Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1580712959

1580712959

Published by santa282562, 2021-03-30 07:20:19

Description: 1580712959

Search

Read the Text Version



ค�ำน�ำ ห นังสือน้ี จัดท�ำขึ้นเพ่ือเป็นที่ระลึกเนื่องในโอกาสท่ีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ทรงเปดิ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อ�ำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม ระหว่างวันท่ี ๑๘–๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ ซึ่งเป็นการ สนองต่อพระปณิธานของพระองค์ ท่ีทรงส่งเสริมให้ห้องสมุดเป็นศูนย์เรียนรู้ในการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตและด�ำรงตนอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณต่อพสกนิกรชาวจังหวัด นครพนมเป็นอย่างย่ิง ท่ีจะสามารถเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ท่ีทรงคุณค่า แห่งนี้ได้ ภายในหนังสือประกอบด้วย พระราชประวัติ พระอัจฉริยภาพ พระราชกรณียกิจ ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ความเป็นมาของห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อ�ำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม และเรื่องราวของจังหวัดนครพนม เพื่อใหผ้ อู้ ่านได้รบั รู้และเข้าใจได้ส่วนหนึง่ ความสำ� เร็จของการก่อตงั้ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อำ� เภอเมอื งนครพนม จังหวัดนครพนม เกิดจากความน้อมส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ของบคุ คลตา่ งๆ อาทิ พระราชสริ วิ ฒั น์ รองเจา้ คณะจงั หวดั นครพนม เจา้ อาวาส วดั สวา่ งสวุ รรณาราม ขา้ ราชการ หนว่ ยงาน องคก์ ร บรษิ ทั หา้ งรา้ นและประชาชนจงั หวดั นครพนม ทไี่ ดร้ ว่ มกนั สนบั สนนุ ปจั จยั ในการดำ� เนนิ การกอ่ สรา้ งและพฒั นาตกแตง่ ใหม้ คี วามเรยี บรอ้ ยสมบรู ณ์ เอ้อื อ�ำนวยประโยชนต์ อ่ การให้บรกิ าร จงึ ขอขอบพระคณุ ทุกทา่ น มา ณ โอกาสนี้ ส�ำนักงาน กศน. จังหวัดนครพนม ๓

vv v vv v สารบัญ เรื่อง หนา้ v พระราชประวัติ ๖ การศกึ ษา ๘ การสถาปนาพระอสิ ริยศกั ด ์ิ ๑๒ การรับราชการ ๑๕ v พระอจั ฉรยิ ภาพดา้ นภาษา ๑๖ v พระอจั ฉรยิ ภาพดา้ นดนตร ี ๒๒ ๗ v พระอัจฉริยภาพด้านพระราชนพิ นธ ์ ๒๘ v ความเปน็ มาของหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี ๓๔ อ�ำเภอเมืองนครพนม จงั หวัดนครพนม มมุ ห้องใหบ้ ริการความรหู้ นงั สอื สือ่ ความรู้ ๓๙ ภายในห้องสมดุ ชัน้ ๑ มมุ หนังสือพระราชนิพนธ-์ หนงั สือพระราชทาน มมุ สบื ค้นข้อมูล มุมหนังสือท่วั ไป ๔๐ มมุ ศาสนาและประวตั ิศาสตร์ ๔๑ มุมส่งเสรมิ การรู้หนังสอื ไทย (Maruka Model) มุมหนงั สอื e-book มุมบริการยืม-คืน หนังสือและสอ่ื การเรยี นรู้ มมุ เดก็ และครอบครวั มุมเทคโนโลยีสารสนเทศ หอ้ งอาเซยี น (ASEAN) มุมหอ้ งให้บริการความรู้ ภายในหอ้ งสมุด ชั้น ๒ หอ้ งทรงงาน หอ้ งต�ำนานและวิถีชีวิตนครพนม หอ้ งพระธาตุประจ�ำวนั เกิด ๔๑ Multimedia Room v ประวัตวิ ัดสว่างสุวรรณาราม ๔

vv v vv ๔๒ หน้า v ประวัตผิ ้ามกุ จังหวัดนครพนม ๔๒ ๔๘ v ประวัตจิ งั หวัดนครพนม ๔๖ v พระธาตุประจำ�วนั เกดิ (๘ พระธาต)ุ ๔๘ ๕๑ พระธาตุพนม อ�ำเภอธาตุพนม (วนั อาทติ ย์) พระธาตุเรณู อ�ำเภอเรณนู คร (วนั จันทร)์ พระธาตุศรคี ุณ อ�ำเภอนาแก (วนั อังคาร) พระธาตุมหาชยั อำ� เภอปลาปาก (วนั พธุ ) พระธาตุมรุกขนคร อ�ำเภอธาตุพนม (วันพุธตอนกลางคืน) พระธาตปุ ระสิทธ์ิ อ�ำเภอนาหว้า (วันพฤหัสบดี) พระธาตทุ า่ อเุ ทน อำ� เภอทา่ อเุ ทน (วันศุกร์) พระธาตนุ คร อำ� เภอเมืองนครพนม (วนั เสาร์) v ชนเผ่าไทยในจังหวดั นครพนม (๘ ชนเผ่า ๒ เช้อื ชาต)ิ ๕๑ ชนเผ่าไทยญ้อ (ญอ้ ) ชนเผ่าผู้ไทย เผ่าไทยกะเลงิ เผา่ ไทแสก เผ่าไทยโส้หรอื ไทยกะโซ่ ไทยขา่ ชนเผา่ ไทยอสี าน เผ่าไทกวน ชาวไทยเชอื้ สายจีนในจงั หวัดนครพนม ชาวไทยเชอื้ สายเวียดนาม v แหลง่ ท่องเทย่ี วจังหวัดนครพนม ๕๘ พระธาตพุ นม พญาศรีสัตตนาคราช สะพานมิตรภาพ ๓ ระหวา่ งไทย–ลาว ๕๙ ๕ ๖๑

vv ๖6 ทร่ี ะลึกพธิ เี ปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำ�เภอเมอื งนครพนม จังหวัดนครพนม

ส มเด็จพระเทพรตั นราชสุดา เจา้ ฟา้ มหาจักรสี ริ ินธร รฐั สมี าคณุ ากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชสมภพ เมื่อวันเสาร์ท่ี ๒ เมษายน พ.ศ.๒๔๙๘ (ตรงกับวันขึ้น ๑๐ ค�่ำ เดือน ๕ ปีมะแม สัปตศก) ณ พระที่น่ัง อัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ทรงเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระองค์ที่ ๓ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ โดยศาสตราจารย์ นายแพทย์ หม่อมหลวงเกษตร สนิทวงศ์ เป็นผู้ถวายพระประสูติกาล และได้รับการถวายพระนามจากสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ ว่า สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนราชสุดา กิติวฒั นาดุลโสภาคย์ พรอ้ มท้ังประทานค�ำแปลวา่ นางแก้ว อันหมายถึง หญงิ ผ้ปู ระเสริฐ และมพี ระนามทขี่ า้ ราชบรพิ ารเรียกท่วั ไปว่า ทูลกระหม่อมน้อย พระนาม “สิรินธร” น้นั น�ำมาจากสร้อยพระนามของสมเด็จพระราชปติ ุจฉา เจา้ ฟา้ วไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบรุ ีราชสิรนิ ธร ซ่ึงเป็นสมเด็จพระราชปิตุจฉา (ปา้ ) ในพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวภูมพิ ลอดุลยเดช ส�ำหรับสร้อยพระนาม “กิติวัฒนาดุลโสภาคย์” ประกอบข้ึนจาก พระนามาภไิ ธย ของสมเด็จพระบุพการี ๓ พระองค์ ไดแ้ ก่ “กติ ิ” มาจากพระนามาภไิ ธย ของสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ พระมารดา (แม)่ สว่ น “วฒั นา” มาจาก พระนามาภิไธยเดิมของสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า (คือ สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี) สมเด็จพระปัยยิกา (ย่าทวด)​​ และ “อดุล” มาจากพระนามาภิไธย ของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก สมเด็จพระอยั กา (ป)ู่ ท่ีระลกึ พธิ เี ปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” ๗ อำ�เภอเมืองนครพนม จงั หวดั นครพนม

การศกึ ษา ส มเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเร่ิมต้น การศึกษาระดบั อนุบาล เม่อื พทุ ธศกั ราช ๒๕๐๑ ณ โรงเรยี นจติ รลดา ในเขตพระราชฐานพระตำ� หนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต และทรงศึกษา ตอ่ ในโรงเรยี นจิตรลดาจนถงึ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย และในปี พ.ศ. ๒๕๑๕ ทรงสอบไล่จบช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย ในแผนกศิลปะ ด้วยคะแนนสูงสุดของ ประเทศ หลงั จากนน้ั พระองคท์ รงสอบเขา้ ศกึ ษาตอ่ ในระดบั อดุ มศกึ ษา ณ คณะ อักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยสามารถท�ำคะแนนสอบเอนทรานซ์ เป็นอันดับ ๔ ของประเทศ ซึ่งถือเป็นสมเด็จเจ้าฟ้าพระองค์แรกที่ทรงเข้าศึกษา ต่อระดับอุดมศึกษาในประเทศ จนกระท่ัง ปี พ.ศ. ๒๕๒๐ พระองค์ทรงส�ำเร็จ การศึกษาได้รับปริญญาอักษรศาสตร์บัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์ เกียรตินิยม อนั ดับหนงึ่ เหรยี ญทอง ด้วยคะแนนเฉลี่ย ๓.๙๘ ๘ ทรี่ ะลึกพิธีเปดิ ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี อำ�เภอเมอื งนครพนม จังหวัดนครพนม

ท่รี ะลกึ พิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี ๙ อำ�เภอเมอื งนครพนม จงั หวดั นครพนม

พระองค์ทรงเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาโท ด้านจารึกภาษาตะวันออก (ภาษาสันสกฤตและภาษาเขมร) ณ คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร และสาขาภาษาบาลี และภาษาสันสกฤต จากภาควิชาภาษาตะวันออก คณะอักษร- ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในระหว่างน้ัน มีพระราชกิจ มากจนท�ำให้ไม่สามารถท�ำวิทยานิพนธ์ในระดับปริญญาโท ได้พร้อมกันทั้ง ๒ มหาวิทยาลัย พระองค์จึงตัดสินพระทัย เลือกท�ำวิทยานิพนธ์เพ่ือให้ส�ำเร็จการศึกษาที่คณะโบราณคดี มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากรก่อน โดยทรง ท�ำวิทยานิพนธห์ วั ขอ้ เร่อื ง “จารึกพบที่ปราสาทพนมรุ้ง” ทรงส�ำเร็จการศึกษาได้รับ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต และเข้ารับพระราชทาน ปรญิ ญาบัตร เมอื่ วันที่ ๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๒๒ หลังจากนั้นพระองค์ทรงท�ำวิทยานิพนธ์หัวข้อ เรื่อง “ทศบารมีในพุทธศาสนาเถรวาท” ทรงส�ำเร็จการศึกษา ได้รับปริญญาอักษรศาสตร์มหาบัณฑิต จากคณะอักษร- ศาสตรจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และได้เข้ารับพระราชทาน ปรญิ ญาบตั ร เมอื่ วนั ท่ี ๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๒๔ พระองคท์ รง เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก ณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยพระองค์ผ่านการสอบ คัดเลือกอย่างยอดเย่ียม ด้วยคะแนนเป็นอันดับหน่ึง ในบรรดาผู้เข้าสอบทั้งหมด และทรงเป็นนิสิตปริญญา การศึกษาดุษฏีบัณฑิต สาขาพัฒนศึกษาศาสตร์รุ่นท่ี ๔ ๑๐ ทรี่ ะลกึ พิธีเปดิ ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อำ�เภอเมอื งนครพนม จังหวดั นครพนม

พระองค์ทรงท�ำวิทยานิพนธ์ในหัวข้อเรื่อง “การพัฒนานวัตกรรมเสริมทักษะการเรียนการ ๑๑ สอนภาษาไทยส�ำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย” เน่ืองจากพระองค์ทรงตระหนักว่า สภาพการเรียนการสอนภาษาไทยนั้นมีปัญหา เพราะนักเรียน ไม่ค่อยสนใจเรียนภาษาไทย มีความรู้ ความสามารถ ทักษะในการเข้าใจและใช้ภาษาไม่เพียงพอ พระองค์ จึงทรงน�ำเสนอ วิธีการสอนภาษาไทยในลักษณะนวัตกรรมเสริมทักษะการเรียนการสอน เพ่ือส่งเสริม ความสนใจในการเรียนภาษาไทยของนักเรียนและเป็นสื่อที่จะช่วยให้ครูสอนภาษาไทย ได้ง่ายข้ึน พระองค์ทรงสอบผ่านวิทยานิพนธ์อย่างยอดเย่ียม สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ ใหท้ รงสำ� เรจ็ การศึกษาในระดับปรญิ ญาเอก เมอ่ื วันท่ี ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๒๙ ท่รี ะลกึ พิธเี ปดิ ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อำ�เภอเมืองนครพนม จงั หวดั นครพนม

การสถาปนาพระอสิ รยิ ศักดิ์ พ ระราชพิธีสถาปนาพระราชอิสริยศักดิ์ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธร เทพรตั นสดุ า กติ วิ ฒั นาดลุ ยโสภาคย์ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช มพี ระราชดำ� รวิ า่ สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ เจา้ ฟา้ สริ นิ ธรเทพรตั นสดุ า กติ วิ ฒั นาดลุ ยโสภาคย์ ทรง ไดร้ บั ความสำ� เรจ็ ในการศกึ ษาอยา่ งงดงาม และทรงไดบ้ ำ� เพญ็ พระองคใ์ หเ้ ปน็ ประโยชนแ์ กช่ าติ บ้านเมืองเป็นอเนกปริยาย โดยเสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงเยี่ยมเยียนราษฎรในภูมิภาคต่างๆ อยู่เสมอ ในด้านการพัฒนาบ้านเมือง เสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงศึกษาและช่วยเหลือกิจการ โครงการตามพระราชดำ� รทิ กุ โครงการ พรอ้ มทรงรบั พระบรมราโชบายมาทรงดำ� เนนิ การสนอง พระเดชพระคณุ ในดา้ นตา่ งๆ นบั เปน็ การดแู ลสอดสอ่ งพระราชกรณยี กจิ สว่ นหนงึ่ ตา่ งพระเนตร พระกรรณ ในด้านพระศาสนา มีพระหฤทัยม่ันคงในพระรัตนตรัยและสนพระหฤทัยศึกษา หาความรู้ด้านพระพุทธศาสนาและศาสนาอื่นอย่างแตกฉาน ในส่วนราชการในพระองค์น้ัน กไ็ ดส้ นองพระเดชพระคุณในพระราชภารกจิ ทท่ี รงมอบหมายใหส้ �ำเรจ็ ลลุ ว่ งไปด้วยดี ๑๒ ท่รี ะลกึ พธิ เี ปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อ�ำ เภอเมอื งนครพนม จงั หวัดนครพนม

สมเด็จพระเจ้าลกู เธอ พระองค์นี้ กอปรด้วยพระจรรยามารยาท เพยี บพรอ้ มด้วย คณุ สมบตั แิ หง่ ขตั ตยิ ราชกมุ ารที กุ ประการ เปน็ ทรี่ กั ใครน่ บั ถอื ยกยอ่ งสรรเสรญิ พระเกยี รตคิ ณุ กนั อยโู่ ดยทวั่ จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ สถาปนาพระอสิ รยิ ยศและพระอสิ รยิ ศกั ดใิ์ หส้ งู ขนึ้ ให้ทรงรับพระราชบัญชาและสปั ตปฎลเศวตฉัตร (เศวตฉตั ร ๗ ช้นั ) พรอ้ มทั้ง เฉลมิ พระนาม ตามท่ีจารกึ ในพระสพุ รรณบัฏว่า สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจกั รีสิรนิ ธร รฐั สมี า คณุ ากรปยิ ชาติ สยามบรมราชกมุ ารี เมื่อวนั ที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๐ นับเป็นเจ้านายฝ่ายในพระองค์ที่ ๑๔ ในราชวงศ์จักรี ท่ีได้รับการสถาปนา พระอิสริยยศเป็นกรมพระ (หรือสมเด็จพระ) และเป็นครั้งแรกที่สถาปนาพระอิสริยยศน้ีแก่ สมเดจ็ พระเจ้าลูกเธอเจา้ ฟ้า จึงเป็นพระเกียรติยศทสี่ งู ย่ิง ทร่ี ะลึกพธิ ีเปิดหอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมาร”ี ๑๓ อ�ำ เภอเมืองนครพนม จังหวดั นครพนม

๑๔ ทรี่ ะลกึ พธิ ีเปดิ ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อ�ำ เภอเมอื งนครพนม จังหวัดนครพนม

การรับราชการ ห ลังจากทรงส�ำเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษาแล้ว ในพุทธศักราช ๒๕๒๓ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเข้ารับราชการเป็นอาจารย์กองวิชากฎหมาย และ สังคมศาสตร์ ส่วนการศึกษา โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าทรงสอนวิชาประวัติศาสตร์ไทย และ สงั คมวทิ ยา ตอ่ มาในพทุ ธศกั ราช ๒๕๓๐ ไดม้ กี ารตงั้ กองวชิ าประวตั ศิ าสตรข์ นึ้ ใหม่ โดยสมเดจ็ พระเทพรตั น ราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี พระยศ พนั เอก ทรงดำ� รงตำ� แหนง่ หวั หนา้ กอง (ซงึ่ ตอ่ มาไดม้ กี ารขยายตำ� แหนง่ เปน็ ผอู้ ำ� นวยการกองในพทุ ธศกั ราช ๒๕๓๒ พรอ้ มกบั กองอน่ื ๆ) ทรงเปน็ ผอู้ ำ� นวยการกองวชิ าประวตั ศิ าสตร์ พระองค์แรกจนถงึ ปจั จุบัน มพี ระราชภารกิจ ทงั้ การบริหาร การสอน และงานวิชาการอ่ืนๆ ตอ่ มา ทรงได้ รบั พระราชทานพระยศ พลเอก ในพทุ ธศกั ราช ๒๕๓๙ และทรงไดร้ บั โปรดเกลา้ ฯ แตง่ ตง้ั เปน็ ศาสตราจารย์ (อัตราจอมพล) ในพุทธศักราช ๒๕๔๓ นอกจากนี้ ยังได้ทรงรับเชิญเป็นอาจารย์พิเศษบรรยายวิชาการ ณ สถาบนั การศกึ ษาตา่ งๆ เชน่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ และมหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร ท่ีระลกึ พธิ เี ปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี ๑๕ อ�ำ เภอเมอื งนครพนม จังหวดั นครพนม

vv ๑๖ ทร่ี ะลึกพธิ เี ปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำ�เภอเมอื งนครพนม จังหวัดนครพนม

พ ระองค์ทรงมีความรู้ทางด้านภาษา บาลี ภาษาสันสกฤต และภาษา เขมร ทรงสามารถรับส่ังเปน็ ภาษาองั กฤษ ภาษา ฝรงั่ เศส และภาษาจนี และทรงกำ� ลงั ศกึ ษาภาษา เยอรมันและภาษาละตินอีกด้วย ขณะท่ีทรง พระเยาว์นั้น สมเด็จพระนางเจ้าสริ กิ ิติ์ พระบรม ราชินีนาถ ทรงสอนภาษาไทยแก่พระราชโอรส และพระราชธิดา โดยทรงอ่านวรรณคดีเร่ือง ต่างๆ พระราชทาน และทรงให้พระองค์ทรง คัดบทกลอนตา่ งๆ หลายตอน ท�ำใหพ้ ระองคโ์ ปรด วิชาภาษาไทยต้ังแต่นั้นมา นอกจากน้ี ยังทรง สนพระทยั ในภาษาองั กฤษและภาษาบาลีดว้ ย ท่รี ะลกึ พธิ ีเปิดหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” ๑๗ อำ�เภอเมอื งนครพนม จังหวัดนครพนม

๑๘ ทรี่ ะลกึ พธิ ีเปดิ ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อ�ำ เภอเมอื งนครพนม จังหวัดนครพนม

เมื่อพระองค์ทรงเข้าเรียนที่โรงเรียนจิตรลดาน้ัน ทรงได้รับการถ่ายทอดความรู้ ทางด้านภาษาท้ังภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาเขมร ภาษาอังกฤษ และภาษาฝร่ังเศส โดย ภาษาไทยน้ัน พระองค์ทรงเช่ียวชาญทั้งด้านหลักภาษา วรรณคดี และศิลปะไทย เมื่อทรง จบช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น พระองค์พอรู้แน่ว่าอย่างไรก็คงไม่ได้เรียนแผนกวิทยาศาสตร์ จงึ พยายามหัดเรียนภาษาบาลี อา่ นเขียนอักษรขอม เนอื่ งจากในสมัยนน้ั ผู้ท่ีจะเรียนภาษา ไทยให้กว้างขวางลึกซึ้ง จะต้องเรียนท้ังภาษาบาลี สันสกฤต และเขมร ซ่ึงภาษาบาลีน้ัน เป็นภาษาท่ีพระองค์สนพระทัยตั้งแต่ทรงพระเยาว์ แต่ได้เร่ิมเรียนอย่างจริงจังในระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย จนสามารถจ�ำการแจกวิกัตติเบ้ืองต้นท่ีส�ำคัญได้ และเข้าพระทัย ท่ีระลึกพิธีเปดิ ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี ๑๙ อ�ำ เภอเมอื งนครพนม จงั หวดั นครพนม

โครงสรา้ งและลกั ษณะทว่ั ไปของภาษาบาลไี ด้ นอกจากนี้ ยงั ทรงเลอื กเรยี นภาษาฝรงั่ เศส แทนการเรียนเปียโน เนื่องจากมีพระราชประสงค์ท่ีจะอ่านหนังสือภาษาฝรั่งเศส ท่ีมีอยู่ในตู้หนังสือมากกว่าการซ้อมเปียโน เม่ือทรงเข้าศึกษา ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย น้ัน พระองค์ทรงเลือกเรียนสาขาประวัติศาสตร์ เป็นวิชา เอก และวิชาภาษาไทย ภาษาบาลี และภาษาสันสกฤติเป็นวิชาโท ท�ำให้ทรงศึกษา วิชาภาษาไทยในระดับช้ันสูงและละเอียดลึกซ้ึงยิ่งขึ้น ทั้งด้านภาษาและวรรณคดี สว่ นภาษาบาลแี ละสนั สกฤตนิ น้ั ทรงศกึ ษาทง้ั วธิ กี ารแบบดงั้ เดมิ ของไทย คอื แบบทเ่ี รยี น กันในพระอารามต่างๆ และแบบภาษาศาสตร์ซง่ึ เป็นวิธกี ารตะวนั ตก ตงั้ แต่ไวยากรณ์ ขั้นพื้นฐานไปจนถึงขั้นสูง และเรียนตามวิธีการอินเดียโบราณเป็นพิเศษในระดับ ๒๐ ทร่ี ะลึกพธิ ีเปดิ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อำ�เภอเมอื งนครพนม จังหวดั นครพนม

ปริญญาโท ซ่ึงรัฐบาลอินเดียได้ส่งศาสตราจารย์ ดร.สัตยพรต ศาสตรี มาถวาย ๒๑ พระอักษรภาษาสันกฤต โดยวิทยานิพนธ์ในระดับปริญญาโทของพระองค์ เร่ือง ทศบารมีในพุทธศาสนาเถรวาท นั้น ยังได้รับการยกย่องจากมหามกุฎราชวิทยาลัย ว่า เป็นวิทยานิพนธ์ที่แสดงถึงพระปรีชาสามารถในภาษาบาลีพุทธวจนะเป็นพิเศษ พระปรีชาสามารถทางด้านภาษาของพระองค์นั้นเป็นท่ีประจักษ์ จึงได้รับการทูล เกล้าถวายปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ทางด้านภาษา จากมหาวิทยาลัยต่างๆ ท้ังในและต่างประเทศ เช่น มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวทิ ยาลยั มาลายาประเทศมาเลเชีย มหาวทิ ยาลักบักกิงแฮม สหราชอาณาจกั ร เปน็ ตน้ ท่รี ะลกึ พิธเี ปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำ�เภอเมอื งนครพนม จังหวดั นครพนม

vv ๒๒ ทร่ี ะลึกพธิ เี ปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำ�เภอเมอื งนครพนม จังหวัดนครพนม

พ ระองค์ทรงเป็นผู้เชยี่ วชาญด้านดนตรไี ทยผหู้ นงึ่ โดยทรงเคร่อื งดนตรีไทย ๒๓ ไดท้ กุ ชนดิ แตท่ โี่ ปรดทรงอยปู่ ระจำ� คอื ระนาด ซอ และฆอ้ งวง โดยเฉพาะ ระนาดเอก พระองคท์ รงเรมิ่ หดั ดนตรไี ทยในขณะทท่ี รงศกึ ษาอยชู่ น้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ โรงเรยี นจติ รลดา โดยทรงเลอื กหดั ซอดว้ งเปน็ เครอ่ื งดนตรชี นิ้ แรก และไดท้ รงดนตรไี ทย ในงานปิดภาคเรียนของโรงเรียน รวมท้ังงานวันคืนสู่เหย้าร่วมกับวงดนตรีจิตรลดา ของโรงเรียนจิตรลดาด้วย หลังจากที่ทรงเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษา ณ คณะอักษร ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พระองค์ทรงเข้าร่วม ชมรมดนตรีไทย ของสโมสร นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและคณะอักษรศาสตร์ โดยทรงเล่นซอด้วงเป็นหลัก และทรงเรมิ่ หัดเลน่ เครอื่ งดนตรีไทยชน้ิ อ่นื ๆ ดว้ ย ทีร่ ะลึกพิธีเปิดหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อ�ำ เภอเมอื งนครพนม จงั หวัดนครพนม

ในขณะที่ทรงพระเยาว์ เคร่ืองดนตรีที่ทรง สนพระทัยนั้น ได้แก่ ระนาดเอกและซอสามสาย ซงึ่ พระองคท์ รงเรมิ่ เรยี นระนาดเอกอยา่ งจรงิ จงั เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๒๘ หลงั จากการเสดจ็ ทรงดนตรไี ทย ณ บา้ นปลายเนนิ ซง่ึ เปน็ วังของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ เจ้าฟา้ จิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ โดยมี สิริชัยชาญ พักจ�ำรูญ เป็นอาจารย์ผู้ถวายการสอน พระองค์ทรงเริ่มเรียนต้ังแต่ การจับไม้ระนาด การตีระนาดแบบต่างๆ และท่าที่ประทับขณะทรงระนาด และ ทรงเร่ิมเรียนการตีระนาดตามแบบแผนโบราณ กล่าวคือ เริ่มต้นด้วยเพลงต้นเพลง ฉง่ิ สามชนั้ แลว้ จงึ ทรงตอ่ เพลงอนื่ ๆ ตามมา ทรงทำ� การบา้ นดว้ ยการไลร่ ะนาดทกุ เชา้ หลังจากบรรทมตื่นภายในห้องพระบรรทม จนกระท้ัง พ.ศ. ๒๕๒๙ พระองค์ จึงทรงบรรเลงระนาดเอกร่วมกับครูอาวุโสของวงการดนตรีไทยหลายท่านต่อหน้า สาธารณชนเป็นคร้ังแรก ในงานดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ ๑๗ ณ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ โดยเพลงที่ทรงบรรเลง คือ เพลงนกขมิ้น (เถา) ๒๔ ทีร่ ะลึกพิธเี ปิดหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี อ�ำ เภอเมอื งนครพนม จงั หวัดนครพนม

ท่รี ะลกึ พิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี ๒๕ อำ�เภอเมอื งนครพนม จงั หวดั นครพนม

ในดา้ นการขบั รอ้ ง พระองคท์ รงมคี วามสนพระทยั ในด้านการขับร้องเพลงไทย โดยทรงเริ่มฝึกหัดการ ขับร้องด้วยพระองค์เอง เมื่อครั้งยังทรงศึกษาอยู่ ณ โรงเรียนจิตรลดา ทรงเร่ิมต้นเรียนการขับร้องกับ เจริญใจ สุนทรวาทิน อาจารย์ประจ�ำชมรมดนตรีไทย สโมสรนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และทรง พระราชนพิ นธบ์ ทขบั รอ้ งเพลงไทย สำ� หรบั พระราชทาน ให้แก่ สถาบันการศึกษาและวงดนตรีไทย เพื่อน�ำไป บรรเลงและขบั รอ้ งเนอ่ื งในโอกาสตา่ งๆ นอกจากดนตรไี ทยแลว้ พระองคย์ งั ทรงดนตรี สากลด้วย โดยทรงเริ่มเรียนเปียโน ตั้งแต่พระชนมายุ ๑๐ พรรษา แตไ่ ดท้ รงเลกิ เรยี นหลกั จากน้นั ๒ ปี และ ทรงฝึกเครื่องดนตรีสากล ประเภทเคร่ืองเป่า จาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช จน สามารถทรงทรัมเปตน�ำวงดุริยางค์ในงานคอนเสิร์ต สายใจไทย และทรงระนาดฝร่ังน�ำวงดุริยางค์ในงาน กาชาดคอนเสิรต์ ๒๖ ทรี่ ะลกึ พิธีเปดิ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ าร”ี อำ�เภอเมอื งนครพนม จงั หวัดนครพนม

ท่รี ะลกึ พิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี ๒๗ อำ�เภอเมอื งนครพนม จงั หวดั นครพนม

vv ๒๘ ทร่ี ะลึกพธิ เี ปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำ�เภอเมอื งนครพนม จังหวัดนครพนม

ท่รี ะลกึ พิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี ๒๙ อำ�เภอเมอื งนครพนม จงั หวดั นครพนม

พ ระองค์โปรดการอ่านหนังสือและการเขียนมาตั้งแต่ทรงพระเยาว์ รวมกับ พระปรีชาสามารถทางด้านภาษาทั้งภาษาไทยและต่างประเทศ ร้อยแก้วและ ร้อยกรอง ดังนั้น จึงทรงพระราชนิพนธ์หนังสือประเภทต่างๆ ออกมามากกว่า ๑๐๐ เล่ม ซ่ึงมีหลายหลากประเภท ท้ังสารคดีท่องเท่ียวเมื่อเสด็จพระราชด�ำเนินเยือนต่างประเทศ เช่น เกล็ดหิมะในสายหมอก ทัศนะจากอินเดีย มนต์รักทะเลใต้ ประเภทวิชาการและ ประวัติศาสตร์ เช่น บันทึกเร่ืองการปกครองของไทยสมัยอยุธยาและต้นรัตนโกสินทร์ กษัตริยานุสรณื หนังสือส�ำหรับเยาวชน เช่น แก้วจอมแก่น แก้วจอมซน หนังสือท่ีเก่ียวข้อง กับพระบรมวงศานุวงศ์ไทย เช่น สมเด็จแม่กับการศึกษา สมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนี กับพระราชกรณียกิจพระราชจริยาวัตรด้านการศึกษา ประเภท พระราชนิพนธ์แปล เช่น หยกใสร่ายค�ำ ความคิดค�ำนึง เก็จแก้วประกายกวีและหนังสือ ทั่วไป เช่น นิทานเรื่องเกาะ (เรื่องน้ีไม่มีคติ) เรื่องของคนแขนหัก เป็นต้น และมีลักษณะ การเขยี นทคี่ ลา้ ยคลงึ กบั พระราชนพิ นธใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั กลา่ วคอื ในพระราชนพิ นธเ์ ร่อื งตา่ งๆ นอกจากจะแสดง พระอารมณ์ขันแลว้ ยังทรงแสดงการวพิ ากษ์ วจิ ารณ์ในแงต่ ่างๆ เป็นการแสดงพระมติ สว่ นพระองค์ ๓๐ ที่ระลกึ พธิ เี ปดิ ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี อ�ำ เภอเมอื งนครพนม จังหวัดนครพนม

นอกจากพระนาม “สิรินธร” แล้ว พระองค์ยังทรงใช้นามปากกาในการ พระราชนิพนธ์หนังสืออีก ๔ พระนาม ได้แก่ “ก้อนหินก้อนกรวด” เป็นพระนามแฝงที่ ทรงหมายถึง พระองค์และพระสหาย สามารถแยกได้เป็น ก้อนหิน หมายถึง พระองค์ เอง ส่วนก้อนกรวด หมายถึง กุณฑิกา ไกรฤกษ์ พระองค์มีรับสั่งถึง พระนามแฝงน้ีว่า “เราตวั โตเลยใชว้ า่ ก้อนหิน หวานตัวเลก็ เลยใช้ว่า กอ้ นกรวด รวมกนั จึงเปน็ ก้อนหนิ - ก้อนกรวด” นามปากกานี้ ทรงใช้คร้ังเดียวตอนประพันธ์บทความ “เรื่องจาก เมืองอิสราเอล” เม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๒๐ “แว่นแก้ว” เป็นช่ือที่พระองค์ทรงต้ังขึ้นเอง ซ่ึงพระองค์มีรับส่ังถึงพระนาม แฝงน้ีว่า “ชอื่ แว่นแก้ว” นต้ี งั้ เอง เพราะตอนเดก็ ๆ ชอื่ ลูกแกว้ ตวั เองอยากช่ือแกว้ ท�ำไม ถงึ เปน็ ไปไม่รูเ้ หมือนกัน แล้วกช็ อบเพลง น้อยใจยา นางเอกชื่อ “แวน่ แก้ว” พระนามแฝง แว่นแก้วน้ี พระองค์เร่ิมใช้ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๑ เม่ือทรงพระราชนิพนธ์และทรงแปลเร่ืองส�ำหรับ เด็ก ไดแ้ ก่ แก้วจอมซน แก้วจอมแกน่ และขบวนการนกกางเขน “หนนู ้อย” พระองค์มี รบั สงั่ ถงึ พระนามแฝงนว้ี า่ “เรามชี อ่ื เลน่ ทเี่ รยี กกนั ในครอบครวั วา่ นอ้ ย เลยใชน้ ามแฝงวา่ หนนู อ้ ย” โดยพระองคท์ รงใชเ้ พยี งครง้ั เดยี วในบทความเรอื่ ง “ปอ๋ งทรี่ กั ” ตพี มิ พใ์ นหนงั สอื ๒๕ ปจี ิตรลดา เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๓ และ “บนั ดาล” พระองคม์ รี บั สัง่ ถึงพระนามแฝงนี้ว่า ใชว้ า่ บนั ดาล เพราะคำ� นผี้ ดุ ขน้ึ มาในสมอง เลยใชน้ ามแฝง ไมม่ เี หตผุ ลอะไรในการใชช้ อ่ื น้ี เลย” ซง่ึ พระองคท์ รงใชใ้ นงานแปลภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาไทยทที่ รงทำ� ใหส้ ำ� นกั เลขาธกิ าร คณะกรรมการแหง่ ชาติ วา่ ดว้ ยการศกึ ษา วทิ ยาศาสตรแ์ ละวฒั นธรรมแหง่ สหประชาชาติ กระทรวงศึกษาธิการ เม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๒๖ ที่ระลึกพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมาร”ี ๓๑ อ�ำ เภอเมืองนครพนม จังหวดั นครพนม

๓๒ ทรี่ ะลกึ พธิ ีเปดิ ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อ�ำ เภอเมอื งนครพนม จังหวัดนครพนม

นอกจากนี้ ยังทรงพระราชนิพนธ์เพลงเป็นจ�ำนวนมาก โดยบทเพลง ๓๓ ท่ีดังและน�ำมาขับร้องบ่อยครั้ง ได้แก่ เพลงส้มต�ำ รวมท้ัง ยังทรงประพันธ์ค�ำร้อง ในบทเพลงพระราชนพิ นธใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ไดแ้ ก่ เพลงรัก และเพลงเมนูไข่ ทร่ี ะลึกพิธีเปดิ ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อ�ำ เภอเมืองนครพนม จงั หวัดนครพนม

หอ้ งสมุดประคชวาามชเปน็นม”าเขฉอลงิมราชกุมารี” อ�ำเภอเมืองนครพนม จังหวดั นครพนม เ นอ่ี งในมง่ิ มลคลสมยั ทส่ี มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงเจริญพระชนมายุ ๓๖ พรรษา ในปีพุทธศักราช ๒๕๓๔ กระทรวง ศึกษาธิการ ได้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตด�ำเนินการ จัดตั้งห้องสมุด ประชาชน ซึ่งได้โปรดพระราชทานนามว่า ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” เป็นห้องสมุดประชาชนที่อยู่ในการก�ำกับดูแลของส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ส�ำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวง ศึกษาธิการ จัดสร้างขึ้นตามมติจากคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๓๔ เพ่ือเฉลมิ พระเกียรตสิ มเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ าร ี ในโอกาส ท่ที รงมีพระชนมายุ ๓๖ พรรษา และให้เป็นแหล่งสรรพความรู้ตา่ งๆ ทีส่ มบูรณ์ของ ประชาชนในท้องถิ่น ท้ังการเป็นศูนย์ข่าวสารข้อมูลชุมชน ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ ของชุมชน ศูนย์กลางการจัดกิจกรรมของชุมชน และเป็นแหล่งพัฒนาเครือข่าย การเรียนรู้ในชุมชน โดยหน่วยงานภาครัฐและเอกชนพร้อมใจกันน้อมเกล้าถวาย เพอื่ สนองพระราชปณธิ านและแนวทางพระราชดำ� รใิ นการสง่ เสรมิ การศกึ ษาสำ� หรบั ประชาชน ๓๔ ท่ีระลึกพธิ เี ปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำ�เภอเมอื งนครพนม จังหวดั นครพนม

พิธีวางศิลาฤกษ์ ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อำ� เภอเมืองนครพนม จงั หวดั นครพนม ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อ�ำเภอ เมอื งนครพนม จงั หวดั นครพนม ไดเ้ ขา้ รว่ มโครงการหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี เปน็ ลำ� ดบั ท่ี ๑๐๕ ของประเทศ เรมิ่ ดำ� เนนิ การมาตงั้ แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยไมใ่ ชง้ บประมาณ ของทางราชการ ซ่ึงพระเดชพระคุณพระราชสิริวัฒน์ รองเจา้ คณะจงั หวดั นครพนม เจา้ อาวาสวดั สวา่ งสวุ รรณาราม ได้อนุญาตให้ใช้พ้ืนที่ธรณีสงฆ์ของวัดสว่างสุวรรณาราม เนื้อที่ประมาณ ๑ ไร่ ในการก่อสร้างห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อ�ำเภอเมอื งนครพนม จงั หวดั นครพนม เมือ่ วนั ที่ ๑๖ มถิ ุนายน ๒๕๕๘ เวลา ๐๙.๐๐ น. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้พระราชทานพระราชวโรกาสให้เข้าเฝ้า โดยนายอดิศักดิ์ เทพอาสน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม (ปัจจุบันเกษียณ อายรุ าชการ) พรอ้ มคณะผเู้ กย่ี วขอ้ งกบั การจดั สรา้ งหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อำ� เภอเมอื งนครพนม จงั หวัด นครพนม เขา้ เฝา้ ทลู ละอองพระบาทสมเดจ็ พระเทพรตั นราช สดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี เพอื่ ทลู เกลา้ ฯ ถวายแผน่ ศลิ าฤกษ์ ใหท้ รงเจมิ และทรงพระสุหรา่ ย ส�ำหรบั นำ� ไปใช้ประกอบใน พธิ วี างศิลาฤกษ์ ณ ศาลาดสุ ดิ าลัย สวนจติ รลดา ที่ระลกึ พธิ เี ปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” ๓๕ อำ�เภอเมอื งนครพนม จงั หวดั นครพนม

ต่อจากนั้น นายอดิศักดิ์ เทพอาสน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม ได้เป็นประธานในพิธีวางศิลาฤกษ์ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อ�ำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม เมื่อวันที่ ๑๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๘ เวลา ๑๓.๐๐ น. ยงั ความปลาบปลม้ื ใจแกป่ ระชาชนชาวจงั หวดั นครพนมเปน็ อยา่ งยงิ่ ๓๖ ทร่ี ะลกึ พิธเี ปิดหอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมาร”ี อำ�เภอเมอื งนครพนม จังหวัดนครพนม

ท่รี ะลกึ พิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี ๓๗ อำ�เภอเมอื งนครพนม จงั หวดั นครพนม

เม่ือการด�ำเนินงานก่อสร้างอาคารห้องสมุดแล้วเสร็จสมบูรณ์ กไ็ ดด้ ำ� เนนิ การปรบั ปรงุ ตกแตง่ ภายในอาคารและปรบั ปรงุ ภมู ทิ ศั นภ์ ายนอกอาคาร ซึ่งใชร้ ะยะเวลาในการกอ่ สรา้ ง ตงั้ แตเ่ ดือน มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๗- เดอื น กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ รวมระยะเวลา ๔ ปี ๘ เดือน ซึ่งได้รับการสนับสนุนงบประมาณ จากสำ� นกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กระทรวง ศึกษาธิการ และจากผู้มีจิตศรัทธาร่วมบริจาคท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน ตลอดจน ประชาชนรว่ มกนั บรจิ าคทนุ ทรพั ย์ วสั ดุ ครภุ ณั ฑต์ า่ งๆ ทจี่ ำ� เปน็ ตอ่ การดำ� เนนิ งาน ของห้องสมดุ และเพอื่ จัดตกแต่งและพฒั นาส่วนตา่ งๆ ของหอ้ งสมดุ ดังนี้ ๓๘ ที่ระลกึ พธิ เี ปดิ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อ�ำ เภอเมืองนครพนม จังหวดั นครพนม

ภายในอาคารชั้นที่ ๑. ๖) มุมหนังสือ e-book ประกอบดว้ ย ๗) มุมบริการยมื -คืน หนังสือและสื่อการเรยี นรู้ ๘) มมุ เดก็ และครอบครวั ๙) มมุ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ๑) มมุ หนงั สอื พระราชนิพนธ์ - หนงั สอื พระราชทาน ๑๐) ห้องอาเซยี น (ASEAN) ๒) มมุ สืบค้นข้อมูล ๓) มุมหนังสอื ทั่วไป ๔) มุมศาสนาและประวัตศิ าสตร์ ๕) มมุ ส่งเสรมิ การรู้หนังสอื ไทย (Maruka Model) ที่ระลึกพธิ เี ปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ าร”ี ๓๙ อำ�เภอเมืองนครพนม จังหวดั นครพนม

ภายในอาคารชัน้ ที่ ๒. ประกอบด้วย ๑) หอ้ งทรงงาน ๒) ห้องตำ� นานและวิถชี ีวติ นครพนม ๓) หอ้ งพระธาตปุ ระจำ� วันเกดิ ๔) Multimedia Room มรุกขะ โมเดล (MARUKA MODEL) นวัตกรรมส่งเสริมการรหู้ นงั สอื ไทย แนวพระราชด�ำริด้านการส่งเสริมการอ่านของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๓ ความว่า…การรู้หนงั สือเป็นความจำ� เป็นส�ำหรับทุกชาติ ที่ก�ำลังพัฒนาตลอดจนเป็นกิจกรรมที่ต้องร่วมมือกันส่งเสริมให้ บรรลุผลให้ได้ ถ้าปราศจากพ้ืนฐานการรู้หนังสือของประชาชนในประเทศแล้ว ความพยายามในการด�ำเนิน การพัฒนาคงไร้ผลการรู้หนงั สอื เป็นสว่ นหน่ึงของวธิ กี ารท่จี ะน�ำไปสจู่ ดุ ม่งุ หมายอนั สูงสุด” จากแนวพระราชดำ� ริดังกลา่ ว กศน. อ�ำเภอเมืองนครพนม จึงได้น้อมนำ� มาเปน็ แนวทางในการพฒั นา การด�ำเนินงานสง่ เสริมการรหู้ นังสอื ไทยใหแ้ ก่ประชาชน โดย กศน. อ�ำเภอเมอื งนครพนม ได้ก�ำหนดเปา้ หมาย และนโยบายการส่งเสริมการรหู้ นังสอื มาตั้งแตป่ ี พ.ศ. ๒๕๓๗ จนถงึ ปัจจบุ นั จากผลการดำ� เนนิ งาน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ ผลการส�ำรวจและประเมินระดับการรู้หนังสือของประชากรไทย (อายุ ๑๕ ขึ้นไป) ในอ�ำเภอเมือง นครพนม จำ� นวน ๕๑,๕๖๑ คน พบว่า มีผ้รู ้หู นงั สอื จ�ำนวน ๔๗,๑๒๒ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๙๑.๓๙ และยงั มผี ไู้ มร่ หู้ นงั สอื / ลมื หนงั สอื จำ� นวน ๔,๔๓๙ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๘.๖๑ ซงึ่ กลมุ่ ผไู้ มร่ หู้ นงั สอื /ลมื หนงั สอื เปน็ กลมุ่ เปา้ หมายทสี่ ถานศกึ ษาตอ้ ง ใหค้ วามส�ำคัญและพยายามเขา้ ถงึ เพอ่ื จัดการศึกษาใหบ้ คุ คล เหล่าน้ีเป็นผู้รู้หนังสือ อันจะน�ำไปสู่การศึกษาตลอดชีวิต ซึ่งจะท�ำให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองและมีคุณภาพชีวิต ทด่ี ีขน้ึ ตอ่ ไป ๔๐ ทร่ี ะลกึ พิธเี ปดิ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อ�ำ เภอเมอื งนครพนม จังหวัดนครพนม

vvประวัติ รูป ๒ รูป จนกระทั้งปี พ.ศ. ๒๔๘๐ ก็ได้รับ อนุญาตต้ังเป็นวัดสมบูรณ์ ปี พ.ศ. ๒๔๘๘ พระครู ศาสนกิจ (ทองค�ำ) จากวัดศรีเทพ ประดิษฐารามกับ อาจารย์กี ได้มาบูรณะซ่อมแซมวัดใหม่ โดยได้ซ้ือ กฎุ มิ าจากบา้ นภเู ขาทอง มากอ่ สรา้ งกฎุ สิ งฆ์ ศาลา การเปรยี ญ (หอแจก) เสร็จสมบรู ณ์เรยี บร้อย และ ได้เห็นพร้องต้องกันว่าควรเปลี่ยนชื่อวัดใหม่ เป็น วัดสว่างสุวรรณาราม (โดยพระครูพนมมธรรม ธาดา หรือพระมหาแผง เจ้าคณะอ�ำเภอเมือง นครพนม) เป็นผู้ก่อตั้งตามชื่อบ้านและนามสกุล ของชาวบ้านส่วนใหญ่ ต่อมาเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๘ ท่านพระครูปรีชาพนมกิจ อดีต เจ้าอาวาสวัดมหาธาตุ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง วัดสว่างสุวรรณาราม วั ดน้ีเดิมช่ือว่า วัดโพธิ์ชัย สร้างข้ึนเมื่อ จังหวัดนครพนม ได้มาต้ังส�ำนักวิปัสสนาข้ึนเป็น พ.ศ. ๒๔๗๗ ในอดีตบริเวณท่ีตั้งวัด แห่งแรกของจังหวัดนครพนม และท่านได้รับ นี้ เป็นป่าโนนหัวหนองแสง ด้านทิศตะวันออกมี แต่งต้ังเป็นเจ้าวาสรปู แรกของวดั หนองนำ้� ธรรมชาตเิ กา่ แก่ ชอ่ื วา่ หนองแสง ราษฎร ลำ� ดับเจ้าอาวาสวดั สวา่ งสวุ รรณาราม ชาวบ้านโพนแดง ทางด้านทิศตะวันตกของวัด ๑. พระครูปรชี าพนมกิจ พ.ศ. ๒๔๙๘–๒๕๓๓ เกิดโรคระบาด ผู้คนล้มตายมาก ชาวบ้านจึงได้ ๒. พระมหาเพชร สุวิชาโน ป.ธ. ๖ ย้ายจากบ้านโพนแดง (ปัจจุบันเป็นหมู่บ้านร้าง (ย้ายไปด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอนาหว้า) กลางทุ่งนา) เข้ามาตั้งหมู่บ้านใหม่ แล้วตั้งช่ือว่า พ.ศ. ๒๕๓๓ - ๒๕๓๙ บา้ นโพนสวา่ ง ครงั้ แรกมปี ระมาณ ๑๘-๒๐ หลงั คา ๓. พระใบฎีกาคล้าย ปญฺญาวโร พ.ศ. ๒๕๔๐– เรือน ต่อมาก็มีผู้คนอพยพมาอยู่เร่ือยๆ จึงท�ำให้ ๒๕๔๘ หมู่บ้านเป็นปึกแผ่นแน่นหนาข้ึน เมื่อประชาชน ๔. พระราชสริ วิ ัฒน์ เพชร สุวิชาโน ป.ธ.๖ พธม. ในหมู่บ้านอยู่ดีกินสุข จึงได้ปรึกษาหารือกัน (รองเจ้าคณะจงั หวัดนครพนม) พ.ศ. ๒๕๔๘– เพื่อหาท่ีสร้างวัดเพ่ือเป็นศูนย์รวมของจิตใจ ปจั จบุ นั เมื่อประชุมกันแล้ว พิจารณาเห็นว่าท่ีโนนหัวแสง เปน็ ท่เี หมาะสม จึงพากันถากถาง โดยมี นายค�ำไหล่ สวุ รรณ นายนลิ สวุ รรณ เปน็ หวั หนา้ พรอ้ มชาวบา้ น ได้พากันก่อสร้างกุฎิ ๑ หลัง ศาลาช่ัวคราว พอได้ท�ำบุญ และได้นิมนต์พระอุดร จากวัดบ้าน โพนแพงมาอยจู่ ำ� พรรษา อยไู่ ดป้ ระมาณ ๒ พรรษา ก็ลาสิกขา และก็มีพระมาอยู่จ�ำพรรษาปีละ ๑ ท่รี ะลกึ พิธเี ปิดหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมาร”ี ๔๑ อำ�เภอเมอื งนครพนม จงั หวัดนครพนม

vv vv vv vv ประวัติผ้ามกุ จังหวดั นครพนม จั งหวัดนครพนม เป็นจังหวัดที่เก่าแก่จังหวัดหนึ่ง ลายหมากจับ เป็นต้น ผ้ามุกเป็น ผ้าชิ้นหน่ึง ซ่ึงเป็นลายผ้าโบราณ ในแถบลมุ่ แมน่ ำ�้ โขง ในพน้ื ทนี่ ใ้ี นอดตี มคี วามเจรญิ ของชาวนครพนม โดยลักษณะ รุ่งเรืองเป็นอย่างมาก ด้านศิลปวัฒนธรรม และหัตถกรรม ของผ้า จะเป็นลายขวางรอบตัว พื้นบ้านหลายอย่าง เช่น การทอผ้า การจักสาน เป็นต้น ป ก ติ จ ะ เ ป ็ น ด อ ก ล า ย สี ข า ว ประกอบด้วย จังหวัดนครพนมมีชนเผ่าที่อยู่อาศัยหลาย ตัวลายจะขึ้นอยู่กับจิตนาการ เผ่า แต่ละเผ่าจะมีเอกลักษณ์ของตนเอง เช่น การทอผ้า ของผู้ทอ มีดอกเล็ก ดอกใหญ่ ลายของผ้าของชนเผ่าผู้ไทย ก็จะเป็นลายใหญ่ๆ ส่วนมาก คลา้ ยๆ กบั มกุ ทเ่ี ปน็ เครอื่ งประดบั ย้อมสีธรรมชาติ ลายผ้าของชนเผ่าญ้อ กะเลิง จะเป็น บางลายก็มีลักษณะคล้ายกับ ลายเล็กๆ เป็นพวงผ้ามัดหมี่นาค หม่ีข้อ หมี่ขั้น ลายโคมห้า หน้ามุขของโบสถ์วิหาร ศาลา ก า ร เ ป รี ย ญ เ ป ็ น ส า ม เ ห ลี่ ย ม หน้าจ่ัวแล้วก็มีลายเล็กอยู่ตรง กลางผ้า เป็นผ้าที่สวยงามมาก และก็ท�ำยากเพราะต้องประกอบ ด้วย ขั้นตอนการทอหลายอย่าง การค้นการเก็บลายดอก ต้องใช้ เวลาประมาณหนึ่งอาทิตย์จึงจะ สามารถทอได้ ๔๒ ท่ีระลึกพธิ เี ปดิ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี อ�ำ เภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม

v v vv v สมยั กอ่ นนยิ มนำ� มาเปน็ ผา้ ถงุ เยบ็ ตนี (เชงิ ) ไหมเงนิ ใครท่ไี ดน้ งุ่ ผา้ ถุงไหมมกุ เชงิ ไหมเงิน ไหมค�ำ กจ็ ะเปน็ คนที่ มีฐานะพอสมควร ส่วนท่ีฐานะต�่ำลงมาก็จะเป็น ผ้ามุกฝ้าย ผ้ามุกโบราณนี้เกือบจะหมดไปกับความทรงจ�ำ ของพี่น้อง ชาวนครพนแล้ว แมแ้ ต่ชอ่ื ผา้ มุก คนยงั ไมร่ จู้ ัก เม่อื ได้ยนิ แล้ว เกดิ ความสงสยั ในจงั หวดั นครพนมดเู หมอื น จะมหี มบู่ า้ นเดยี ว ที่ท�ำใส่และก็ขายให้แก่ประชาชนในหมู่บ้าน คือ บ้านกก ต้อง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองนครพนม คนท่ีทอขายก็คือ นางสุดใจ อินธิโส ซ่ึงเป็นคนสุดท้ายคนเดียวท่ียังรักษา ภูมิปญั ญาของบรรพบรุ ุษไว้ ซ่งึ นางสดุ ใจก็ไดร้ ับการถา่ ยทอด ภมู ิปญั ญาน้จี ากคุณแมข่ องทา่ น ผ้ามุกนครพนม ถือว่าเป็นผ้าโบราณร่วมสมัย อาณาจักรศรีโคตรบูรณ์ ซึ่งเป็นผ้าต้นแบบของ ผ้าพ้ืนบ้าน ท้ังหลาย ลักษณะพเิ ศษของผ้า เป็นผา้ พนื้ มลี ายดอกเลก็ บ้าง ใหญ่บ้าง สลับกันไปคล้ายลายประดับมุกโบราณมีหลายสี สลับกันไป เป็นดอกเล็กๆ เรียกว่า มุกสามและใหญ่ขึ้นไป เป็นมุกสี่ มุกห้า มกุ หก มกุ เจด็ เปน็ ตน้ สืบสานอนุรกั ษภ์ มู ิปัญญาผา้ มุก โดยพระมหาเพชร สุวิชาโน ปัจจุบันเป็นพระราชสิริวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดสว่าง สุวรรณาราม รองเจ้าคณะจังหวัดนครพนม เม่ือ พ.ศ. ๒๕๓๓ ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดสว่างสุวรรณาราม ซ่ึงมี ภูมิล�ำเนาอยู่ท่ีบ้านกกต้อง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครพนม ซ่ึงมีความรู้ผ้ามุกน้ีมาต้ังแต่ยังเล็กและได้จดจ�ำไว้ตลอด ที่ระลกึ พธิ ีเปดิ ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี ๔๓ อำ�เภอเมอื งนครพนม จังหวดั นครพนม

vv vv vv พอได้รบั แตง่ ตั้งเป็นเจา้ อาวาสแลว้ กเ็ ริ่มไดพ้ ฒั นาวัด และเริม่ พระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ส่งเสริมอาชีพทอผ้ามุกของชุมชนมาตลอด ซึ่งก็เป็นส่ิงท่ี ได้ทอผ้าไหม ผ้าฝ้าย อยู่ก่อนแล้ว ยากมาก เพราะชุมชนคุ้มวัดสว่างสุวรรณารามเป็นชุมชน ก า ร ส ่ ง เ ส ริ ม อ นุ รั ก ษ ์ เ ผ ย แ พ ร ่ เมือง ในเขตเทศบาลไม่ค่อยมีคนที่ทอผ้าเป็น ท่ีทอเป็นก็เลิก จึงด�ำเนินไปด้วยดี และได้รับ ท�ำหมดแล้ว จึงได้รับบริจาคอุปกรณ์เครื่องทอหูก (ผ้ามุก) การสนับสนุนจาก ฯพณฯ พลเอก มีก่ีฟืม กวัก เป็นต้น ได้รับความร่วมมือจากขาวบ้านเป็นอย่างดี ชวลิต ยงใจยุทธ ท่านคุณหญิง จึงได้ปรึกษากับ คุณยายสุดใจ อินธิโส ซ่ึงเป็นคนสุดท้าย พนั ธเ์ ครอื ยงใจยทุ ธ และนายนพวชั ร ท่ีทอผ้ามุกอยู่ ขอให้คุณยายสุดใจ มาช่วยสอนการทอผ้ามุก สงิ หศ์ กั ดา นายอำ� เภอนาหวา้ หนว่ ย โดยใช้ใต้ถุนศาลาการเปรียญเป็นสถานที่ฝึก มีชาวบ้านท่ี งานราชการ อ�ำเภอนาหว้าทุกส่วน สนใจฝึก ประมาณ ๑๐ คน โดยได้รับค่าตอบแทนวิทยากร ไ ด ้ ร ่ ว ม ส นั บ ส นุ น ผ ้ า มุ ก จึ ง เ ป ็ น วนั ละ ๑๐๐ (หนง่ึ รอ้ ยบาทถว้ น) ฝกึ เปน็ เวลา ๕๘ วนั โดยใชท้ นุ ที่รู้จักของคนท่ัวไป ต่อมายังได้ สว่ นตวั และทางวดั ชว่ ย ไดข้ อสนบั สนนุ จากหนว่ ยงานราชการ ยกผา้ มกุ เปน็ ผา้ ประจำ� อำ� เภอนาหวา้ ตา่ งๆ จดั เปน็ กลมุ่ แมบ่ า้ น ตงั้ ศนู ยท์ อผา้ มกุ วดั สวา่ งสวุ รรณาราม ในค�ำขวัญท่ีว่า พระธาตุประสิทธ์ิ เมอ่ื วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๓๖ รวมใจ ผ้ามุกไหมงามตา อาชีพ ต่อมา พระมหาเพชร สุวิชาโน (พระราชสิริ ปริศนา พฒั นา หตั ถกรรมไทย และ วัฒน์ รองเจ้าคณะจังหวัดนครพนม) ได้ย้ายไปด�ำรงต�ำแหน่ง ส�ำคัญท่ีสุด ผ้ามุกนครพนมช้ินน้ี เจ้าอาวาสวัดธาตุประสิทธิ์ เจ้าคณะอ�ำเภอนาหว้า ที่อ�ำเภอ ไดร้ บั การสบื สานภมู ปิ ญั ญาของปู่ ยา่ นาหว้า จังหวัดนครพนม ได้น�ำภูมิปัญญาการทอผ้ามุก ตา ยาย ไว้จากการทอเป็นมุกฝ้าย ไปเผยแพร่ด้วย และได้จัดต้ังศูนย์ทอผ้ามุกทอผ้าไหม และเป็นผ้ามุกไหม ซึ่งสวยงามมาก และหัตถกรรมต่างๆ ภายในวัดธาตุประสิทธ์ิ ประกอบกับ ได้รับความส�ำเร็จเป็นผ้ามุกไหมท่ี ประชาชนชาวนาหว้า เป็นกลุ่มศิลปาชีพในสมเด็จ วัดธาตุประสิทธิ์ อ�ำเภอนาหว้า กลมุ่ แมบ่ า้ นอำ� เภอตา่ งๆ ทส่ี นใจกไ็ ด้ มาฝกึ หดั ทวี่ ดั สวา่ งสวุ รรณารามบา้ ง ที่วัดธาตุประสิทธิ์ อ�ำเภอนาหว้า ๔๔ ทร่ี ะลึกพธิ ีเปิดหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อำ�เภอเมอื งนครพนม จงั หวัดนครพนม

v v vv v แล้วก็น�ำไปเผยแพร่ต่อไป เป็นการสร้างรายได้เสริม ให้แก่ครอบครัว และชุมชุนเป็นอย่างดี หวังเป็นอย่าง ยิ่ ง ว ่ า ผ ้ า มุ ก น ค ร พ น ม ผื น น้ี ค ง จ ะ เ ป ็ น ส ม บั ติ ข อ ง ชาวนครพนมสืบต่อไป ผ้าทอมือแห่งภูมิปัญญาของปู่ ย่า ตา ยาย ผืนนี้ เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัดนครพนมได้ท�ำน�ำทูลเกล้าฯ ถวาย สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จแปร พระราชฐาน ณ พระต�ำหนักภพู านราชนิเวศน์ ปี พ.ศ. ๒๕๔๔ ทอผา้ ไหมเฉลมิ พระเกยี รติ ผ้าไหม ลายมกุ พ้นื สีฟ้า ดอกสีขาว ความยาว ๔๙ เมตร ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ทอผ้าไหมเฉลมิ พระเกียรติ ผา้ ไหม ลายมุกพ้ืนสีฟ้า ดอกสีเหลือง ความยาว ๕๐ เมตร ทอเป็น ๕ สีๆ ละ ๑๐ เมตร มสี ีฟ้า สมี ่วง สนี ำ�้ เงนิ สีแพง สีเขียว ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ ทอผ้าไหมเฉลิมพระเกียรติ “ผา้ ไทย มรดกแมข่ องแผน่ ดนิ ๗๒ พรรษา มหาราชนิ ”ี ผา้ ไหม ลายมกุ พนื้ สแี ดง ดอกสเี หลอื ง ความยาว ๑๐ เมตร เพอ่ื นำ� ไป ถกั ทอรอ้ ยตอ่ กบั อกี ๗๕ จงั หวดั ของไทย ไดน้ ำ� ความภาคภมู ใิ จ มาสู่กลุ่มทอผ้าวัดสว่างสุวรรณารามและกลุ่มทอผ้าวัดธาตุ ประสิทธ์ิ อ�ำเภอนาหว้า ทีช่ ว่ ยกนั ถกั ทอ ทร่ี ะลกึ พิธเี ปดิ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” ๔๕ อ�ำ เภอเมืองนครพนม จังหวดั นครพนม

นครพนมvv ประวตั ิจงั หวัด ๔๖ ท่ีระลึกพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำ�เภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม

เ มืองชายแดนริมฝั่งแม่น�้ำโขง อดีตเคยเป็นศูนย์กลางของอาณาจักรศรีโคตรบูรณ์ อันรุ่งเรือง กระท่ังถึง พ.ศ. ๑๘๐๐ เจ้าศรีโคตรบูรณ์ได้สร้างเมืองมรุกขนคร ขนึ้ ใหมใ่ ตเ้ มอื งทา่ แขกบนฝง่ั ซา้ ยแมน่ ำ�้ โขง ใน พ.ศ. ๒๐๕๗ สมยั พระเจา้ นครหลวงพชิ ติ ทศพศิ ราชธานศี รโี คตรบรู ณ์ ไดเ้ ปลยี่ นชอ่ื เมอื งใหมก่ ลายเปน็ เมอื งศรโี คตรบรณู ์ ตรงตามชอื่ อาณาจกั ร เดิม จนถงึ พ.ศ. ๒๒๘๐ พระธรรมราชา เจ้าเมืองศรีโคตรบรู ณ์องค์สุดท้าย ได้ย้ายเมอื งมาต้งั บนฝงั่ ขวา (ฝั่งไทย) เยอ้ื งเมอื งเกา่ ไปทางเหนอื แล้วขนานนามเมืองใหมว่ า่ เมอื งนคร จากนนั้ มี การโยกยา้ ยชมุ ชนเมอื งอกี หลายครง้ั พ.ศ. ๒๓๒๑ ในรชั กาลสมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช ได้ มกี ารย้ายเมอื งมาตัง้ ท่บี า้ นหนองจนั ทร์ หา่ งข้ึนไปทางเหนอื ๕๒ กิโลเมตร ในปี พ.ศ. ๒๓๓๓ รชั สมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช รชั กาลท่ี ๑ แหง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ เมืองนคร ก็ได้ขอขึ้นตรงต่อกรุงเทพมหานคร โดยพระองค์ทรงพระราชทานนามใหม่ขึ้นว่า นครพนม ช่ือนครพนมน้ัน มีข้อสันนิษฐานประการหน่ึงว่า เมืองนครเคยเป็นเมืองลูกหลวง มาก่อน และมีความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์ จึงได้ใช้ช่ือว่า นคร ส่วนค�ำว่า พนม ก็มาจาก พระธาตพุ นม ปชู นยี สถานทอี่ ยคู่ บู่ า้ นคเู่ มอื งมาชา้ นาน หรอื อกี นยั หนง่ึ คอื เดมิ เมอื งมรกุ ขนคร ตั้งอยู่ทางฝั่งซ้ายแม่น้�ำโขงในบริเวณที่มีภูเขาสลับซับซ้อน จึงน�ำค�ำว่า พนม ซึ่งแปลว่าภูเขา มาใช้ นครพนม จึงหมายความถึง เมืองแห่งภูเขา นั่นเอง ในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ส�ำนักงานสถิติ แหง่ ชาติ ไดร้ ว่ มกบั กรมสภุ าพจติ โดยการสนบั สนนุ งบประมาณของ UN ทำ� การสำ� รวจขอ้ มลู ความสขุ ของคนไทยตอ่ เนอ่ื ง ๕ ปี พบวา่ คะแนนความสขุ ของคนไทยเพม่ิ ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งชา้ ๆ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ คะแนนความสขุ ของคนไทย เฉลยี่ ๓๓.๕๙ โดยจงั หวดั ทม่ี คี วามสขุ มากทส่ี ดุ เป็นอันดบั ๑ ได้แก่ จงั หวดั นครพนม ๓๖.๗๐ คะแนน ที่ระลึกพิธีเปดิ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” ๔๗ อำ�เภอเมอื งนครพนม จงั หวดั นครพนม

vv พระธาตุ ประจำ� วนั เกิด (๘ พระธาตุ) v พระธาตุพนม อำ� เภอธาตุพนม (วันอาทิตย์) เป็นปูชนียสถานท่ีส�ำคัญของจังหวัดนครพนม มีพระธาตุบริวารอยู่รายรอบรวม ๗ องค์ การไหว้พระธาตุถือเป็น หน่ึงในรอ้ ยแปด มงคลชีวติ ซึง่ เปรียบเสมือนการไดไ้ หวพ้ ระสัมมา สมั พทุ ธเจา้ โดยเฉพาะองค์พระธาตพุ นม ทีไ่ ด้บรรจพุ ระอรุ ังคธาตุ ของพระสมั มาพระพุทธเจ้า ตามต�ำนานสรา้ งราว พ.ศ. ๘ ลักษณะ ของสถาปัตยกรรมมีแหล่งที่มาจากที่เดียวกันกับปราสาทขอม ได้ มีการบูรณะหลายคร้ัง เคยทรุดลงทั้งองค์ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๘ และ ได้รับการบูรณะใหม่ตามแบบเดิม เป็นเจดีย์ทรงส่ีเหล่ียม สงู ๕๓.๖๐ เมตร ตง้ั อยบู่ นฐานสเ่ี หลยี่ มกวา้ งดา้ นละ ๑๒.๓๓ เมตร บนยอดพระธาตเุ ปน็ ฉตั รทองคำ� มนี ำ้� หนกั ถงึ ๑๑๐ กโิ ลกรมั ซง่ึ เปน็ พระธาตปุ ระจำ� วนั เกดิ วนั อาทติ ย์ และเปน็ พระธาตปุ ระจำ� ปเี กดิ ของ คนปวี อก เชอื่ กนั วา่ ผทู้ ไี่ ปนมสั การจะไดร้ บั อานสิ งส์ มบี ญุ บารมมี าก และมีคนให้ความเคารพนับถอื v พระธาตุเรณู อำ� เภอเรณูนคร (วันจันทร)์ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๑ เป็นพระธาตุคู่เมืองของ ชาวเรณูนคร องค์พระธาตุมีลักษณะสวยงาม จ�ำลองมาจาก พระธาตุพนม (องค์เดิม) แต่มีขนาดเล็กกว่า สูง ๓๕ เมตร ต้ังอยู่ บนฐานสี่เหลี่ยม กว้างด้านละ ๘.๓๗ เมตร ภายในบรรจุพระ ไตรปิฎก พระพุทธรูปทองค�ำ พระพุทธรูปเงินของมีค่าต่างๆ และ เคร่อื งกกธุ ภณั ฑข์ องพระยาและเจา้ เมือง และเป็นพระธาตุประจำ� วันเกิดของผู้ท่ีเกิดวันจันทร์ เช่ือกันว่า ผู้ท่ีได้มานมัสการ จะได้รับ อานสิ งส์สง่ ผลใหม้ วี รรณงดงามผดุ ผ่องดงั แสงจนั ทร์ ๔๘ ท่ีระลกึ พธิ เี ปดิ ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ าร”ี อ�ำ เภอเมืองนครพนม จงั หวัดนครพนม

v v v v vv v พระธาตศุ รคี ุณ อำ� เภอนาแก (วนั อังคาร) ถกู คน้ พบเมอื่ ประมาณปี พ.ศ. ๒๓๔๐ และไดร้ บั การบรู ณะ ครัง้ ใหญ่เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๔๘๖ – ๒๔๙๐ มีลกั ษณะคลา้ ยพระธาตพุ นม ตา่ งกนั ท่ีขน้ั ๑ มี ๒ ตอนเป็นรูปสีเ่ หล่ียมประดบั ลวดลายปูนปัน้ และ ช้ันท่ี ๒ สั้นกว่าพระธาตุพนม ภายในบรรจุพระอรหันต์สารีริกธาตุ ของ พระโมคคลั ลานะ พระสารีบุตร พระสังกจั จายนะ และเป็นพระ ธาตุประจ�ำวันเกิดของผู้ท่ีเกิดวันอังคาร เช่ือกันว่า ผู้ท่ีได้มานมัสการ พระธาตแุ ห่งนี้ จะไดร้ บั อานิสงส์ ให้มศี กั ดิ์ศรีทวีคูณ พระธาตมุ หาชยั อำ� เภอปลาปาก v (วันพธุ กลางวัน) สร้างเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๕ มีลักษณะองค์พระธาตุ เป็น รูปแปดเหล่ียมสูง ๔๐ เมตร ภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุและ พระอรหนั ตส์ ารรี กิ ธาตุ ของพระอญั ญาโกณฑญั ญะ พระสารบี ตุ ร และ พระอนุรุทร บริเวณใกล้เคียงยังมีพระพุทธรูป สลักจากไม้ต้นสะเดา หวานใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และภาพเขียนฝาผนังอุโบสถแสดง พุทธประวัติ มีลวดลายศิลปะท่ีงดงาม หาดูยากยิ่งในภาคอีสานและ เป็นพระธาตปุ ระจ�ำวันเกิดของผูท้ เ่ี กดิ วันพุธ ตอนกลางวัน เช่อื กันว่า ผทู้ ีม่ านมสั การจะได้รับอานิสงสป์ ระสบแตช่ ัยชนะในชีวติ v พระธาตมุ รุกขนคร อ�ำเภอธาตุพนม (วนั พุธตอนกลางคนื ) สรา้ งขนึ้ เม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๓๖ พระมหาธาตเุ จดีย์ สูง ๕๐.๙ เมตร ฐานกว้างด้านละ ๒๐ เมตร เป็นพระธาตุบริวารของพระ ธาตุพนมองค์ที่อายุน้อยท่ีสุดในบรรดาพระธาตุบริวารท้ังเจ็ดองค์ วัดมรุกขนครที่ประดิษฐานพระธาตุองค์น้ีมีอายุเกือบสามร้อยปีมา แล้ว สร้างโดยพระบรมราชาเจ้าแอวก่าน เจ้าเมืองมรุกขนคร วัดน้ี เป็นวัดประจ�ำเมืองท่ีมีความเจริญมากต่อมาจึงร้างไป ซากเดิมตั้งอยู่ ท่ีโรงเรียนดอนนางหงส์สงเคราะห์ ตรงข้ามท่ีต้ังวัดเดิมในปัจจุบัน กั้นด้วยห้วยบังฮาก ซึ่งเป็นห้วยท่ีไหลมาจากแม่น�้ำโขง หลังจากนั้น จงึ ได้ย้ายไปต้งั ทบี่ ้านโพธิ์ (บรเิ วณท่เี ป็นตวั เมืองนครพนมในปจั จุบัน) เป็นพระธาตุประจ�ำวันเกิดวันพุธ ตอนกลางคืน เชื่อกันว่า ผู้ท่ีมา นมัสการ จะไดร้ บั อานสิ งสค์ วามทุกข์ด้วยโรคภัยจะคล่คี ลายไป ทรี่ ะลึกพธิ ีเปดิ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี ๔๙ อำ�เภอเมืองนครพนม จังหวดั นครพนม

v vv v v พระธาตปุ ระสทิ ธิ์ อำ� เภอนาหวา้ v (วันพฤหัสบด)ี ๕๐ เดิมเป็นเจดีย์โบราณ ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้าง เมื่อใดจนกระทั้งเม่ือปี พ.ศ. ๒๔๓๖ ได้มีการบูรณะซ่อมแซม คร้ังใหญ่ โดยจำ� ลองรูปทรงมาจากพระธาตพุ นม ลักษณะรูปทรง สี่เหล่ียม วัดโดยรอบฐานได้ ๒๐.๘๐ เมตร สูง ๒๘.๕๒ เมตร ภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุและพระอรหันต์สารีริกธาตุ รวม ๗ องค์ พระพทุ ธรปู เกา่ แก่ ดนิ จากสงั เวชนยี สถานในประเทศ อนิ เดยี ๔ แหง่ และพระพทุ ธบาทจำ� ลองทอี่ ญั เชญิ มาจากกรงุ เทพฯ เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๐๐ และเป็นพระธาตุประจ�ำวันเกิดของคน วนั พฤหสั บดี เชอ่ื วา่ ผไู้ ดน้ มสั การพระธาตแุ หง่ น้ี จะไดร้ บั อานสิ งส์ ส่งผลให้สัมฤทธิผลในการปฏบิ ตั ิงาน พระธาตุท่าอเุ ทน อ�ำเภอท่าอุเทน v (วนั ศุกร)์ เป็นเจดีย์ก่ออิฐถือปูนสี่เหลี่ยม จ�ำลองมาจาก พระธาตพุ นม แตม่ ขี นาดเล็ก มคี วามสงู จากพื้นดนิ ถงึ ยอด ๓๓ วา ฐานกว้างดา้ นละ ๖ วา ๓ ศอก ภายในบรรจุพระพุทธสารีริกธาตุ ซึ่งอัญเชิญมาจากเมืองเมียนมาร์ ประเทศพม่า และเป็นพระ ธาตุประจ�ำวันเกิดของผู้ท่ีเกิดวันศุกร์ เช่ือกันว่า ผู้ท่ีมานมัสการ พระธาตุแห่งนี้ จะได้รับอานิสงส์ให้ชีวิตมีความรุ่งโรจน์ เปรยี บเสมอื นพระอาทติ ย์ขนึ้ ยามรุง่ อรุณ พระธาตนุ คร อ�ำเภอเมอื งนครพนม v (วันเสาร์) พระธาตุนคร มีลักษณะสี่เหล่ียมจัตุรัส กว้างด้าน ละ ๕.๘๕ เมตร สงู ๒๔ เมตร ก่อสร้างเสรจ็ ในวันเดอื นเพ็ญของ ปี พ.ศ. ๒๔๖๕ มรี ปู แบบตามพระธาตุพนม องค์เดิมภายในบรรจุ พระอรหันต์สารีริกธาตุ พร้อมกับองค์พระพุทธรูปทองค�ำและ ของมีค่าต่างๆ จากประชาชน ผู้มีจิตศรัทธาถวายบรรจุเอาไว้ใน องค์พระธาตุ และเป็นพระธาตุประจ�ำวันเกิดของผู้เกิดวันเสาร์ เช่ือกันว่า ผู้มานมัสการจะได้รับอานิสงส์เสริมบุญบารมี และมี อ�ำนาจวาสนาเป็นเจา้ คนนายคน ท่รี ะลึกพิธเี ปดิ ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อ�ำ เภอเมอื งนครพนม จงั หวัดนครพนม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook