาการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้แบบลงมือปฏบิ ตั ิ (Active Learning) การสร้าง ผลิตภณั ฑ์สู่งานอาชพี ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นเบญจมราชูทิศ ผเู้ ขยี น จงั หวัดจนั ทบรุ ี ปีการศกึ ษา นางสาวนงลักษณ์ บญุ ลอ้ ม 2563 บทคัดย่อ การวิจัยในครั้งนี้มีจุดประสงค์ คือ1) เพ่ือพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) 2) เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีระดับพฤติกรรมตามท่ี 4H กำหนด คือ เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะ การคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาด้านการเขียนแผนการแปรรูปผลิตภัณฑ์หม่อนมัลเบอร์ร่ีจำหน่ายเป็นธุรกิจ (Head) เพ่ือให้ผู้เรียนมีจิตอาสาและความสามัคคีในการทำงาน (Heart) เพ่ือให้มีทักษะการทำงาน (Hand) เพื่อให้ ผู้เรียนมีสุขภาพกายแข็งแรงโดยใช้การทำการเกษตร (Health) 3) เพื่อสอบถามความพึงพอใจของผู้ปกครอง และนักเรียนทุกคนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ Active Learning ประชากร คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่ 5 ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จันทบุรี ตราด กลุ่มตัวอย่าง นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 จำนวน ๑๘ คน ที่สนใจเลือกกิจกรรมยุวเกษตรกร Young Farmer ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) จำนวน แผน ใช้เวลา 10 ชั่วโมง 2) แบบบันทึกการทบทวนผลการปฏิบัติงาน : AAR (Action after Review) 3) แบบนเิ ทศ ติดตาม การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้แบบ Active Learning 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของ ผู้ปกครองที่มีต่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) 6) แบบสอบถาม ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์ด้วยเทคนิคเชิงคุณภาพ ร้อยละคะแนนเฉลี่ย X และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (SD) ผลการวิจัยพบว่า 1) เพอื่ พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) ด้านสมอง (Head) ผลการศกึ ษา โดยผู้วจิ ัยไดด้ ำเนินการจดั การเรียนการสอนจำนวน 10 ช่วั โมง ผลการจัดกจิ กรรม ผู้เรียนทุกคนมีความสุข มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน เกิดความสามัคคี กล้าแสดงออก เกิดความรู้ เกิดทักษะ ท้ังได้ลงมือปฏิบัติเกิดการเรียนรู้มากข้ึน ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น ต้ังใจ สนใจ และร่วมมือกัน ทำงานด้วยความสามัคคี มีความสุข ภาคภมู ิใจในผลงานตนเอง ทไี่ ด้เป็นผู้นำ เปน็ ผู้ใหค้ วามรแู้ ละได้จดั กิจกรรม ด้วยตนเอง ด้านพัฒนาจิตใจ (Heart) ผลการจัดกิจกรรมผู้เรยี นทุกคนมคี วามสขุ มีความกระตือรือรน้ ในการปฏบิ ัติงาน เกิดความสามคั คี

3 กล้าแสดงออก เกิดความรู้ เกิดทกั ษะ ทงั้ ได้ลงมือปฏบิ ัติเกิดการเรยี นรู้มากขึ้นผูเ้ รยี นมีความกระตือรือร้น ต้ังใจ สนใจ และร่วมมือกันทำงานด้วยความสามคั คี มีความสขุ ภาคภูมิใจในผลงานตนเอง ท่ีได้เปน็ ผูน้ ำ เป็นผ้ใู ห้ ความรู้และได้จดั กจิ กรรมดว้ ยตนเอง ด้านการพัฒนาทักษะกระบวนการทำงาน (Hand) ผลการจดั กิจกรรมผู้เรยี นทุกคนมีความสุข มีความกระตือรอื ร้นในการปฏิบัติงาน ตง้ั ใจ สนใจ และ ร่วมมือกนั ทำงาน กล้าแสดงออก เกิดความรู้ เกดิ ทกั ษะกระบวนการ ภาคภมู ิใจในผลงานตนเอง การพฒั นาสร้างเสริมสมรรถนะทางกาย (Health) ผลการจัดกิจกรรมนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมท้ังเป็นรายกลุ่มและรายบุคคลมีความกระตือรือร้น ต้ังใจทำงานใฝ่เรียนรู้และให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี รู้จักเอ้ือเฟ้ือเผ่ือแผ่ช่วยเหลือเพื่อนใน การทำกิจกรรม มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และงานที่มอบหมายให้ นักเรยี นกล้าแสดงออกกลา้ ตอบคำถามและมี ความสุขในการทำกิจกรรมรู้จกประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมาในการสร้างสรรค์ผลงานได้ มีการรู้จักภาวะผู้นำ ผู้ตามท่ดี ี 2) เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นมีทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ สงั เคราะห์และประเมินคา่ ได้ ด้านสมอง (Head) ผลการศกึ ษาจากการจัดกิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเนน้ ใหผ้ ู้เรยี นได้ลงมอื ปฏิบัติ ลงมือ ทำตามขัน้ ตอนกระบวนการทีน่ กั เรยี นไดเ้ ห็น ไดเ้ รียนรจู้ ากชน้ิ งาน การสาธิต จากสื่อเทคโนโลยี และผู้เรียนได้ ลงมือปฏบิ ัติทำตามแบบอยา่ งจนประสบความสำเร็จ ผู้เรยี นมีส่วนร่วมในการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ รู้จกั ชว่ ยเหลือ แบ่งปนั เพ่อื น กลา้ แสดงออก รู้วธิ กี ารแก้ไขปัญญา มีความรับผิดชอบ บรรยากาศอบอุ่นมีความสุขท้ังครูและ ผู้เรียน ได้ประเมินผู้เรียนจากการสังเกต การนำเสนอสื่อ การนำเสนอผลงาน พฤติกรรมการเรียนรู้ยังอยู่ท่ี ระดับ 3 การนำไปใช้ (Application) คือผู้เรียนสามารถประยุกต์ ปรับปรุง แก้ปัญหา เลือกผลิตสื่อ ลงมือ ปฏบิ ัติ จัดแสดงผลงาน ด้านพัฒนาจิตใจ (Heart) จากการจัดกิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นไดล้ งมอื ปฏิบัตลิ งมือทำตาม ขั้นตอนกระบวนการที่นักเรียนได้เห็นได้เรียนรู้จากชิ้นงาน การสาธิต จากสื่อเทคโนโลยีและผู้เรียนได้ลงมือ ปฏิบัติทำตามแบบอย่างจนประสบความสำเร็จ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ มีการนำเสนอสื่อ การนำเสนอผลงาน พฤติกรรมการเรียนรู้ยังอยู่ทร่ี ะดับ 3 การสรา้ งคุณค่า (Valuing) การเลือกปฏิบัตใิ นสงิ่ ท่ี เป็นที่ยอมรับกันในสังคม การยอมรับนับถือในคุณค่านั้นๆ หรือปฏิบัติตามในเร่ืองใดเรื่องหนึ่ง จนกลายเป็น ความเชอื่ แลว้ จึงเกิดทัศนคตทิ ดี่ ีในสง่ิ นัน้ ด้านการพัฒนาทักษะกระบวนการทำงาน (Hand) จากการจัดกิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเนน้ ให้ผเู้ รียนไดล้ งมือปฏิบตั ลิ งมอื ทำตาม ข้ันตอนกระบวนการที่นักเรียนได้เห็นได้เรียนรู้จากชิ้นงาน การสาธิต จากส่ือเทคโนโลยี โดยเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้ศึกษาแลกเปล่ียนเรียนรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม รู้จักวางแผนระดมความคิดช่วยกันในการทำงานและ แก้ไขปัญหา ส่งเสริมให้ผู้เรียนกล้าคิดกล้าแสดงออกผ่านการนำเสนอผลงานทำให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ ตรงจากการลงมือปฏิบัติ ได้มีโอกาสสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองและปรับปรุงพัฒนาผลงานจากกระบวนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยมีครูเป็นผู้อำนวยความสะดวกและกระตุ้นให้ผู้เรียนอยากรู้อยากเห็นจากการลงมือ

4 ปฏิบัติกิจกรรมด้วยบรรยากาศท่ีเป็นกันเองมีการเติมเต็มจากเพ่ือนและครูทำให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียนรู้ พฤติกรรมพัฒนาทักษะ Hand บรรลุถึงพฤติกรรมที่ต้องการในระดับ 3 ท่ีต้องการให้ผู้เรียนมีความคิด สรา้ งสรรค์ในการปฏิบัติไดด้ ว้ ยตนเองโดยไมต่ อ้ งอาศยั เครื่องชีแ้ นะ การพฒั นาสร้างเสริมสมรรถนะทางกาย (Health) การจัดกจิ กรรมสว่ นใหญ่เนน้ ให้ผ้เู รยี นได้ลงมือปฏิบัติ ลงมือทำตามข้นั ตอนกระบวนการที่นกั เรียน ได้เห็นได้เรียนรู้จากชิ้นงาน การสาธิต จากส่ือเทคโนโลยี และผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติทำตามแบบอย่างจน ประสบความสำเร็จ ผเู้ รียนมีสว่ นร่วมในการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ รู้วธิ ีการแกไ้ ขปัญญา มีความรบั ผดิ ชอบ รจู้ ัก ชว่ ยเหลอื แบ่งปนั เพอ่ื น กล้าแสดงออก มีการนำเสนอผลงาน บรรยากาศอบอ่นุ มีความสุขท้ังครแู ละผเู้ รียน แตพ่ ฤติกรรมการเรียนรยู้ ังอย่ทู ่ี ระดับ 1 และ 2 ท่ีผู้เรียนมีทกั ษะการเรยี นร้ตู ามแบบ เลียนแบบหรอื เลอื ก ปฏบิ ตั ใิ ห้มีความเหมาะสมกบั ตนเอง 3. สรุปความพงึ พอใจของผู้ปกครองและนักเรยี นท่ีมีต่อการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ แบบ Active Learning 3.1 ความพงึ พอใจของผปู้ กครองทีม่ ีต่อการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูแ้ บบ Active Learning จากการวิเคราะห์ผลข้อมูลทางสถติ ิ โดยใช้คา่ เฉล่ีย X และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (SD) เพ่ือวัดหา ค่าความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning)) ของผู้ปกครองทั้ง 4 H จากเครื่องมือท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึน พบว่าผู้ปกครองมีความพึงใจต่อพัฒนา การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) อยู่ในระดับ ( X = 2.84 SD = 2.98 ) พึงพอใจระดับมาก ประเดน็ ท่ีผู้ปกครองมีความพึงพอใจมากมี 3 ประเด็นคอื การส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียน ได้ใช้แหล่งเรียนรู้ที่เป็นประโยชน์และเหมาะสมกับการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรแู้ บบ Active Learning ทำ ให้นักเรียนมีความสขุ ในการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม ครูสามารถจดั กจิ กรรมได้ตรงกบั ความคาดหวงั ของท่าน 3.2 ความพงึ พอใจของนักเรยี นที่มตี อ่ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ Active Learning จากการวเิ คราะห์ผลข้อมูลทางสถิติ โดยใช้ค่าเฉล่ีย (X) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (SD) เพื่อวัดหา ค่าความนักเรียนที่มีต่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) ทั้ง 4 H จากเคร่ืองมือท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึน พบว่านักเรียนมีความพึงใจต่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือ ปฏิบัติ (Active Learning) อยู่ในระดับ ( X = 2.90 SD = 0.24 ) พึงพอใจระดับมาก ประเด็นท่ีผู้เรียนมี ความพึงพอใจมากที่สุด คือ กิจกรรมที่จัดทำให้นักเรียนสามารถทำงานเป็นทีมและเรียนรู้ในการอยู่รว่ มกันใน ชมุ ชนได้

5 สารบญั หนา้ บทคดั ย่อ........................................................................................................................................................ 2 สารบัญ........................................................................................................................................................... 5 สารบัญตาราง................................................................................................................................................. 7 บทที่ 1. บทนำ......................................................................................................................................................... 8 ความเป็นมาและความสำคญั ของปัญหา................................................................................................... ......8 คำถามการวิจยั .................................................................................................................................................8 วัตถุประสงค์ของการวิจยั .................................................................................................................................8 ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ...............................................................................................................................9 ขอบเขตงานวจิ ัย...............................................................................................................................................9. นิยามศพั ทเ์ ฉพาะทีใ่ ชใ้ นการวิจัย................................................................................................................... 10 2. เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วขอ้ ง..................................................................................................................11 หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551.......................................................................... 11 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ(Active Learning).............................................................13 นวัตกรรมที่ครูใช้ .................................................................................... .............................................16 การวิจัยเชิงปฏิบัติการ(Action Research)....................................................................................................17 งานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง........................................................................................... ....................................17 การดำเนนิ การวิจัยในชั้นเรยี นดว้ ย Action Research...................................................................................20 3. วธิ ดี ำเนนิ การวจิ ัย............................................................................................................................. ......... 22 ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง.............................................................................................................................22 เครอื่ งมอื ที่ใชใ้ นการวจิ ัย.................................................................................................................................22 รูปแบบการวิจัย............................................................................................................................................ 23 การรวบรวบข้อมูล............................................................................................................................. ........... 23 กระบวนการและระยะเวลาในการดำเนินการวิจัย...................................................................................... 24 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล..................................................................................................................... 24 4. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล.............................................................................................................................. 25 วงจรท่ี 1 ....................................................................................................................................................... 25 วงจรที่ 2......................................................................................................................................................... 25 สรุปการวิเคราะห์ข้อมูล............................................................................................................................. ..... 27 5. สรุปผลการวิจัย อภิปราย และข้อเสนอแนะ............................................................................................. 29 สรุปผลการวิจัย............................................................................................................................................... 29 อภิปรายผล..................................................................................................................................................... 31 ข้อเสนอแนะ.................................................. .................................................................................. .................31 บรรณานกุ รม ............................................................................................................................. ......................32 ภาคผนวก............................................................................................................................. ............................33

6 รายการตาราง หน้า ตารางท่ี 1. ตารางท่ี 1 จำนวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามความพึงพอใจ.........................................27 ของผปู้ กครองท่มี ีตอ่ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ด้านสมอง (Head)

7 บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา การศึกษาในยุคปัจจุบนั เป็นยุคท่ีข้อมลู ข่าวสารมีการเปล่ยี นแปลงตลอดเวลา ทำให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ เกิดขึ้นมากมายด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งข้อมูลสามารถทำได้ทุกที่ทุกเวลา ส่งผลให้ผู้เรียนต้องมีการพัฒนาความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเน่ือง มีการแสวงหาความรู้ ตลอดเวลา เพราะการเรียนรู้จากภายในห้องเรียนอย่างเดียวน้ัน ไม่สามารถจะพัฒนาผู้เรียนให้นำความรู้ท่ีได้ จากการเรียนรู้ในห้องเรียนไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นผู้สอนจำเป็นต้องปรบั เปล่ียนวิธีการจัดการเรียน การสอนให้สอดคล้องกับการเรยี นรู้ของผู้เรียน จากอดีตที่ผู้สอนเป็นผู้ถ่ายทอด มาเป็นผู้สอนเป็นผู้ช้นี ำวิธีการ ค้นควา้ หาความร้ใู หผ้ ู้เรียน อันจะเป็นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกดิ การเรยี นรู้ แสวงหาความรู้และประยุกต์ใช้ความรู้ ด้วยความเข้าใจ (ไพฑูรย์ สินลารัตน์ , 2545; ทิศนา แขมมณี, 2548; บัณฑิต ทิพากร, 2550) สอดคล้องกับ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้ให้คำจำกัดความของการศึกษาในมาตรา 22 ว่า “การจัด การศึกษาตอ้ งยึดหลักวา่ ผู้เรียนทกุ คนท่คี วามสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผเู้ รียนมคี วามสำคัญ ท่ีสุด กระบวนการจดั การศึกษาต้องสง่ เสรมิ ให้ผูเ้ รียนสามารถพฒั นาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ” กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning คอื กระบวนการในการจดั กิจกรรมการเรยี นร้ทู ี่ผู้เรียนต้อง ได้มีโอกาสลงมือกระทำมากกว่าการฟังเพียงอย่างเดียว โดยมีกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนประยุกต์ใช้ทักษะและ เช่ือมโยงองค์ความรู้นำไปปฏิบัติเพ่ือแก้ไขปัญหา โดยมีกระบวนการเรียนรู้โดยการอ่าน การเขียน การโต้ตอบ และการวิเคราะห์ปัญหา อีกทั้งผู้เรียนได้ใช้กระบวนการคิดขั้นสูง ได้แก่ คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และ การประเมิน (Bonwell & Eison, 1991) การประยุกต์การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Active Learning) มาใช้ใน การจัดการเรียนการสอน จะทำให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ส่งเสริมให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับ ผสู้ อน และผ้เู รียนกับผู้เรียน จงึ ถือเป็นการจดั การเรียนการสอนประเภทหนึ่งท่ีส่งเสริมให้ผ้เู รียนมีคุณลักษณะท่ี สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงในยคุ ปจั จุบนั จากประเด็นดังกล่าวข้างต้นทำให้ผู้วิจัยสนใจท่ีจะศึกษาว่าการนำการเรียนรู้แบบ Active Learning มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ฝึกปฏิบัติวิธีคิด สร้างกิจกรรมเพื่อพัฒนาความสามารถในการคิด วจิ ารณญาณ คิดวิเคราะห์ คดิ สร้างสรรค์และตัดสนิ ใจ ให้ผเู้ รียนมคี ุณธรรม จริยธรรม เกดิ ทกั ษะกระบวนการ ทำงานกลุ่ม .ใช้การทำการเกษตรในการสร้างสมรรถภาพทางกาย ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และ ประสิทธผิ ล เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ แก่ผู้เรยี น 1.2 คาํ ถามการวจิ ัย การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) ส่งผลให้พฤติกรรมการเรียนรขู้ อง ผ้เู รยี นเปลยี่ นแปลงอยา่ งไร 1.3 วัตถปุ ระสงค์การวจิ ัย 1) เพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) 2) เพอ่ื พัฒนาผเู้ รยี นให้มีระดบั พฤตกิ รรมตามที่ 4H กำหนด

8 2.1) เพ่ือให้ผ้เู รียนมีทักษะการคดิ วเิ คราะห์แก้ปัญหาด้านการเขียนแผนการแปรรปู ผลิตภณั ฑ์ หม่อนมลั เบอรร์ ่ีจำหนา่ ยเปน็ ธรุ กจิ (Head) 2.2) เพื่อใหผ้ ูเ้ รยี นมจี ติ อาสาและความสามัคคีในการทำงาน (Heart) 2.3) เพื่อให้มีทักษะการทำงาน (Hand) 2.4) เพ่ือให้ผู้เรยี นมสี ุขภาพกายแข็งแรงโดยใช้การทำการเกษตร (Health) 3) เพอื่ สอบถามความพึงพอใจของผ้ปู กครองและนักเรียนทุกคนท่มี ีต่อการจัดกจิ กรรมการเรียนรแู้ บบ Active Learning 1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.4.1 ครูมีแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ท่ีเป็นแบบอย่างได้ 1.4.2 นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้อย่างมีความสุข 1.5 ขอบเขตการวิจัย 1.5.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรคือ นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 จำนวน 18 คน ที่สนใจเลือกกิจกรรมยุวเกษตรกร Young Farmer ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 1.5.2 ตัวแปรของงานวิจัย ตัวแปรอิสระ คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) ตัวแปรตาม คือ ผเู้ รยี นมีทกั ษะด้านการคิดวเิ คราะห์ ทักษะกระบวนการกลุม่ มคี ่านยิ มท่ีดี มี สุขภาพแขง็ แรง 1.5.3 ขอบข่ายเน้ือหา 1.การพฒั นาสมอง (Head) การวเิ คราะห์ วางแผนการแปรรูปผลติ ภัณฑท์ างการเกษตร เช่น แปรรปู หม่อนมลั เบอร์ร่เี ปน็ ผลิภณั ฑเ์ พ่ือนำไปจำหน่ายเปน็ ธุรกจิ 2.การพฒั นาทักษะการปฏิบัติ (Hand) ทำงานอยา่ งเปน็ ขั้นตอนตามกระบวนการทำงาน ดว้ ย ความสะอาด ความรอบคอบ และอนรุ ักษ์ส่ิงแวดล้อม 3. การสง่ เสริม พฒั นาและปลูกฝงั ค่านยิ ม จติ สำนึก (Heart ) การส่งเสรมิ พฒั นาและปลูกฝงั คา่ นยิ ม จิตสำนึก (Heart) กิจกรรมยวุ เกษตร Young farmer ไปทศั นศึกษาวิถีชวี ิตชุมชนริมน้ำจนั ทบูร และ โบสถ์วดั โรมันคาทรอลคิ จ. จันทบรุ ี เพ่อื พัฒนาพฤติกรรมของผ้เู รียนด้านความสามัคคี เรียนรศู้ าสนา และรกั ษ์ ท้องถ่นิ 4. การพัฒนาใหผ้ เู้ รียนมสี ขุ ภาพกายแขง็ แรงและมเี จตคติท่ีดตี อ่ การดแู ลสุขภาพโดยใช้การทำ การเกษตร เชน่ ปลูกหมอ่ นมัลเบอรร์ ี่ ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชว้ี ัดของหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา ข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1.5.4 ระยะเวลาในการวิจัยในการวิจัยคร้ังน้ีใช้เวลา 10 ช่ัวโมง ระหว่างเดือนมิถุนายน 2563 – เดือน ตุลาคม 2563 1.6 นยิ ามศัพท์เฉพาะทใี่ ชใ้ นการวิจัย

9 กิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) หมายถึง กิจกรรมการเรียนรู้ที่ปรับ บทบาทของครูในการบรรยาย การอธิบายความรู้ เป็นผู้อำนวยความสะดวก ส่งเสริมการเรียนรู้ ตงั้ คำถามท่ี ท้าทายความสามารถให้ผู้เรียนได้คิด กระตุ้นให้ผู้เรียนเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมสะท้อนความคิดอภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดระหว่างกันอย่างลึกซึ้งรู้จักทำงานเป็นทีม จนเกิดความเข้าใจ ชัดเจน ได้ข้อสรุป หรือ องค์ความรใู้ หม่ โดยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติจริง มีประสบการณ์ตรงและสามารถเรียนรู้ ด้วยตนเองอย่างมีความสุขจากกิจกรรมสร้างสรรค์ท่ีหลากหลายให้ผู้เรียนมีโอกาสนำเสนอผลงาน/ช้ินงานและ นำความรู้ไปประยุกต์ใช้หรือลงมือปฏิบัติได้โดยมีเป้าหมายเพ่ือพัฒนาสมอง (Head) พัฒนาจิตใจ (Heart) พัฒนาทักษะการปฏิบัติ (Hand) และพัฒนาสุขภาพ (Health) ท่ีเชื่อมโยงกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด ของหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานพทุ ธศักราช 2551 การพัฒนา 4H หมายถึง การพัฒนาด้านสมอง (Head) ด้านจิตใจ (Heart) ด้านทักษะการปฏิบัติ (Hand) และด้านสขุ ภาพ (Health) Head หมายถึง กิจกรรมพัฒนาสมองท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสามารถใน การวิเคราะห์ การสงั เคราะห์ และการประเมินคา่ Heart หมายถึง กิจกรรมท่ีส่งเสริม พัฒนาและปลูกฝังค่านิยม จิตสำนัก ให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะ อนั พงึ ประสงคจ์ นเปน็ ลกั ษณะนิสยั และมสี ำนึกที่ดตี อ่ คนเองและส่วนรวม Hand หมายถึง การพัฒนาทักษะการปฏิบัติของผู้เรียนเพ่ือสร้างเสริม ทักษะการทำงาน การดำรงชวี ติ และ ทกั ษะชวี ติ ของผเู้ รียน Health หมายถงึ การพฒั นาใหผ้ เู้ รียนมี สขุ ภาพกายแข็งแรง และ มเี จตคติที่ดตี อ่ การดแู ลสขุ ภาพ AAR (After Action Review) หมายถึง เคร่ืองมือถอดบทเรียนหรือองค์ความรู้ เป็นการรวบรวม บทเรียนที่ได้จากการปฏิบัติงาน เพ่ือศึกษาและพัฒนาประสทิ ธภิ าพกระบวนการและการจดั อย่างสมำ่ เสมอและ ต่อเนอ่ื ง การวจิ ยั เชิงปฏิบตั กิ าร (Action Research) หมายถงึ ……. ประกอบด้วย 4 กระบวนการ ดังนี้ 1. การวางแผน (Planning) 2. การลงมอื ปฏิบตั ิ (Action) 3. การสังเกต (Observation) 4. การสะท้อนผล (Reflection) สื่อ หมายถึง ส่งิ ใดๆ ก็ตามท่ีเปน็ ตัวกลางระหว่างแหลง่ กำเนดิ ของสารกบั ผู้รับสาร เป็นสิ่งทีน่ ำพาสาร จากแหลง่ กำเนิดไปยงั ผู้รับสาร เพ่อื ให้เกดิ ผลใดๆ ตามวตั ถุประสงค์ของการส่ือสาร บทท่ี 2

10 เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง การวิจัยเชิงปฏิบัติการ เรื่องการศกึ ษาผลการพัฒนาความสามารถการเขยี นแผนการแปรรูปผลิตภัณฑ์ หม่อนมัลเบอร์ร่ีจำหน่ายเป็นธุรกิจ (Head) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัด จันทบรุ ี ปีการศึกษา 2563 ผู้วิจัยได้ศึกษา ค้นคว้า เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องดังนี้ 2.1 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ค่านยิ มหลกั ของคนไทย 12 ประการ 2.2 การจัดกิจกรรมแบบลงมอื ปฏบิ ัติ (Active Learning) Active Learning คอื อะไร ลักษณะของ Active Learning บทบาทของครู กบั Active Learning รปู แบบของ Active Learning กระบวนการจดั การเรียนการสอนแบบให้ผเู้ รียนไดป้ ฏิบตั ิ 2.3 นวัตกรรมที่ครูใช้ (อาจเป็นวิธีการ/สื่อนวัตกรรม ที่เลือกใช้ ถ้ามี) 2.4 การวิจยั เชิงปฏบิ ตั กิ าร (Action Research) 2.5 งานวิจัยที่เก่ียวข้อง 2.6 กรอบแนวคิดการวิจัย(ความสัมพันธ์) 2.1 หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 2.1.1 สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น มุ่งเนน้ พัฒนาผูเ้ รยี นให้มีคุณภาพตามมาตรฐานท่ีกำหนดไว้ 5 ประการ ดังนี้ 1) ความสามารถในการสื่อสารเป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทศั นะของตนเองเพ่ือแลกเปลย่ี นขอ้ มูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชนต์ ่อการพฒั นาตนเองและสงั คมรวมทั้งการเจรจาต่อรองเพอื่ ขจดั และลดปญั หา ความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจน การเลอื กใชว้ ธิ ีการสอื่ สารที่มีประสทิ ธภิ าพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบที่มตี ่อตนเองและสงั คม 2) ความสามารถในการคิดเป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพอ่ื การตัดสนิ ใจเกีย่ วกบั ตนเองและสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ท่ีเผชิญได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และ การเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข ปัญหา และมีการตดั สนิ ใจที่มปี ระสิทธภิ าพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบที่เกดิ ขึ้นต่อตนเอง สงั คมและสงิ่ แวดล้อม

11 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน การดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันใน สังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง เหมาะสม การปรับตวั ใหท้ นั กับการเปลย่ี นแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จกั หลีกเลี่ยงพฤติกรรม ไมพ่ ึงประสงคท์ ่ีส่งผลกระทบตอ่ ตนเองและผอู้ ่นื 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การแกป้ ัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม 2.1.2 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มุ่งพัฒนาผเู้ รียนให้มีคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ เพ่ือใหส้ ามารถอย่รู ว่ มกับผอู้ ่ืนในสังคมได้อย่างมี ความสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 2) ซ่ือสัตยส์ จุ ริต 3) มวี ินัย 4) ใฝ่เรยี นรู้ 5) อยู่อย่างพอเพยี ง 6) มุ่งม่นั ในการทำงาน 7) รกั ความเปน็ ไทย 8) มีจิตสาธารณะ 2.1.3 คา่ นิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ ค่านยิ มหลัก 12 ประการ เป็นนโยบายของคณะรักษาความสงบแหง่ ชาติ (คสช.) นโยบายนมี้ ีขน้ึ เพ่ือ สร้างสรรคป์ ระเทศไทยและสร้างคนในชาติให้เข้มแขง็ ตั้งแต่เม่อื วนั ท่ี 4 สิงหาคม 2557 (https://teen.mthai.com/variety/141808.html) 1) ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์นิยาม เป็นการประพฤติปฏิบัติตนที่แสดงถึงความ สำนึกและภาคภูมิใจความเป็นไทย ปฏิบัติตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ และจงรักภักดีต่อสถาบัน พระมหากษัตริย์ 2) ซ่ือสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งท่ีดีงามเพื่อส่วนรวมนิยาม เป็นการประพฤติ ปฏิบัติตนท่ีแสดงถึงการยึดม่ันในความถูกต้อง ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อตนเองและผู้อื่น ละความเห็น แกต่ วั รจู้ ักแบง่ ปันช่วยเหลือสังคมและบุคคลที่ควรให้ รู้จกั ควบคุมตวั เองเม่ือประสบกับความยากลำบากและส่ิง ที่กอ่ ให้เกิดความเสียหาย 3) กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์นิยาม เป็นการประพฤติที่แสดงถึงการรู้จัก บุญคุณ ปฏิบัติตามคำส่ังสอน แสดงความรัก ความเคารพ ความเอาใจใส่ รักษาชื่อเสียง และตอบแทนบุญคุณ ของพอ่ แม่ ผูป้ กครอง และครอู าจารย์ 4) ใฝ่หาความรู้ หม่ันศึกษาเล่าเรียนท้ังทางตรง และทางอ้อมนิยาม เป็นการประพฤติปฏิบัติ ตนทแ่ี สดงถงึ ความตัง้ ใจเพียรพยายามในการศกึ ษาเล่าเรียน แสวงหาความรทู้ ัง้ ทางตรงและทางอ้อม 5) รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงามนิยาม การปฏิบัติตนท่ีแสดงถึงการเห็นคุณค่า ความสำคญั ภาคภมู ิใจ อนรุ ักษ์ สบื ทอดวฒั นธรรมและประเพณไี ทยอนั ดีงาม

12 6) มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปันนิยาม เป็นการประพฤติ ปฏิบัติตน โดยยึดม่ันในคำสัญญา มีจิตใจโอบอ้อมอารี ช่วยเหลือผู้อ่ืนเท่าท่ีช่วยได้ ท้ังกำลังทรัพย์ กำลังกาย และกำลังสตปิ ัญญา 7) เขา้ ใจเรียนร้กู ารเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุขท่ีถูกต้องนิยามคือ การแสดงถึงการมีความรู้ ความเข้าใจ ปฏิบัติตนตามหน้าท่ีและสิทธิของตนเอง เคารพสิทธิของผู้อ่ืนภายใต้ การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ 8 ) มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่นิยาม เป็นการปฏิบัติตนตาม ขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั และกฎหมายไทย มีความเคารพและนอบนอ้ มต่อผใู้ หญ่ 9) มสี ติรู้ตัว รคู้ ิด รู้ทำ รปู้ ฏิบัตติ ามพระราชดำรสั ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั นิยาม เป็น การประพฤติปฏิบตั ิตนอยา่ งมสี ติรู้ตัว รู้คิด รูท้ ำอยา่ งรอบคอบ ถูกต้องเหมาะสม และน้อมนำพระราชดำรัสของ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั มาเป็นหลกั ปฏิบัติในการดำเนนิ ชวี ติ 10) รู้จักดำรงตนอยโู่ ดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนิยาม คือ การดำเนินชวี ิตอย่าง พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี มีความรู้ มีคุณธรรม และปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ตามพระราชดำรสั ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว 11) มีความเข้มแขง็ ทง้ั ร่ายกายและจติ ใจ ไมย่ อมแพ้ตอ่ อำนาจฝา่ ยตำ่ นิยาม เป็นการปฏิบตั ติ น ให้มีร่างกายสมบูรณ์แขง็ แรงปราศจากโรคภัย และมีจติ ใจท่ีเข้มแข็ง มีความละอาย เกรงกลัวต่อบาป ไม่กระทำ ความชวั่ ใดๆ ยดึ มัน่ ในการทำความดีของศาสนา 12. คำนงึ ถงึ ผลประโยชน์ของส่วนรวม และของชาติมากกวา่ ผลประโยชนข์ องตนเองนยิ าม เป็นการปฏิบัติตนและให้ความร่วมมือในกิจกรรมท่ีเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม และประเทศชาติ ยอมเสียสละ ประโยชนส์ ว่ นตนเพอ่ื รักษาประโยชน์ของส่วนรวม 2.2 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) ทฤษฎีและแนวคดิ เกี่ยวกบั การเรียนการสอนแบบมสี ่วนร่วม (Active Learning) Active Learning คือ กระบวนการในการจัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ ผี่ ูเ้ รียนตอ้ งไดม้ โี อกาสลงมือ กระทำมากกวา่ การฟังเพียงอย่างเดียว ต้องจัดกิจกรรมให้ผู้เรยี นได้เรียนรู้โดยการอ่าน, การเขียน, การโต้ตอบ, และการวิเคราะห์ปัญหา อีกทั้งให้ผู้เรียนได้ใช้กระบวนการคิดขั้นสูง ได้แก่ การวิเคราะห์, การสังเคราะห์, และ การประเมนิ ค่า ดังน้ันจงึ สรุปได้วา่ Active Learning คอื กระบวนการจัดการเรยี นรู้ท่ีผเู้ รยี นได้ลงมอื กระทำและ ไดใ้ ช้กระบวนการคิดเก่ียวกบั สิ่งทเ่ี ขาไดก้ ระทำลงไป (Bonwell & Eison,1991) เป็นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ภายใต้สมมติฐานพื้นฐาน 2 ประการคือ 1) การเรียนรู้เป็นความพยายามโดยธรรมชาติของมนุษย์, และ 2) แต่ ละบุคคลมีแนวทางในการเรียนรู้ที่แตกต่างกนั (Meyers &Jones, 1993) โดยผเู้ รียนจะเปลี่ยนบทบาทจากผรู้ ับ ความรู้ (receive) ไปส่กู ารมสี ่วนร่วมในการสรา้ งความรู้ (co-creators) (Fedler & Brent, 1996) 2.2.1 ลักษณะของ Active Learning ไชยยศ เรอื งสุวรรณ (2553) ไดอ้ ธิบายถึงลักษณะสำคัญของการจดั การเรียนการสอนแบบ Active Learning ดงั น้ี 1) เปน็ การเรียนการสอนท่ีพัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การแกป้ ัญหา และ การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ 2) เป็นการเรียนการสอนท่ีเปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนมสี ่วนร่วมในกระบวนการเรยี นรสู้ ูงสุด 3) ผู้เรยี นสรา้ งองค์ความรแู้ ละจัดระบบการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง

13 4) ผู้เรยี นมีส่วนร่วมในการเรยี นการสอนทง้ั ในด้านการสร้างองค์ความรู้ การสรา้ ง ปฏิสมั พนั ธ์รว่ มกัน และร่วมมือกันมากกว่าการแขง่ ขนั 5) ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรคู้ วามรับผิดชอบรว่ มกัน การมวี ินัยในการทำงาน และการแบ่งหน้าที่ความ รบั ผิดชอบ 6) เป็นกระบวนการสร้างสถานการณใ์ หผ้ เู้ รียนอา่ น พูด ฟงั คดิ อย่างลุม่ ลึก ผ้เู รยี นจะเปน็ ผู้ จดั ระบบการเรียนรูด้ ้วยตนเอง 7) เป็นกจิ กรรมการเรยี นการสอนเนน้ ทกั ษะการคิดขน้ั สูง 8) เป็นกจิ กรรมท่ีเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนบรู ณาการข้อมูล, ข่าวสาร, สารสนเทศ, และหลกั การสู่ การสรา้ งความคิดรวบยอดความคดิ รวบยอด 9) ผ้สู อนจะเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการจดั การเรยี นรู้ เพอ่ื ให้ผ้เู รียนเปน็ ผ้ปู ฏิบตั ดิ ้วย ตนเอง 10) ความรู้เกิดจากประสบการณ์ การสรา้ งองคค์ วามรู้และการสรปุ ทบทวนของผ้เู รยี น 2.2.2 บทบาทของครู กบั Active Learning ณัชนัน แกว้ ชยั เจรญิ กิจ (2550) ได้กล่าวถงึ บทบาทของครูผู้สอนในการจัดกิจกรรมเรียนรู้ตาม แนวทางของ Active Learning ดังนี้ 1) จัดให้ผเู้ รียนเป็นศนู ย์กลางของการเรยี นการสอน กจิ กรรมตอ้ งสะท้อนความต้องการ ในการพฒั นาผเู้ รียนและเนน้ การนำไปใช้ประโยชน์ในชวี ิตจรงิ ของผเู้ รยี น 2) สร้างบรรยากาศของการมีส่วนรว่ ม และการเจรจาโตต้ อบทส่ี ่งเสริมให้ผเู้ รียนมี ปฏสิ มั พันธท์ ี่ดีกับผ้สู อนและเพ่อื นในชัน้ เรียน 3) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เปน็ พลวตั ส่งเสรมิ ใหผ้ ้เู รยี นมีสว่ นรว่ มในทุกกิจกรรม รว่ มท้ังกระตุน้ ใหผ้ ู้เรยี นประสบความสำเร็จในการเรียนรู้ 4) จัดสภาพการเรยี นร้แู บบร่วมมอื ส่งเสรมิ ให้เกดิ การร่วมมือในกลุม่ ผเู้ รยี น 5) จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนใหท้ ้าทายและให้โอกาสผเู้ รยี นไดร้ บั วธิ ีการสอนที่ หลากหลาย 6) วางแผนเกี่ยวกับเวลาในการจดั การเรียนการสอนอยา่ งชัดเจน ทง้ั ในส่วนของเนือ้ หา และกจิ กรรม 7) ครูผ้สู อนต้องใจกวา้ ง ยอมรบั ในความสามารถในการแสดงออก และความคิดของ ผเู้ รยี น 2.2.3 รูปแบบของ Active Learning การจดั การเรียนการสอนเพื่อสนับสนุนการจดั การเรียนร้แู บบ Active Learning สามารถ สร้างให้เกิดขึน้ ไดท้ ้ังในและนอกห้องเรยี น รวมทัง้ สามารถใชไ้ ดก้ บั ผ้เู รยี นทุกระดับ ทั้งการเรียนรู้เป็นรายบคุ คล การเรียนร้แู บบกลุ่มเลก็ และการเรียนรู้แบบกลุ่มใหญ่ McKinney (2008) ได้เสนอรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรทู้ ่จี ะช่วยให้ผู้เรยี นเกิดการเรยี นรู้ แบบ Active Learning ได้ดี ไดแ้ ก่ 1) การเรียน รู้แบ บ แลกเป ล่ียน ความคิด (Think-Pair-Share) คือ การจัดกิจกรรม การเรียนรู้ทใี่ ห้ผ้เู รียนคิดเกี่ยวกับประเด็นทกี่ ำหนดคนเดยี ว 2 – 3 นาที (Think) จากน้ันใหแ้ ลกเปลี่ยน

14 ความคดิ กบั เพื่อนอกี คน 3 – 5 นาที (Pair) และนำเสนอความคดิ เห็นต่อผเู้ รยี นท้ังหมด (Share) 2) ก ารเรีย น รู้แ บ บ ร่ว ม มื อ (Collaborative Learning group) คื อ ก ารจั ด กิ จ ก รรม การเรียนรทู้ ใ่ี ห้ผู้เรียนได้ทำงานร่วมกับผูอ้ ืน่ โดยจัดกล่มุ ๆ ละ 3-6 คน 3) การเรียนรู้แบบทบทวนโดยผู้เรียน (Student-led review sessions) คือการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทบทวนความรู้และพจิ ารณาข้อสงสัยต่างๆ ในการปฏิบตั ิกิจกรรมการเรียนรู้ โดยครูจะคอยชว่ ยเหลอื กรณที ่ีมีปญั หา 4) การเรียนรแู้ บบใช้เกม (Games) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้สอนนำเกมเขา้ บูรณาการ ในการเรียนการสอน ซึ่งใช้ได้ท้ังในข้ันการนำเข้าสู่บทเรียน การสอน การมอบหมายงาน และหรือข้ัน การประเมินผล 5) การเรียนรู้แบบวิเคราะห์วีดีโอ (Analysis or reactions to videos) คือ การจัดกิจกรรม การเรียนรู้ท่ีให้ผู้เรียนได้ดูวีดีโอ 5-20 นาที แล้วให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็น หรือสะท้อนความคิดเก่ียวกับสิ่งท่ี ได้ดู อาจโดยวีการพดู โต้ตอบกัน การเขียน หรอื การ่วมกันสรปุ เปน็ รายกลมุ่ 6) การเรียนรู้แบบโต้วาที (Student debates) คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีจัดให้ผู้เรียน ได้นำเสนอข้อมูลที่ไดจ้ ากประสบการณ์และการเรยี นรู้ เพ่อื ยนื ยนั แนวคดิ ของตนเองหรือกลุ่ม 7) การเรยี นร้แู บบผู้เรยี นสร้างแบบทดสอบ (Student generated exam questions) คอื การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ท่ใี ห้ผูเ้ รียนสรา้ งแบบทดสอบจากสง่ิ ที่ไดเ้ รียนรู้มาแลว้ 8) การเรียนรู้แบบกระบวนการวิจัย (Mini-research proposals or project) คือ การจัด กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีอิงกระบวนการวิจัย โดยให้ผู้เรียนกำหนดหัวข้อท่ีต้องการเรียนรู้, วางแผนการเรียน, เรียนรู้ตามแผน, สรุปความรู้หรือสร้างช้ินงาน, และสะท้อนความคิดในส่ิงท่ีได้เรียนรู้ หรืออาจเรียกว่าการสอน แบบโครงงาน (project-based learning) หรอื การสอนแบบใช้ปญั หาเปน็ ฐาน(problem-based learning) 9) การเรียนรู้แบบกรณีศึกษา (Analyze case studies) คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ ผู้เรียนได้อ่านกรณีตัวอย่างที่ต้องการศึกษา จากนั้นให้ผู้เรียนวิเคราะห์และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือ แนวทางแกป้ ัญหาภายในกลุ่ม แล้วนำเสนอความคดิ เหน็ ตอ่ ผเู้ รยี นทัง้ หมด 10) การเรียนรู้แบบการเขียนบันทึก (Keeping journals or logs) คือ การจัดกิจกรรม การเรียนรู้ท่ีผู้เรียนจดบันทึกเรื่องราวต่างๆ ท่ีได้พบเห็น หรือเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนในแต่ละวัน รวมท้ังเสนอ ความคิดเพมิ่ เตมิ เกยี่ วกบั บันทึกทเี่ ขียน 11) การเรียนรแู้ บบการเขยี นจดหมายขา่ ว (Write and produce a newsletter) คอื การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนร่วมกันผลิตจดหมายข่าว อันประกอบด้วย บทความ ข้อมูลสารสนเทศ ข่าวสาร และเหตกุ ารณ์ทเี่ กดิ ขน้ึ แลว้ แจกจ่ายไปยังบุคคลอื่นๆ 12) การเรียนรู้แบบแผนผังความคิด (Concept mapping) คือ การจัดกิจกรรมเรียนรู้ท่ีให้ ผเู้ รียนออกแบบผนังความคิด เพื่อนำเสนอความคิดรวบยอด และความเช่ือมโยงกันของกรอบความคิดโดยการ ใช้เส้นเป็นตัวเชื่อมโยง อาจจัดทำเป็นรายบุคคลหรืองานกลุ่ม แล้วนำเสนอผลงานต่อผู้เรียนอื่นๆจากนั้นเปิด โอกาสใหผ้ เู้ รียนคนอื่นไดซ้ ักถามและแสดงความคิดเห็นเพม่ิ เติม กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนแบบใหผ้ ้เู รียนได้ปฏบิ ตั ิ สามารถใช้ได้กับผ้เู รยี นทุกระดับ โดยผเู้ รียนสามารถเรียนรู้เปน็ รายบุคคลเรียนรูแ้ บบกลุ่มเลก็ และเรียนร้แู บบกลมุ่ ใหญ่โดยกระบวนการจดั การ

15 เรียนการสอนในรูปแบบนจ้ี ะเปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รยี นมีส่วนรว่ มในการปฏิบัติ และการเรียนรู้สูงสดุ ผู้เรยี นมีความ รับผิดชอบร่วมกัน การมีวินัยในการทำงาน การแบง่ หน้าที่ความรบั ผิดชอบและสง่ เสริมใหผ้ ูเ้ รียนใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศในการบูรณาการข้อมูลข่าวสาร ซง่ึ ผู้สอนจะเป็นผอู้ ำนวยความสะดวกในการจัดการเรยี นรู้ เพ่ือให้ ผเู้ รียนเปน็ ผู้ปฏบิ ตั ิด้วยตนเอง ความรู้เกิดจากประสบการณ์ การสรา้ งองค์ความรู้ และการสรปุ ทบทวนของ ผเู้ รยี น บทบาทของผูสอน กระบวนการจัดการเรยี นการสอนแบบเน้นให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติ ผู้สอนเป็นผู้ท่ีมีบทบาทสำคัญโดยทั่วไป ผู้สอนจะมีคุณสมบัติและมีสมรรถนะในด้านต่างๆ ที่สำคัญหลายประการ ซ่ึงสมรรถนะเหล่าน้ี จะช่วยให้เกิด กจิ กรรมการเรียนการสอนแบบเน้นให้ผ้เู รียนได้ปฏิบัติได้เป็นอย่างดี โดยทวีวัฒน วัฒนกลุ เจรญิ (2547) ไดก้ ล่าว ว่าผูส้ อนควรมีบทบาท ดงั น้ี 1. จดั ให้ผู้สอนเปน็ ศูนย์กลางของการเรยี น กิจกรรม หรือเป้าหมายท่ีต้องการสะท้อนความต้องการที่ จะพัฒนาผูเ้ รียน และเน้นการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตจรงิ ของผเู้ รยี น 2. สร้างบรรยากาศของการมีส่วนร่วม และการเจรจาโต้ตอบที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ท่ีดีกับ ผู้สอน และเพื่อนในชน้ั เรียน 3. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นพลวัต ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในทุดกิจกรรมที่สนใจ รวมท้ังกระตุ้นให้ผเู้ รียนประสบความสำเร็จในการเรยี น กิจกรรมที่เปน็ พลวตั ได้แก่ การฝึกแก้ปญั หา การศกึ ษา ดว้ ยตนเอง เป็นต้น 4. จดั สภาพการเรียนร้แู บบรว่ มมอื สง่ เสรมิ ให้เกิดการรว่ มมอื ในกลุ่มผูเ้ รียน 5. จัดกิจกรรมการเรียนสอนให้ท้าทาย และให้โอกาสผู้เรียนได้รับวิธีการสอนที่หลากหลายมากกว่า การบรรยายเพียงอย่างเดียว แม้รายวิชาท่ีเน้นทางด้านการบรรยาย หลักการ และทฤษฎีเป็นหลักก็สามารถจัด กจิ กรรมเสริม อาทิ การอภปิ ราย การแก้ไขสถานการณ์ทก่ี ำหนด เสริมเข้ากบั กจิ กรรมการบรรยาย 6. วางแผนในเรื่องของเวลาการสอนอยา่ งชดั เจน ท้งั ในเรอื่ งของเน้ือหา และกจิ กรรมในการเรียน 7. ใจกวา้ ง ยอมรับในความสามารถในการแสดงออก และความคดิ เหน็ ที่ผเู้ รียนนำเสนอ ผู้สอนเป็นผู้ท่ีจะชี้แนะแนวทางการในการเรียนรู้จากกระบวนการจัดการเรียนการสอน แบบเน้นให้ ผเู้ รียนได้ปฏบิ ัติ ดังนั้นผู้สอนจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจด้านเน้ือหา การออกแบบและพัฒนากระบวนการเรียน ของผู้เรียน รวมท้ังจะต้องมีการจูงใจ การวางแผนบูรณาการ และการติดต่อสื่อสารกับผู้เรียน เพ่ือให้ผู้เรียน สามารถปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนได้เป็นอย่างดี ส่งผลให้ผู้เรียนสนุกกับการเรียนลดความกังวลในการเรียน มีความ กระตือรอื รน้ และอาจจะทำให้ผลการเรยี นดีขนึ้ 2.3 นวัตกรรมท่ีครูใช้ ส่ือที่ครูผลิตขึ้นเอง - ส่ือจากวีดีโอ - การจัดการสอนโดยใช้กระบวนการกลุ่ม - การนำเสนอ - 2.4 การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research)

16 การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) กิจกรรมแต่ละขั้นตอนมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ (องอาจ นัยพัฒน์, 2548) (อาจใช้แนวคิดของนักวิชาการคนอ่ืนๆ ก็ได้) 1. การวางแผน (Planning) เป็นการกำหนดแนวทางปฏิบัติการไว้ก่อนล่วงหน้า โดย อาศัยการคาดคะเนแนวโน้มของผลลัพธ์ท่ีอาจเกิดขึ้นจากการปฏิบัติตามแผนที่วางไว้ ประกอบกับการระลึก ถึงเหตุการณ์หรือเรื่องราวในอดีตที่เกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหาที่ ต้องการแก้ไขตามประสบการณ์ทางตรง และทางอ้อมของผู้วางแผน ภายใต้การไตร่ตรองถึงปัจจัยสนับสนุนขัดขวางความสำเร็จในการแก้ไข ปัญหา การต่อต้าน รวมทั้งสภาวการณ์ เงื่อนไขอื่นๆ ท่ีแวดล้อมปัญหาอยู่ในเวลาน้ัน โดยทั่วไปการวางแผนจะต้อง คำนึงถึงความ ยืดหยุ่น ทั้งนี้เพ่ือจะสามารถปรับเปลี่ยนให้เข้ากับเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนในอนาคต 2. การปฏิบัติการ (Action) เป็นการลงมือดำเนินงานตามแผนที่กำหนดไว้อย่าง ระมัดระวังและควบคุมการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามที่ระบุไว้ในแผน อย่างไรก็ตามในความ เป็นจริง การปฏิบัติตามแผนที่กำหนดไว้มีโอกาสแปรเปลี่ยนไปตามเงื่อนไขและข้อจำกัด ของสภาวการณ์เวลานั้นได้ ด้วยเหตุนี้แผนปฏิบัติการที่ดีจะต้องมีลักษณะเป็นเพียงแผนชั่วคราว ซึ่งเปิดช่องให้ผู้ปฏิบัติการสามารถ ปรับเปลี่ยนได้ตามเงื่อนไขและปัจจัยที่เป็นอยู่ ในขณะนั้น การปฏิบัติการที่ดีจะต้องดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง เป็นพลวัตรภายใต้การใช้ ดุลยพินิจในการตัดสินใจ 3. การสังเกตการณ์ (Observation) เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับ กระบวนการและ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานที่ได้ลงมือกระทำลงไป รวมทั้งสังเกตการณ์ปัจจัยสนับสนุนและปัจ จัย อุปสรรคการดำเนินงานตามแผนที่วางไว้ ตลอดจนประเด็นปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างปฏิบัติการตาม แผนว่ามีสภาพหรือลักษณะเป็นอย่างไร การสังเกตการณ์ที่ดีจะต้องมีการวางแผนไว้ก่อนล่วงหน้าอย่าง คร่าวๆ โดยจะต้องมีขอบเขตไม่แคบหรือจำกัดจนเกินไป เพื่อจะได้เป็นแนวทางสำหรับการสะท้อนกลับ กระบวนการและผลการปฏิบัติที่จะเกิดข้ึนตามมา 4. การสะท้อนกลับ (Reflection) เป็นการให้ข้อมูลถึงการกระทำตามที่บันทึก ข้อมูลไว้ จากการสังเกตในเชิงวิพากษ์กระบวนการและผลการปฏิบัติงานตามที่วางแผนไว้ ตลอดจนการวิเคราะห์ เกี่ยวกับปัจจัยสนับสนุนและปัจจัยอุปสรรคการพัฒนา รวมท้ัง ประเด็นปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นว่าเป็นไปตาม วัตถุประสงค์หรือไม่ การสะท้อนกลับ โดยอาศัยกระบวนการกลุ่มในลักษณะวิพากษ์วิจารณ์ หรือ ประเมินผลการปฏิบัติงาน ระหว่างบุคคลที่มีส่วนร่วมในการวิจัย จะเป็นวิธีการปรับปรุงวิธีการปฏิบัติตาม แนวทาง ดั้งเดิมไปเป็นการปฏิบัติงานตามวิธีการใหม่ ซึ่งใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับการทบทวน และ ปรับปรุงวางแผนปฏิบัติการในวงจรกระบวนการวิจัยในรอบหรือเกลียวต่อไป 2.5 งานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง เดชดนัย จุ้ยชุม, เกษรา บ่าวแช่มช้อย และศิริกัญญา แก่นทอง (2558) ได้ศึกษาเรื่อง การพัฒนา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง ทักษะการคิดของนักศึกษาในรายวิชาทักษะการคิด (Thinking Skills) รหัสวิชา 11-024-112 ประจำภาคเรียนที่ 1ปีการศึกษา 2558 ด้วยการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Active Learning) มี วัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมทางการเรียน 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และ 3) ศึกษา ความพึงพอใจของนักศึกษาในรายวิชาทักษะการคิด (Thinking Skills) รหัสวิชา 11-024-112 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 ด้วยการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Active Learning) กลุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบ เจาะจง โดยใช้นักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะศิลปศาสตร์ ในรายวิชาทักษะการคิด (Thinking Skills) รหัสวิชา 11-024-112 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2558 จำนวน 83 คน เครื่องมือวิจัยท่ีใช้ในการทดลอง คือ 1) แผนการสอนแบบมีส่วนร่วม (Active Learning) 2) แบบบันทึกพฤติกรรมทางการเรียน 3) แบบทดสอบ

17 ทักษะการคิด (Thinking Skills) ได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ เท่ากับ 0.941 และ 4) แบบสอบถาม ความพึงพอใจ ได้ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค เท่ากับ 0.823 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉล่ีย (X ) ค่า ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และค่าร้อยละผลการวิจัย พบว่า1) พฤติกรรมทางการเรียนของนักศึกษา หลัง การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ดีขึ้นท้ังในด้านการทำงานเป็นกลุ่ม การแสดงความคิดเห็น และการแสดงออกเพื่อ สะท้อนความคิดเห็นร่วมกัน2) คะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนของนักศึกษา สูงกว่าก่อนเรียน3) นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Active Learning) โดยรวมอยู่ ระดับมาก (X =4.17, S.D.=0.476) รสิตา รกั สกุล, สุวรรณา สมบุญสุโข, และก้องกาญจน์ วชิรพนัง (2558) ไดศ้ ึกษาเรือ่ ง สัมฤทธิผลของ การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ โดยใช้Active Learning ของนักศึกษาในรายวิชาการบริหารจัดการ ยุคใหม่และภาวะผู้นำมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) ศึกษาสัมฤทธิผล และ 2) ประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนต่อสัมฤทธิผลของการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ โดย ใช้Active Learning ของนักศึกษาในรายวิชาการบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นำมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี กลุ่มตัวอย่างท่ี ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรีท่ีลงทะเบียนเรียนรายวิชา GEN 351 การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นำ ภาค การศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 407 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัย คือ 1) รูปแบบการจัดการเรียน การสอนแบบบูรณาการ 2) แบบทดสอบหาสัมฤทธิผลทางการเรียน และ 3) แบบประเมินความพึงพอใจ ผลการวิจัยพบว่า ผลการเปรียบเทียบคะแนนจากการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยวิธีการจัดการเรียน การสอนแบบบรู ณาการโดยใช้ Active Learning หลังการจดั การเรียนการสอนมคี ะแนนจากการทดสอบสูงกว่า ก่อนการจดั การเรยี นการสอน อยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถติ ิท่ี 0.05 2) ความพึงพอใจของผูเ้ รยี นต่อการจัดการเรียน การสอนแบบบรู ณาการโดยใช้ Active Learning อยู่ในระดับมาก พิสมัย บ้านใหม่ (2557) ได้ศึกษาเร่ืองการพัฒนาทักษะกระบวนการทำงานโดยใช้แนวการจัด การเรียนรู้ท่ีเน้นทักษะกระบวนการ 9 ขั้น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีสำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือหาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ 2) เปรียบเทียบ กระบวนการทำงานของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนและหลังโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นทักษะ กระบวนการ 9 ขั้น 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนและ หลังเรียนโดยใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้ที่เนน้ ทักษะกระบวนการ 9 ขัน้ และ 4) ศึกษาความพงึ พอใจของนักเรยี น ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะกระบวนการ 9 ขั้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน การวิจัยเป็นนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนวัดโพธิ์ อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก ปีการศึกษา 2552 ภาคเรียนที่ 1 จำนวน 36 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย ระยะเวลาท่ีใช้ในการทดลองจัดการเรียนรู้ 20 ช่ัวโมง การทดลองคร้ังนี้ใช้แผนการวิจัยแบบกลุ่มทดลองกลุ่มเดียวทดสอบก่อนและหลัง เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัยคือ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นทักษะกระบวนการ 9 ขั้น แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบวัดความพึงพอใจทางการเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉล่ีย ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) แผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นทักษะ กระบวนการ 9 ข้ัน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 84.35/85.33 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ท่ีต้ังไว้ 2) นักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีท่ี 6 ท่ีเรียนโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นทักษะกระบวนการ 9 ขั้น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยีมีทักษะกระบวนการทำงานหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) นกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ที่เรยี นโดยใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ีเน้นทักษะกระบวนการ 9 ข้ัน มีผลสมั ฤทธ์ิ

18 ทางการเรยี นหลังเรยี นสูงกว่ากอ่ นเรียนอย่างมีนยั สำคญั ทางสถิติที่ระดับ .01 4) นักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 มีความพึงพอใจในการเรียนโดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นทักษะกระบวนการ 9 ข้ัน กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยอี ยูใ่ นระดับมาก ฟ้าชนนาแย้มสง่า (2556) ได้ศึกษาเร่ืองการพัฒนาทักษะกระบวนการทำงานเร่ืองการประดิษฐ์จาก วัสดุธรรมชาติชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 โดยใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือโดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือ 1) เพ่ือหาประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้การพัฒนาทักษะกระบวนการทำงานเร่ืองการประดิษฐ์จาก วัสดุธรรมชาติกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี(งานประดิษฐ์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือท่ีมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพ่ือหาค่าดัชนี ประสิทธิผลของแผนการเรียนรู้การพัฒนาทักษะกระบวนการทางานเร่ืองการประดิษฐ์จากวัสดุธรรม ชาติ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ 3) เพื่อศึกษาทักษะกระบวนการ ทำงานของนักเรยี นโดยใช้การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เรอ่ื งการประดษิ ฐ์จากวสั ดุธรรมชาติช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 5 โดยใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือและ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ การจัดกิจกรรมจัดการเรียนรู้การพัฒนาทักษะกระบวนการทางานเร่ืองการประดิษฐ์จากวัสดุธรรมชาติช้ัน ประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็น นักเรียนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านยาง (สารกิจราษฎร์วิทยา) สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2555 จานวน 1ห้องเรียนจานวนนักเรียน 30 คนได้มา โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling)เคร่ืองมือท่ีใช้ในการศึกษาค้นคว้าได้แก่1) การจัดกิจกรรม การเรียนรู้การพัฒนาทักษะกระบวนการทำงานเรื่องการประดิษฐ์จากวัสดุธรรมชาติช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 โดย ใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือจานวน 6 แผนแผนละ 2 ช่ัวโมงรวม 12 ช่ัวโมงมีค่าเฉลี่ย ระดับความเหมาะสม 3.83-4.33 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นเร่ืองการประดษิ ฐ์จากวัสดรุ รมชาติ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 เป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือกจานวน 30 ข้อ ค่าอำนาจจำแนกต้ังแต่ 0.24 - 0.82 ค่าความเช่ือม่ันท้ังฉบับเท่ากับ 0.73 3) แบบทดสอบวัดการพัฒนาทักษะกระบวนการทำงาน เร่ืองการประดิษฐ์จากวัสดุธรรมชาติชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 โดยใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ กลุ่มร่วมมือเป็นแบบวัดทักษะกระบวนการทางานมี 2 ชุดคือแบบวัดทักษะกระบวนการทางานรายบุคคลและ แบบวัดทักษะกระบวนการทางานรายกลุ่มมีค่าเฉล่ียระดับความเหมาะสมเท่ากับ 4.97 ค่าความเช่ือมัน่ ท้ังฉบับ เท่ากับ 0.71 และ 5) แบบวัดความพึงพอใจต่อการพัฒนาทักษะกระบวนการทางานเร่ืองการประดิษฐ์จากวัสดุ ธรรมชาติช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 โดยใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเป็นแบบมาตราส่วน ประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) จานวน 20 ข้อมีค่าความเชื่อม่ันของแบบทดสอบทั้งฉบับเท่ากับ 4.84 สถิติทใี่ ชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ได้แก่ร้อยละค่าเฉล่ียส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน ผลการศกึ ษาค้นควา้ ปรากฏดงั น้ี 1. ประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การพัฒนาทักษะกระบวนการทางานเร่ืองการประดิษฐ์ จากวัสดธุ รรมชาติช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 5 โดยใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือมีประสิทธภิ าพ (E1/E2) เท่ากบั 88.60 / 84.33 ซงึ่ สูงกวา่ เกณฑ์ทตี่ ั้งไว้ 80/80 2. ดชั นปี ระสิทธิผลของแผนการเรียนรู้การพัฒนาทกั ษะกระบวนการทำงานเรื่องการประดิษฐจ์ ากวัสดุ ธรรมชาติชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือมีค่าเท่ากับ 0.7262 คิดเป็นรอ้ ยละ 72.62

19 3. การพัฒนาทักษะกระบวนการทำงาน เรื่อง การประดิษฐ์จากวัสดุธรรมชาติชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 โดยใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือมีความสามารถในการพัฒนาทักษะกระบวนการ ทำงาน รายกลมุ่ มากกวา่ รายบุคคลอย่างมนี ยั สำคญั ทางสถติ ิท่รี ะดับ .05 4. ความพึงพอใจของนกั เรยี นท่ีมีต่อการจดั กจิ กรรมจดั การเรียนร้กู ารพัฒนาทักษะกระบวนการทำงาน เรื่อง การประดิษฐ์จากวัสดุธรรมชาติชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 โดยใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ กลมุ่ ร่วมมือโดยรวมทร่ี ะดบั มากท่ีสดุ การดำเนินการวจิ ยั ในชนั้ เรียนดว้ ย Action Research ข้ันที่ 1 การวางแผน (Planning) 1) วิเคราะหป์ ญั หา ในการจัดการเรียนการสอนของครู ของนักเรียน ของแตล่ ะวิชาและของ สง่ิ แวดล้อม(ปญั หา สาเหตุวธิ ีแกไ้ ข) 2) ออกแบบแผนการจดั การเรียนรู้ มอี งคป์ ระกอบ : - วตั ถุประสงค์การสอน - วธิ กี ารสอน - กิจกรรม - เครอื่ งมือประเมิน - ส่ือและแหลง่ เรียนรู้ 2.1 วธิ ีสอนทเ่ี นน้ กระบวนการคดิ สอนด้วยกระบวนการแก้ปัญหา สอนแบบโครงงานแบบ บูรณาการ (บรู ณาการเน้ือหา, ความรู้-ทกั ษะ) 2.2 วิธีการสอนทเี่ นน้ การมีสว่ นร่วมใช้กระบวนการกลมุ่ การสร้างสรรคค์ วามรูก้ ารรว่ มมือกันเรียน 2.3 วธิ ีการสอนที่เนน้ พัฒนาคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ใช้สถานการณ์จำลองบทบาทสมมติ กรณีศึกษา 3) วัตถุประสงคก์ ารสอนรายวชิ าเนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ พัฒนาใหเ้ กดิ : ความรู้ (K : Knowledge) ผลสัมฤทธ์ิการเรยี นรู้ (แบบทดสอบ สอบย่อยฯ) ทกั ษะกระบวนการ (P : Process Skills) คดิ วิเคราะห์ คิดสรา้ งสรรค์  (แบบสังเกต) ทักษะปฏิบัติ  (แบบสังเกต แบบบันทกึ ) คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ (A : Attribute) ความรบั ผิดชอบ  (แบบบันทกึ ) - ทำงานเปน็ ทมี (แบบสงั เกต) ขัน้ ท่ี 2 การปฏบิ ตั กิ าร (Action) นำแผนการจดั การเรียนการสอนไปใชใ้ นชั้นเรียน ข้ันที่ 3 การสังเกตการณ์ (Observing) เป็นกจิ กรรมท่ีเกิดข้ึนขณะดำเนนิ การสอนในแต่ละแผนจัดการเรียนรูว้ งจรวิจยั หน่งึ ๆ มีการสังเกตการณ์ โดยเก็บรวบรวมขอ้ มูลดังน้ี ใชเ้ ครอ่ื งมือท่ีหลากหลายเกบ็ ขอ้ มูลเพื่อวัด K P A เก็บข้อมลู ผู้เรียนเปน็ รายบุคคล เก็บข้อมูลผเู้ รยี นเปน็ กลุ่มย่อย

20 ขนั้ ท่ี 4 การสะท้อนผลการปฏบิ ตั ิ (Reflecting) จดั ประเภทข้อมูลสะทอ้ นผล ข้อมลู เชงิ ปรมิ าณ (ตัวเลข )นำเสนอเป็นตารางแสดงด้วยคา่ ร้อยละ ค่าเฉลย่ี ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ (คำบรรยาย)นำเสนอเป็นคำบรรยาย ตามพฤติกรรมท่ีเก่ียวข้องเช่น การสังเกต พฤติกรรมการเรียนการสอน สรปุ ท้ายวงจรสรุปสง่ิ ที่ทำไดด้ ีสรุปสิ่งทเ่ี ป็นปญั หา และแนวทางแก้ไข

21 บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพอื่ พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) ผู้วิจัยได้นำเสนอวิธีดำเนินการวิจัย ดังนี้ 3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 3.1.1 ประชากร คือ นักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 18 คน ที่สนใจเลือกกิจกรรมยุวเกษตรกร Young Farmer ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 3.1.2 ตัวแปรของงานวิจัย ตัวแปรอิสระ คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) ตัวแปรตาม คือ ผเู้ รียนมที กั ษะดา้ นการคดิ วิเคราะห์ ทักษะกระบวนการกลมุ่ มีค่านิยมที่ดี มสี ขุ ภาพ แข็งแรง 3.1.3 ขอบข่ายเน้ือหา 1.การพฒั นาสมอง (Head) การวเิ คราะห์ วางแผนการแปรรูปผลิตภณั ฑท์ างการเกษตร เช่น แปรรปู หม่อนมลั เบอร์ร่ีเปน็ ผลภิ ัณฑ์เพือ่ นำไปจำหน่ายเปน็ ธุรกจิ 2.การพัฒนาทักษะการปฏิบัติ (Hand) ทำงานอย่างเปน็ ข้ันตอนตามกระบวนการทำงาน ด้วย ความสะอาด ความรอบคอบ และอนุรักษส์ งิ่ แวดล้อม 3. การส่งเสรมิ พัฒนาและปลกู ฝงั ค่านิยม จติ สำนึก (Heart ) การสง่ เสรมิ พฒั นาและปลูกฝงั คา่ นยิ ม จติ สำนกึ (Heart) กิจกรรมยุวเกษตร Young farmer ไปทัศนศึกษาวถิ ชี ีวิตชมุ ชนรมิ นำ้ จันทบูร และโบสถว์ ัด โรมันคาทรอลคิ จ. จนั ทบรุ ี เพ่ือพัฒนาพฤติกรรมของผู้เรยี นดา้ นความสามัคคี เรียนรศู้ าสนา และรกั ษ์ทอ้ งถน่ิ 4. การพฒั นาให้ผู้เรยี นมสี ุขภาพกายแขง็ แรงและมเี จตคติท่ีดีตอ่ การดูแลสขุ ภาพโดยใช้การทำ การเกษตร เชน่ ปลกู หม่อนมัลเบอรร์ ี่ 3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3.2.1 ลักษณะของเครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยในคร้ังนี้ มีดังนี้ 1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning 2. แบบสงั เกตการจัดกิจกรรมเรียนรู้แบบ Active Learning 3. แบบวัดการพัฒนา 4H ได้แก่ ดา้ นสมอง (Head) ดา้ นจิตใจ (Heart) ดา้ นทักษะการปฏิบตั ิ (Hand) และดา้ นสุขภาพ (Health) 4. แบบบนั ทึกการทบทวนผลการปฏบิ ตั ิงาน : AAR (After Action Review) 5.แบบสอบถามความพงึ พอใจของผปู้ กครองและนักเรยี นท่มี ีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบลงมอื ปฏบิ ตั ิ (Active Learning)

22 3.2.2 การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัย ผู้วิจัยกำหนดรายละเอียดของการสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ดังน้ี 3.4.1 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) 1) ศึกษาองค์ประกอบของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) 2) เขียนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) 3) ให้ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบความถูกต้อง ชัดเจน เหมาะสม 4) นำแผนการจัดกิจกรรมไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง 3.4.2 แบบสงั เกตการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning 3.4.3 แบบวดั การพัฒนาดา้ นสมอง (Head) 1. ศึกษาการสร้างแบบวัดการพัฒนาสมอง Head และกำหนดวัตถุประสงค์ท่ีต้องการ 2. เขียนแบบวัดการพัฒนาสมอง Head วัตถุประสงค์ 3. ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้อง ชัดเจน เหมาะสม 4. ลงมือทดสอบโดยใช้แบบวัดการพัฒนาสมอง Head 3.4.4 แบบบนั ทึกการทบทวนผลการปฏบิ ตั ิงาน : AAR (After Action Review) 3.4.5 แบบสอบถามความพงึ พอใจของผู้ปกครองและนักเรียนท่ีมตี อ่ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 3.3 รูปแบบการวิจัย การวิจัยครั้งน้ีท่ีใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) ซ่ึงมีข้ันตอนอยู่ 4 ข้ัน ดังนี้ 1. การวางแผน (Planning) 2. การปฏิบัติการ (Action) 3. การสังเกตการณ์ (Observation) 4. การสะท้อนกลับ (Reflection) 3.4. การรวบรวบข้อมูล 1. ออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ซึ่งเป็นกิจกรรมที่คำนึงถึง ความยืดหยุ่น เพื่อให้สามารถปรับเปล่ียนให้เข้ากับสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึนในขณะจัดกิจกรรม 2. จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ตามลำดับขั้นตอนที่วางแผนไว้คือ ขั้นนำเข้าสู่ บทเรียน ขั้นนำเสนอสถานการณ์ ขั้นลงมือปฏิบัติ ขั้นอภิปรายและขั้นสรุป 3. ผู้อำนวยการโรงเรียน/รองผู้อำนวยการโรงเรียน/ครูวิชาการ สังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบ Active Learning 4H ของครูผู้วิจัย เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการจัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบ Active Learning บทบาทครู บทบาทนักเรียน และผลการจัดกิจกรรม ปัจจัยเกื้อหนุน และอุปสรรคต่อการจัดกิจกรรมตามที่วางแผนไว้ ตลอดจนประเด็นปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างการจัด กิจกรรมการเรียนรู้มีลักษณะเป็นอย่างไร (1.บันทึกผลของการเปลี่ยนแปลงกิจกรรมและการฝึกปฏิบัติ 2.บันทึกผลของการเปลี่ยนแปลง การสื่อสารในห้องเรียนกับปัญหาที่ต้องการแก้ไข 3.บันทึกผลของการเปล่ียนแปลงการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ครู-นักเรียน นักเรียน-นักเรียน 4.บันทึกผลของการพัฒนาการที่เป็นข้อค้นพบที่สำคัญของการวิจัย)

23 4.ปฏิบัติการทบทวนผลการปฏิบัติงาน : AAR (After Action Review) เมื่อจบการจัดกิจกรรม การเรียนรู้แบบ Active Learning แต่ละเรื่อง ของผู้วิจัย ระหว่างผู้อำนวยการโรงเรียน/รองผู้อำนวยการ โรงเรียน/ครูวิชาการ และครูผู้จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning 5. นำผลจากการทบทวนผลการปฏิบัติงาน : AAR (After Action Review) เป็นการนำผล การปฏิบัติงานของครูแต่ละคนจากการสะท้อนกลับ โดยอาศัยกระบวนการกลุ่มในการประเมินผล การปฏิบัติงาน ระหว่างครูที่มีส่วนร่วมในการวิจัยกับผู้อำนวยการโรงเรียน หรือ รองผู้อำนวยการโรงเรียน หรือครูวิชาการ ซึ่งใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงวางแผนปฏิบัติการในวงจรกระบวนการวิจัยในเรื่องถัดไปจน ครบ 10 ชว่ั โมง 3.5 กระบวนการและระยะเวลาในการดำเนินการวิจัย ระยะท่ี กิจกรรม ระยะเวลา ผู้ปฏิบัติ ครูผู้วิจัย 1 1.1 ขออนุมัติโครงการ มิถุนายน 2563 ครูผู้วิจัย 1.2 วางแผนการดำเนินงาน มิถุนายน 2563 ครูผู้วิจัย 1.3 กำหนดแนวทางการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ มิถุนายน 2563 แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) ครูผู้วิจัย มิถุนายน – 2 2.1 ปฏิบัติการงานวิจัยในชัน้ เรยี น เร่ือง การพัฒนาการจัด ตุลาคม 2563 ครูผู้วิจัย กิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ(Active Learning) ครผู วู้ ิจยั และคณะครู - ศึกษาค้นคว้า - ทดลองใช้ เก็บรวบรวมข้อมูล ครผู วู้ ิจัย - สรุปผลการวิจัย ครูผู้วิจัย 3 รายงานวิจัยเสนอผู้บริหาร 3.6 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1) ผลพัฒนาผเู้ รียนใหม้ ีความสามารถดา้ นสมอง Head ใช้การวิเคราะหด์ ้วยเทคนคิ เชงิ คุณภาพ และ ใช้ร้อยละ 2) ความพงึ พอใจของผู้ปกครองและนักเรยี นท่ีมตี ่อการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ใช้สถิติพ้ืนฐาน ค่าเฉลี่ย(X) และ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (SD)

24 บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยเรื่อง การศึกษาผลการพัฒนาความสามารถการเขียนแผนการแปรรูปหม่อนมัลเบอร์ร่ีเป็น ผลิตภัณฑ์จำหน่ายเป็นธุรกิจ ในกิจกรรมการเรียนรู้ (Head) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน เบญจมราชูทิศ จงั หวดั จันทบุรี ปีการศึกษา 2563 ผู้วิจัยได้นำเสนอข้อมูลเพ่ือศึกษาการพัฒนาการจัดกิจกรรม การเรยี นรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) เปน็ 2 วงจร ดงั นี้ วงจรที่ 1 ช่ัวโมงที่ 1 – 6 1. ผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ แบบ Active Learning 1) ใช้การวิเคราะห์เน้ือหาจากแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ(Active Learning) ในการจัดกิจกรรมครูให้นักเรียนศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเอง การแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ได้แก่ หม่อนมัลเบอร์ร่ี เพื่อเป็นผลตภัณฑ์ที่สามารถจำหน่ายเป็นธุรกิจ ให้ผู้เรียนคิดว่าหม่อนมัลเบอร์รี่ท่ีเป็นผลไม้ทางการเกษตรท้องถ่ินของ จังหวัดจันทบุรี และนักเรียนกิจกรรมยุวเกษตรกร Young farmer ได้ปลูกไว้หลังโรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัด จันทบรุ ี มาแปรรปู อยา่ งไรได้บา้ ง โดยให้นักเรียนแบ่งกลุม่ ๆละ 3 – 4 คน ศึกษาค้นคว้า ระดมความคดิ เห็น และจัดทำ Mind Mapping หลังจากนั้นนำเสนอผลงานมานำเสนอให้เพ่ือนๆในห้องเรียนได้มีส่วนร่วมโดยชว่ ยกันตง้ั คำถาม เมื่อ ทุกกล่มุ นำเสนอเสร็จครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายแสดงความคดิ เหน็ เพ่ิมเติม ผลการจัดกิจกรรมผู้เรียนทุกคนมีความสุข มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน เกิดความ สามัคคี กล้าแสดงออก เกิดความรู้ เกิดทักษะ ทงั้ ไดล้ งมอื ปฏบิ ัติเกิดการเรียนร้มู ากข้ึน วงจรที่ 2 ชั่วโมงท่ี 7 -10 1. ผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ แบบ Active Learning 1) ใช้การวิเคราะห์เนื้อหาจากแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ(Active Learning) ผ้วู ิจัยไดน้ ำนักเรยี นในกจิ กรรมยวุ เกษตรกร Young Farmer ไปทัศนศึกษาวถิ ชี วี ติ ชุมชนรมิ นำ้ จนั ทบรู และโบสถว์ ดั โรมันคาทรอลคิ จ. จันทบรุ ี เพอื่ พฒั นาพฤตกิ รรมของผ้เู รียนด้านความสามัคคี เรยี นรู้ศาสนา และ รักษ์ท้องถิ่น เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล และนำมาจัดทำสรุปองค์ความรู้ทไ่ี ด้ในการทำกิจกรรม นำเสนอผลงาน อภิปราย และแลกเปลยี่ นความคิดเห็น ผลการจัดกิจกรรมผเู้ รียนมีความกระตือรือร้น ตั้งใจ สนใจ และรว่ มมือกันทำงานด้วยความสามัคคี ผู้เรียนมคี วามสขุ ภาคภูมใิ จในผลงานตนเอง ท่ไี ดเ้ ป็นผู้นำ เปน็ ผูใ้ หค้ วามร้แู ละได้จัดกจิ กรรมดว้ ยตนเอง ผลการพฒั นาผู้เรียนให้มีระดับพฤติกรรมความสามารถทง้ั 4H ด้านพัฒนาสมอง Head จากการจัดกิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นให้ผู้เรยี นได้ลงมือปฏบิ ตั ิ ลงมือทำตาม ขน้ั ตอนกระบวนการท่ีนักเรียนได้เห็น ได้เรียนรู้จากชิ้นงาน การสาธิต จากส่ือเทคโนโลยี และผู้เรียนได้ลงมือ ปฏิบัติทำตามแบบอย่างจนประสบความสำเร็จ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รู้จักช่วยเหลือ แบง่ ปนั เพอ่ื น กล้าแสดงออก รู้วธิ ีการแกไ้ ขปญั ญา มีความรับผิดชอบ บรรยากาศอบอุ่นมีความสุขทั้งครูและ ผเู้ รียน ได้ประเมินผู้เรียนจากการสังเกต การนำเสนอส่ือ การจัดนิทรรศการ การนำเสนอผลงาน

25 พฤติกรรมการเรียนรู้ยังอยู่ที่ ระดับ 3 การนำไปใช้ (Application) คือผู้เรียนสามารถประยุกต์ ปรับปรุง แก้ปัญหา เลือกผลิตสื่อ ลงมือปฏิบัติ จัดแสดงผลงานได้ ยังไม่ถึงเป้าหมายระดับพฤติกรรมท่ีต้องการ คือ ระดบั 4-6 คอื ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมนิ คา่ ด้านพัฒนาจิตใจ(Heart) จากการจัดกิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นใหผ้ เู้ รียนได้ลงมอื ปฏิบตั ิลงมือทำตาม ข้ันตอนกระบวนการท่ีนักเรียนได้เห็นได้เรียนรู้จากช้ินงาน การสาธิต จากส่ือเทคโนโลยีและผู้เรียนได้ลงมือ ปฏิบัติทำตามแบบอย่างจนประสบความสำเร็จ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ มีการนำเสนอสื่อ การจัดนิทรรศการ การนำเสนอผลงาน พฤติกรรมการเรียนรู้ยังอยู่ท่ีระดับ 3การสร้างคุณค่า(Valuing)การ เลือกปฏิบัติในสิ่งที่เป็นที่ยอมรับกันในสังคม การยอมรับนับถือในคุณค่านั้นๆ หรือปฏิบัติตามในเรื่องใดเร่ือง หน่งึ จนกลายเป็นความเช่ือ แลว้ จงึ เกดิ ทศั นคติทด่ี ใี นสงิ่ นัน้ ด้านการพัฒนาทักษะกระบวนการทำงาน (Hand) จากการจัดกิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเนน้ ใหผ้ ู้เรยี นไดล้ งมอื ปฏบิ ตั ลิ งมอื ทำตาม ข้ันตอนกระบวนการที่นักเรียนได้เห็นได้เรียนรู้จากชิ้นงาน การสาธิต จากส่ือเทคโนโลยี โดยเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้ศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม รู้จักวางแผนระดมความคิดช่วยกันในการทำงานและ แก้ไขปัญหา ส่งเสริมให้ผู้เรียนกล้าคิดกล้าแสดงออกผ่านการนำเสนอผลงานทำให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ ตรงจากการลงมือปฏิบัติ ได้มีโอกาสสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองและปรับปรุงพัฒนาผลงานจากกระบวนการ แลกเปล่ียนเรียนรู้ โดยมีครูเป็นผู้อำนวยความสะดวกและกระตุ้นให้ผู้เรียนอยากรู้อยากเห็นจากการลงมือ ปฏิบัติกิจกรรมด้วยบรรยากาศท่ีเป็นกันเองมีการเติมเต็มจากเพ่ือนและครูทำให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียนรู้ พฤติกรรมพัฒนาทักษะ Hand บรรลุถึงพฤติกรรมท่ีต้องการในระดับ 3ท่ีต้องการให้ผู้เรียนมีความคิด สร้างสรรคใ์ นการปฏิบตั ไิ ด้ดว้ ยตนเองโดยไมต่ อ้ งอาศัยเคร่ืองชีแ้ นะ การพฒั นาสร้างเสริมสมรรถนะทางกาย(Health) ผลการจัดกิจกรรมผเู้ รียนได้ลงมอื ปฏบิ ัตทิ ำตามแบบอยา่ งจนประสบความสำเร็จ ผเู้ รียนมสี ่วน ร่วมในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ รู้วิธีการแก้ไขปัญญา มีความรับผิดชอบ รู้จักช่วยเหลือแบ่งปันเพื่อน กล้า แสดงออก มีการนำเสนอผลงาน บรรยากาศอบอุ่นมีความสุขทั้งครูและผู้เรียนแต่พฤติกรรมการเรียนรู้ยังอยู่ท่ี ระดับ 1 และ 2 ท่ีผ้เู รียนมีทักษะการเรียนรตู้ ามแบบ เลียนแบบหรือเลือกปฏิบตั ิใหม้ คี วามเหมาะสมกับตนเอง เท่าน้ันยังไม่ถึงเป้าหมายระดับพฤติกรรมท่ีต้องการระดับ 3 ท่ีต้องการให้ผู้เรียนมีความคิดสร้างสรรค์ในการ ปฏิบัติไดด้ ว้ ยตนเองโดยไมต่ ้องอาศัยเครอ่ื งช้แี นะ ความพงึ พอใจของผู้ปกครองและนักเรียนทมี่ ตี ่อการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 3.1ความพึงพอใจของผ้ปู กครองท่มี ีต่อการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ สว่ นที่ 1 ลกั ษณะของกลุ่มตวั อย่าง จำนวนผู้ปกครองของนักเรยี น 18 คน เปน็ ผปู้ กครองของนักเรียนท่ีอยู่ในกจิ กรรมทัศนศึกษา

26 วิเคราะห์ผล ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ปกครองท่ีมีต่อการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบ Active Learning ประเด็น คะแนน ส่วนเบี่ยงเบน ระดบั เฉลี่ย มาตรฐาน 1.การประชาสมั พนั ธก์ จิ กรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning 2.75 0.43 มาก 2. มโี อกาสให้ความรว่ มมือและสนบั สนนุ การจัดกิจกรรมของโรงเรียน 2.83 0.37 มาก 3. การมสี ่วนร่วมในการประเมินความกา้ วหนา้ การปฏิบตั กิ ิจกรรมของ 2.92 0.28 มาก นกั เรยี น 4. มีโอกาสส่งเสรมิ ให้นกั เรียนนำความรไู้ ปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง 2.83 0.37 มาก 5. มีการปลกู ฝังคุณธรรม จริยธรรมแก่นกั เรยี นผา่ นกิจกรรมการเรียนรู้ 3.00 0.00 มาก 6. มกี ารปลูกจิตสำนึกการทำประโยชนต์ ่อสังคมให้แก่นักเรียน 3.00 0.00 มาก 7. การสง่ เสริมสนบั สนนุ ให้นักเรยี นไดใ้ ช้แหล่งเรียนรู้ทเี่ ปน็ ประโยชน์ 2.83 0.37 มาก และเหมาะสมกับการเรยี นรู้ 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้แบบ Active Learning ทำให้นกั เรียนเกดิ 3.00 0.00 มาก การเรียนรู้จากการปฏบิ ตั จิ ริง 9. กิจกรรมการเรยี นรู้แบบ Active Learning ทำให้นักเรียนมีความสุข 3.00 0.00 มาก ในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม 10.ครสู ามารถจดั กิจกรรมได้ตรงกบั ความคาดหวงั ของท่าน 3.00 0.00 มาก 2.91 1.82 มาก รวม จากการวเิ คราะห์ผลข้อมูลทางสถิติ โดยใช้ค่าเฉลีย่ (X) และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD)เพ่ือวัดหาค่าความ พึงพอใจของผู้ปกครองนท่ีมีต่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) จาก เคร่อื งมอื ท่ผี วู้ ิจัยสร้างข้ึน พบวา่ ผู้ปกครองมีความพึงใจต่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) อยู่ในระดับ 2.91 (พึงพอใจระดับมาก) เกณฑ์การให้คะแนน การวดั ระดับความพึงพอใจของผู้ปกครองและนักเรยี นท่ีมีต่อการจัดกิจกรรมการเรยี นร้แู บบลงมอื ปฏบิ ตั ิ (Active Learning) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 3 ระดับ ระดับความพึงพอใจ ระดับคะแนน พึงพอใจมาก 3 พึงพอใจปานกลาง 2 ไมพ่ ึงพอใจ 1

27 การแปลค่าผลคะแนน การแปลค่าผลคะแนนแบ่งเป็น 3 ระดบั คือ ระดับมาก ระดบั ปานกลาง และระดบั น้อย โดยใช้เกณฑ์ การคำนวนจากสตู ร พิสยั = (คะแนนสงู สดุ – คะแนนต่ำสุด) / จำนวนระดบั = (3-1) / 3 = 0.66 ดังน้นั แตล่ ะช่วงห่างกัน 0.66คะแนน ซงึ่ สามารถกำหนดเกณฑ์การวเิ คราะห์ความพึงพอใจได้ 3 ระดบั จากคะแนนเฉลย่ี ดังน้ี ค่าเฉล่ียของคะแนน การแปลความหมายของคะแนน 1.00 – 1.66 พงึ พอใจระดบั น้อย 1.67 – 2.33 พึงพอใจระดับปานกลาง 2.34 – 3.00 พึงพอใจระดับมาก

28 บทท่ี 5 สรุปผลการวิจัย อภิปราย และข้อเสนอแนะ สรุปผลการวิจัย จากการศึกษาการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) การสร้าง ผลิตภณั ฑ์สงู่ านอาชีพ ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 5 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี ผล การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติส่งผลให้ผู้เรียนมีระดับพฤติกรรมตามที่ 4H กำหนดสามารถสรุป ผลการวิจัยได้ดังน้ี 1.เพือ่ พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) ดา้ นสมอง (Head) ผลการศึกษา โดยผ้วู ิจยั ไดด้ ำเนนิ การจดั การเรียนการสอนจำนวน 10 ช่วั โมง ผลการจดั กจิ กรรม ผู้เรียนทุกคนมีความสุข มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน เกิดความสามัคคี กล้าแสดงออก เกิดความรู้ เกิดทักษะ ทั้งได้ลงมือปฏิบัติเกิดการเรียนรู้มากขึ้น ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น ตั้งใจ สนใจ และร่วมมือกัน ทำงานด้วยความสามัคคี มีความสุข ภาคภูมิใจในผลงานตนเอง ท่ไี ดเ้ ป็นผู้นำ เป็นผูใ้ หค้ วามร้แู ละได้จัดกจิ กรรม ด้วยตนเอง ด้านพัฒนาจิตใจ (Heart) ผลการจัดกจิ กรรมผเู้ รยี นทุกคนมคี วามสุข มคี วามกระตอื รอื ร้นในการปฏิบตั งิ าน เกดิ ความสามัคคี กล้าแสดงออก เกิดความรู้ เกิดทกั ษะ ทั้งได้ลงมอื ปฏบิ ัติเกดิ การเรยี นรู้มากขึ้นผู้เรยี นมีความกระตอื รือรน้ ตงั้ ใจ สนใจ และร่วมมือกันทำงานด้วยความสามัคคี มีความสุข ภาคภูมิใจในผลงานตนเอง ที่ได้เป็นผู้นำ เป็นผู้ให้ ความรูแ้ ละไดจ้ ดั กิจกรรมด้วยตนเอง ด้านการพัฒนาทักษะกระบวนการทำงาน (Hand) ผลการจัดกิจกรรมผ้เู รยี นทุกคนมีความสขุ มคี วามกระตือรอื รน้ ในการปฏบิ ัติงาน ตง้ั ใจ สนใจ และ ร่วมมอื กันทำงาน กลา้ แสดงออก เกดิ ความรู้ เกดิ ทกั ษะกระบวนการ ภาคภมู ใิ จในผลงานตนเอง การพัฒนาสร้างเสริมสมรรถนะทางกาย (Health) ผลการจัดกิจกรรมนักเรียนได้ลงมือปฏบิ ตั ิกจิ กรรมทัง้ เปน็ รายกลุ่มและรายบุคคลมคี วาม กระตือรือร้นต้ังใจทำงานใฝ่เรียนรู้และให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี รู้จักเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ ช่วยเหลอื เพ่ือนในการทำกิจกรรม มีความรบั ผดิ ชอบตอ่ หน้าที่และงานทม่ี อบหมายให้ นักเรียนกลา้ แสดงออก กล้าตอบคำถามและมีความสุขในการทำกิจกรรมรู้จกประยกุ ต์ใชค้ วามรทู้ เ่ี รียนมาในการสรา้ งสรรคผ์ ลงานได้ มี การรจู้ ักภาวะผ้นู ำ ผูต้ ามท่ีดี 2.เพือ่ ใหผ้ ู้เรยี นมที ักษะการคิดวเิ คราะห์ สังเคราะห์และประเมนิ คา่ ได้ ดา้ นสมอง (Head) ผลการศึกษาจากการจัดกิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่เนน้ ใหผ้ ู้เรยี นไดล้ งมือปฏิบตั ิ ลงมือ ทำตามขัน้ ตอนกระบวนการท่ีนักเรียนได้เหน็ ไดเ้ รยี นรู้จากช้ินงาน การสาธิต จากสื่อเทคโนโลยี และผู้เรยี นได้ ลงมือปฏิบัตทิ ำตามแบบอย่างจนประสบความสำเรจ็ ผู้เรยี นมสี ่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รูจ้ กั ชว่ ยเหลอื แบ่งปนั เพื่อน กลา้ แสดงออก รู้วธิ ีการแก้ไขปัญญา มีความรับผดิ ชอบ บรรยากาศอบอนุ่ มีความสุขท้ังครแู ละ ผูเ้ รยี น ได้ประเมินผู้เรียนจากการสังเกต การนำเสนอส่ือ การจัดนิทรรศการ การนำเสนอผลงาน พฤติกรรม

29 การเรียนรยู้ งั อยู่ที่ ระดบั 3 การนำไปใช้ (Application) คือผู้เรยี นสามารถประยุกต์ ปรบั ปรุง แกป้ ัญหา เลอื กผลติ สือ่ ลงมือปฏิบตั ิ จัดแสดงผลงาน ด้านพัฒนาจิตใจ(Heart) จากการจัดกิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นใหผ้ เู้ รียนไดล้ งมือปฏบิ ัติลงมือทำตาม ขั้นตอนกระบวนการที่นักเรียนได้เห็นได้เรียนรู้จากช้ินงาน การสาธิต จากส่ือเทคโนโลยีและผู้เรียนได้ลงมือ ปฏิบัติทำตามแบบอย่างจนประสบความสำเร็จ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ มีการนำเสนอสื่อ การจัดนิทรรศการ การนำเสนอผลงาน พฤติกรรมการเรียนรู้ยังอยู่ที่ระดับ 3การสร้างคุณค่า(Valuing)การ เลือกปฏิบัติในสิ่งที่เป็นท่ียอมรับกันในสังคม การยอมรับนับถือในคุณค่าน้ันๆ หรือปฏิบัติตามในเรื่องใดเรื่อง หน่ึง จนกลายเปน็ ความเช่ือ แล้วจึงเกิดทัศนคตทิ ด่ี ใี นส่งิ นน้ั ด้านการพัฒนาทักษะกระบวนการทำงาน (Hand) จากการจัดกิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเนน้ ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏบิ ัติลงมอื ทำตาม ขั้นตอนกระบวนการที่นักเรียนได้เห็นได้เรียนรู้จากชิ้นงาน การสาธิต จากส่ือเทคโนโลยี โดยเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้ศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม รู้จักวางแผนระดมความคิดช่วยกันในการทำงานและ แก้ไขปัญหา ส่งเสริมให้ผู้เรียนกล้าคิดกล้าแสดงออกผ่านการนำเสนอผลงานทำให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ ตรงจากการลงมือปฏิบัติ ได้มีโอกาสสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองและปรับปรุงพัฒนาผลงานจากกระบวนการ แลกเปล่ียนเรียนรู้ โดยมีครูเป็นผู้อำนวยความสะดวกและกระตุ้นให้ผู้เรียนอยากรู้อยากเห็นจากการลงมือ ปฏิบัติกิจกรรมด้วยบรรยากาศที่เป็นกันเองมีการเติมเต็มจากเพ่ือนและครูทำให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียนรู้ พฤติกรรมพัฒนาทักษะ Hand บรรลุถึงพฤติกรรมท่ีต้องการในระดับ 3ที่ต้องการให้ผู้เรียนมีความคิด สร้างสรรคใ์ นการปฏบิ ัติได้ด้วยตนเองโดยไม่ตอ้ งอาศยั เครื่องช้ีแนะ การพฒั นาสร้างเสริมสมรรถนะทางกาย(Health) การจัดกิจกรรมสว่ นใหญเ่ นน้ ใหผ้ เู้ รยี นไดล้ งมอื ปฏบิ ัติ ลงมอื ทำตามขน้ั ตอนกระบวนการทน่ี ักเรียน ได้เห็นได้เรียนรู้จากช้ินงาน การสาธิต จากสื่อเทคโนโลยี และผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติทำตามแบบอย่างจน ประสบความสำเรจ็ ผู้เรียนมีสว่ นร่วมในการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ ร้วู ธิ ีการแก้ไขปญั ญา มีความรบั ผิดชอบ รู้จัก ชว่ ยเหลอื แบ่งปันเพอ่ื น กล้าแสดงออก มีการนำเสนอผลงาน บรรยากาศอบอุ่นมีความสุขทง้ั ครูและผู้เรียน แต่พฤตกิ รรมการเรียนรยู้ งั อย่ทู ่ี ระดับ 1 และ 2 ทีผ่ ูเ้ รียนมีทักษะการเรียนรู้ตามแบบ เลียนแบบหรอื เลอื ก ปฏิบัตใิ หม้ ีความเหมาะสมกับตนเอง 3.สรปุ ความพงึ พอใจของผู้ปกครองและนกั เรียนที่มีต่อการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ แบบ Active Learning 3.1 ความพึงพอใจของผู้ปกครองทม่ี ีตอ่ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ แบบ Active Learning จากการวิเคราะห์ผลข้อมูลทางสถิติ โดยใช้ค่าเฉลย่ี X และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (SD)เพื่อวัดหา ค่าความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) ของผู้ปกครองท้งั 4 H จากเครอื่ งมือท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึน พบว่าผู้ปกครองมีความพึงใจต่อพัฒนาการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) อยู่ในระดับ ( X = 2.84 SD = 2.98 ) พึง พอใจระดับมาก ประเด็นที่ผู้ปกครองมีความพึงพอใจมากมี 3 ประเด็นคือ การส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนได้ ใช้แหล่งเรียนร้ทู ่ีเป็นประโยชน์และเหมาะสมกับการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ทำให้ นกั เรียนมีความสขุ ในการปฏิบัตกิ ิจกรรม ครูสามารถจัดกิจกรรมได้ตรงกับความคาดหวงั ของท่าน

30 การอภิปรายผล การวจิ ยั ครง้ั นี้เปน็ การศึกษาผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ (Active Learning) ใน กิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละทักษะ(4H) ดงั นี้ 1. ผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ แบบ Active Learning จากผลการวิจยั เรื่อง การศกึ ษาผลการพฒั นาความสามารถการเขียนแผนการแปรรูปผลติ ภณั ฑห์ ม่อนมัล เบอร์รี่จำหน่ายเป็นุรกิจ ในกิจกรรมเรียนรู้ท้ัง 4H ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวดั จนั ทบุรี ปีการศึกษา 2563 สามารถอภิปรายผลตามวตั ถุประสงค์การวิจัยได้ดงั นี้ เพ่ือพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ( Active Learning) พัฒนาสมอง Head และ Heart หลังการเรียนรูแ้ บบมีส่วนร่วม (Active Learning) ดีขึ้นท้ังในด้านการทำงานเป็นกลุ่มของผู้เรียน การแสดงความคิดเห็น และการแสดงออกเพื่อสะท้อนความคิดเห็นร่วมกัน จากการสังเกตและประเมินของ ผู้สอนสอดคล้องกับงานวิจัยของ ญาณัญฎา ศิรภัทร์ธาดา (2553) ที่พบว่า นักศึกษามีพฤติกรรมทางการเรียน ก่อนและหลังการทดลองใช้การสอนแบบมีส่วนร่วมดีขึ้น ทั้งนี้เพราะการจัดการเรียนการสอนแบบการเรียนรู้ แบบมีส่วนร่วม(Active Learning) กระตุ้นให้เกิดการเรียนแบบกระบวนการกลุ่ม ซ่ึงจะช่วยให้นักศึกษาแต่ละ คนทราบจุดเด่นจุดด้อยของผู้อื่น และส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันภายในกลุ่ม มีการกล้าแสดงออกกล้า แสดงความคิดเห็น วเิ คราะห์ รวมถึงมีวางแผน กลนั่ กรองร่วมกันภายในกลุ่มกอ่ นการนำเสนอสะท้อนคิดจาก โจทย์ปญั หาที่ให้ จึงทำให้นกั ศกึ ษามีพฤติกรรมทางการเรยี นท่ีมีคณุ ลักษณะจิตพสิ ยั เชิงบวกและคุณธรรมที่ พงึ ประสงค์ 2. ความพงึ พอใจของผปู้ กครองและนักเรียนท่ีมีต่อการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ แบบ Active Learning ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ความพึงพอใจของผู้ปกครองทุกคนและนักเรียนทุกคนที่มีต่อการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ แบบ Active Learning ทั้ง 4H ความพึงพอใจของผู้ปกครอง ด้วยการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Active Learning) โดยรวมอยู่ อยู่ในระดับ ( X = 2.84 SD = 2.98 ) พึงพอใจระดับมาก ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ 1.ควรประยกุ ตว์ ธิ กี ารเรยี นการสอนทไี่ ด้จากการวิจัยไปใช้เป็นแนวทางในการพฒั นาการเรียนการสอนดว้ ย การเรียนรแู้ บบมีสว่ นร่วม (Active Learning) ไปประยกุ ต์ใช้ หรอื ปรับเปลีย่ นประยกุ ตใ์ ช้กับ กลมุ่ สาระการเรียนร้อู ่นื

31 บรรณานุกรม เดชดนัย จุย้ ชุม, เกษรา บา่ วแช่มช้อย และศิริกัญญา แก่นทอง.(2558)การพฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น เร่ือง ทักษะการคิดของนักศึกษาในรายวชิ าทักษะการคดิ (Thinking Skills) รหัสวชิ า 11-024-112 ประจำภาคเรียนที่ 1ปีการศึกษา 2558 ด้วยการเรียนรูแ้ บบมสี ่วนร่วม (Active Learning) เดโช สวนานนท์. (2520, ตุลาคม) ลกั ษณะประจำชาตไิ ทย รัฏฐาภิรักษ.์ 19(4): 1-52 . พสิ มัย บา้ นใหม่. (2557). การพฒั นาทักษะกระบวนการทำงานโดยใชแ้ นวการจดั การเรียนรู้ที่เนน้ ทักษะ กระบวนการ 9 ขน้ั กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยสี ำหรับนกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6.ปริญญานิพนธ์ครศุ าสตรมหาบัณฑิต.สาขาวชิ าหลกั สูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. รสิตา รักสกลุ , สุวรรณา สมบญุ สุโข, และกอ้ งกาญจน์ วชิรพนัง. (2558). สัมฤทธผิ ลของการจดั การเรียน การสอนแบบบูรณาการ โดยใช้Active Learning ของนักศึกษาในรายวิชาการบรหิ ารจดั การยคุ ใหมแ่ ละภาวะผูน้ ำมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. การประชมุ วิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยรงั สติ ประจำปี๒๕๕๘ (RSU National Research Conference 2015) วัน ศกุ ร์ท่ี 24 เมษายน 2558 ณ หอ้ ง Auditorium ชนั้ 2 อาคาร Digital Multimedia Complex (ตกึ 15) มหาวทิ ยาลัยรงั สติ .

32 ภาพกิจกรรม แจ้งขอบข่ายการจัดกิจกรรม วางแผน และปฏิบัติตามแผนที่วางไว้

33 ภาพกิจกรรม เรียนรู้การปลูก ดูแล และเก็บหม่อนมัลเบอร์ร่ี

34 ภาพกิจกรรม ทัศนศึกษาวิถีชีวิตชุมชนริมน้ำจันทบูร และโบสถ์วัดโรมันคาทรอลิค จ. จันทบุรี

35 ภาพกิจกรรม ทัศนศึกษาวิถีชีวิตชุมชนริมน้ำจันทบูร และโบสถ์วัดโรมันคาทรอลิค จ. จันทบุรี

36 ภาพกิจกรรม ทัศนศึกษาวิถีชีวิตชุมชนริมน้ำจันทบูร และโบสถ์วัดโรมันคาทรอลิค จ. จันทบุรี

37 ภาพกิจกรรม ทัศนศึกษาวิถีชีวิตชุมชนริมน้ำจันทบูร และโบสถ์วัดโรมันคาทรอลิค จ. จันทบุรี

38

39


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook