Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บุคคลที่ควรจดจำ เล่ม2

บุคคลที่ควรจดจำ เล่ม2

Published by mayyer28, 2021-02-28 10:31:33

Description: บุคคลที่ควรจดจำ เล่ม2

Search

Read the Text Version

เลม 2 บคุ คลทีค่ วรจดจาํ เสนอตอครู วฒุ ชิ ัย เชอ่ื มประไพ โรงเรยี นมัธยมวดั หนองแขม สงั กัดสํานักงานพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต1

)).. .. )บุคคลท่คี วรจดจํา (เลม 2) เสนอ ) คณุ ครู วฒุ ิชยั เชื่อมประไพ โรงเรียนมธั ยมวัดหนองแขม สํานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา มัธยมศกึ ษา เขต1 จดั ทําโดย . . . .นางสาวกฤตธรี า เฉลิมดิษฐ นางสาวจรสั ญาพร ไทสุน นางสาววัชราภรณ วเิ ศษทรัพย นางสาววาสนา เรืองประชา นางสาวอภญิ ญ สลี าพัฒน นางสาวจิตรวดีภริ มย ล้มิ สกุล นางสาวณัฐรกิ า จงเจริญวรกจิ นางสาวบุษยมาส กงั ใจ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี5.12 26 33 34 30 23 31 25 27

คาํ นํา หนังสอื เลมน้เี ปนสว นหนึง่ ของรายวชิ าประวตั ศิ าสตร ส32104 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที5่ จุดประสงคข องการจัด ทาํ หนงั สอื เลม นี้ ทางคณะผูจ ดั ไดท ําเล็งเห็นถงึ ความ สําคัญในการศกึ ษาเกี่ยวกบั บคุ คลสาํ คัญใน ประวัติศาสตร จึงจดั ทําหนงั สอื เลมนขี้ ึน้ เพื่อตอ งการให ความรแู ละความเขาใจเกี่ยวกบั บุคคลในประวตั ศิ าสตร และสามารถนําไปประกอบการเรยี นวิชาประวตั ศิ าสตร คณะผจู ดั ทาํ หวังเปนอยางย่ิงวาหนงั สอื รายวชิ า ประวัตศิ าสตรเ ลมนี้ จะเปนประโยชนตอ การเรียนรแู ละ ชวยใหเขา ใจเก่ียวกบั วชิ าประวัตศิ าสตรม ากยง่ิ ขึน้ หาก มขี อ เสนอแนะเพ่ือปรบั ปรงุ แกไ ขโปรดแจงทางคณะผจู ดั ทําและหากมเี นอ้ื หาผิดพลาดประการใด ทางคณะผจู ัดทาํ ตองขออภยั มา ณ ท่นี ี้ดว ย คณะผูจดั ทาํ 27 กมุ ภาพันธ 2564

สาร ับญ หนา พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลาเจา อยหู วั 1 พระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจาอยูห ัว 2 พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดลพระอฐั มรา 3 มาธิบดินทร พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศรมหาภูมิพลอดุลยเดช 4 บรมนาถบพิตร สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส 5 พระเจา บรมวงศเ ธอกรมหลวงวงศาธริ าชสนิท 6 สมเด็จพระเจา บรมวงศเ ธอกรมพระยาเทวะวงศว โรปการ 7 สมเดจ็ พระเจาบรมวงศเ ธอกรมพระยาดํารงราชานภุ าพ 8 สมเดจ็ พระศรีสวรนิ ทริ าบรมราชเทวีพระพันวสั สาอัยยิกาเจา 9 เจาพระยาโกษาธบิ ดี (ปาน) 10 หทอ มราโชทยั (หมอมราชวงศก ระตา ย อศิ รางกร)ู 11 สมเดจ็ เจา พระยาบรมมหาศรัสรุ ิยวงศ (ชวง บนุ นาค) 12 ซีมง เดอ ลา ลแู บร 13 พระสงั ฆราชปลเลอกัวซ 14 สมเดจ็ พระเจาบรมวงศเธอเจา ฟา กรมพระยานริศรานุวัดติ 15 หมอบรัดเลย หรอื แดน บีช แบรดลยี  16 พระยารษั ฎานปุ ระดิษฐมหศิ รภกั ดี (คอซิมบ๊ี ณ ระนอง) 17 พระยากัลยาณไมตรี (ฟรานซสิ บ.ี แซร) 18 ศลิ ป พีระศรี 19

พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลาเจา อยหู วั พระองคทรงรเิ ร่ิมสรางโรงเรียนข้นึ แทนวัดประจาํ รัชกาลไดแก โรงเรียนมหาดเลก็ หลวง ปจ จบุ ัน คอื โรงเรยี นวชิราวธุ วทิ ยาลัย ทง้ั ยังทรงสนับสนุนกจิ การของโรงเรยี นราชวิทยาลัยซงึ่ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอม เกลา เจา อยหู ัวโปรดเกลาฯ ใหส ถาปนาขึน้ ในปพ .ศ. 2440 (ปจ จุบัน คือ โรงเรยี นภ.ป.ร. ราชวิทยาลยั ในพระบรมราชูปถัมภ) และในป พ.ศ. 2459 ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหป ระดษิ ฐาน โรงเรยี นขา ราชการพลเรอื นของพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลาเจา อยู หัว ขน้ึ เปน “จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลยั ” ซึ่งเปน มหาวทิ ยาลัยแหง แรกของประเทศไทย

พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจา อยูหัว พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลาเจา อยูหัวมพี ระราชปรารภจะพระราชทาน รัฐธรรมนญู แตถ กู ทักทว งจากพระบรมวงศช ั้นผูใหญจงึ ไดร ะงบั ไปกอ น ซ่งึ หมอ มเจา พนู พศิ มยั ดิศกลุ มีดาํ รัสถงึ เร่ืองน้ีวา \"สว นพระเจาอยหู วั เอง นน้ั [พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลาเจาอยหู วั ทรงรูสึกยงิ่ ข้นึ ทุกทวี าการ ปกครองบานเมืองในสมยั เชนนี้ เปนการเหลือกําลงั ของพระองคที่จะทรง รบั ผิดชอบไดโ ดยลําพังแตผ ูเดยี วพระองคทรงรูดวี าทรงออ นท้ังใน ทางphysical และmental จงึ มพี ระราชปรารถนาจะพระราชทานรัฐธรรมนูญให ชวยกนั รบั ผดิ ชอบใหเต็มทีอ่ ยเู สมอ\"แตก เ็ กิดเหตุการณปฏิวตั ิโดยคณะ ราษฎร ในวนั ที่ 24มถิ ุนายน พ.ศ. 2475 โดยพระองคท รงยนิ ยอมสละ พระราชอาํ นาจและเปน พระมหากษตั รยิ ภายใตร ฐั ธรรมนูญทรงใหต รวจตรา ตัวบกฎหมายรฐั ธรรมนญู ท่จี ะเปน หลักในการปกครองอยางถี่ถว น

พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ท มหิดล พนะอัฐมรามาธบิ ดนิ ทร พระองคไ ดเสด็จพระราชดําเนนิ ไปในพระราชพธิ พี ระราชทานรฐั ธรรมนูญ ฉบบั ใหมในวนั ที่ ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔89 และเปด ประชุมสภาผแู ทน ราษฎรในวันท่ี ๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๙นอกจากนี้ ยังเสด็จพระราชดาํ เนิน ทรงเย่ียมราษฎรในจังหวดั ตา งๆและทรงเยย่ี มชาวไทยเชอื้ สายจนี เปน ครง้ั แรก ณ สาํ เพ็ง พระนคร พรอ มดวยสมเด็จพระเจา นองยาเธอ เจา ฟา ภมู พิ ล อดลุ ยเดช เมื่อวนั ท่ี8 มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๔๘๙ ซึ่งเปนชวงทีเ่ กิดความขดั แยง กนั ระหวางชาวไทยและชาวไทยเช้ือสายจีนจนเกือบเกิดสงครามกลางเมือง เม่ือพระองคทรงทราบรอ่ื ง มีพระราชดําริวา หากปลอ ยความขุนขอ งบาด หมาไวเ ชน นี้ จะเปน ผลรา ยตลอดไป จึงทรงตดั สนิ พระทัยเสดจ็ พระราชดาํ เนินสําเพ็ง ซ่งึ ใชร ะยะเวลาประมาณ ๔ ช่วั โมง และพระองคท รง พระราชดาํ เนินดวยพระบาทเปน ระยะประมาณ๓กิโลเมตร การเสดจ็ พระราชดาํ เนนิ สําเพ็งในครั้งนจ้ี งึ เปน การประสานรอยรา วท่เี กิดขน้ึ ใหห มด

พระบามสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระองคทรงพระกรุณาโปรดเกลาๆพระราชทานพระราชทรพั ยสวน พระองคจดั ตงั้ มูลนธิ อิ านนั ทมหดิ ลข้นึ เมือ่ ป พ.ศ. ๒๕๐๒ โดยมวี ตั ถปุ ระสงค เพ่อื พระราชทานทุนแกน ิสิตนกั ศกึ ษาทมี่ ผี ลการเรียนดีเดนในดา นตางๆให นิสติ นักศกึ ษาเหลา น้ันไดมีโอกาสไปศึกษาหาความรวู ชิ าการชั่นสูงในตา ง ประเทศและนําความรูน ้นั กลบั มาใชพ ัฒนาบานเมืองสว นในประเทศ พระองคท รงใหการอุปถมั ภในดา นตางๆเชน ทรงพระราชทานพระราช ทรัพยช วยเหลอื ใหคาํ แนะนํารวมทงั้ เสดจ็ พระราชดําเนินไปเย่ยี มเยียนและ พระราชทานพระบรมราโชวาทเพ่อื สนบั สนุนและเปนกาํ ลงั ใจแกครูและ นักเรยี นของโรงเรยี น

สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงเรมิ่ พฒั นาการพระศาสนาโดยเริ่มตน ท่ีวดั บวรนิเวศวหิ ารไดแกรเิ รม่ิ ใหภกิ ษุ สามเณรทบ่ี วชใหมเ รียนพระธรรมวินยั ในภาษไทยมีการสอบความรูดวยวธิ เี ขียนตอ มาจงึ กาํ หนดใหเ ปน หลกั สตู รการศกึ ษาสาํ หรบั คณะสงฆ เรียกวานักธรรม ทรงจดั ตงั้ มหามกุฎ ราชวทิ ยาลยั เปนการรเิ ร่ิมจัดการศึกษาของพระภกิ ษุ สามเณรแบบใหม คอื เรียนพระ ปรยิ ตั ิธรรม ประกอบกบั วชิ าการอื่น ทเ่ี อือ้ อาํ นวยตอการสอนพระพุทธศาสนา ผทู สี่ อบไดจ ะ ไดเ ปนเปรียญเชนเดยี วกับท่สี อบไดในสนามหลวง เรยี กวา เปรยี ญมหามงกุฎ แตไ ดเ ลกิ ไปในอกี ๘ ปต อ มา ทรงออกนติ ยสาร ธรรมจกั ษุ ซง่ึ เปน นิตยสารทางพระพุทธศาสนา ฉบบั แรกของไทยทรงอํานวยการจัดการศกึ ษาหวั เมอื งท่ัวราชอาณาจกั รเมอื่ ป พ.ศ. ๒๔๔๑ ตามพระราชดาํ ริของพระบาทสมเดพ็ ระจลุ จอมเกลา เจา อยูหัวท่ีจะขยายการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ไปยงั ประชาชนทั่วราชอาณาจักร ทรงเหน็ วา วดั เปนแหลง ใหการศึกษาแกคนไทยมาแต โบราณกาล เปน การขยายการศกึ ษาไดเ ร็วและทัว่ ถึง เพราะมีวัดอยูท่ัวไปในพระราช อาณาจักร ไมตอ งสิน้ เปลืองงบประมาณแผนดินงานนีม้ กี ระทรวงมหาดไทยเปน หนวย สนบั สนุนพระองคด าํ เนนิ การอยู ๕ ปก ส็ ามารถขยายการศึกษาขั้นพ้ืนฐานคือชั้นประถม ศกึ ษาออกไปไดท ่ัวประเทศจากน้นั จึงใหก ระทรวงธรรมการ ดาํ เนนิ การตอไป

พระเจาบรมวงศเ ธอกรมหลวงวงศาธิราชสนทิ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา เจา อยหู วั ทรงกํากับกรมหมอหลวง และทรงศึกษาวชิ าการแพทยส มัยใหมจ ากมชิ ชันนารีชาวอเมรกิ นั โปรดเกลาฯ สถาปนาข้นึ เปนกรมหม่นื วงศาสนทิ เม่ือครนั้ ป พ.ศ.2393 พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา เจา อยหู ัวมีพระราขปรารภ ถงึ ความเส่ือมโทรมของภาษาไทย จึง ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหพ ระองคเจานวม ทรงแตงตาํ ราภาษาไทยข้นึ ใหม เพือ่ อนุรกั ษภาษาไทย พระนพิ นธเรอ่ื ง \"จน้ิ ตามณี เสม 2\" ซึ่งทรงตัด แปลงจากตําราเตมิ สมยั อยุธยา อธบิ ายหลักเกณฑภาษาไทยใหเขาใจงา ยกวา เดิม

สมเดจ็ พระเจาบรมวงศเ ธอกรมพระยาเทวะวงศว โรปการ ทรงบริหารราชการแผน ตนิ ตลอดพระชนมช พี จากรชั กาลท่ี ๕ ถงึ รัชกาลท่ี ๖ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา เจาอยหู ัวโปรดเกลา ฯใหทรงตาํ รงตาํ แหนง ไปรเวตสิ เกรตารฝี ร่งั (ราชเลขานุการฝายตางประเทศ)ทาํ หนาท่ดี ูแลงานตา งประเทศ ทรงมี บทบาทสาํ คัญตานการทูต เปน ผเู จรจาขอพิหากกับฝรง่ั เศส ครัง้ วิกฤตการณ รศ. 112 ทรงเสนอใหม กี ารตงั้ สถานทตู ในตา งประเทศ ทย่ี โุ รปและสหรฐั อเมรกิ า ทรง วา ราชการเปนเสนาบตีกระทรวงการตงประเทศท้ังในรัชกาลที่ ๕ และรชั กาลที่ ๖ เปน เวลา 37 ป จนไดชอ่ื วา เปน องคบดิ าแหงการตงประเทศของไทย อีกทงั้ ทรง สนพระทยั ในวชิ าโหราศาสตร เมือ่ พ.ศ.2432 พระบาทสมเด็พระจุลจอมเกลาเจา อยู หัวทรงประกาศใชปฏิทินแบบใหมตามสุรยิ คติตามแบบสากล จากเดมิ ทปี่ ระเหศ ไทยใชแบบจันทรคตสิ มเด็จฯ กรมพระยาเหวะวงศว โรปการ ทรงเปน ผูคติ ปฏิทิน ไทยใชตามสุริยคติ เรียกวา เทวะประติทิน มีการกาํ หนดชอื่ เตอื นขึ้นมาใหม จาก เติมทใ่ี ช เดอื นอา ย เดือนยิ่ ถงึ เดือนสิบสอง เปนชือ่ เดอื นแบบท่ีใชกนั อยูใน

สมเด็จพระเจาบรมวงศเ ธอกรมพระยาดํารงราชานภุ าพ ทรงพระปรชี าสามารถในดา นการศึกษาสาธารณสุข ประวตั ิศาสตร โบราณคดี และ ศิลปวัฒนธรรม ทรงไดรับพระสมญั ญานามเปน\"พระบดิ าแหง ประวัติศาสตรไ ทย\" ในวนั ท่ี ๒๓ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๐๕ ทปี่ ระชุมใหญข ององคก ารการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหง สหประชาชาติ (UNESCO) ไดประกาศยกยอง พระองคเปน บคุ คลสาํ คัญของโลกคนแรกซองประเทศไทยและวนั ที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. be๔๔ คณะรฐั มนตรีไดมมี ติใหว ันท่ี 1 ธันวาคม ของทุกป ซ่งึ ตรงกบั วนั คลา ย วันส้ินพระชนของพระองค เปน \"วันดํารงราชานภุ าพ\" กาํ หนดขน้ึ เพื่อเปน การระลึกถึง สมเด็จพระเจาบรมวงศเ ธอ กรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพ

สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวพี ระพันวสั สา อยั ยกิ าเจา พระองคทรงดาํ รงตําแหนงองคสภาชนนีสภาอณุ าโลมแดงเปนชื่อของ สภากาชาดไทยเมื่อครงั้ แรกต้งั ในตน รัชกาลที่ ๕ เปน พระองคแ รกและพระองคเ ดยี ว และองคส ภานายกิ าสภากาชาดไทย พระองคท ่ี ๒ และทรงสรางสถานพยาบาลขนึ้ ปจจุบนั คอื โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรรี าชาซึ่งอยูภายใตการดูแล ของสภากาชาดไทยในวนั ที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ทีป่ ระชุมใหญองคการการ ศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหง สหประชาชาติ(ยูเนสโก) ไดป ระกาศยกยอง สมเดจ็ พระศรสี วรินทิราบรมราชเทวีฯ เปน บคุ คลสําคัญของโลก เน่อื งในโอกาสวนั ครบรอบ๑๕๐ ปวนั คลายวันพระราชสมภพ ในวันท่ี ๑๐ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๕ ในฐานะ ท่ีทรงมผี ลงานดีเดน ดา นการศึกษาวิทยาศาสตรสขุ ภาพและการอนรุ ักษพัฒนาดา น วฒั นธรรม

เจา พระยาโกษาธิบดี (ปาน) โกษาปาน เปนบุตรของเจา แมว ดั ดุสติ พระนมของพระนารายณกษัตรยิ องคที่ 28 ของอยธุ ยา และเปน นอ ง ชายของออกญาโกษาธิบดี (เหล็ก) ซึง่ ดํารงตําแหนง พระคลงั ระหวา งป พ.ศ. 2200-2226 ในสมยั ทีโ่ กษาปาน ดํารงตําแหนง ออกพระวิสตู รสุนทร ไดรับแตง ตั้งใหเ ปน ทูตออกไปเจริญสมั พนั ธไมตรีกบั ฝรง่ั เศสโกษาปาน เดินทางไปกบั เรือฝร่ังเศสเม่อื ธนั วาคม พ.ศ. 2228 ไดเขา เฝาพระเจาหลยุ สท ี่ 14 เม่อื 1 กนั ยายน พ.ศ. 2229 และเดินทางกลับเม่ือ 27 กันยายน พ.ศ. 2230 รวมเดนิ ทางไปกลบั อยธุ ยาฝร่งั เศสทง้ั หมด 1 ป 9 เดอื น โกษ าปานเปน นกั การทตู ทสี่ ขุ มุ ไมพ ดู มาก ละเอียดลออในการจดบนั ทกึ ที่ไดพบเหน็ ในการเดนิ ทางคร้ังนั้น ในสมยั ดังกลาวฝรง่ั เศสมอี ิทธพิ ลในราชสํานักของพระนารายณม าก จุดประสงคข องฝร่ังเศสคอื การเผยแพรคริสต ศาสนาและพยายามใหพ ระนารายณเขา รตี เปน ครสิ ตช นดวย รวมท้ังยังพยายามมอี าํ นาจทางการเมืองใน อยุธยา ดว ยการเจราจาขอต้งั กําลังทหารของตนทีเ่ มอื งบางกอกและเมืองมะริดในปลายสมัยของพระนารายณมี ความรูสกึ ตอ ตา นชาวตา งชาต(ิ โดยเฉพาะอยา งยง่ิ ฝร่งั เศส)ในหมูขนุ นางไทยและพระสงฆ พระเพทราชา กรมเจา ชาง (ซึ่งตอ มาเปน กษตั ริยอ งคท่ี 29 ของอยธุ ยา) ทรงเปนผูน ําในการตอตา นครง้ั น้ีโกษาปานไดเขาเปนฝา ย ของพระเพทราชาเม่ือพระเพทราชาปราบดาภิเษกขึ้นเปน กษัตริยโกษาปานไดรบั หมอบหมายใหเปนผเู จรจากบั นายพลฝรงั่ เศสทคี่ ุมปอ มอยูทีเ่ มืองบางกอกใหถอนทหารออกไปจากอาณาจักรไทยไดส าํ เรจ็ ในสมัยของพระ เพทราชา โกษาปานไดร ับเลื่อนใหเปนเจาพระยาศรีธรรมราช แตไ ดฆ าตวั ตาย พ.ศ. 2243 เพราะถกู สงสยั วา เปนผูแยง ชิงราชสมบัติ

หมอ มราโชทัย (หมอมราชวงคก ระตาย อศิ รางกรู ) เปน บุตรของกรมหม่ืนเทวานรุ กั ษพ ระราชินใี นรชั กาลที่ ๒ เปนปนัดดาของสมเด็จเจา ฟากรมพระศรีสุดารักษ ซึ่งเปน พระพีน่ างในพระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช หมอ มราชวงศกระตายเกดิ เมอื่ วนั ที่ ๑๒ มถิ นุ ายน พุทธศักราช ๒๓๖๓ เมอ่ื เจรญิ วัยบิดาไดน ําไปถวายตัวอยูกับ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจา อยูหัวเมอื่ ครง้ั ยังดาํ รงพนะอสิ ริยยศเปนเจา ฟามงกฎุ สมมตุ เิ ทวาวงศพ งศา อศิ วรกระษัตริยขัตตยิ ราชกุมาร หมอ มราชวงคก ระตายไดอ ยรู บั ใชในพระองคทา นตลอดมาดวยเปนญาติใกล ชดิ ทางพระราชมารดาในเจาฟามงกฎุ เมื่อเจาฟา มงกุฎทรงผนวชมฉี ายาวา “ วชริ ญาณ ” หมอ มราชวงค กระตา ยกไ็ ดตามเสด็จไปอยรู ับใชโดยตลอด ครน้ั เม่อื เจา ฟา มงกฎุ ทรงสนพระราชหฤทยั ในการศึกษาภาษา อังกฤษ หมอมราชวงคกระตายก็ไดศกึ ษาตามพระราชนยิ ม โดยไดศึกษากับพวกหมอสอนศาสนามิชชนั นารีจน มคี วามรภู าษาองั กฤษดีเมอ่ื เจา ฟา มงกฎุ ไดเ สด็จเถลิงถวัลยราชสมบตั ิขนึ้ เปน พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจา อยหู วั รัชกาลท่๔ี หมอ มราชวงคกระตายก็ไดต ดิ ตามสมคั รเขารับราชการสนองพระมหากรณุ าธคิ ุณและดวยความ สามารถทางการใชภาษาองั กฤษ จึงไดเ ล่อื นยศเปน “ หมอ มราโชทัย ”เมื่อมพี ระราชดําริใหจ ดั สง ราชทตู เชิญ พระราชสาสนแ ละเคร่ืองราชบรรณาการไปองั กฤษ ก็ไดใ ห หมอ มราโชทยั ไปเปนลา ม ภายหลงั กลับมาแลวก็ ทรงโปรดเกลา ใหเ ปน อธบิ ดีพิพากษาศาลตางประเทศเปนคนแรก.

สมเด็จเจา พระยาบรมมหาศรีสุริย วงศ( ชวง บุนนาค) สมเดจ็ เจาพระยาบรมมหาศรีสรุ ยิ วงศเปนคน “หัวกา วหนา”รวมทั้ง ชอบคบหาสมาคมกับชาวตา ง ประเทศและรับความเจริญมาจากชาตติ ะวันตก ทานจงึ มองเห็นถงึ ความสาํ คัญของวิชาความรูวิทยาการ และวทิ ยาศาสตรสมัยใหม เชน การแพทย การพมิ พ และการรักษาพยาบาลทท่ี นั สมัยของหมอสอน ศาสนาคริสต โดยเฉพาะมชิ ชันนารีชาวอเมรกิ ันนั้นเปนประโยชนแ กป ระเทศชาติ แตคนเหลาน้ีมกั ถกู รังเกยี จจากเจา นายและขุนนางหวั เกา จงึ มักไดรับความยากลําบากในการหาท่อี ยูอาศัย ท่ีทาํ งาน และการ ทาํ งาน ทา นไดใ หค วามอปุ การะอํานวยความสะดวกแกหมอสอนศาสนาเหลา น้ี และคอยตดิ ตอ เรยี นรูส่ิง ใหม ๆ อยูตลอดเวลา ดงั ลักษณะที่เรียกกนั ในปจ จุบัน วา “การถายทอดเทคโนโลยี” ซ่ึงทานหมนั่ เพียร เรยี นรวู ิชาการตะวันตกกบั ชาวตา งประเทศมาตัง้ แตอ ยูใ นวยั หนุม ทําใหท านสามารถตอ \"เรอื กาํ ปน\" ได เอง และนับเปน นายชางสยามคนแรกทีส่ ามารถตอ เรอื แบบฝร่งั ได

ซมี ง เดอ ลา ลูแบร ไดรับการแตงตง้ั ใหเปน หวั หนาคณะทูตฝร่ังเศสรวมกบั โกลด เซเบอแร ดูว บูแล (Claude Céberet du Boullay) เดนิ ทางมาอยธุ ยาเพื่อเจรจาเร่ืองศาสนาและการคา ของฝร่ังเศสในอาณาจักรอยธุ ยาเม่ือ พ.ศ. 2230 ในการเจรจานัน้ อยุธยาไมส จู ักยนิ ยอมรบั ขอ เสนอของฝร่งั เศส ทําใหเสยี เวลาในการเจรจา หลายสปั ดาห ในท่ีสดุ ฝา ยไทยก็ยนิ ยอมรบั ขอเสนอตามความประสงคของฝรัง่ เศสและทั้งสองฝา ยได ลงนามในสญั ญาการคาท่เี มอื งลพบุรีเมอื่ วนั ท่ี 11 ธันวาคมนอกจากจะเปน หวั หนาคณะทูตจากฝรง่ั เศส แลว เดอ ลา ลูแบรย ังไดรบั คาํ สั่งใหส ังเกตเรือ่ งราวตางๆเก่ยี วกับอาณาจกั รอยุธยาและบนั ทกึ ขอสงั เกต ทง้ั หลายเหลา น้ันกลบั ไปรายงานใหราชสํานักของพระเจา หลุยสท ่ี 14 ไดร บั ทราบดวย จดหมาย เหตเุ หลา นี้ไดกลายเปน หลักฐานทางประวตั ิศาสตรท ่ีมคี ณุ คาตอแวดวงวิชาประวัติศาสตรไ ทยสมัยอยธุ ยา เพราะกลาวถงึ ชีวิตความเปน อยู สังคม ประเพณี ประวตั ศิ าสตร วัฒนธรรม หลายสิ่งหลายอยา งของ คนในสมยั กรุงศรีอยธุ ยา จึงนบั ไดว าเปนหลักฐานทางประวตั ิศาสตรท มี่ จี ารกึ เปน ลายลักษณอ ักษร

พระสงั ฆราชปล เลอกวั ซ พระสังฆราชปลเลอกัวซ เปนบาทหลวงสังกดั คณะมิสซังตา งประเทศแหงกรุงปารสี ปฏิบัติหนาทีม่ ชิ ชันนารใี นประเทศไทยในรัชสมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกลา เจาอยหู ัวถึงพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลา เจา อยหู ัว มีสมณศักดิ์เปน ประมขุ มิสซังสยามตะวนั ออก(apostolic vicar of Eastern Siam)และมุขนายกเกยี รตินามแหง มาลลอสหรอื มัลลสุ (titularbishop of Mallos/Mallus) ทา นไดน ํา วิทยาการการถา ยรปู เขามาในประเทศไทย และนอกจากนที้ านยังจัดทําพจนานกุ รมสภ่ี าษาเลมแรกของ ไทยขน้ึ ชื่อ สพั ะ พะจะนะ พาสา ไท โดยมภี าษาท้ังสท่ี วี่ า น้ีคอื ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาฝร่ังเศส และภาษาละตนิ ทา นไดเรยี นภาษาไทยและภาษาบาลีมคี วามรใู นภาษาทง้ั สองเปนอยา งดจี นสามารถแตง หนังสือไดหลายเลม นอกจากน้นั ทานมคี วามรทู างดา นดาราศาสตร ภูมิศาสตรวิทยาศาสตร โดยเฉพาะ ฟส กิ ส เคมีและดาราศาสตร มีความรูความชํานาญทางดานวิชาการถา ยรูปและชุบโลหะ บุตรหลาน ขาราชการบางคนไดเ รยี นรวู ิชาเหลา นก้ี บั ทาน ทานไดส รา งตกึ ทาํ เปนโรงพิมพภายในโบสถค อนเซ็ปชัญ จัดพิมพห นงั สือสวด

สมเด็จพระเจาบรมวงศ เธอเจา ฟากรม พระยารศิ รานุวัดติ ดานศลิ ปกรรมงานสถาปตยกรรมทีโ่ ปรดทํามากคือ แบบพระเมรุ โดยตรัสวา \"เปน งานทที่ ําข้ึนใชช ่วั คราวแลวรื้อทิง้ ไปเปน โอกาสไดท ดลองใชปญญาความคดิ แผลงไดเต็มท่ีจะ ผดิ พลาดไปบางกไ็ มสกู ระไรระวังเพยี งอยา งเดยี วคือเรอ่ื งทนุ เทา นั้น\"ดานสถาปตยกรรม พระ อโุ บสถวดั เบญจมบพติ รเมอ่ื แรกสรา งอาคารเรยี นโรงเรยี นมธั ยมวัดเบญจมบพิตร(ตกึ ชมพ)ู การ ออกแบบกอสรางพระอโุ บสถวัดเบญจมบพิตร ถวายพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจา อยูหวั เม่ือ พ.ศ. ๒๔๔๒ การออกแบบกอ สรางอาคารเรียนโรงเรยี นมัธยมวัดเบญจมบพติ ร เรมิ่ กอสราง เมือ่ วันท่ี ๔มิถนุ ายน รตั นโกสนิ ทรศก ๑๒๑(พ.ศ. ๒๔๔๕)หรือ ร.ศ. ๑๒๑งานดานสถาปต ยกรรมเปน งานท่ีพระองคท รงพิถีพิถนั อยา งมากเพราะตรัสวา \"ตอ งระวังเพราะสรา งขน้ึ ก็เพือ่ ความพอใจ ความ เพลดิ เพลินตา ไมใ ชสรา งขนึ้ เพ่อื อยากจะรอ้ื ทง้ิ ทุนรอนที่เสยี ไปกใ็ ชจ ะเอาคนื มาได ผลท่ีสุดก็ ตองทิ้งไวเ ปนอนสุ าวรียส ําหรับขายความอาย\" ดานภาพจติ รกรรม ภาพขียน ภาพขยี นสีน้ํามันประกอบพระราชพงศาวดาร แผนดนิ พระเจา ทา ย สระครง้ั กรุงศรอี ยธุ ยาเปน ภาพชา งทรงพระมหาอุปราชแทงขา งพระท่นี ่ัง ภาพเขียนรถพระอาทิตย ท่ีเพดานพระทีน่ งั่ ภานุมาศจาํ รญู (พระที่น่งั บรมพมิ าน) ภาพประกอบเร่อื งธรรมาธรรมะสคราม ภาพแบบพัดตา ง ๆ

หมอบรดั เลย หรือ แดน บีช แบรดลยี หมอบรัดเลยเปนผูนาํ แพทยแผนปจ จบุ ัน (แบบตะวนั ตก) เขามาหลายประการ ทงั้ การผา ตัดและ การปอ งกันโรค หมอบรัดเลยเปด สถานพยาบาลรักษาผูปว ยในบางกอกเปน คร้งั แรกเมอื่ วนั ที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2374 ในการรักษาโรคในระยะแรกๆ หมอบรดั เลยจะตรวจผูป ว ยไดเ ปน จํานวน มากเกือบ 70-100 คน ในเวลา 3-4 ชั่วโมง สว นมากในชว งเชา มคี นชว ยจดั ยาและแจกใบปลวิ ขอ ความในพระคัมภรี ด ว ยในปแ รกเจา ฟานอย (พระบาทสมเดจ็ พระปนเกลาเจา อยูห วั ) ไดเ สด็จมา เยีย่ ม เลา ใหฟ งเรื่องประเพณกี ารอยูไฟของมารดาหลงั คลอด หมอบรัดเลยไ ดเ สนออยากจะสอน ใหค นไทยบางคนรูจักภาษาองั กฤษแลสอนวชิ าแพทยที่มี โดยในชวงทมี่ ีการปลูกฝ มีหมอหลวง มาศกึ ษากบั หมอบรัดเลย และยงั เขยี นหนังสือเพอ่ื สอนหมอชาวสยาม เขียนบทความอธิบายวธิ ี การปลูกฝ ในภายหลังรัชกาลท่ี 3 ไดพ ระราชทานรางวัลให 250 บาท (เทากบั 145 ดอลลารอ เมริกันในสมยั นน้ั ) ตาํ ราแพทยแ ผนปจ จบุ นั เลม แรกนช้ี อื่ วา ครรภท รกั ษา มคี วามหนา 200หนา มภี าพประกอบฝมอื คนไทยประมาณ 50 ภาพ มเี นอ้ื หาเกี่ยวกบั อาการของ โรคในการคลอดและวิธกี ารแกไขรกั ษา กับพยายามสอนใหคนไทยเลกิ ธรรมเนียมการอยไู ฟ ซึง่ เปนสาเหตุสําคญั ท่ที าํ ใหม ารดาหลงั คลอดเสียชีวิต

พระยารษั ฎานปุ ระดษิ ฐมหิศรภกั ดี (คอซมิ บี๊ ณ ระนอง) ดา นการปกครอง กุศโลบายหลกั ในการปกครองของทา นคือ หลักพอ ปกครองลกู ทํานองเดยี ว กับที่ใชในยคุ สโุ ขทยั นอกจากจะยดึ หลักพอปกครองลกู แลว ยงั ยึดหลักในการแบงงาน และความ รบั ผดิ ชอบแกผ ใู ตบ งั คบั บัญชา ดงั จะเห็นไดจากการรเิ ริ่มจดั ตงั้ ทว่ี าการกาํ นันขน้ึ เปน แหง แรก ที่ มณฑลภูเกต็ และไดจดั ระเบียบการประชมุ ผใู หญบ า น กาํ นนั นายอาํ เภอใหเปน ท่ีแนน อนดานการ สง เสริมอาชีพราษฎร อาจจะเปนเพราะพระยารัษฎานุประดิษฐฯ เกดิ ในตระกลู พอคาทา นจึงมโี ลก ทรรศน ตา งจากขุนนางอน่ื ๆคอื มอี ปุ นิสยั บาํ รงุ การคาเมอื่ เปน เจา เมอื งตรงั ไดย า ยจากตาํ บลควน ธานไี ปอยตู ําบลกันตังดว ยเหตผุ ลท่ีวา มีทําเลการคาทีด่ ีกวา เรอื กลไฟ เรือสนิ คาใหญ สามารถเขา ถึงไดส ะดวก เหลา น้ีเปนตนดา นการคมนาคม พระยารษั ฎานุประดษิ ฐฯ ใหความสาํ คัญเปนทีส่ ดุ โดยเฉพาะการสรางถนนอีกทั้งยังชวนใหเ ห็นประโยชนของการปลูกยางพาราและการทําสวนยาง

พระยากลั ยาณไมตรี (ฟรานซิส บ.ี แซร) ในสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รชั กาลที่ ๕ ประเทศสยามมีความสัมพันธอนั ดีกับมหาวทิ ยาลยั ฮาร เวิรด ซึง่ เปน มหาวทิ ยาลัยที่มีชื่อเสียงในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยสมัยนั้น พระองคไ ดว า จา งมิสเตอร เจนส ไอ. เวส เตนการด (Jens Iverson Westengard) ศาสตราจารยท ่ีมหาวิทยาลยั แหงนี้มาเปน ทปี่ รกึ ษาดา นกฎหมาย เพราะถกู รุกลาํ้ ดนิ แดนและเอาเปรียบหลายๆ อยางจากประเทศองั กฤษ ประเทศฝร่งั เศส รวมถึงชาติอน่ื ๆในขณะท่ี ดร.ฟรานซิส บี. แซร (Dr. Francis Bowes Sayre) กาํ ลงั ทําการสอนอยทู ี่มหาวทิ ยาลัยฮารเ วิรด คณบดีกไ็ ดเ รยี กทานเขาไปพดู คยุ และถามวา “จะไปทํางานทตี่ ะวนั ออกไกลในตาํ แหนง ทปี่ รึกษาการตางประเทศของพระเจา แผนดนิ สยามบางไหม” แนน อนวา แมต อน น้นั จะมอี าจารยจ ากมหาวทิ ยาลัย ฮารเ วิรด หลายคนเคยไปเปนท่ีปรกึ ษาแตใ นขณะนน้ั นอกจากตวั ทา นเองแลวกย็ ังมบี ตุ ร อีก ๓ คน ท่ีตองดแู ลอีก ซงึ่ คนโตก็อายุเพยี ง ๘ ป และคนเลก็ กอ็ ายเุ พียง ๔ ปเ ทา นน้ั แตเมอ่ื ไดพดู คยุ กบั เหลา มชิ ชนั นารี ถงึ สภาพชวี ติ ความเปน อยใู นกรงุ เทพฯ ทานจึงตดั สินใจไปแตกําหนดระยะเวลาทีจ่ ะอยปู ระเทศสยามเอาไวเพยี ง ๑ ป เทาน้ัน ในป พ.ศ. ๒๔๖๖ ปลายรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลาเจาอยหู ัว รัชกาลที่ ๖ ดร. ฟรานซิส บ.ี แซร (Dr. Francis Bowes Sayre) กไ็ ดเขามารบั ราชการในเมอื งไทย เปน ทปี่ รกึ ษาการตา งประเทศ ขณะนนั้ เมอื งไทยกําลงั มุงทจ่ี ะ ขอแกไ ขสนธสิ ญั ญาทางพระราชไมตรีท่ีประเทศไทยเคยทาํ ไวก ับนานาประเทศ โดยเฉพาะที่เกีย่ วกับอํานาจศาล และการ ภาษีอากร ซึง่ ประเทศไทยเปนฝา ยเสียเปรียบอยจู นสามารถดําเนินการแกไ ขสนธิสัญญาสาํ เรจ็ กบั ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ประเทศองั กฤษ ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศฮอลแ ลนด ประเทศเบลเยี่ยม ประเทศเดนมารก ประเทศ นอรเวย ประเทศสวีเดนประเทศสเปน และประเทศโปรตเุ กสไดสาํ เร็จ

ศลิ ป พรี ะศรี ศาสตราจารยศิลปย งั เปน ผวู างรากฐานทีเ่ ขมแขง็ ใหแกว งการศิลปะไทยสมยั ใหมจากการทไี่ ดพรํ่าสอนและ ผลกั ดนั ลกู ศิษยใหไ ดมีความรูค วามสามารถในวิชาศลิ ปะทั้งงานจติ รกรรมและงานชางมีจดุ ประสงคใ หคนไทย มีความรูค วามเขาใจในศลิ ปะและสามารถสรางสรรคง านศลิ ปะไดด ว ยความสามารถของบุคลากรของตนเองการ กอตั้งมหาวิทยาลยั ศิลปากรจึงเปรยี บเสมือนการหวา นเมลด็ พนั ธใุ หแ กคนไทยเพอ่ื ท่จี ะออกไปสรางศลิ ปะเพื่อ แผน ดินของตนและถึงแมจะรเิ รมิ่ รากฐานของความรดู า นศลิ ปะตะวนั ตกในประเทศไทย แตในขณะเดียวกนั ศาสตรจารยศิลปก ไ็ ดศ กึ ษาศลิ ปะไทยอยา งลึกซึ้งเนือ่ งจากตองการใหคนไทยรักษาความงามของศิลปะไทย เอาไวจงึ ไดเ กดิ การสรางลูกศิษยท มี่ ีความรูทั้งงานศลิ ปะตะวนั ตกและศิลปะไทยออกไปเปนกําลงั สําคัญใหแก วงการศิลปะไทยเปนจาํ นวนมาก และเกดิ รูปแบบงานศิลปะไทยสมยั ใหมในท่สี ดุ ดวยคณุ ปู การนศี้ าสตราจารย ศิลปจงึ ไดร บั การยกยอ งใหเปน ปูชนยี บคุ คลของมหาวทิ ยาลัยศลิ ปากรและของประเทศไทย โดยเฉพาะในงาน ประตมิ ากรรมท่ีไดม ีผลงานท่ีโดดเดนมากมายทส่ี รา งไวแกประเทศไทย ไดแก พระพุทธรปู ประธานที่พุทธ มณฑล, อนุสาวรียชัยสมรภูมิ, อนสุ าวรยี ประชาธปิ ไตย และรวมไปถงึ พระบรมราชานสุ าวรยี  สมเด็จพระเจา กรงุ ธนบรุ ี ทวี่ งเวยี นใหญ, พระบรมราชานสุ าวรียส มเดจ็ พระนเรศวรมหาราช, อนุสาวรยี ท า วสรุ นารี และ พระบรมราชานสุ าวรียของกษตั ริยไทยอีกหลายพระองค เปน ตน ดวยเหตุนศี้ าสตรจารยศ ลิ ปจงไดรับการ ยกยองวา เปนบิดาแหง ศลิ ปะสมัยใหมข องไทยและเปนบิดาแหง มหาวิทยาลัยศลิ ปากรโดยในวนั ท่ี 15 กันยายน ของทกุ ปจะถอื เปน วันศลิ ป พรี ะศรี ซง่ึ มหาวิทยาลยั จะจัดงานราํ ลึกข้นึ ทกุ ปเพอ่ื ระลกึ ถงึ คุณงามความ ดีของศาสตราจารยศ ิลปทมี่ ตี อมหาวิทยาลัยและประเทศไทยหลายประการ

บรรณานุกรม 1.พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา เจาอยหู วั http://kingchulalongkorn.car.chula.ac.th/th/history/rama6_bio 2.พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา เจาอยูหัว http://kpi.ac.th/about/thehistory 3.พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดล พนะอฐั มรามาธบิ ดิ นทร https://m.museumsiam.org/da-all-gray.php? MID=3&CID=16&SCID=126 4.พระบามสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร https://ka.mahidol.ac.th/king_9/history.html 5.สมเดจ็ พระมหาสมณเจากรมพระยาวชริ ญาณวโรรส http://www.watbowon.com/Monk/ja/03/ 6.พระเจาบรมวงศเ ธอกรมหลวงวงศาธิราชสนิท http://www.trueplookpanya.com/learning/detail/19548-029810 7.สมเดจ็ พระเจา บรมวงศเ ธอกรมพระยาเทวะวงศวโรปการ https://dvifa.mfa.go.th/th/page/ 8.สมเดจ็ พระเจาบรมวงศเธอกรมพระยาดํารงราชานภุ าพ http://www.moi.go.th/portal/page 9.สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวีพระพนั วสั สาอยั ยิกาเจา http://www.queensavang.org/new_qs/

บรรณานกุ รม 10.เจาพระยาโกษาธบิ ดี (ปาน) http://www.oceansmile.com/K/Ayuttaya/Kosapan.htm 11.หทอมราโชทัย (หมอมราชวงศกระตา ย อศิ รางกร)ู http://www.panyathai.or.th/ 12.สมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรสั รุ ยิ วงศ (ชว ง บุนนาค) https://www.baanjomyut.com/library_2/extension- 13.ซีมง เดอ ลา ลแู บร https://th.wikipedia.org/wiki 14.พระสงั ฆราชปลเลอกัวซ http://apinya-my.blogspot.com/2017/06/blog-post_26.html?m=1 15.สมเด็จพระเจาบรมวงศ เธอเจา ฟากรมพระยารศิ รานุวัดติ https://www.sac.or.th/databases/thailitdir/cre_det.php 16.หมอบรดั เลย หรอื แดน บีช แบรดลยี  http://apinya-my.blogspot.com/2017/10/blog-post_19.html?m=1 17.พระยารษั ฎานปุ ระดิษฐมหิศรภกั ดี (คอซมิ บี๊ ณ ระนอง) https://sites.google.com/site/hayhelngxxng/home/prawati-khx-sim-bi 18.พระยากัลยาณไมตรี (ฟรานซิส บ.ี แซร) https://thepeople.co/francis-sayre-drafter-outline-preliminary-draft/ 19.ศลิ ป พรี ะศรี https://www.sarakadeelite.com/faces/silpa-bhirasri/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook