Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น

เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น

Published by Ratchanon JubJub, 2021-03-15 14:51:35

Description: เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น

Keywords: เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น

Search

Read the Text Version

เครอื ข่ายคอมพิวเตอรเ์ บื้องตน้

คานา หนังสือเรยี นวชิ า เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์เบ้ืองต้น รหสั วชิ า 241 - 2003 จัดทาขึ้นตามหลักสูตร ประกาศนียบัตร วิชาชีพ พทุ ธศกั ราช 2543 ของสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือตอบสนอง วตั ถปุ ระสงค์ของหลักสูตร ในการผลิตกาลังคนระดับฝีมือท่ีมีสมรรถนะวิชาชีพ มีคุณธรรม จริยกรรม และ จรรยาบรรณวิชาชพี สามารถนาไปใชใ้ นการประกอบอาชีพได้ตรงตามความต้องการ ของตลาดแรงงานในลักษณะ ของผู้ปฏิบตั หิ รอื ผปู้ ระกอบอาชีพอสิ ระได้ ทง้ั นี้เนื้อหาและกจิ กรรมต่างๆ ล้วนมงุ่ สนับสนุนใหผ้ ู้สอนสามารถจัดการ เรียนการสอนทเ่ี น้นการปฏิบตั จิ รงิ ให้ผเู้ รียนมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ ในวิธกี ารและมีทักษะทางด้านวิชาชีพ สามารถ ปฏบิ ตั ิงานในบริบทต่างๆ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ รวมถงึ การประยุกต์ใช้ความรแู้ ละทักษะไปสบู่ รบิ ทใหม่ มีความ รับผิดชอบตอ่ ตนเองและผูอ้ นื่ มีเจตคตแิ ละ กิจนิสัยทเ่ี หมาะสมในการเปน็ สมาชกิ ของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic CorruTunity AEC) หนงั สอื เรียนวชิ า เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรเ์ บ้อื งต้น รหัสวิชา 2204-2003 เล่มนี้ ไดจ้ ดั ทาขน้ึ โดยผา่ นการวิเคราะหค์ วามสอดคล้องของเน้ือหาให้ตรงตามจดุ ประสงค์รายวชิ า สมรรถนะรายวิชา และ คาอธบิ ายรายวิชาทีก่ าหนดไวใ้ นหลกั สูตรแตล่ ะหนว่ ยการเรยี นรู้มีเนอ้ื หาสาระกิจกรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ ใบ ชว่ ยสอนและกิจกรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ เพอ่ื สรา้ งกระบวนการเรยี นรูแ้ ละฝึกทักษะทเ่ี หมาะสม โดยมงุ่ หวังใหผ้ เู้ รยี น ไดศ้ กึ ษาและเกดิ การเรียนรสู้ ูงสดุ สานกั พิมพ์ บริษทั พฒั นาคณุ ภาพวชิ าการ (พว.) จากัด หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ ว่า หนังสอื เรียนเล่มนี้ จะชว่ ยใหผ้ ้เู รียนมีความร้คู วามเข้าใจในเนือ้ หาสาระของวิชา สามารถพัฒนากระบวนการเรียนรู้และ ความคดิ รวมท้ังสามารถนาความรูแ้ ละสมรรถนะท่ีเกดิ ขน้ึ ไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้สมดงั เจตนารมณ์ ของ หลักสูตรและการปฏริ ปู การศกึ ษาอยา่ งครบถ้วนทกุ ประการ สานักพิมพ์ บรษิ ทั พฒั นาคณุ ภาพวชิ าการ (พว.) จากัด

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 สารบัญ พ้ืนฐานระบบเครือขา่ ย หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 2 1 ความรู้พื้นฐานเก่ียวกบั ระบบเครือขา่ ย อปุ กรณ์เครือข่าย 2. มาตรฐานการเชอ่ื มตอ่ ระบบเครือข่าย 3 หมายเลขไอพีแอดเดรส 1. การ์ดแลน 4 ประโยชน์ของระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ 2. โมเด็ม กิจกรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ 3. อปุ กรณ์รวมสายสัญญาณประเภทต่างๆ กิจกรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ 4. อปุ กรณ์ขยายสัญญาณ แบบทดสอบ 5. อุปกรณ์เช่ือมต่อเครือข่ายผา่ นสายไฟ 6. อปุ กรณ์รกั ษาความปลอดภัยเครอื ขา่ ย หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ กิ จกรรมส่ งเสริ มการเรี ยนร้ ู ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบทดสอบ 1. ประเภทของเครือข่ายคอมพวิ เตอรแ์ บง่ ตามลักษณะภมู ศิ าสตร์ 2. ประเภทของเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์แบง่ ตามลกั ษณะความเปน็ เจ้าของ 3. ประเภทของเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรแ์ บ่งตามลักษณะการทางาน กจิ กรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ กิจกรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ แบบทดสอบ

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 ตวั กลางการเช่ือมตอ่ เครือขา่ ยและโพรโทคอล รูปแบบการเช่ือมตอ่ เครือข่าย-โทโพโลยี 1. ตัวกลางการเช่อื มตอ่ 1.รปู แบบการเช่อื มต่อเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ 2. โพรโทคอล 2. โครงสร้างระบบเครือขา่ ย กจิ กรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ กจิ กรรมส่งเสรมิ การเรียนรู้ กจิ กรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ แบบทดสอบ กิจกรรมสง่ เสรมิ การเรียนรู้ แบบทดสอบ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 6 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 7 การเลือกใช้และตดิ ตงั้ ระบบปฏบิ ตั กิ าร การใช้โปรแกรมประยกุ ตแ์ ละโปรแกรม เครือข่าย ยทู ลิ ติ บี ้ า 1. ระบบปฏิบัติการเครือขา่ ย 1. การใช้โปรแกรมประยกุ ต์บนเครือข่าย 2. การเลอื กใชร้ ะบบปฏบิ ตั กิ ารเครอื ข่าย 2. การใชโ้ ปรแกรมยูทิลติ ้ีบนเครือขา่ ย 3. การตดิ ต้ังระบบปฏบิ ตั กิ ารเครือขา่ ย กิจกรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ กิจกรรมสง่ เสรมิ การเรียนรู้ กจิ กรรมส่งเสรมิ การเรยี นรู้ แบบทดสอบ แบบทดสอบ

1 พ้นื ฐานระบบเครอื ขา่ ย

ผงั สาระการเรียนรู้ ความร้พู ้ืนฐานเกยี่ วกบั ระบบเครือขา่ ย พื้นฐาน มาตรฐานการเช่อื มต่อระบบเครือข่าย ระบบเครือขา่ ย หมายเลขไอพแี อดเดรส ประโยชน์ของระบบเครือขา่ ย

1 ความรู้พนื้ ฐานเกี้ยวกบั ระบบเครือขา่ ย การสอื่ สารระหวา่ งมนษุ ยก์ บั อปุ กรณ์ส่อื สารตา่ งๆ ถือว่าเป็นสว่ นสาคัญต่อผลสาเร็จในการดาเนินกจิ กรรมทางธุรกิจในยคุ ปจั จบุ นั เป็นอย่างมาก รวมถงึ เทคโนโลยีด้านการสอื่ สารท่นี ับวันจะเข้ามามีบทบาทสาคญั ตอ่ การดารงชีวิตประจาวนั ของมนษุ ยใ์ นแถบทุกๆ ดา้ น ซ่งึ ตา่ งคนตา่ งสามารถสื่อสารถงึ กนั ไดต้ ลอดเวลาด้วยการผ่านระบบหน่งึ ทเี่ รยี กวา่ “ระบบเครอื ขา่ ย” คาว่า “เครือขา่ ย (Networks)” โดยสว่ นใหญ่มกั จนิ ตนาการถงึ อปุ กรณ์ตา่ งๆ จานวนหลายๆช้นิ เช่อื มโยงระหวา่ งกนั ผา่ นสายเคเบลิ และอุปกรณ์ท่ีเชอื่ มโยงเหล่านน้ั สามารถสอื่ สารและใช้ทรพั ยากรร่วมกันได้ภายในเครอื ข่าย แต่ดว้ ยปัจจบุ นั เทคโนโลยี เครือขา่ ยไดถ้ กู พฒั นาข้ึนอยา่ งรวดเร็ว จึงทาใหเ้ ครอื ข่ายสามารถเชอื่ มโยงกนั ได้ทงั้ แบบมสี าย โดยข้อมลู จะรับสง่ ผา่ นทางสายเคเบิล และแบบไร้สายที่ขอ้ มูลจะรับสง่ ผา่ นทางคลืน่ ความถวี่ ทิ ยุ รวมถึงการส่ือสารระหว่างเครอื ขา่ ยแบบมีสายและแบบไร้สายร่วมกัน ในความเป็นจรงิ เครอื ขา่ ยอาจไม่จาเปน็ ตอ้ งพง่ึ พาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เสมอไป ตวั อย่างเช่น เครือข่ายโทรศพั ท์ใน ยุคดง้ั เดมิ แต่ดว้ ยปัจจุบนั คอมพวิ เตอรไ์ ดถ้ อื เป็นอปุ กรณช์ ้นิ สาคญั ช้นิ หนึ่งที่สามารถนามาประยุกตใ์ ช้งานได้อย่างหลากหลาย ซง่ึ มิได้ ถกู จากดั เพอ่ื ใชง้ านทางวิทยาศาสตรอ์ ย่างเชน่ ในยุคกอ่ น จึงทาใหป้ จั จุบนั นยิ มนาคอมพวิ เตอรม์ าเชอ่ื มโยงกันเปน็ เครอื ขา่ ย ดงั นั้น “เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์” จงึ หมายถึงการนาเครอ่ื งคอมพิวเตอรม์ ากกว่าหนึ่งเคร่ืองข้นึ ไปมาเชือ่ มโยงเขา้ ดว้ ยกนั ซ่ึงการ เชือ่ มโยงจาเปน็ ตอ้ งผา่ นช่องทางการสื่อสาร และช่องทางการสือ่ สารยังสามารถเปน็ ได้ทง้ั แบบมสี ายและแบบไรส้ าย เช่น สายเคเบิล สายโทรศัพท์ สายไฟฟ้า คล่ืนวทิ ยุ หรือคลื่นอินฟราเรด รวมถงึ อุปกรณค์ อนเนก็ เตอร์ (Connectors) ที่ใช้สาหรับการเชอ่ื มตอ่ และ การ์ดเครือข่าย เปน็ ตน้

1.1องคป์ ระกอบของเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ การแลกเปล่ยี นข้อมลู หรือการโอนถ่ายข้อมลู (Transmission) หรือการสอ่ื สารข้อมลู (Data Communications) ภายใน เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ระหวา่ งต้นทางกับปลายทางโดยใช้อปุ กรณ์ทางอิเลก็ ทรอนิกสห์ รือเคร่ืองคอมพวิ เตอร์นนั้ มีองค์ประกอบดงั นี ้

1คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณท์ างอเิ ล็กทรอนิกส์ (electrinic device) ทมี่ นุษย์ใชเ้ ปน็ เครื่องมอื ชว่ ยในการจดั การกบั ข้อมูลที่อาจเป็นได้ ทัง้ ตัวเลข ตวั อักษร หรือ สญั ลกั ษณ์ท่ีใช้แทนความหมายในสง่ิ ต่าง ๆ โดยคุณสมบตั ิที่สาคญั ของคอมพวิ เตอร์คอื การท่ีสามารถกาหนดชุดคาส่ังล่วงหนา้ หรอื โปรแกรมได้ (programmable) นน่ั คือคอมพวิ เตอรส์ ามารถทางานได้หลากหลายรูปแบบ ขน้ึ อยกู่ บั ชุดคาส่ังที่เลอื กมาใชง้ าน ทาให้สามารถนาคอมพิวเตอรไ์ ป ประยกุ ตใ์ ช้งานไดอ้ ย่างกว้างขวาง เช่น ใชใ้ นการตรวจคลื่นความถ่ขี องหัวใจ การฝาก - ถอนเงนิ ในธนาคาร การตรวจสอบสภาพเครื่องยนต์ เปน็ ตน้ ข้อดขี องคอมพิวเตอร์ คอื เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทางานได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภาพ มีความถกู ต้อง และมคี วามรวดเรว็ 2 อปุ กรณ์เชอื่ มโยงเครือขา่ ย คือ อปุ กรณส์ าหรับเชือ่ มโยงเคร่อื งขา่ ยเขา้ ดว้ ยกัน เพื่อรับ- ส่งขอ้ มูลขา่ วสาร เช่น การด์ เครอื ข่าย ฮบั เราเตอร์ โมเดม็ เปน็ ต้น 3 ช่องทางการสอ่ื สาร คอื สือ่ กลางหรือเส้นทางแบบมสี ายและแบบไร้สาย เพอื่ ใช้เปน็ สอ่ื กลางในการในการรบั ส่งข้อมลู ระระหว่างผหู้ รบั และผู้ส่งข้อมูล เช่น สายคู่บิด เกลียว คลนื่ ไมโครเวฟ แสงอินฟราเรด เปน็ ต้น

2 ชนดิ ของสญั ญาณข้อมลู สญั ญาณแอนะล็อก (Analog Signal) เป็นสญั ญาณแบบต่อเนอ่ื ง มีลกั ษณะเปน็ คลื่นไซน์ (sine wave) โดยท่ีแต่ละคลื่นจะมีความถ่ีและความเข้มของสัญญาณที่ ตา่ งกนั เม่ือนาสญั ญาณขอ้ มลู เหลา่ นผ้ี ่านอุปกรณร์ บั สัญญาณและแปลงสัญญาณก็ จะได้ข้อมูลทต่ี ้องการ ตัวอย่างของการส่งขอ้ มลู ท่ีมีสญั ญาณแบบแอนะลอ็ ก คอื การ ส่งผา่ นระบบโทรศัพทเ์ คลื่อนท่ี สัญญาณแอนะล็อกเป็นสัญญาณท่มี ักเกิดขน้ึ ใน ธรรมชาตเิ ป็นสัญญาณท่มี ีความต่อเน่อื ง ไมไ่ ด้มกี ารเปลีย่ นแปลงอยา่ งรวดเร็ว สัญญาณแบบนี้ เชน่ เสยี งพูด เสยี งดนตรี เปน็ ตน้

สญั ญาณแบบดจิ ิทัล สญั ญาณดจิ ิทัล เป็นสัญญาณทางกายภาพท่เี ปน็ ตวั แทดบั ของคา่ ทแ่ี ยกจากกนั เชน่ กระแสบติ ท่ีไม่มี หลักเกณฑห์ รือสญั ญาณแอนะล็อกท่ถี ูกทาเป็นบติ สตรีม ถกู สมุ่ เลอื กและแปลงจากแอนะล็อกให้เป็นดจิ ทิ ลั สัญญาณดิจทิ ลั สามารถอ้างถึงอย่างใดอย่างหน่ึงต่อไปน้ี

3 ชอ่ งทางการสอ่ื สารผ่านสอ่ื กลาง จากลกั ษณะของสัญญาณขอ้ มูลทใ่ี ช้ในเครือข่าย ชอ่ งทางการส่ือสารผา่ นสือ่ กลาง ในระบบเครือขา่ ย แบ่งออกเป็น 2แบบ คือ บรอดแบนด์ ลกั ษณะสมบตั ิแบนดว์ ิดท์ที่กวา้ งของความถี่แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ บนสื่อกลางการส่งและความสามารถในการขนสง่ หลายสญั ญาณและหลายประเภท ของการจราจรไดพ้ รอ้ มๆกนั สอื่ กลางอาจเปน็ สายเคเบิลแกนรว่ ม (coax), ใยแก้วนาแสง สายเคเบลิ ตเี กรยี ว (twisted pair) หรือไรส้ าย ตรงกันขา้ มกบั baseband ทเี่ ป็นระบบการสื่อสารท่ขี ้อมลู ถูกสง่ ผา่ นไปในความถเ่ี ดยี ว. แบบเบสแบนด์ จะเปน็ การสื่อสารข้อมลู ท่ีสายสัญญาณหรือตัวกลางในการสง่ ผา่ นสัญญาณสามารถส่งได้เพียงหนึ่งสญั ญาณในเวลาขณะใดขณะหน่งึ เท่านั้น นน่ั คอื อุปกรณ์ทใี่ ช้งานสายสัญญาณในขณะน้นั จะครอบครองชอ่ งสัญญาณท้งั หมดโดยอุปกรณอ์ ืน่ จะไม่สามารถร่วมใชง้ านได้เลย ตวั อย่างทเี่ หน็ ไดช้ ดั คือ ระบบโทรศัพทเ์ ป็นตน้ ซงึ่ การส่ือสารระหวา่ งคอมพิวเตอรส์ ่วนมากจะเปน็ การสือ่ สารแบบ Baseband (เบสแบนด์) รวมทั้งการ สื่อสารระหวา่ งคอมพวิ เตอรก์ ับอุปกรณอ์ ่ืน ๆ เชน่ เคร่อื งพิมพ์ จอภาพ การส่อื สารผ่าน modems (โมเด็ม) และการสอื่ สารผา่ นเครอื ขา่ ยหลักๆ ด้วย ยกเวน้ เครอื ขา่ ยแบบ B-ISDN (บี-ไอเอสดีเอ็น) ที่เป็นแบบ Broadband (บรอด์แบนด์)

2 มาตรฐานการเช่ือมต่อระบบเครือข่าย หน่วยงานกาหนดมาตรฐาน เป็นหนว่ ยงานท่ีกิต่ ้งั ขนึ้ จากแนวคิดทตี่ อ้ งการให้ผู้บริโภคสามารถเลือกซือ้ ผลติ ภณั ฑ์เครือขา่ ยทม่ี า จากบริษัทผู้ผลิตต่างๆมาใช้งานร่วมกันได้ โดยปกติแล้วผลิตภัณฑห์ รืออปุ กรณ์เครอื ข่ายทว่ั ไปสามารถผลิตขน้ึ โดยบริษัทผ้ผู ลติ มากมาย และหากผผู้ ลติ ไดพ้ ัฒนาผลิตภัณฑเ์ ป็นไปตามขอ้ กาหนดเกณฑ์มาตรฐานแลว้ เม่อื ผ้บู ริโภคซ้ือผลิตภณั ฑต์ า่ งยห่ี อ้ แลว้ กส็ ามารถามาใชง้ านรว่ มกันได้ เน่ืองจากอุปกรณ์เหล่านน้ั ไดผ้ ลติ ตามมาตรฐานสากลนนั่ เอง อย่างไรกต็ าม หน่วยงานกาหนด มาตรฐานความจรงิ มอี ยมู่ ากมาย แต่สาหรับในทนี่ ี้ขอกล่าวถงึ หน่วยงานสาคญั ๆ ซงึ่ ประกอบดว้ ยหน่วยงาน ISO, ANSI และ IEEE

มาตรฐาน OSI OSI Reference Model เปน็ การกาหนดชุดของคุณลักษณะเฉพาะที่ใชอ้ ธิบายโครงสรา้ งของระบบเครอื ข่าย โดยมีวัตถปุ ระสงค์ เพ่อื ให้ ผูผ้ ลิตฮารด์ แวรห์ รือซอฟต์แวร์ใดๆ ใช้เป็นโครงสร้างอา้ งองิ ในการสรา้ งอปุ กรณ์ให้สามารถทางานรว่ มกันไดอ้ ย่างดีบนระบบเครอื ข่าย โดยมี การจัดแบง่ เลเยอรข์ อง OSI ออกเปน็ 7 เลเยอร์ แตล่ ะเลเยอรจ์ ะมีการโตต้ อบหรอื รบั สง่ ข้อมลู กบั เลเยอรท์ อ่ี ยูข่ ้างเคยี งเท่าน้นั โดยเลเยอร์ ท่ีอยู่ชั้นลา่ งจะกาหนดลกั ษณะของอินเตอรเ์ ฟซ เพ่ือให้บริการกับเลเยอรท์ อ่ี ยูเ่ หนอื ขึน้ ไปตามลาดบั ขั้น เริ่มตง้ั แต่สว่ นลา่ งสดุ ซง่ึ เปน็ การ จัดการลักษณะทางกายภาพของฮาร์ดแวร์และการส่งกระแสของขอ้ มลู ในระดบั บติ ไปสิ้นสุดทแ่ี อพพลิเคชน่ั เลเยอรใ์ นส่วนบนสุด

3หมายเลขไอพีแอดเดรส P Address ( internet Protocal Address ) คือ หมายเลขประจาเครือ่ งคอมพวิ เตอรแ์ ตล่ ะเครอ่ื งในระบบเครือข่ายทใี่ ช้โปรโตคอลแบบ TCP/IP สามารถบอกไดว้ ่าเครอ่ื งคอมพิวเตอรต์ ้ังอยทู่ ีไ่ หน ซึง่ สามารถระบุได้ผา่ น ip address และแนน่ อนแต่ละ ip จะไมซ่ ้ากัน เหมือนเลขที่บา้ นท่ีไม่ซา้ กัน เพราะถ้าซา้ การสง่ ข้อมลู ผา่ นเครือขา่ ยก็อาจจะงงไดว้ ่าต้องสง่ ข้อมูลไปทไ่ี หนกนั แน่ ซง่ึ ip address จะประกอบไป ดว้ ยตวั เลข 4 ชดุ โดยในปัจจุบันมาตรฐานของ ip address คอื IPv4 และ IPv6 โดย IPv4 จะเปน็ เลข 32 บติ และ IPv6 เปน็ เลข 128 บิต .

4ประโยชนข์ องระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ ระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอรม์ รการทางานร่วมกันเป็นกล่มู สามารรถ ประยกุ ตใ์ ชง้ านไดอ้ ยา่ งกว้างขวางโดยประโยชนท์ ไี่ ด้รบั จากระบบ เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ มีดงั น้ี การใช้ทรัพยากรร่วมกัน การเชอ่ื มตอ่ คอมพิวเตอร์ในเครือขา่ ยเพือ่ การใช้งานทรพั ยากรคอมพิวเตอร์ร่วมกันแบ่งออก เป็น2ประเภทคือ 1การใช้อปุ กรณ์ร่วมกัน เครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ ทาให้ผู้ใชส้ ามารถใช้โปรแกรม และขอ้ มูลรว่ มกนั ได้ โดยจดั เก็บโปรแกรมไว้แหล่งเกบ็ ขอ้ มูล ท่ีเปน็ ศนู ย์กลาง เช่น ที่ ฮารด์ ดิสกข์ องเคร่ือง File Server ผ้ใู ชส้ ามารถใช้โปรแกรมร่วมกนั ได้จากแหล่งเดยี วกัน ไมต่ ้องเก็บโปรแกรมไวใ้ นแตล่ ะเครื่อง ให้ซ้าซอ้ นกนั

2 การใช้โปรแกรมและข้อมลู ร่วมกัน เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ ทาใหผ้ ้ใู ชส้ ามารถใชโ้ ปรแกรม และข้อมูลร่วมกันได้ โดยจดั เกบ็ โปรแกรมไวแ้ หลง่ เก็บข้อมูล ทเี่ ปน็ ศูนยก์ ลาง เช่น ที่ฮาร์ดดสิ กข์ องเครื่อง File Server ผ้ใู ชส้ ามารถใชโ้ ปรแกรมร่วมกัน ไดจ้ ากแหลง่ เดียวกัน ไม่ต้องเกบ็ โปรแกรมไว้ในแตล่ ะเครื่อง ใหซ้ า้ ซ้อนกนั นอกจากนน้ั ยังสามารถรวบรวม ขอ้ มลู ต่าง ๆ จดั เกบ็ เป็นฐานขอ้ มลู ผ้ใู ชส้ ามารถใชส้ ารสนเทศ จากฐานขอ้ มูลกลาง ผา่ นระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร ท์ ใ่ี ชง้ านได้อย่างสะดวกสบาย โดยไมต่ อ้ งเดนิ ทางไปสาเนาข้อมลู ดว้ ยตนเอง เพราะใชก้ ารเรยี กใช้ ขอ้ มลู ผ่านระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอรน์ ั่นเอง เคร่อื งลกู (Client) สามารถเขา้ มาใช้ โปรแกรม ขอ้ มูล ร่วมกนั ไดจ้ ากเครือ่ งแม่ (Server) หรอื ระหวา่ งเคร่ืองลกู กับเคร่อื งลูกกไ็ ด้ เป็นการประหยดั เนื้อทีใ่ นการจัดเก็บโปรแกรม ไมจ่ าเปน็ ว่าทุกเครอ่ื งตอ้ งมีโปรแกรม เดยี วกนั นใ้ี นเครือ่ งของตนเอง

ลดตน้ ทนุ ด้านงบประมาณรายจา่ ย เม่อื เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์สามารถใช้ทรพั ยากรร่วมกนั ได้ ย่อมส่งผลตอ่ การลดคา่ ใชจ้ ่ายด้านงบประมาณลง ตวั อยา่ งเชน่ กรณมี ี คอมพิวเตอร์แบบใช้งานคนเดียว (Stand Alone) หลายๆเครื่อง และเมอ่ื ผู้ใชง้ านแตล่ ะเคร่อื งมีความต้องการใชง้ านเคร่อื งพมิ พพ์ ร้อม กนั ทาใหเ้ คร่ืองพมิ พไ์ มเ่ พียงพอตอ่ การใช้งาน จึงตอ้ งจดั ซอ้ื เครือ่ งพมิ พใ์ หมเ่ พิม่ เติม แต่ด้วยเทคโนโลยเี ครอื ข่ายท่ีสามารถใช้ ทรพั ยากรร่วมกันได้ เครอ่ื งพมิ พ์เพียงเคร่อื งเดยี วก็สามารถบริการงานพิมพ์ใหแ้ ก่เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ตา่ งๆภายในเครือ่ ข่ายได้ ส่งผล ตอ่ การประหยดั ตน้ ทุนอปุ กรณ์ ในขณะทีโ่ ปรแกรมประยุกต์บางโปรแกรมทสี่ ามารถตดิ ต้ังลงในเคร่อื งเซิรฟ์ เวอรเ์ พยี งเคร่ืองเดียวและ แชรก์ ารใชง้ านไปยังเครือ่ งลกู ข่าย กจ็ ะทาใหล้ ดตน้ ทนุ ด้านซอฟตแ์ วรล์ งไดม้ าก แทนทจี่ ะตอ้ งซอ้ื ลขิ สทิ ธิซ์ อฟต์แวร์เทา่ กบั จานวน เครือ่ งท่ใี ช้งานอยู่ เป็นต้น

แบบทดสอบ 1 ขอ้ ไดไมใ่ ช่องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล 1 ผ้รู บั -ส่ง 2 ข้อมูล 3 สายสัญญาณ 4 โพรโทคอล 5 โปรแกรมรบั ส่งขอ้ มูล 2 คอมพวิ เตอรจ์ ัดเปน็ องค์ประกอบไดของการสื่อสารขอ้ มลู 1 ผู้รบั -สง่ 2 ขอ้ มลู 3 สายสัญญาณ 4 โพรโทคอล 3 ลักษณะของสญั ญาณข้อมลู ประเภทใด เปน็ สัญญาณทค่ี อมพิวเตอร์ใชใ้ นการประมวลผล 1 แบบอนาลอ็ ก 2 แยยดจิ ทิ ัล 3 แบบบรอดแบนด์ 4 แบบเบสแบนด์ 5 แบบใดกไ็ ด้ 4การกระจายเสียงของสถานีวิทยุ เป็นการสง่ สัญญาณแบบใด 1 Sim Duplex 2 Simplex 3 Half Duplex 4 Full Duplex 5 Fullplex 5วทิ ยุสอื่ สารหรือวทิ ยมุ ือถอื จดั เป็นการสง่ สญั ญาณแบบใด 1 Sim Duplex 2 Simplex 3 Half Duplex 4 Full Duplex 5 Fullplex

6 ขอ้ ใดเป็นสอื่ สารแบบ Full Dupiex 1 หนใู ดเปดิ ฟงั เพลงจากวทิ ยุชมุ ชนอยา่ งเพลิดเพลนิ 2 หนูพอใจแชตกับเพอ่ื นด้วยโทรศพั ท์มอื ถอื 3 หนอู ้อื เฟอื้ สง่ จดหมายทางไปรษณยี ์ไปหาเพอ่ื นรกั ด้วยความคิดถงึ 4 หนูชอ่ื ตรงดโู ทรทัศน์อยา่ งสบายใจ 5 หนูยนิ ดคี ยุ โทรศพั ท์กบั คุณแมอ่ ยา่ งมคี วาม 7 องคก์ รใดทกี่ าหมดมาตาฐานสาหรบั การตดิ ต้งั ตอ่ สอ่ื สารในระบบเครือขา่ ยระหวา่ งคอมพิวเตอร์เพอื่ อนญุ าตใหร้ ะบบทม่ี ี สถาปตั ยกรรมตา่ งกันสามารถสื่อสารกนั โดยปราศจากขอ้ กากดั 1 LEEE 2 LETF 3 ISO 4 OSI 5ANSI 8 จานวนชน้ั การสือ่ การสอ่ื สารของมาฐาน osi มีจานวนทั้งหมดกี่ชนั้ 1 4 ช้ัน 2 5 ชัน้ 3 6ช้ัน 4 7 ช้นั 5 8 ช้นั 9 จานวนชน้ั การสือ่ สารของมาตรฐาน TCP/IP มีจานวนท้งั หมดก่ีช้นั 1 4 ชั้น 2 5 ชนั้ 3 6ชัน้ 4 7 ช้ัน 5 8 ชั้น 10 ในมาตรฐานของ TCP/IP ชนั้ มาตาฐานใดที่รวมชน้ั การสอื่ สาร presentataion layer กบั session layer เข้าไว้ดว้ ยกัน 1 Application layer 2 transport layer 3 lnternet layer 4data lina link layer 5 phusiocal layer

2 อุปกรณเ์ ครอื ขา่ ย

ผงั สาระการเรยี นรู้ การ์ดแลน โมเด็ม อปุ กรณ์ อปุ กรณ์รวมสายสญั ญาณประเภทต่างๆ เครือข่าย อปุ กรณ์ขยายสญั ญาณ อปุ กรณ์เช่ือมต่อเครือข่ายผ่านสายไฟ อปุ กณ์รักษาความปลอดภยั เครือข่าย

1 การ์ดแลน เปน็ อปุ กรณ์ทีใ่ ช้สาหรับรับส่งขอ้ มูลจากเครอ่ื งคอมพวิ เตอรเ์ ครือ่ งหนงึ่ ไปยงั อกี เครอ่ื งหนง่ึ หรอื ไปยังอปุ กรณ์อืน่ ๆ ในระบบเครอื ข่าย ดังนน้ั คอมพิวเตอร์ทกุ เคร่ืองกจ็ ะตอ้ งมกี ารด์ แลนเป็นส่วนประกอบสาคัญอกี อย่างหนึง่ และโดยเฉพาะการเชื่อมต่ออินเตอรเ์ น็ต ADSL ตามบ้าน มักจะใชก้ าร์ดแลนเปน็ ตวั เช่อื เมต่ออกี ดว้ ย การใช้การ์ดแลน จะใชค้ วบคู่กบั สายแลนประเภท UTP หรือสายทีห่ ลายๆ คนอาจ เคยไดย้ นิ คอื สาย CAT5, CAT5e, CAT6 เปน็ ต้น

2โมเด็ม เปน็ อุปกรณ์ที่ทาหนา้ ทีก่ ล้าสัญญาณหรอื ปรับเปล่ียนลกั ษณะสมบตั อิ ย่างใดอยา่ งหน่ึงหรือหลายๆอยา่ งของรูปสัญญาณคล่นื พาห์ (สญั ญาณทเี่ ป็นตัวขนสง่ ความถี่สูง)ดว้ ยสัญญาณข้อมูลที่จะถูกส่งผ่าน เช่น กระแสบติ ดจิ ติ อล(องั กฤษ: digital bit stream)หรือ สัญญาณเสยี งอนาลอ็ ก การกล้าสัญญาณรูปคล่ืนไซนจ์ ะแปลงสญั ญาณข้อความ baseband เปน็ สญั ญาณ passband และแปลง กลับในทิศทางตรงข้าม จดุ ประสงค์ของโมเด็มคือการสร้างสญั ญาณท่ีงา่ ยตอ่ การส่งข้อมูล และง่ายต่อการประมวลผล

3 อุปกรณร์ วมสายสญั ญาณประเภทต่างๆ ฮับเปน็ อุปกรณ์ทีใ่ ชส้ าหรับเชื่อมโยงสัญญาณของอุปกรณเ์ ครอื ข่ายเข้าดว้ ยกัน การจะทาให้คอมพวิ เตอร์แต่ละเครื่องคอมพวิ เตอร์ ร้จู กั กนั หรือสง่ ข้อมลู ถึงกันได้จะตอ้ งผ่านอุปกรณต์ ัวนี้ ปจั จุบนั ฮบั ถกู เปรยี บเทียบกบั Switch ซึ่งมคี วามสามารถสงู กว่า และถือไดว้ า่ เปน็ อุปกรณ์มาตราฐานทใ่ี ชส้ าหรับเชอื่ มโยงสญั ญาณในระบบเครอื ข่าย เรียกวา่ ฮับตก กระป๋อง โดยทัว่ ไปจะมีลกั ษณเหมือนกล่องสเี หลยี่ มแต่แบน มีความสงู ประมาณ 1-3 นวิ้ แล้วแต่รนุ่ มชี ่องเล็กๆ เอาไว้เสยี บสาย แลนแต่ละเสน้ ทีล่ ากโยงมาจากคอมพวิ เตอร์ มีหลายรนุ่ เช่น Hub 4 Ports, 8 Ports, 16 Ports, 24 Ports หรอื 48 Ports เปน็ ต้น หน้าตารปู รา่ งของฮับจะเหมือนกัน Switch ดงั นนั้ การเลอื กซอื ตอ้ งระวงั ให้ดี

4 อุปกรณ์ขยายสญั ญาณ ตวั ขยายสัญญาณ หรอื วงจรขยายสญั ญาณ (อังกฤษ: Electronic Amplifier or Amplifier) หรือเรยี กสั้นๆวา่ Amp เป็นอปุ กรณ์ หรือวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ท่ีชว่ ยเพิ่มขนาดหรอื กาลังของสญั ญาณ โดยการใชพ้ ลงั งานจากแหลง่ จ่ายไฟและการควบคมุ สญั ญาณเอาตพ์ ทุ ใหม้ ีรูปร่างเหมอื นสญั ญาณอินพุท แตม่ ีขนาดใหญก่ ว่า ในความหมายน้ี ตัวขยายสัญญาณทาการกลา้ สัญญาณ

5 อปุ กรณ์เชือ่ มต่อเครือข่ายผ่านสายไฟ หรือเรียกวา่ AC Network (Alternating Current ทห่ี มายถึงกระแสไฟฟ้าภายในบ้าน) คือการนาสายไฟฟา้ ทใ่ี ช้ เสียบอปุ กรณ์เครื่องใช้ไฟฟา้ ภายในบ้านมาใช้ในการรับสง่ ข้อมลู เพราะสายไฟฟ้าพวกนกี ้ ระจายอย่ตู ามจดุ ตา่ งๆทว่ั บ้านอย่แู ล้ว โดยวิธีใช้งานก็คอื การซอื ้ อปุ กรณ์พิเศษท่เี สยี บเข้าปลกั๊ ไฟโดยตรงโดยอปุ กรณ์เหลา่ นตี ้ ้องมชี ่องปลก๊ั ไฟให้เสียบอปุ กรณ์ไฟฟ้า ตา่ งๆได้เพื่อท่ีจะไม่ไปเบียดเบียนปลกั๊ ไฟเดมิ ทม่ี ีอยู่ และมสี ายทีส่ ามารถเช่อื มตอ่ กบั อปุ กรณ์คอมพิวเตอร์โดยตรง วิธีนเี ้ป็น ความคิดทด่ี มี ากเนื่องจากบ้าน ทกุ หลงั แทบจะมกี ารเดนิ สายไฟกนั ไปทว่ั บ้านอย่แู ล้ว เพยี งแต่เชื่อมตอ่ เครื่องคอมพิวเตอร์เข้า กบั อปุ กรณ์พเิ ศษ ซ่งึ ต้องถกู เสียบเข้ากับปลก๊ั ไฟไว้เสมออย่แู ล้วในขณะทใ่ี ช้งานอยู่ สาหรับวิธีการเชอ่ื มตอ่ เข้ากับอปุ กรณ์พิเศษ นมี ้ ีตงั้ แตก่ ารเชือ่ มต่อผ่านพอร์ตขนาน (พอร์ต USB) หรืออาจจะเป็นการ์ดที่ใช้เสยี บในเครื่องโดยเฉพาะ เพียงเท่านกี ้ ็สามารถ รับสง่ ข้อมลู กนั ได้แล้ว

6 อปุ กณ์รกั ษาความปลอดภัยเครือขา่ ย ไฟร์วอลล์ คอื สว่ นประกอบอนั หน่งึ ของเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ ซงึ่ อาจเป็นไดท้ ั้งฮารด์ แวร์ หรือซอฟตแ์ วร์ที่ทาหน้าที่ในการควบคมุ การเข้าออกของเครือข่าย โดยจะบล็อคการเชือ่ มตอ่ ที่ ไม่อนญุ าตและปล่อยใหก้ ารเชือ่ มตอ่ ท่ไี ดร้ ับอนญุ าตสามารถทางานได้ ซงึ่ จะทาใหผ้ ู้ใช้ภายใน ระบบเครือขา่ ยสามารถตดิ ตอ่ ไปยงั เครือข่ายภายนอก(อย่างเช่นอนิ เทอร์เน็ต)ได้ และในขณะ เดยี วกันก็สามารถป้องกนั ไมใ่ หผ้ บู้ ุกรุกสามารถเขา้ มายงั ระบบเครือข่ายของเราได้ แต่อยา่ งไร กต็ าม หากเซิรฟ์ เวอรม์ จี ุดอ่อนหรอื ชอ่ งโหว่ ไฟร์วอลล์จะไมส่ ามารถปอ้ งกันการบกุ รกุ ไดห้ ากผู้ บกุ รกุ ใช้ชอ่ งทางเดยี วกนั กบั การเข้ามาดหู รอื ใชง้ าน เซริ ์ฟเวอร์ ซ่ึงนน้ั หมายความว่านอกจาก จะใช้ ไฟรว์ อลล์แลว้ การอุดชอ่ งโหวข่ องเซริ ์ฟเวอร์กเ็ ป็นส่งิ สาคญั เชน่ เดยี วกนั การทางานของไฟร์วอลล์จะข้นึ อยกู่ บั กฎหรอื นโยบายวา่ จะบล็อคหรอื อนญุ าตการเช่อื มต่อแบบ ใดบ้าง หลกั การทางานของไฟล์วอลล์อยทู่ ก่ี ารอนุญาต (Allow) และการปฏเิ สธ (Deny) การ เชอ่ื มต่อ

แบบทดสอบ 1 ข้อใดต่อไปนี้ บอกหน้าท่ีการทางานของการด์ แลนได้ถกู ตอ้ งทส่ี ุด 1 ทาหนา้ ที่แปลงสญั ญาณข้อมูลระหว่างอนาล็อกกบั ดจิ ิทลั 2 ทาหน้าทค่ี า้ หาเส้นทางในการสง่ ข้อมลู ทีด่ ีและสั้นท่ีสดุ 3 ทาหนา้ ทเี่ ชยี่ มต่อคอมพวิ เตอร์เข้ากบั ระบบเครือขา่ ย 4 ทาหน้าที่ป้องกนั กับภยั คกุ คามอันตรายจากภายนอกเครือข่าย 5 ทาหน้าที่ส่งข้อมลู จากเครอื่ งหน่งึ ไปยังอีกเคร่อื งหน่งึ 2 ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ี บอกหน้าทกี่ ารทางานของฮับได้ถูกต้องที่สดุ 1 ทาหนา้ ทีร่ วมสายสญั ญาณ โดยการรบั -ส่งขอ้ มูลนนั้ ทาไดท้ ีละเครื่อง 2 ทาหนา้ ทร่ี วมสายสญั ญาณโดยการรบั -สง่ ข้อมลู ไดพ้ รอ้ มกนั 3 ทาหน้าท่ีรวมสายสญั ญาณ โดยสามารถรับ-สง่ ข้อมลู พรอ้ มกนั 4 ทาหน้าท่รี วมสายสัญญาณ โดยสามารถรับ-สง่ ขอ้ มลู พร้อมกนั และการพ่วงต่อระหว่างฮบั 5 ทาหนา้ ทีร่ วมสายสญั ญาณ โดยสามารถรับ-ส่งข้อมลู พรอ้ มกัน แตไ่ ม่สามารถพว่ งตอ่ ระหวา่ งฮับได้ 3 อปุ กรณใ์ ดท่ีสามารถตรวจสอบขอ้ มลู ก่อนสง่ ไดว้ ่าผรู้ ับขอ้ มูลอยทู่ ่ไี ดและช่วยลดการคับคร่งั ของข้อมลู บนเคร่อื ง 1 ฮับ 2 บริดจ์ 3 รีพีตเตอร์ 4 เกตเวย์ 5 สวิตช์ 4 อุปกรณ์ใดทห่ี น้าทใ่ี นการชว่ ยปอ้ งกนั อนั ตรายจากผู้ไม่หวงั ดีจากภาคนอกเครือข่าย 1 1 ฮับ 2 บรดิ จ์ 3 รพี ตี เตอร์ 4 เกตเวย์ 5 สวิตช์ 5 อปุ กรณ์ใดที่ทาหนา้ ท่เี ชือ่ มเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ 2 1 เราเตอร์ 2 เกตเวย์ 3บรดิ จ์ 4รีพตี เตอร์ 5 เพาเวอร์ไลน์ 6อุปกรณ์ใดทใ่ี ชใ้ นการเช่ือมโยงเครอ่ื งลกู ขา่ ย ให้สามารถตดิ ตอ่ สื่อสารกบั เครอื่ งขา่ ยไรส้ ายได้ 1 เราเตอร์ 2 เกตเวย์ 3บริดจ์ 4รีพีตเตอร์ 5 เพาเวอร์ไลน์

7 อปุ กรณ์ชนดิ ใดทใ่ี ห้คอมพิวเตอรต์ า่ งประเภทสามารถเชื่อมโยงกันได้ 1 ฮบั 2 โมเดม็ 3 รพี ีตเตอร์ 4 เกตเวอร์ 5แอกเซสพอยต์ 8 หากตอ้ งการเช่ือมต่อเครอื ขา่ ยด้วยสายไฟฟา้ ของบ้านควรเลอื กใช้อปุ กรณ์ใด 1 เพาเวอรไ์ ลน์ 2 แอกเซลพอยต์ 4 โมเด็ม 5 เกตเวย์ 9 ในการส่งสญั ญาณข้อมลู ในระยะทางไกลๆ จะตอ้ งใชอ้ ุปกรณช์ นดิ ใดเพ่อื ทบทวนสญั ญาณขอ้ มลู 1 เราเตอร์ 2 เกตเวย์ 3บรดิ จ์ 4รีพีตเตอร์ 5 เพาเวอรไ์ ลน์ 10 ข้อใดไม่ใชช่ ่องทางการส่อื สารสาหรบั เชอื่ มโยงเครือขา่ ย 1 โมเด็บ 2 คลืน่ ไมโครเวฟ 3 สายโคแอดเชยี ล 4 สายคูบ่ ิดเกยี ว 5 สายใยแก้วนาแสง

3 ประเภทของระบบเครอื ข่าย คอมพวิ เตอร์

ผงั สาระการเรยี นรู้ ประเภทของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์แบ่งตาม ลกั ษณะ๓มศิ าสตร์ ประเภทของ ระบบเครอื ข่าย ประเภทของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์แบ่งตาม คอมพวิ เตอร์ ลกั ษณะความเป็นเจ้าของ ประเภทของเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์แบ่งตาม ลกั ษณะการทางาน

1 ประเภทของระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรแ์ บง่ ตามลกั ษณะภูมศิ าสตร์ เครอื ข่ายแลน หรือเครอื ขา่ ยทอ้ งถิน่ เป็นเครอื ขา่ ยขนาดเล็ก ใชก้ ันอยใู่ นบริเวณไมก่ ว้าง ซ่ึงเชอื่ มโยงคอมพวิ เตอร์และ อปุ กรณ์ส่ือสารท่ีอย่ใู นท้องทบี่ รเิ วณเดียวกันเข้าด้วยกนั เชน่ ภายในอาคาร หรอื ภายในองคก์ ารที่มรี ะยะทางไมไ่ กลมาก นัก เครือข่ายแลนจัดไดว้ ่าเป็นเครือขา่ ยเฉพาะขององค์การ การสรา้ งเครอื ข่ายแลนน้อี งคก์ ารสามารถดาเนินการทาเอง ได้ โดยวางสายสัญญาณสอื่ สารภายในอาคาร หรอื ภายในพน้ื ที่ของตนเอง เครือข่ายแลนมีตง้ั แต่เครอื ขา่ ยขนาดเล็กท่ี เชอื มโยงคอมพวิ เตอร์ต้งั แตส่ องเครื่องขน้ึ ไป ภายในห้องเดียวกัน จนถงึ เชอื่ มโยงระหวา่ งห้อง หรือองค์การขนาดใหญ่ เชน่ มหาวทิ ยาลัย มีการวางเครือข่ายท่ีเชอ่ื มโยงระหว่างอาคารภายในมหาวิทยาลัย เครอื ข่ายแลนจงึ เปน็ เครือขา่ ยท่ี รับผิดชอบโดยองคก์ ารท่ีเปน็ เจา้ ของ

เครือข่ายระดับเมือง เปน็ กล่มุ ของเครือขา่ ย LAN ทน่ี ามาเชอื่ มตอ่ กันเป็นวง ที่ใหญข่ น้ึ ภายในพืน้ ทใ่ี กลเ้ คียงกนั ซ่ึงออกแบบมาเพ่ือใชง้ านใหค้ รอบคลุมเมืองท้งั เมอื ง ซ่งึ อาจเปน็ เครือข่ายเดียวกนั เชน่ เครือขา่ ยเคเบลิ ทีวี หรืออาจเป็นการรวมเครอื ขา่ ยกนั ของเครือข่าย LAN หลาย ๆ เครือขา่ ยเข้า ดว้ ยกัน MAN ยอ่ มาจาก Metropolitan Area Network คอื เครือข่ายระดบั เมือง ซ่ึงเปน็ เครือขา่ ยทม่ี กั เชอ่ื มโยงกนั เฉพาะในเขตเมอื งเดียวกัน หรอื หลายเขตเมืองทีอ่ ยใู่ กล้กัน ระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตร ระบบเครอื ขา่ ย MAN เป็นกลุ่มของเครอื ขา่ ย LAN ทีน่ ามาเชื่อมต่อกนั เป็น วงทใ่ี หญข่ นึ้ ภายในพ้ืนทใ่ี กลเ้ คียงกนั ซงึ่ ออกแบบมาเพื่อใช้งานใหค้ รอบคลมุ เมอื งท้งั เมือง ซึง่ อาจเป็นเครอื ข่ายเดียวกัน เชน่ เครือข่ายเค้เบลิ ทีวี หรืออาจเปน็ การรวมเครอื ข่ายกนั ของเครือข่าย LAN หลาย ๆ เครือขา่ ยเขา้ ด้วยกัน ตวั อยา่ ง เชน่ ภายในมหาวิทยาลัยหรอื ในสถานศึกษาหน่ึงๆ จะมีระบบ MAN เพอ่ื เชอื่ มต่อระบบ LAN ของแตล่ ะคณะวิชาเขา้ ดว้ ยกันเปน็ เครือขา่ ยเดียวกนั ในวงกว้าง เทคโนโลยที ี่ใชใ้ นเครือขา่ ย MAN ไดแ้ ก่ ATM, FDDI และ SMDS ระบบเครือข่าย MAN ทจ่ี ะเกดิ ในอนาคตอัน ใกล้ คอื ระบบท่ีจะเชือ่ มต่อคอมพิวเตอร์ภายในเมืองเขา้ ดว้ ยกันโดยผา่ นเทคโนโลยี Wi-Max

เครอื ข่ายระดบั ประเทศ เปน็ เครอื ข่ายคอมพวิ เตอรท์ ีเ่ ช่ือมโยงระบบคอมพิวเตอรใ์ นระยะหา่ งไกล เปน็ เครือขา่ ยขนาดใหญ่ มีการติดตอ่ ตอ่ ส่ือสารกนั ในบรเิ วณ กวา้ ง เชน่ เชือ่ มโยงระหวา่ งจังหวดั ระหวา่ งประเทศ การสรา้ งเครอื ขา่ ยระยะไกลจึงตอ้ งอาศยั ระบบบรกิ ารข่ายสายสาธารณะ เชน่ การ สอ่ื สารแหง่ ประเทศไทย ใชว้ งจรสื่อสารผา่ นดาวเทียม ใช้วงจรสอื่ สารเฉพาะกจิ ท่ีมีให้ บริการแบบสาธารณะ เครอื ข่ายแวนจึงเป็น เครอื ข่ายทใี่ ชก้ ับองค์การที่มีสาขาห่างไกล และต้องการเช่ือมสาขา เหลา่ นนั้ เข้าด้วยกนั เช่น ธนาคาร มีสาขาท่วั ประเทศ มบี รกิ ารรับฝาก และถอนเงินผ่านตเู้ อทเี อม็

2ประเภทของเครอื ข่ายคอมพิวเตอรแ์ บง่ ตามลกั ษณะความเป็นเจา้ ของ เครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต เครือขา่ ยคอมพิวเตอรท์ ีเ่ ช่อื มตอ่ กัน เปน็ จานวนมากครอบคลมุ ไปท่ัวโลก โดยอาศยั โครงสร้างระบบสอ่ื สารโทรคมนาคม เปน็ ตวั กลางในการแลกเปล่ยี นข้อมลู มกี ารประยกุ ตใ์ ช้งานหลากหลายรูปแบบ อินเทอรเ์ น็ตเป็นทัง้ เครือข่ายของ คอมพิวเตอร์ และเครอื ขา่ ยของเครือข่าย เพราะอนิ เทอร์เน็ตประกอบด้วย เครอื ขา่ ยยอ่ ยเปน็ จานวนมากตอ่ เชอ่ื มเขา้ ด้วยกัน ภายใต้มาตรฐานเดียวกัน จนเป็นสังคมเครือขา่ ยขนาดใหญ่ อนิ เทอรเ์ น็ตเป็นเครอื ข่ายสาธารณะ ที่ไมม่ ผี ใู้ ดเป็น เจ้าของ ทาใหก้ ารเข้าสเู่ ครอื ข่ายเปน็ ไปได้อยา่ งเสรี ภายใต้กฎเกณฑบ์ างประการท่ีกาหนดขึ้น เพือ่ ไม่ให้เกดิ ความสบั สน และวนุ่ วายจากการเชอื่ มตอ่ จากเครือข่ายทว่ั โลก

เครือขา่ ยเอกซ์ทราเนต็ คอื ระบบเครอื ข่ายซ่งึ เชือ่ มเครือข่ายภายในองค์กร หรือ อนิ ทราเน็ต (intranet) เข้ากับระบบ คอมพิวเตอร์ท่อี ยภู่ ายนอกองคก์ ร เช่น ระบบคอมพวิ เตอร์ของสาขาของผจู้ ดั จาหนา่ ย หรือของลูกคา้ เปน็ ต้น โดยการเชื่อมต่อเครือข่ายอาจเปน็ ไดท้ ั้งการเช่ือมต่อโดยตรงระหว่างจุด หรอื การเชื่อมตอ่ แบบ เครือข่ายเสมอื น (virtual network) ระหว่างระบบอนิ ทราเนต็ หลายเครอื ขา่ ยผ่านอินเทอรเ์ นต็ ก็ได้ [1] ระบบเครือข่ายแบบเอกซท์ ราเนต็ โดยปกติแลว้ จะอนุญาตใหใ้ ช้งานเฉพาะสมาชกิ ขององคก์ ร หรอื ผู้ท่ี ได้รบั สทิ ธใิ นการใช้งานเท่านนั้ โดยผู้ใช้จากภายนอกทเี่ ชือ่ มตอ่ เขา้ มาผา่ นเครือขา่ ยเอกซท์ ราเน็ต อาจ แบง่ เปน็ ประเภท เช่น ผู้ดแู ลระบบ สมาชิก คู่คา้ หรือผูส้ นใจทว่ั ๆ ไป เปน็ ตน้ ซ่ึงผใู้ ช้แต่ละกลุ่มจะ ได้รบั สิทธใิ นการเข้าใช้งานเครือขา่ ยทแี่ ตกตา่ งกันไป

3 ประเภทของเครือขา่ ยคอมพิวเตอรแ์ บง่ ตามลกั ษณะการทางาน เม่ือพจิ ารณาแบง่ ตามลกั ษณะการทางานของระบบเครอื ข่าย สามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ 2 ประเภท ดังน้ี เครือขา่ ยแบบเพียร์ทู เพียร์ เครอื ขา่ ยประเภทน้ีจะไม่มเี คร่ืองเซริ ฟ์ เวอร์ และไม่มกี ารแบ่งชน้ั ความสาคญั ของคอมพิวเตอรท์ ่ีเชอื่ มต่อกันเข้ากบั เครือข่าย คอมพวิ เตอร์ทกุ เครอ่ื งจะมสี ิทธิเท่าเทียมกนั ในการจักการใช้เครอื ขา่ ย ซ่ึงเรียกว่า เพยี ร(์ Peer) นนั่ เอง คอมพวิ เตอรแ์ ตล่ ะเครือ่ งจะ ทาหน้าท่เี ปน็ ทง้ั ไคลเอนทแ์ ละเซิรฟ์ เวอรแ์ ล้วแต่การใช้งานของผู้ใช้ เครือขา่ ยประเภทน้ี ไม่จาเปน็ ต้องมีผูด้ ูแลและจัดการระบบ หนา้ ทีน่ ีจ้ ะกระจายไปยงั ผู้ใชแ้ ต่ละคน เน่ืองจากผใู้ ชค้ อมพวิ เตอร์แตล่ ะเคร่อื งจะเปน็ คนกาหนดวา่ ข้อมูลหรอื ทรัพยากรใดบา้ งของ เคร่ืองนัน้ ทตี่ อ้ งการแชร์กบั ผ้ใู ช้คนอ่นื ๆ

ข้อดขี องเครือข่ายแบบเพีนรท์ เู พยี ร์ 1 ไม่ต้องการระบบปฏบิ ัติการ (OS) สาหรบั เครอื ข่าย 2 ไม่จาเป็นต้องใช้ Server เพราะแต่ละเคร่อื งสามารถเข้าถงึ ข้อมลู ได้ 3 ไม่ต้องใชผ้ ู้เช่ยี วชาญเพราะผูใ้ ช้แตล่ ะคนสามารถไฟล์ท่ตี อ้ งการแบง่ ปนั ได้ดว้ ยตนเอง 4 การตั้งค่าไดง้ ่ายกว่า ระบบเครอื ขา่ ยแบบไคลเอนตเ์ ซริ ฟ์ เวอร์ (Client/Server Networks) และไม่จาเปน็ ตอ้ งมคี วามร้เู ฉพาะทาง ขอ้ เสียของเครอื ข่ายแบบเพนี ร์ทูเพยี ร์ 1 คอมพิวเตอร์อาจมีการเข้าถงึ โดยบคุ คลอืน่ ซึ่งอาจทาให้ประสทิ ธิภาพการใชง้ านลดลง 2 ไฟลแ์ ละโฟลเดอรไ์ มไ่ ด้มกี ารสารองข้อมูลจากส่วนกลาง 3 ไฟลแ์ ละทรพั ยากรทไ่ี ม่ได้อยู่ใน “พนื้ ทแี่ บง่ ปนั ”อาจจะยากตอ่ การเขา้ ถงึ หากผู้ใชม้ กี ารจัดเก็บที่ไม่เป็น ระบบ 4 เป็นความรบั ผดิ ชอบของผ้ใู ชแ้ ตล่ ะคนท่จี ะไม่ให้ไวรัสตดิ เข้ามาในระบบเครอื ข่าย

แบบทดสอบ 1) เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์หมายถึงขอ้ ใด ก. การรับส่งข้อมูลข่าวสารไดอ้ ยา่ งรวดเร็วของเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ ข. การนาอปุ กรณท์ ใี่ ชใ้ นการส่ือสารมาตอ่ กนั มากกว่า 2 เครอื่ งขน้ึ ไป ค. การติดต่อสือ่ สาร แลกเปลยี่ นข้อมูลระหวา่ งผใู้ ช้งานในระบบเครือข่าย ง. การนาเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ตัง้ แต่ 2 เคร่ือง ขึ้นไปเชือ่ มตอ่ ผ่านสื่อในการสอ่ื สารข้อมูล 2) ขอ้ ใดคอื ประโยชนข์ องเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ ก. ใช้ในการติดตอ่ ส่ือสารระหวา่ งบุคคล ข. ชว่ ยในการประมวลผลข้อมูลที่แมน่ ยา ค. ลดการใชท้ รัพยากรคอมพวิ เตอร์ที่สิน้ เปลอื ง ง. ถูกทุกข้อ 3) อปุ กรณข์ ้อใดทีไ่ ม่สามารถใช้รว่ มกนั ในเครือข่ายได้ ก. แปน้ พิมพ์ ข. ฮารด์ ดิสก์ ค. เครอ่ื งพิมพ์ ง. สแกนเนอร์ 4) นกั เรียนใช้ประโยชน์จากเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ในการติดต่อสือ่ สารอยา่ งไร ก. พิมพร์ ายงาน ข. นาเสนอผลงาน ค. สง่ จดหมายอเิ ล็กทรอนิกส์ ง. เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

5) เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ประเภทใดที่ทาหน้าทข่ี อบรกิ ารต่าง ๆ ไปยังเคร่ืองแมข่ า่ ย ก. เครอ่ื งฮบั ข. เคร่ืองแมข่ า่ ย ค. เครื่องไคลเอนต์ ง. เครอ่ื งเซริ ์ฟเวอร์ 6) เครื่องคอมพิวเตอร์ลักษณะใดทส่ี ามารถประมวลผลข้อมลู ได้โดยไม่ต้องรอรบั ผลจากเคร่ืองแมข่ า่ ย ก. เคร่ืองเทอร์มินลั ข. เคร่อื งไคลเอนต์ ค. เครอ่ื งเซิรฟ์ เวอร์ ง. เครอ่ื งเวริ ก์ สเตชัน 7) ข้อดขี องโครงสร้างเครอื ข่ายคอมพิวเตอรแ์ บบบัสคือข้อใด ก. สง่ ข้อมูลได้รวดเร็ว ข. ใชส้ ายส่งขอ้ มลู นอ้ ย ค. ไม่มีสญั ญาณรบกวน ง. สายสง่ ขอ้ มูลมขี นาดเลก็ 8) ขอ้ ใดจดั เปน็ ขอ้ เสียของโครงสรา้ งเครอื ขา่ ยแบบวงแหวน ก. ค่าใช้จา่ ยของสายเคเบลิ สงู ทาการตดิ ตัง้ ยาก ข. ถ้าฮับไม่ทางานคอมพวิ เตอร์ในเครอื ข่ายจะไม่ทางานด้วย ค. ถา้ คอมพวิ เตอร์เครื่องใดไม่ทางานจะส่งให้ปญั หาทง้ั ระบบ ง. ถ้าคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายมมี าก การตรวจสอบปญั หาจะทาได้ยาก 9) โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบใดทตี่ ้องใช้สายเคเบลิ ในการเช่ือมต่อมาก ก. แบบบัส ข. แบบดาว ค. แบบตาขา่ ย ง. แบบวงแหวน 10) โครงสรา้ งเครือข่ายคอมพวิ เตอรแ์ บบใดท่ีส่งข้อมลู ไดร้ วดเร็วและข้อมลู ไมช่ นกัน ก. แบบบัส ข. แบบดาว ค. แบบตาขา่ ย ง. แบบวงแหวน

4 ตวั กลางเช่ือมต่อเครอื ขา่ ยและ โพรโทคอล

ผงั สาระการเรียนรู้ ตวั กลางเชือ่ มต่อ โพรโทคอล ตวั กลางเชอ่ื มต่อ เครือข่ายและโพร โทคอล

1 ตัวกลางเชอ่ื มต่อ การสื่อสารทกุ ชนิดต้องอาศัยสอ่ื กลางในการสง่ ผา่ น ขอ้ มลู เพอ่ื นาข้อมูลไปยังจดุ หมายปลายทางเชน่ การคยุ โทรศัพทอ์ าศยั สายโทรศัพทเ์ ปน็ ส่ือกลางในการส่ง สญั ญาณคล่นื เสียงไปยงั ผูร้ บั เปน็ ตน้ สาหรบั การ ตดิ ต่อสอ่ื สารระหว่างคอมพวิ เตอรอ์ าจใชส้ ายเชือ่ มตอ่ ผา่ นอุปกรณ์เชื่อมต่อหรืออาจใชอ้ ุปกรณเ์ ชอ่ื มตอ่ แบบไร้ สายเป็นส่ือกลางในการเชอ่ื มต่อก็ได้ ส่ือกลางในการ สื่อสารมคี วามสาคญั เพราะเปน็ ปจั จัยหน่ึงทกี่ าหนด ประสิทธภิ าพในการสอ่ื สาร เช่น ความเร็วในการส่ง ข้อมูล ปรมิ าณของข้อมูลทส่ี ามารถนาไปได้ในหนึ่ง หนว่ ยเวลา รวมถึงคณุ ภาพของการส่งข้อมลู

1 แบบไม่มฉี นวนห้มุ สาย UTP เป็นสายท่พี บเห็นกันมาก มักจะใชเ้ ชื่อมโดยความพิวเตอร์ไปยังอุปกรณส์ ือ่ สารตาม มาตรฐานที่กาหนดสาหรบั สายประเภทน้ีจะมคี วามยาวของสายในการเช่อื มต่อไดไ้ ม่เกนิ 100 เมตร มหี ลายเสน้ ซง่ึ แต่ละเสน้ กจ็ ะมีสแี ตกต่างกันและตลอดท้งั สายนั้นจะถูกหมุ้ ดว้ ยพลาสตกิ (Plastic Cover) ปัจจุบนั เปน็ สายทไี่ ดร้ ับความนยิ มมากที่สุด เนอ่ื งจากราคาถูกและตดิ ต้ังได้งา่ ย

2 แบบมีฉนวนหุม้ เป็นสายค่บู ิดเกลียวทหี่ มุ้ ดว้ ยลวด ถกั ช้ันนอกทห่ี นาอีกช้นั เพ่อื ป้องกนั การรบกวนของคล่นื แม่เหล็กไฟฟา้

2 โพรโทคอล หรือศพั ท์บญั ญัตวิ า่ เกณฑว์ ิธี[1] คอื ขอ้ กาหนดซึง่ ประกอบด้วยกฎต่าง ๆ สาหรบั รปู แบบการสอื่ สาร เฉพาะรปู แบบใดรปู แบบหนึง่ เพอ่ื ใหก้ ารตดิ ตอ่ สอื่ สารในระบบเครอื ขา่ ย ทางานได้ดว้ ยกันทั้งระบบ คลา้ ยกับมนุษยส์ ามารถใช้ภาษาองั กฤษเป็นภาษากลางในการส่ือสารถงึ กนั ได้

แบบทดสอบ 1 ความต้องการของมนุษย์ สาหรับการติดต่อสื่อสารกันระหวา่ งคอมพิวเตอรห์ ลาย ๆ เคร่ือง ในเวลาเดยี วกัน เรยี กว่าอะไร ก. ระบบเครือขา่ ย ข. ระบบอนิ เทอร์เนต็ ค. ระบบการสือ่ สารข้อมลู ง. การสื่อสารไร้พรมแดน 2. การแลกเปลยี่ นข้อมลู ข่าวสาร ในรูปแบบของตัวอกั ษร ตวั เลข รูปภาพ เสียง วีดิทัศน์ โดยผ่านสอ่ื กลางในการสือ่ สาร หมายถึงขอ้ ใด ก. ระบบเครือขา่ ย ข. ระบบอินเทอร์เนต็ ค. ระบบการสือ่ สารข้อมูล ง. การส่ือสารไร้พรมแดน 3 การส่งขอ้ มลู ทลี ะหลายบิตพรอ้ มกนั จากอุปกรณส์ ง่ ไปยังอุปกรณร์ ับในระยะทางใกล้ ๆ เปน็ วิธกี ารถา่ ยโอนขอ้ มูลตามขอ้ ใด ก. แบบบัส ข. แบบวงแหวน ค. แบบอนุกรม ง. แบบขนาน 4. สายโทรศพั ทจ์ ัดอปุ กรณ์ทใ่ี ชเ้ ป็นส่ือกลางในการตดิ ต่อส่ือสารขอ้ มลู ประเภทมีสาย หมายถงึ ขอ้ ใด ก. สายสัญญาณดาวเทยี ม ข. สายใยนาแสง ค. สายโคแอกเชยี ล ง. สายคูบ่ ิดเกลียว 5. อุปกรณ์ท่ที าหน้าทีแ่ ปลงสญั ญาณอะนาล๊อกใหเ้ ป็นสญั ญาณดจิ ทิ ัล หมายถึงข้อใด ก. โมเดม็ (Modem) ข. ฮบั (Hub) ค. เรา้ เตอร์ (Router) ง. สวติ ซ์ (Switch)

6. ระบบเครือขา่ ยทใี่ หญท่ ี่สุด สามารถเช่ือมต่อกนั ได้ท่วั ทุกมุมโลก เป็นเครอื ขา่ ยชนิดใด ก. แลน (LAN) ข. แวน (WAN) ค. แมน (MAN) ง. วงแหวน (Ring) 7. ขอ้ ต่อไปน้ีเปน็ เวบ็ ไซด์ทนี่ ยิ มใชใ้ นการค้นหาข้อมลู มากทส่ี ุด ก. Google.com ข. Yahoo.com ค. Siamguru.com ง. Promma.com 8. ทุกขอ้ เปน็ ประโยชนข์ องการสื่อสารข้อมลู ยกเวน้ ขอ้ ใด ก. ประหยัดต้นทุน ข. ความเร็วของการทางาน ค. ความถกู ต้องของข้อมูล ง. ความหลากหลายของขอ้ มลู 9. องค์ประกอบหลักของการสื่อสารขอ้ มลู ก. ขา่ วสาร , ผู้สง่ , ผู้รับ , สอื่ กลาง , สายสญั ญาณ ข. ขา่ วสาร , ผู้สง่ , ผู้รับ , สายสญั ญาณ , โพรโทคอล ค. ขา่ วสาร , ผู้รับ , ผู้สง่ , ส่อื กลาง , โพรโทคอล ง. ข่าวสาร , ผ้รู ับ , ผสู้ ่ง , โพรโทคอล , อุปกรณ์เครือข่าย 10. การกระจายเสียงของสถานีวิทยเุ ป็นการสือ่ สารแบบใด ก. สื่อสารทางเดียว ข. ส่ือสารสองทางครง่ึ อตั รา ค. ส่อื สารสองทางเต็มอตั รา ง. สอ่ื สารสองทางครึ่งอตั รา

5 รปู แบบการเช่อื มต่อเครอื ขา่ ย โทโพโลยี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook