Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระดับภาษา

ระดับภาษา

Published by สลิลลา ละอองสุวรรณ, 2019-09-01 03:59:11

Description: ระดับภาษา

Search

Read the Text Version

ระดับภาษา

ระดบั ภาษา คอื รูปแบบการใชภ้ าษาทมี่ ี ความลดหลัน่ ของถอ้ ยคา โดยให้ เหมาะสมกบั ความสมั พันธร์ ะหวา่ ง บุคคล โอกาส และกาลเทศะ

ระดบั ของภาษาแบง่ ตาม การ ใชภ้ าษาตามสมั พนั ธภาพ ของบุคคล โอกาส และ กาลเทศะ แบ่งออกเป็ น ๕ ระดบั ภาษาระดบั พธิ กี าร ภาษาระดบั ทางการ ภาษาระดบั กงึ่ ทางการ ภาษาระดบั สนทนา ภาษาระดบั กนั เอง

๑. ภาษาระดบั พธิ กี าร  เป็ นภาษาทมี่ กี ารเลอื กสรรถอ้ ยคา ในระดบั สูง ไพเราะ สละสลวย  โอกาสทใี่ ชภ้ าษาระดบั นีจ้ ะเป็ น งานพธิ ที มี่ คี วามสาคญั  สมั พนั ธภาพระหวา่ งผูร้ บั สารกบั ผูส้ ง่ สารจะเป็ นในลกั ษณะการสอื่ สาร แบบทางเดยี ว  คากราบบงั คมทูลในงานพระราชพธิ ี พระบรมราโชวาท สุนทรพจน์ เป็ นตน้

ตวั อยา่ ง เนื่องในวโรกาสอนั เป็ นมหามงคล ทใี่ ตฝ้ ่ าละอองธุลพี ระบาทเจรญิ พระชนมพรรษาครบ ๖ รอบ ปวงประชาชาวไทยขอน้อมเกลา้ ฯ ถวายพระพรชยั ขอใหส้ งิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธอิ์ นั ทรงมหาพลานุภาพทงั้ หลาย จงโปรด อภบิ าลบนั ดาลดลใหใ้ ตฝ้ ่ าละอองธุลี พระบาทจงเจรญิ ดว้ ยมงิ่ มหาศุภสวสั ดิ์ เจรญิ พระชนมพรรษานบั หมนื่ ๆ ศตพรรษ สถติ เสถยี รเป็ นรม่ โพธทิ์ อง ของปวงประชาชาวไทย ตราบชว่ั กลั ปาวสาน (ภาวาส บนุ นาค . “ ราชาภสิ ดดุ ี ” ใน ภาษาพจิ ารณ์ เล่ม ๒, หน้า ๑๓๙.)

๒. ภาษาระดบั ทางการ  เรยี กอกี อยา่ งหนึ่งวา่ ภาษาแบบแผน หรอื ภาษาราชการ  เป็ นภาษาทมี่ กี ารเลอื กสรรถอ้ ยคา อย่างถูกตอ้ งตามแบบแผนของ ภาษาไทยทดี่ ี ใชถ้ อ้ ยคาสุภาพ อาจมกี ารใชศ้ พั ทท์ างวชิ าการปะปน อยู่ดว้ ย  เกดิ ขนึ้ เนื่องจากตาแหน่งหน้าที่ หรอื การตดิ ตอ่ ประสานงานทเี่ ป็ นทางกา เท่านน้ั เชน่ การเขยี นรายงานทาง วชิ าการ งานวจิ ยั ตารา หนงั สอื ราชการ เป็ นตน้

ตวั อย่าง วชิ ามนุษยศาสตร ์ คอื ความสานึก ในคุณคา่ ของความเป็ นมนุษย ์ และ จุดประสงคห์ ลกั ของศาสตรน์ ีก้ ค็ อื การแสวงหาความหมายและคุณคา่ ของประสบการณม์ นุษย ์ มนุษยศาสตร ์ ไมใ่ ชว้ ชิ าชพี เพราะไมอ่ าจนาไปใช้ สรา้ ง ผลติ หรอื ทาอะไร เฉพาะอย่างได้ และจุดมุ่งหมายทแี่ ทจ้ รงิ กม็ ไิ ดม้ ุง่ สรา้ ง ผูเ้ ชยี่ วชาญในแตล่ ะดา้ นแตเ่ พยี งอยา่ ง เดยี ว (กสุ ุมา รกั ษมณี , 2533:13)

๓. ภาษาระดบั กงึ่ ทางการ เป็ นภาษาทใี่ ชเ้ พอื่ การสอื่ สารใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจกนั ดว้ ยความรวดเรว็ ลดความเป็ นทางการลงบา้ ง เพอื่ ให้ เกดิ ความใกลช้ ดิ ยงิ่ ขนึ้ ระหวา่ งผูส้ ง่ สาร และผูร้ บั สาร มกั ใชใ้ นการปรกึ ษาหารอื กจิ ธุระระหวา่ ง บุคคลหรอื กลุ่มบุคคล การประชมุ กลุ่ม การปรกึ ษางาน การวางแผนรว่ มกนั ฯลฯ มกี ารเปิ ดโอกาสใหผ้ ูร้ บั สารมสี ว่ นรว่ ม แสดงความคดิ เห็นรว่ มกบั ผูส้ ง่ สาร เชน่ วารสาร นิตยสาร หนงั สอื พมิ พ ์ บทบรรยายในนวนิยาย

ตวั อยา่ ง “… หนงั เรอื่ งนีม้ โี ครงเรอื่ งหลกั อยู่ที่ การเปลยี่ นแปลงของภูมอิ ากาศโลกใน องคร์ วม อนั เป็ นผลพวงจากปฏกิ ิรยิ า เรอื นกระจก หรอื green house effect ซงึ่ เกดิ จากน้ามอื มนุษยโ์ ลกอย่างเรา ๆ ทง้ั นน้ั ไมว่ า่ จะเป็ นการเผาไหมเ้ ชอื้ เพลงิ ใหเ้ กดิ ความรอ้ นและควนั ลอยขนึ้ ไปเกดิ เป็ นชน้ั หอ่ หมุ้ โลกไว้ สง่ ผลใหร้ งั สคี วาม รอ้ นจากดวงอาทติ ยท์ สี่ อ่ งลงมายงั โลก สะทอ้ นกลบั ออกไปในหว้ งอวกาศไมไ่ ด้ โลกเลยกลายเป็ นเตาอบยกั ษท์ รี่ อ้ นขนึ้ เรอื่ ย ๆ…” (ชาธร สทิ ธเิ คหภาค, ๒๕๔๗: ๑๑๒)

๔. ภาษาระดบั สนทนา (ไม่เป็ นทางการ) เป็ นภาษาทใี่ ชใ้ นการสอื่ สารระหวา่ ง บุคคลทมี่ คี วามสมั พนั ธย์ งั ไมถ่ งึ ขนั้ สนิทสนม ใชเ้ ฉพาะการพูด การสนทนาใน ชวี ติ ประจาวนั เชน่ การพูดจากนั ระหวา่ งเจา้ หน้าทกี่ บั ประชาชนทมี่ า ตดิ ตอ่ งาน หรอื การแนะนาตวั ในงาน สงั คม โดยทบี่ ุคคลทเี่ กยี่ วขอ้ งไม่เคย รูจ้ กั กนั มากอ่ น มกั จะนาไปใชถ้ า่ ยทอดในงานเขยี น เรอื่ งบนั เทงิ คดี เชน่ บทสนทนาใน นวนิยายหรอื เรอื่ งสนั้ บทละคร การเขยี นบนั ทกึ สว่ นตวั เป็ นตน้

ตวั อยา่ ง บทความเรอื่ งเขาอโี ต้ สถานีความมนั เชงิ เขาใหญ่ ในคอลมั น์ BikeLine ความวา่ “... ความตงั้ ใจในการเดนิ ทางของผมครงั้ นีอ้ ยู่ที่ การหาเสน้ ทางซอกแซกไปทนี่ ้าตกเหวออี า่ ของอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาใหญแ่ ตค่ วามตง้ั ใจ มเิ ป็ นผลเมอื่ เจา้ หนา้ ทอี่ ทุ ยาน ฯ ทหี่ น่วย พทิ กั ษป์ ่ าคลองเพกาปฏเิ สธอย่างนิ่มนวลวา่ ไมส่ ามารถอนุญาตใหข้ นึ้ ไปป่ันจกั รยานได้ เนื่องจากยงั ไม่มนี โยบายใหป้ ่ันจกั รยานขนึ้ ไป เทยี่ วน้าตกเหวออี า่ ซงึ่ คงจะตอ้ งรอไปอกี พกั ใหญๆ่ เพราะอยู่ในชว่ งสารวจจดั ทาเสน้ ทาง โดยทางอทุ ยาน ฯ มแี นวคดิ ทจี่ ะเปิ ดให้ จกั รยานเสอื ภูเขาขนึ้ ไปอยู่แลว้ แตเ่ มอื่ ไหรย่ งั ไม่ทราบ เป็ นคาปฏเิ สธทนี่ ุ่มนวล เราจงึ ไดแ้ ต่ น้อมรบั โดยด…ี ” (หมูหวาน, ๒๕๔๗: ๗๒)

๕. ภาษาระดบั ปาก หรอื ภาษาระดบั กนั เอง  เป็ นภาษาทใี่ ชใ้ นวงจากดั ใชก้ บั บุคคลที่ สนิทสนมคนุ้ เคยกนั เป็ นพเิ ศษ เชน่ ระหวา่ งเพอื่ นสนิท บุคคลในครอบครวั  สอื่ สารกนั ในเนือ้ หาทรี่ บั รูก้ นั ไดเ้ ฉพาะคู่ สนทนาเท่านน้ั  สถานทใี่ ชม้ กั เป็ นทสี่ ว่ นตวั เชน่ ทบี่ า้ น  เน้นความสนุกสนาน ไมน่ ิยมบนั ทกึ เป็ น ลายลกั ษณอ์ กั ษร  สารทสี่ อื่ ถงึ กนั ไมม่ ขี อบเขต แตม่ กั ใชใ้ น การพูดจากนั เท่านน้ั  อาจปรากฏอยูใ่ นบทสนทนานวนิยาย หรอื เรอื่ งสน้ั เพอื่ ความสมจรงิ บทความ เสยี ดสลี อ้ เลยี นในหน้าหนงั สอื พมิ พ ์

ตวั อย่าง บทสนทนาจากนวนิยายเรอื่ ง มายาตะวนั กล่าววา่ “เออ นงั บา้ ไป ไปน่งั รวมกนั ทเี่ กา้ อโี้ น่นจาไว้ ถา้ คดิ หนีฉนั ยงิ จรงิ ๆ ไอช้ ดิ เอง็ ดูนงั สองตวั นี่ใหด้ ี ถา้ มนั ไปทปี่ ระตูเมอื่ ไหรย่ งิ มนั ได้ เลย” เชนข่เู สยี งเกรยี้ ว (กงิ่ ฉตั ร, ๒๕๔๙: ๔๖๒)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook