Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมแผน ป.6

รวมแผน ป.6

Published by bell janjira, 2022-08-31 05:09:40

Description: รวมแผน ป.6

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 1 ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ปฐมนเิ ทศ เวลา 60 นาที แผนการจัดการเรยี นรู้เรอื่ ง ปฐมนเิ ทศ โรงเรยี นบ้านบึงท่ายวน ผสู้ อน นางสาวเจนจิรา จงอยู่สขุ มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุตรดิตถ์ สาขาวชิ า วิทยาศาสตร์ท่ัวไป คณะ ครศุ าสตร์ มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชว้ี ัด มาตรฐาน - ตวั ชวี้ ัด - จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนมคี วามเข้าใจแนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนวิชาวทิ ยาศาสตร์ (K) 2. นักเรียนทาใบงานแนะนาตนเอง (P) 3. นกั เรยี นใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมนั่ ในการทางาน และมีวินัยในการเรยี น (A) สาระสาคัญ การทาความเขา้ ใจกับนักเรียนในการเรียนวชิ า อ 42101 ภาษาองั กฤษพ้นื ฐาน เกย่ี วกบั กจิ กรรมการ เรียนการสอนที่เน้นให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติ โดยให้นักเรียนได้รู้ข้อตกลงและข้ันตอนการปฏิบัติกิจกรรมให้ เป็นไปตามวตั ถุประสงค์การเรยี นรู้ เพ่อื ให้ผู้เรยี นบรรลุผลตามที่คาดหวงั และชว่ ยให้กจิ กรรมการเรียนการสอน มปี ระสทิ ธิภาพ สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน 1. ความสามารถในการสือ่ สาร - การอธบิ าย การเขียน 2. ความสามารถในการคิด - การสร้างคาอธบิ าย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝ่เรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ ปฐมนิเทศ

กระบวนการจดั การเรียนรู้ (ใช้รปู แบบการสอนสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 1 ขนั้ สร้างความสนใจ (Engagement) (5 นาท)ี ครูแนะนาตนเอง แล้วให้นักเรียนแนะนาชื่อตนเองตามลาดับตามแถวท่ีนั่งตามความ เหมาะสม ครูให้ความรู้ทั่ว ๆ ไปเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้รายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ พร้อมซักถามนกั เรียน ในประเด็นตา่ ง ๆ โดยใชค้ าถาม ดังนี้ 1. เคยเรียนวิชาวิทยาศาสตรเ์ รื่องอะไรมาแลว้ บ้าง 2. ทาไมเราจึงต้องเรียนวิชาวทิ ยาศาสตร์ มคี วามจาเป็นอยา่ งไร ครสู นทนาและซักถามนักเรียนเพ่ือทาความเข้าใจถึงแนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรูร้ ายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตรร์ วมทง้ั เกณฑ์การตดั สินผลการเรยี นร้ใู นประเดน็ ตา่ ง ๆ โดยใช้คาถามดังน้ี 1. รายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ มีเวลาเรียนเทา่ ไร 2. รายวิชานี้จะสอบและเกบ็ คะแนนอย่างไร และเทา่ ไร 3. รายวชิ าน้จี ะตัดสินผลการเรยี นอยา่ งไร 2. ขั้นสารวจและคน้ หา (Exploration) (35 นาที) 1. ครูใหน้ ักเรยี นวาดรูปตนเองพร้อมท้ังสารวจความช่นื ชอบ งานอดเิ รก ความสามารถพิเศษ และความใฝฝ่ นั ของตนเองเพ่อื ตอบคาถามลงในใบงาน 2. ใหน้ กั เรียนออกมานาเสนอใบงานของตนเอง เพอ่ื ให้นกั เรียนและครไู ด้ทาความรู้จักกันมากขึ้น 3. ข้ันอภิปรายและลงขอ้ สรุป (Explain) (5 นาท)ี ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เร่ือง ปฐมนิเทศและข้อตกลงในการเรยี นรายวิชาพื้นฐาน วชิ าวทิ ยาศาสตร์ โดยใหน้ ักเรียนบันทกึ ขอ้ สรปุ ลงในแบบบันทึกความรู้ หรือสรปุ เปน็ แผนท่คี วามคดิ หรือผังมโน ทัศนล์ งในสมดุ พร้อมตกแต่งให้สวยงาม 4. ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration) (5 นาท)ี ครูมอบหมายให้นักเรียนอ่านเนือ้ หาเกี่ยวกับหน่วยที่ 1 ในหนังสอื เรียนวชิ าวทิ ยาศาสตร์ เป็น การบ้านเพอ่ื เตรียมจัดการเรยี นรู้ในครั้งตอ่ ไป 5. ข้ันประเมิน (Evaluation) (10 นาที) 1. ครูให้นักเรียนแต่ละคนพิจารณาว่า จากการทากิจกรรม มีจุดใดบ้างที่ยังไม่เข้าใจหรอื ยงั มี ขอ้ สงสยั ถา้ มีครูชว่ ยอธิบายเพิม่ เติมให้นักเรียนเข้าใจ 2. นักเรียนร่วมกันประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่มว่ามีปัญหาหรืออุปสรรคใด และได้มีการ แก้ไขอยา่ งไรบา้ ง สื่อและแหลง่ การเรียนรู้ 1. ใบงานแนะนาตัว

การวดั ผลและประเมนิ ผล ตาราง: แสดงกรอบการวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรยี นรู้ วิธีการวัดผล เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารประเมิน 1.ด้านความรู้ (K) นักเรียนมี การซกั ถาม คาถามระหว่างการ ผ้เู รยี นผา่ นเกณฑ์ระดับ พอใชข้ น้ึ ไป ความเข้าใจแนวทางการจัด จัดการเรยี นการสอน ผูเ้ รยี นผา่ นเกณฑร์ ะดับ กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น พอใช้ขน้ึ ไป วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ผ้เู รยี นผ่านเกณฑ์ระดบั พอใชข้ นึ้ ไป 2.ด้านทักษะ/กระบวนการ ใบงาน/กิจกรรม แบบประเมนิ พฤติกรรม (P) นักเรียนทาใบงานแนะนา บ่งชกี้ ระบวนการ ตนเอง 3.ดา้ นคณุ ลักษณะ (A) ประเมินความตั้งใจเรียน แบบประเมินพฤติกรรม นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นใน ต้ังใจในการทางาน และ บ่งชี้คุณลักษณะอันพึง การทางาน และมีวินัยในการ ความตรงต่อเวลาในการ ประสงค์ เรียน ส่งงาน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนรูบรคิ ส์ (Rubric Score) เกณฑป์ ระเมินด้าน K รายการประเมนิ ดีมาก (4) ระดับคณุ ภาพ ปรับปรุง (1) ดี (3) พอใช้ (2) นั ก เ รี ย น มี ค ว า ม นักเรียนมีความเข้าใจ นั ก เ รี ย น มี ค ว า ม นั ก เ รี ย น มี ค ว า ม นั ก เ รี ย น มี ค ว า ม เข้าใจแนวทางการ แ น ว ท า ง ก า ร จั ด เข้าใจแนวทางการ เข้าใจแนวทางการ เข้าใจแนวทางการ จัดกจิ กรรมการเรียน กิจกรรมการเรียนการ จดั กิจกรรมการเรียน จัดกจิ กรรมการเรียน จัดกิจกรรมการเรียน ก า ร ส อ น วิ ช า สอนวิชาวิทยาศาสตร์ ก า ร ส อ น วิ ช า ก า ร ส อ น วิ ช า ก า ร ส อ น วิ ช า วิทยาศาสตร์ อย่างถูกต้อง ชัดเจน วิทยาศาสตร์อย่าง วิทยาศาสตร์ถูกต้อง วิทยาศาสตร์เพียง และครบถ้วน (80%- ถูกต้องและครบถว้ น เป็นส่วนใหญ่ (69%- ส่ว น น้อ ย(ต่าก ว่ า 100%) (79%-70%) 60%) 60%) *หมายเหตุ นกั เรยี นต้องผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดับ 60% ขึน้ ไป

เกณฑ์ประเมนิ ดา้ น P รายการ ระดบั คุณภาพ ประเมิน ดมี าก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) นักเรียนทาใบ 1. ความถูกต้องของเนอ้ื หา มีผลการเรียนรู้ตาม มีผลการเรียนรู้ตาม มีผลการเรียนรู้ตาม ง า น แ น ะ น า 2. การเรยี งลาดบั ของเนื้อหา คาอธิบายเปน็ รายข้อ คาอธิบายเป็นรายข้อ คาอธบิ ายเป็นรายข้อ ตนเอง 3. การใชภ้ าษาอย่างถูกตอ้ ง ดังท่ีกาหนดระดับดี ดังที่กาหนดระดับดี ดังที่กาหนดระดับดี 4. ความเรียบร้อยของใบงาน มากข้อใด ข้อหนึ่ง มากข้อใดข้อหน่ึง มากข้อใด ข้อหน่ึง จานวน 3 ขอ้ จานวน 2 ข้อ นอ้ ยกว่า 1 ขอ้ *หมายเหตุ นกั เรยี นต้องผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ระดับ 2 ขึ้นไป เกณฑป์ ระเมินด้าน A รายการประเมนิ ดีมาก (4) ระดบั คณุ ภาพ ปรับปรงุ (1) ดี (3) พอใช้ (2) นักเรียนใฝ่เรียนรู้ พยายามสบื คน้ เพอื่ แก้ไข มีผลการเรียนรู้ตาม มีผลการเรียนรู้ตาม มีผลการเรียนรู้ตาม มุ่ ง ม่ั น ใ น ก า ร ปญั หา ในการทางานให้ คาอธิบายเป็นราย คาอธิบายเป็นราย คาอธิบายเป็นรายข้อ ทางานและมีวินัย แลว้ เสร็จ มคี วามตั้งใจ ข้ อ ดั ง ที่ ก า ห น ด ข้ อ ดั ง ที่ ก า ห น ด ดังที่กาหนดระดับดี ในการเรียน พยายามทางานและ ระดับดีมากข้อใด ระดับดีมากข้อใด มากข้อใด ข้อหนึ่ง ทางานไดเ้ สรจ็ ตามเวลาที่ ข้อหน่ึง จานวน 3 ข้อหนึ่ง จานวน 2 น้อยกวา่ 1 ข้อ กาหนด สนใจเรยี น และ ขอ้ ข้อ ตั้งใจเรยี น *หมายเหตุ นกั เรยี นตอ้ งผ่านเกณฑ์การประเมินระดับ 2 ขึ้นไป

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 2 กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ รหัสวิชา ว16101 ปีการศึกษา 2565 ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 1 ช่ัวโมง หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 สารอาหารและระบบย่อยอาหาร โรงเรยี นบ้านบึงท่ายวน มหาวิทยาลัยราชภฏั อตุ รดิตถ์ แผนการจัดการเรียนรูเ้ รอ่ื ง สารอาหารและระบบย่อยอาหาร ผู้สอน นางสาวเจนจิรา จงอยสู่ ขุ สาขาวิชา วทิ ยาศาสตรท์ ว่ั ไป คณะ ครุศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชีว้ ัด มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของส่ิงมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออก จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน รวมท้ังนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ตัวชี้วัด ว 1.2 ป.6/1 ระบุสารอาหารและ บอกประโยชนข์ องสารอาหาร แต่ละประเภทจากอาหาร ท่ีตนเอง รับประทาน ว 1.2 ป.6/2 บอกแนวทางในการเลือก รับประทานอาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วนใน สดั ส่วนท่ี เหมาะสมกบั เพศ และวัย รวมทั้งปลอดภยั ต่อสุขภาพ ว 1.2 ป.6/3 ตระหนักถงึ ความสาคญั ของอาหาร โดยการเลอื ก รบั ประทานอาหารทีม่ ี สารอาหาร ครบถ้วนใน สัดส่วนท่ีเหมาะสมกบั เพศ และวัย รวมท้ังปลอดภยั ต่อสุขภาพ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. นกั เรียนมีความรูค้ วามเข้าใจระบุสารอาหารและบอกประโยชน์ของสารอาหารแต่ละประเภท (K) 2. นกั เรียนสามารถบอกแนวทางและเลือกรับประทานอาหารให้ เหมาะสมกบั เพศและวัยได้ (P) 3. นักเรยี นใฝ่เรียนรู้ มงุ่ มั่นในการทางาน และมีวินยั ในการเรยี น (A) สาระสาคัญ อาหารเป็นส่ิงที่เรารับประทานแล้วมีประโยชน์ต่อ ร่างกาย โดยอาหารท่ีเรารับประทานจะผ่านการ ย่อยใน ระบบย่อยอาหาร เพ่อื ให้ไดส้ ารอาหารท่ีจ้าเป็นต่อการ ดารงชีวติ ในแตล่ ะวนั เราตอ้ งเลือกรับประทาน อาหารที่มี ประโยชน์ ในปริมาณท่ีเหมาะสมกับความต้องการของ ร่างกายแต่ละเพศและวยั รวมทั้งปลอดภัย ตอ่ สขุ ภาพ สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 1. การลงความเหน็ จากขอ้ มูล (S8) 2. การตีความหมายขอ้ มูลและลงข้อสรุป (S13) 3. การคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ (C2) 4. การแก้ปัญหา (C3) 5. การสอ่ื สาร (C4) 6. ความรว่ มมือ (C5) สมรรถนะของผูเ้ รยี นตามแนว PISA 1. A1 นาความร้ทู างวทิ ยาศาสตรม์ าสร้างคาอธิบายท่สี มเหตผุ ล 2. B4 ประเมินวิธสี ารวจตรวจสอบปัญหาทางวทิ ยาศาสตร์ทกี่ าหนดให้ 3. C1 แปลงข้อมลู ท่นี าเสนอในรูปแบบหน่ึงไปสูร่ ปู แบบอืน่ 4. C2 วิเคราะห์และแปลความหมายขอ้ มูลทางวิทยาศาสตร์ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มงุ่ มน่ั ในการทางาน สาระการเรยี นรู้ 1. สารอาหาร 2. ระบบย่อยอาหาร กระบวนการจัดการเรยี นรู้ (ใชร้ ปู แบบการสอนสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 1. ข้ันสรา้ งความสนใจ (Engagement) 1. ครูทบทวนความรู้พื้นฐานเก่ียวกับส่ิงท่ีจ้าเป็นต่อการเจริญเติบโตและ การดารงชีวิตของ มนษุ ยท์ ี่เรียนมาแลว้ ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ใช้คาถาม ดังนี้ 1.1 ส่ิงที่จาเป็นต่อการเจริญเติบโตและการดารงชีวิตของมนุษย์มอี ะไรบ้าง (อาหาร น้า อากาศ) 1.2 ส่ิงต่าง ๆ เหล่านั้นมีประโยชน์อย่างไร (อาหารช่วยให้ร่างกาย แข็งแรงและ เจริญเตบิ โต นา้ ชว่ ยใหร้ ่างกายทา้ งานได้อยา่ งปกติ สว่ นอากาศใชใ้ นการหายใจ) 2. ครูตรวจสอบความรูเ้ ดิมของนักเรยี นเก่ียวกบั อาหารและการยอ่ ย อาหาร โดยใชค้ าถาม ดังนี้ 2.1 เมื่อเช้าน้ี นักเรียนได้รับประทานอาหารอะไรบ้าง (นักเรียนตอบ สิ่งที่ตนเอง รบั ประทาน) ครูเลือกอาหารท่นี กั เรยี นตอบมา 1 อย่าง เช่น ขา้ วเหนียวหมทู อด 2.2 นักเรียนคิดว่าข้าวเหนียวหมูทอดมีประโยชน์ต่อร่างกายของเรา อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น ข้าวเหนียวมีคาร์โบไฮเดรต ในหมูทอดมีโปรตีน ไขมัน ซึ่งทาให้ ร่างกายแข็งแรง)

2.3 คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน จัดเป็นส่ิงใด (นักเรียนตอบตาม ความเข้าใจของ ตนเอง เช่น เป็นสารอาหาร) 2.4 คารโ์ บไฮเดรต โปรตีน ไขมัน มีประโยชนอ์ ย่างไร (นกั เรียนตอบ ตามความเขา้ ใจ ของตนเอง เชน่ ให้พลงั งานแก่ร่างกาย) 2.5 เมื่อรับประทานข้าวเหนียวหมูทอดแล้ว ร่า งกายของนักเรียนจะ น้า คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมนั ไปผ่านกระบวนการใดเพื่อให้ ร่างกายสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ (นักเรียนตอบตาม ความ เข้าใจของตนเอง เช่น รา่ งกายมกี ระบวนการย่อยอาหารที่ สามารถย่อยคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมนั เพือ่ ให้ ร่างกายนาไปใชป้ ระโยชน์ได)้ 2. ขั้นสารวจคน้ หา (Explore) 1. ครชู กั ชวนนกั เรยี นศกึ ษาเรือ่ งอาหารและการย่อยอาหาร โดยใหอ้ ่าน ช่ือหนว่ ย และอา่ นคาถาม สาคัญประจาหน่วยที่ 1 ว่า ร่างกายใช้ ประโยชนจ์ ากอาหารไดอ้ ย่างไร นกั เรยี นตอบคาถาม โดยครูยังไมต่ ้อง เฉลยคาตอบ แตจ่ ะใหน้ ักเรียน ยอ้ นกลบั มาตรวจสอบคาตอบอีกคร้ัง หลงั จากเรียนจบหน่วยนี้แลว้ 2. ครูให้นกั เรียนอา่ น ชื่อบท และจดุ ประสงค์การเรียนรู้ประจาบท ใน หนังสือเรยี นหนา้ 1 จากน้ันครู ใช้คาถามเพ่อื ตรวจสอบความเข้าใจ ดังนี้ 2.1 บทนี้ จะได้เรียนเรอื่ งอะไร (สารอาหารและระบบยอ่ ยอาหาร) 2.2 จากจุดประสงค์การเรียนรู้เม่ือเรียนจบบทนี้ แล้วนักเรียนสามารถ ทาอะไรได้บ้าง (สามารถระบุและบอกประโยชน์ของสารอาหาร แต่ละประเภท บอกแนวทางการเลือกรับประทานอาหารให้ เหมาะสมกับเพศและวัย และสร้างแบบจ้าลองเพื่อบรรยาย หน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ในระบบย่อยอาหาร รวมทง้ั บอกแนว ทางการดแู ลรกั ษาอวยั วะในระบบยอ่ ยอาหารใหท้ ้างานเป็น ปกติ) 3. นักเรียนอ่านชอื่ บทและแนวคดิ สาคัญ ในหนังสอื เรยี นหนา้ 2 จากน้ัน ครใู ชค้ าถาม ดังนี้ 3.1 จากการอ่านแนวคิดสาคัญ นักเรียนคิดว่าจะได้ เรียนเกี่ยวกับเรื่องอะไรบ้าง (สารอาหาร ระบบย่อยอาหาร และการเลอื กรับประทานอาหาร) 3. ขน้ั อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครชู ักชวนใหน้ กั เรียนตอบคาถามเกย่ี วกบั สารอาหารและระบบยอ่ ย อาหาร ในสารวจความรู้ก่อนเรียน 2. นักเรียนทาสารวจความรู้ก่อนเรยี น ในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 2 โดยนักเรียนอ่านคาถาม แต่ละข้อ ครูตรวจสอบความเข้าใจของ นักเรียน จนแน่ใจว่านักเรียนสามารถทาได้ด้วยตนเอง จึงให้นักเรียน ตอบคาถาม คาตอบของแต่ละคนอาจแตกต่างกนั และคาตอบอาจถูก หรือผดิ ก็ได้ 4. ขน้ั ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูให้นกั เรียนแตล่ ะคนศกึ ษาขอ้ มลู เก่ยี วกับสารอาหารและระบบยอ่ ย อาหาร จากหนังสือ เรียนวทิ ยาศาสตร์ 2. ครูสังเกตการตอบคาถามของนักเรียนเพือ่ ตรวจสอบวา่ นักเรียนมี แนวคิดเกี่ยวกับสารอาหาร และระบบย่อยอาหารอย่างไรโดยอาจสุ่ม ให้นักเรียน 2-3 คน นาเสนอคาตอบของตนเอง ครูยังไม่ต้องเฉลย คาตอบ แตจ่ ะใหน้ ักเรยี นย้อนกลบั มาตรวจสอบอีกคร้ังหลงั จากเรียน จบบทนี้ แลว้

5. ขนั้ ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูใหน้ ักเรยี นสรุปความรู้จากการเรียนจนได้ข้อสรุปร่วมกัน โดยครขู ยายขอบเขตของความรู้ โดยเพิ่มเติมความรู้เก่ียวกับสารอาหารกับการเจริญเติบโตของร่างกายสามารถนาไปใช้ในการแก้ปัญหาใน ชีวิตประจาวัน ตามขนั้ ตอนวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์เชอื่ มโยงจากผลการศกึ ษาของนกั เรียน 2. ครูตรวจสอบผลการทาสารวจความรู้กอ่ นเรยี น เพอ่ื ตรวจสอบความเข้าใจกอ่ นเรยี นของนกั เรยี น 3. ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางาน รายบคุ คล และจากการนาเสนอผลการทากิจกรรมหนา้ ช้ันเรยี น สอื่ และแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสอื เรียน ป. 6 เล่ม 1 2. แบบบันทกึ กจิ กรรม ป. 6 เล่ม 1 การวดั และประเมินผล ตาราง: แสดงกรอบการวดั และประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธกี ารวดั ผล เครอื่ งมือ เกณฑก์ ารประเมิน ผู้เรยี นผ่านเกณฑ์ระดับ 1.ด้านความรู้ (K) นักเรียนมี การซักถาม ค า ถ า ม ร ะ ห ว่ า ง ก า ร พอใช้ขน้ึ ไป ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ร ะ บุ จัดการเรยี นการสอน ผเู้ รยี นผา่ นเกณฑร์ ะดับ สารอาหารและบอกประโยชน์ พอใช้ขึ้นไป ของสารอาหารแต่ละประเภท ผเู้ รยี นผ่านเกณฑ์ระดบั พอใชข้ น้ึ ไป 2.ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) ใบงาน/กิจกรรม แบบประเมินพฤติกรรม นักเรียนสามารถบอกแนวทาง บ่งชก้ี ระบวนการ และเลือกรับประทานอาหาร ให้ เหมาะสมกับเพศและวัยได้ 3.ด้านคุณลักษณะ (A) ประเมินความต้ังใจเรียน แบบประเมินพฤติกรรม นกั เรยี นใฝเ่ รยี นรู้ มุ่งมน่ั ในการ ตั้งใจในการทางาน และ บ่งช้ีคุณลักษณะอันพึง ทางาน และมวี ินยั ในการเรียน ความตรงต่อเวลาในการ ประสงค์ ส่งงาน

เกณฑ์การให้คะแนนรบู รคิ ส์ (Rubric Score) เกณฑป์ ระเมนิ ดา้ น K รายการประเมิน ดมี าก (4) ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรุง (1) ดี (3) พอใช้ (2) นักเรียนมีความรู้ นักเรียนสามารถระบุ นักเรยี นสามารถระบุ นกั เรยี นสามารถระบุ นกั เรยี นสามารถระบุ ความเข้าใจ ร ะ บุ สารอาหารและบอก สารอาหารและบอก สารอาหารและบอก สารอาหารและบอก ส า ร อ า ห า ร แ ล ะ ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง บอกประโยชน์ของ ส า ร อ า ห า ร แ ต่ ล ะ สาร อ าหาร แต่ละ สาร อ าหาร แต่ละ สาร อ าหาร แต่ละ สารอาหารแต่ละ ประเภทได้อย่างถูกตอ้ ง ป ร ะ เ ภ ท ไ ด้ อ ย่าง ประเภทได้ถูกต้อง ประเภทได้เพียงสว่ น ประเภท ชัดเจนและครบถ้วน ถูกต้องและครบถ้วน เป็นส่วนใหญ่ (69%- นอ้ ย(ต่ากวา่ 60%) (80%-100%) (79%-70%) 60%) *หมายเหตุ นักเรยี นตอ้ งผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ระดับ 60% ขนึ้ ไป เกณฑป์ ระเมนิ ด้าน P รายการประเมนิ ดีมาก (4) ระดับคุณภาพ ปรับปรุง (1) ดี (3) พอใช้ (2) นักเรียนสามารถ 1. ความถกู ตอ้ งของเน้ือหา มีผลการเรียนรู้ตาม มีผลการเรียนรู้ มีผลการเรียนรู้ตาม บอกแนวทางและ 2. การเรยี งลาดบั ของเนื้อหา คาอธิบายเป็นราย ต า ม ค า อ ธิ บ า ย คาอธิบายเป็นรายข้อ เลือกรับประทาน 3. การใช้ภาษาอย่างถูกตอ้ ง ข้ อ ดั ง ที่ ก า ห น ด เป็นรายข้อดังที่ ดังที่กาหนดระดับดี อ า ห า ร ใ ห้ 4. ความเรยี บรอ้ ยของใบงาน ระดับดีมากข้อใด กาหนดระดับดี มากข้อใด ข้อหนึ่ง เ ห ม า ะ ส ม กั บ เ พ ศ ข้อหน่ึง จานวน 3 มากข้อใดข้อหน่ึง นอ้ ยกว่า 1 ข้อ และวัยได้ ขอ้ จานวน 2 ข้อ *หมายเหตุ นักเรียนต้องผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดับ 2 ขน้ึ ไป เกณฑป์ ระเมินด้าน A รายการ ระดับคณุ ภาพ ประเมนิ ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1) นั ก เ รี ย น ใ ฝ่ พยายามสบื คน้ เพ่ือแกไ้ ข มีผลการเรียนรู้ตาม มีผลการเรียนรู้ตาม มีผลการเรียนรู้ตาม เรียนรู้ มุ่งม่ันใน ปัญหา ในการทางานให้ คาอธิบายเป็นราย คาอธิบายเป็นราย คาอธิบายเป็นรายข้อ การทางานและ แลว้ เสรจ็ มคี วามตั้งใจ ข้ อ ดั ง ที่ ก า ห น ด ข้ อ ดั ง ที่ ก า ห น ด ดังที่กาหนดระดับดี มี วิ นั ย ใ น ก า ร พยายามทางานและทางาน ระดับดีมากข้อใด ระดับดีมากข้อใด มากข้อใด ข้อหนึ่ง เรียน ไดเ้ สร็จตามเวลาท่กี าหนด ข้อหน่ึง จานวน 3 ข้อหนึ่ง จานวน 2 นอ้ ยกว่า 1 ข้อ สนใจเรยี น และตั้งใจเรยี น ขอ้ ข้อ *หมายเหตุ นกั เรยี นต้องผ่านเกณฑ์การประเมินระดับ 2 ขึ้นไป

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหสั วิชา ว16101 ปกี ารศกึ ษา 2565 ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 1 ช่วั โมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สารอาหารและระบบยอ่ ยอาหาร โรงเรียนบ้านบงึ ท่ายวน มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อตุ รดติ ถ์ แผนการจัดการเรยี นรูเ้ ร่อื ง เรอื่ ง สารอาหารและระบบย่อยอาหาร (2) ผู้สอน นางสาวเจนจิรา จงอยสู่ ุข สาขาวชิ า วทิ ยาศาสตรท์ ว่ั ไป คณะ ครศุ าสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ดั มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของส่ิงมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออก จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชท่ีทางานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ตัวชีว้ ัด ว 1.2 ป.6/1 ระบุสารอาหารและ บอกประโยชนข์ องสารอาหาร แต่ละประเภทจากอาหาร ทีต่ นเอง รับประทาน ว 1.2 ป.6/2 บอกแนวทางในการเลือก รับประทานอาหารให้ได้สารอาหารครบถว้ นใน สัดส่วนที่ เหมาะสมกบั เพศ และวยั รวมท้ังปลอดภัย ต่อสขุ ภาพ ว 1.2 ป.6/3 ตระหนกั ถึงความสาคญั ของอาหาร โดยการเลอื ก รบั ประทานอาหารทมี่ ี สารอาหาร ครบถ้วนใน สัดส่วนทเ่ี หมาะสมกบั เพศ และวัย รวมท้ังปลอดภัย ต่อสุขภาพ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. นกั เรียนมีความรู้ความเขา้ ใจรวบรวมขอ้ มลู ระบปุ ระเภทและประโยชน์ของสารอาหาร (K) 2. นักเรยี นสามารถวเิ คราะห์ และระบุสดั ส่วนของอาหารทีเ่ หมาะสมกับเพศและวยั ได้ (P) 3. นกั เรยี นใฝ่เรยี นรู้ มงุ่ มัน่ ในการทางาน และมีวินัยในการเรียน (A) สาระสาคญั อาหารเป็นส่ิงท่เี รารับประทานแล้วมีประโยชน์ต่อ รา่ งกาย โดยอาหารที่เรารับประทานจะผ่านการ ยอ่ ยใน ระบบย่อยอาหาร เพอ่ื ใหไ้ ด้สารอาหารท่ีจ้าเป็นต่อการ ดารงชวี ติ ในแต่ละวันเราตอ้ งเลอื กรับประทาน อาหารทีม่ ี ประโยชน์ ในปริมาณท่ีเหมาะสมกับความตอ้ งการของ ร่างกายแตล่ ะเพศและวยั รวมทง้ั ปลอดภัย ต่อสุขภาพ สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา

ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 1. การลงความเหน็ จากขอ้ มูล (S8) 2. การตีความหมายขอ้ มลู และลงข้อสรุป (S13) 3. การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ (C2) 4. การแก้ปญั หา (C3) 5. การสอื่ สาร (C4) 6. ความรว่ มมือ (C5) สมรรถนะของผเู้ รียนตามแนว PISA 1. A1 นาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาสรา้ งคาอธบิ ายทส่ี มเหตผุ ล 2. B4 ประเมนิ วิธสี ารวจตรวจสอบปัญหาทางวทิ ยาศาสตรท์ ก่ี าหนดให้ 3. C1 แปลงข้อมูลทน่ี าเสนอในรูปแบบหนง่ึ ไปสู่รูปแบบอื่น 4. C2 วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลทางวทิ ยาศาสตร์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวนิ ัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. ม่งุ ม่ันในการทางาน สาระการเรียนรู้ 1. ประเภทและประโยชนข์ องสารอาหาร 2. ชนดิ ของอาหาร ปริมาณพลังงานและ สดั สว่ นของอาหารตามธงโภชนาการ 3. แนวทางการรบั ประทานอาหารในปรมิ าณท่ีเหมาะสมกบั ความต้องการของ ร่างกายแต่ละเพศและวัย กระบวนการจัดการเรยี นรู้ (ใชร้ ูปแบบการสอนสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 1. ขั้นสรา้ งความสนใจ (Engagement) 1. ครตู รวจสอบความรู้เดิมเกีย่ วกับสารอาหาร โดยครูให้นักเรียนชม วีดิทัศน์สั้นๆ ประมาณ 2-3 นาที เก่ียวกับการประกอบอาหารท่ี นักเรียนคุ้นเคย เช่น ข้าวมันไก่ ในกรณีที่ไม่สามารถเปิดวีดิทัศน์ ครู อาจใช้ภาพแทนได้ จากน้ันอภปิ รายโดยใชค้ าถาม ดงั นี้ 1.1 วีดิทศั นท์ ี่นกั เรยี นชมแสดงการประกอบอาหารอะไร (ขา้ วมนั ไก)่ 1.2 ข้าวมันไก่มีส่วนประกอบอะไรบา้ ง (นักเรยี นตอบตามส่ิงท่ี สงั เกตไดจ้ ากวดี ิทัศน์ เช่น เนื้อไก่ และไขมนั ไก่ เกลอื หอมแดง กระเทยี ม ขิง รากผักชี ข้าว นา้ น้าตาลมะพร้าว น้าสม้ สายชู เตา้ เจียว ซอี ิว๊ ดา มะนาว และพรกิ ) 1.3 ขา้ วมนั ไกม่ ีประโยชน์ต่อร่างกายของเราอย่างไร (นกั เรยี นตอบ ตามความเข้าใจ ของตนเอง เชน่ ข้าวมนั ไก่มีสว่ นประกอบ หลากหลายซ่งึ มสี ารอาหารครบตามท่ีร่างกายต้องการ ทาให้ รา่ งกาย แข็งแรง)

1.4 เมื่อรับประทานข้าวมันไก่ เราจะได้รบั สารอาหารใดบ้าง และ สารอาหารแต่ละ ประเภทมาจากอะไร (นักเรียนตอบตามความ เข้าใจของตนเอง เช่น ได้รับโปรตีนจากเน้ือไก่ คาร์โบไฮเดรต จากข้าว น้าตาลทราย ไขมันจากเน้ือไก่และไขมนั ไก่ ได้วิตามิน และเกลือแร่จากหอมแดง กระเทียม ขิง ราก ผกั ชี ข้าว มะนาว พริก แตงกวา และเกลือ) 1.5 ถ้าเรารับประทานข้าวมนั ไก่ทกุ วัน โดยรับประทานอาหาร อยา่ งอน่ื นอ้ ยมาก จะ เกดิ อะไรขึ้นกับรา่ งกายของเรา เพราะเหตุ ใด (นักเรียนตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง เช่น ทา้ ให้อ้วน เพราะ ได้รับคาร์โบไฮเดรตจ้านวนมากจากข้าว เนื้อไก่และไขมัน ไก่ท้าให้ร่างกายได้รับไขมันสูง และอาจท้าให้ได้วิตามิน และ เกลือแร่ไม่เพยี งพอ เน่อื งจากมีสดั สว่ นของผักและผลไมน้ อ้ ย หรอื อาจขาดวติ ามนิ และเกลือแร่บางชนดิ ) 2. ครเู ช่อื มโยงความรเู้ ดมิ ของนกั เรยี นสู่การเรยี นเรอ่ื งสารอาหาร โดยใช้ คาถามว่า นกั เรียนรู้ หรือไม่ว่าสารอาหารคืออะไร มีก่ีประเภท และ พฤติกรรมการรับประทานอาหารของเราจะส่งผลต่อร่างกาย ของเราอยา่ งไร 2. ข้ันสารวจค้นหา (Explore) 1. ครูแบ่งกลมุ่ นกั เรยี นคละความสามารถ ชาย-หญิง กลุม่ ละ 5-6 คน เพอื่ ปฏิบัติกิจกรรม 2. นักเรียนอ่านชื่อเรื่องและคาถามในคิดก่อนอ่าน ในหนังสือเรียนหน้า 6 แล้วร่วมกันอภิปราย เพ่อื หาแนวคาตอบและนาเสนอ ครูบันทกึ คาตอบของนักเรียนบนกระดานเพอื่ ใช้เปรยี บเทียบ คาตอบหลงั จากอา่ นเนื้อเร่ือง 3. นักเรียนอ่านคาสาคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หากนักเรียน อ่านไม่ได้ ครูควรสอน อ่านให้ถูกต้อง) จากนั้นครูชักชวนให้นักเรียน อธิบายความหมายของคาสาคัญตามความ เข้าใจของตนเอง 3. ขั้นอธบิ ายความรู้ (Explain) 1. นักเรยี นอ่านเนื้อเร่อื งในหนงั สือเรยี นหนา้ 6-7 โดยครฝู ึกทักษะการ อ่านตามวธิ ีการอ่านท่ี เหมาะสมกบั ความสามารถของนกั เรยี น จากน้ันครูตรวจสอบความเข้าใจจากการอ่าน โดยใช้คาถามดังนี้ 2. รูปท่ี 1 เปน็ รปู อะไร (รูปร่างของร่างกายทไ่ี มส่ มส่วน) จากรปู เด็กมีรา่ งกายไมส่ มสว่ นอย่างไร (คนหน่งึ ผอม และอกี คนหน่งึ อว้ น) 3. จากการอ่านเน้ือเร่อื ง เด็กทมี่ ีรูปร่างผอมน่าจะเปน็ โรคอะไร (โรคขาดสารอาหาร) และเด็กท่ีมี รปู ร่างอว้ นน่าจะเปน็ โรคอะไร (โรคอ้วน) 4. โรคขาดสารอาหาร และโรคอ้วน เกิดจากสาเหตุอะไร (เกิดจาก การมีพฤติกรรมการ รับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม เช่น เลือก รับประทานอาหารท่ีมีสารอาหารไม่เพียงพอ หรือมากเกินความ ต้องการของร่างกาย) 5. นักเรียนคิดว่ามีพฤติกรรมแบบใดอีกบ้างที่ส่งผลให้เป็นโรคขาด สารอาหาร (นักเรียนตอบ ตามความเข้าใจ เช่น รับประทาน อาหารน้อยเกินไป อดอาหาร เลือกรับประทานอาหารที่ชอบ อย่างใดอย่าง หน่ึง ไม่รับประทานผักและผลไม้ ชอบรับประทาน ขนมขบเคี้ยวหรือน้าอัดลม รับประทานอาหารโดยไม่ คานงึ ถงึ สารอาหารทีร่ ่างกายจะได้รับ)

6. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั สรุปสารอาหารทีจ่ าเป็นตอ่ การเจรญิ เติบโตของรา่ งกายและครอู ธบิ าย ให้นักเรียนเข้าใจว่ามีสารอาหารทีจ่ าเปน็ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของรา่ งกาย ดงั นี้ 1. สารอาหาร คือ สารท่ีเป็นส่วนประกอบอยู่ในอาหารและมีประโยชน์ต่อร่างกายในการ ดารงชวี ติ แตกต่างกัน แบ่งได้ 6 ประเภท ไดแ้ ก่ คาร์โบไฮเดรตโปรตีน ไขมัน วิตามนิ เกลือแร่ และน้า 2. สารอาหารที่ใหพ้ ลังงานแกร่ ่างกาย ไดแ้ ก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมนั 3. สารอาหารท่ีไม่ให้พลงั งานแก่รา่ งกาย แต่ชว่ ยใหร้ ่างกายทางานได้เป็นปกติ ไดแ้ ก่ วติ ามนิ เกลอื แร่ และน้า 4. ขั้นขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครูใหน้ ักเรียนช่วยกนั คดิ และอภิปรายจากการศึกษาเกย่ี วกบั สารอาหารทจ่ี าเป็นตอ่ การ เจริญเตบิ โตของร่างกาย 2. ครูสังเกตการตอบคาถามของนักเรียนเพอ่ื ตรวจสอบว่านักเรียนมี แนวคิดเกี่ยวกับสารอาหาร อย่างไรโดยใหน้ กั เรียน นาเสนอคาตอบของตนเองทีละกล่มุ (หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนกั เรยี น โดยใชแ้ บบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล) 5. ขัน้ ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูใหน้ กั เรียนสรุปความรู้จากการเรยี นจนได้ข้อสรปุ รว่ มกนั โดยครูขยายขอบเขตของความรู้ โดยเพิ่มเติมความรู้เก่ียวกับสารอาหารกับการเจริญเติบโตของร่างกายสามารถนาไปใช้ในการแก้ปัญหาใน ชีวิตประจาวนั ตามขน้ั ตอนวิธีการทางวิทยาศาสตรเ์ ช่อื มโยงจากผลการศกึ ษาของนกั เรียน 2. นกั เรียนตอบคาถามในรู้หรอื ยัง ในแบบบันทึกกิจกรรม หนา้ 7 3. ครูและนกั เรยี นร่วมกันอภิปรายเพือ่ เปรยี บเทียบคาตอบของนักเรียน ในรหู้ รอื ยงั กับคาตอบ ทเี่ คยตอบและบันทกึ ไว้ในคดิ กอ่ นอา่ น 4. ครูให้นักเรียนอ่านคาถามในย่อหน้าสุดท้ายของเร่ืองท่ีอ่าน และ ร่วมกันอภิปรายเพื่อตอบ คาถาม ดังนี้ 1.1 สารอาหารแต่ละประเภทมีประโยชน์ต่อร่างกายอย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ ของตนเอง) 1.2 ในแต่ละวันร่างกายของเราต้องการอาหารแต่ละอย่างในสัดส่วน เท่าใดจึงจะเหมาะสม กบั เพศและวยั รวมท้ังปลอดภัยต่อ สุขภาพ (นกั เรยี นตอบตามความเข้าใจของตนเอง) 5. ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคาถาม พฤติกรรมการทางาน รายบุคคล และจากการนาเสนอผลการทากิจกรรมหนา้ ช้ันเรยี น ส่อื และแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสอื เรียน ป.6 เลม่ 1 2. แบบบนั ทึกกิจกรรม ป.6 เลม่ 1

การวัดและประเมนิ ผล ตาราง: แสดงกรอบการวัดและประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธกี ารวัดผล เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมิน 1.ด้านความรู้ (K) นักเรียนมี การซักถาม ค า ถ า ม ร ะ ห ว่ า ง ก า ร ผู้เรียนผา่ นเกณฑ์ระดบั ความรู้ความเข้าใจรวบรวม ข้อมูล ร ะ บุปร ะ เภท แ ล ะ จดั การเรยี นการสอน พอใช้ขึ้นไป ประโยชน์ของสารอาหาร 2.ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) ใบงาน/กิจกรรม แบบประเมินพฤติกรรม ผ้เู รียนผา่ นเกณฑร์ ะดับ นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ วิ เ ค ร า ะ ห์ และระบุสัดส่วนของอาหารที่ บง่ ชีก้ ระบวนการ พอใช้ข้ึนไป เหมาะสมกบั เพศและวยั ได้ 3.ดา้ นคณุ ลักษณะ (A) ประเมินความต้ังใจเรียน แบบประเมินพฤติกรรม ผ้เู รยี นผ่านเกณฑร์ ะดบั พอใชข้ น้ึ ไป นักเรยี นใฝเ่ รยี นรู้ ม่งุ มนั่ ในการ ต้ังใจในการทางาน และ บ่งชี้คุณลักษณะอันพึง ทางาน และมีวินยั ในการเรยี น ความตรงต่อเวลาในการ ประสงค์ สง่ งาน เกณฑก์ ารให้คะแนนรูบริคส์ (Rubric Score) เกณฑป์ ระเมนิ ด้าน K รายการประเมนิ ดมี าก (4) ระดับคุณภาพ ปรับปรุง (1) ดี (3) พอใช้ (2) นัก เรียน มีคว าม รู้ นักเรียนสามารถระบุ นักเรียนสามารถระบุ นักเรยี นสามารถระบุ นกั เรียนสามารถระบุ ความเข้าใจรวบรวม ประเภทและประโยชน์ ป ร ะ เ ภ ท แ ล ะ ป ร ะ เ ภ ท แ ล ะ ป ร ะ เ ภ ท แ ล ะ ข้อมูล ระบุประเภท ข อ ง ส า ร อ า ห า ร ไ ด้ ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง และประโยชน์ของ อย่างถูกต้อง ชัดเจน สารอาหารได้อย่าง สารอาหารได้ถูกต้อง สารอาหารได้เพียง สารอาหาร และครบถ้วน (80%- ถูกต้องและครบถ้วน เป็นส่วนใหญ่ (69%- ส่ ว น น้ อ ย (ต่าก ว่ า 100%) (79%-70%) 60%) 60%) *หมายเหตุ นักเรียนตอ้ งผ่านเกณฑก์ ารประเมินระดบั 60% ข้ึนไป

เกณฑ์ประเมินด้าน P รายการประเมิน ดีมาก (4) ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรงุ (1) ดี (3) พอใช้ (2) นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ 1. ความถกู ต้องของเน้ือหา มีผลการเรียนรู้ตาม มีผลการเรียนรู้ มีผลการเรียนรู้ตาม วิเคราะห์ และระบุ 2. การเรียงลาดับของ คาอธิบายเป็นราย ตามคาอ ธิ บาย คาอธิบายเปน็ รายข้อ สัดส่วนของอาหารท่ี เนอื้ หา ข้ อ ดั ง ที่ ก า ห น ด เป็นรายข้อดังที่ ดังที่กาหนดระดับดี เหมาะสมกับเพศและ 3. การใช้ภาษาอย่าง ระดับดีมากข้อใด กาหนดระดับดี มากข้อใด ข้อหน่ึง วัยได้ ถกู ตอ้ ง ข้อหน่ึง จานวน 3 มากข้อใดข้อหนงึ่ นอ้ ยกว่า 1 ขอ้ 4. ความเรียบรอ้ ยของใบ ข้อ จานวน 2 ขอ้ งาน *หมายเหตุ นักเรยี นตอ้ งผ่านเกณฑ์การประเมนิ ระดบั 2 ขึ้นไป เกณฑ์ประเมนิ ด้าน A รายการ ระดับคณุ ภาพ ประเมิน ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) นั ก เ รี ย น ใ ฝ่ พยายามสบื ค้นเพือ่ แก้ไข มีผลการเรียนรู้ตาม มีผลการเรียนรู้ตาม มีผลการเรียนรู้ตาม เรียนรู้ มุ่งมั่นใน ปญั หา ในการทางานให้ คาอธิบายเป็นราย คาอธิบายเป็นราย คาอธิบายเป็นรายข้อ การทางานและ แลว้ เสรจ็ มคี วามต้งั ใจ ข้ อ ดั ง ท่ี ก า ห น ด ข้ อ ดั ง ที่ ก า ห น ด ดังท่ีกาหนดระดับดี มี วิ นั ย ใ น ก า ร พยายามทางานและทางาน ระดับดีมากข้อใด ระดับดีมากข้อใด มากข้อใด ข้อหนึ่ง เรยี น ไดเ้ สรจ็ ตามเวลาทีก่ าหนด ข้อหน่ึง จานวน 3 ข้อหนึ่ง จานวน 2 นอ้ ยกวา่ 1 ข้อ สนใจเรียน และตัง้ ใจเรียน ข้อ ข้อ *หมายเหตุ นักเรยี นตอ้ งผ่านเกณฑ์การประเมินระดบั 2 ขึ้นไป

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 4 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวชิ า ว16101 ปกี ารศึกษา 2565 ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 1 ชว่ั โมง หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 สารอาหารและระบบย่อยอาหาร โรงเรียนบ้านบงึ ท่ายวน มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุตรดติ ถ์ แผนการจัดการเรียนรู้ เรือ่ ง สารอาหาร ผู้สอน นางสาวเจนจิรา จงอยู่สขุ สาขาวิชา วทิ ยาศาสตรท์ ัว่ ไป คณะ ครุศาสตร์ มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชว้ี ดั มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออก จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชท่ีทางานสัมพันธ์กัน รวมท้ังนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ตวั ชว้ี ดั ว 1.2 ป. 6/1 ระบุสารอาหารและ บอกประโยชน์ของสารอาหาร แต่ละประเภทจากอาหารที่ตนเอง รับประทาน ว 1.2 ป. 6/2 บอกแนวทางในการเลือก รับประทานอาหารให้ได้ สารอาหารครบถ้วนใน สัดส่วนที่ เหมาะสมกบั เพศ และวยั รวมทั้งปลอดภัย ตอ่ สุขภาพ ว 1.2 ป. 6/3 ตระหนักถึงความสาคัญ ของอาหาร โดยการเลือก รับประทานอาหารท่ีมี สารอาหาร ครบถ้วนใน สัดส่วนทเี่ หมาะสมกับเพศ และวัย รวมทั้งปลอดภัย ต่อสุขภาพ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. นักเรียนมคี วามรู้ความเข้าใจรวบรวมข้อมลู ระบปุ ระเภทและประโยชน์ของสารอาหาร (K) 2. นกั เรียนสามารถวเิ คราะห์และระบุสัดส่วนของอาหาร และปริมาณ พลงั งานจากอาหารท่ีเหมาะสม กับเพศและวัยได้ (P) 3. นักเรียนใฝ่เรยี นรู้ มงุ่ มนั่ ในการทางาน และมีวนิ ยั ในการเรยี น (A) สาระสาคัญ อาหารเป็นสิ่งที่เรารับประทานแล้วมีประโยชน์ต่อ ร่างกาย โดยอาหารที่เรารับประทานจะผ่านการ ยอ่ ยใน ระบบยอ่ ยอาหาร เพอื่ ให้ได้สารอาหารท่ีจ้าเป็นต่อการ ดารงชวี ิต ในแต่ละวันเราตอ้ งเลือกรับประทาน อาหารท่ีมี ประโยชน์ ในปริมาณท่ีเหมาะสมกับความต้องการของ ร่างกายแต่ละเพศและวัย รวมทั้งปลอดภัย ตอ่ สขุ ภาพ

สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 1. การลงความเห็นจากข้อมูล (S8) 2. การตคี วามหมายข้อมูลและลงข้อสรุป (S13) 3. การคิดอย่างมวี ิจารณญาณ (C2) 4. การแกป้ ญั หา (C3) 5. การสอื่ สาร (C4) 6. ความรว่ มมอื (C5) สมรรถนะของผเู้ รียนตามแนว PISA 1. A1 นาความรูท้ างวิทยาศาสตรม์ าสรา้ งคาอธบิ ายที่สมเหตผุ ล 2. B4 ประเมนิ วธิ ีสารวจตรวจสอบปญั หาทางวทิ ยาศาสตรท์ ี่กาหนดให้ 3. C1 แปลงขอ้ มลู ทีน่ าเสนอในรูปแบบหนงึ่ ไปสู่รูปแบบอื่น 4. C2 วเิ คราะหแ์ ละแปลความหมายขอ้ มูลทางวิทยาศาสตร์ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมัน่ ในการทางาน สาระการเรียนรู้ 1. ประเภทและประโยชนข์ องสารอาหาร 2. ชนิดของอาหาร ปริมาณพลงั งานและ สดั สว่ นของอาหารตามธงโภชนาการ 3. แนวทางการรับประทานอาหารใน กระบวนการจดั การเรยี นรู้ (ใช้รูปแบบการสอนสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 1. ข้ันสร้างความสนใจ (Engagement) 1. ครทู บทวนความรพู้ น้ื ฐานของนกั เรยี นเกีย่ วกบั สัดสว่ นอาหารและพลงั งานท่ีร่างกายต้องการ ที่เคยเรียนมาแล้ว โดยครูอาจนารูปภาพ วีดีทัศน์ หรือตัวอย่างจริงเกี่ยวกับสัดส่วนอาหารและพลังงานท่ี รา่ งกายตอ้ งการ มาให้นกั เรยี นดู แล้วตงั้ ประเดน็ ปัญหาดังนี้ 1.1 อาหารแตล่ ะชนดิ ประกอบดว้ ยสารอาหารใดบา้ ง และได้พลงั งานมากนอ้ ยอยา่ งไร 1.2 หากนักเรียนขาดสารอาหาร จะส่งผลกระทบต่อการดารงชีวิตประจาวันของตนเอง หรอื ไม่ อย่างไร 1.3 อาหารท่ีเรารับประทานใน 1 วัน จะได้รับสารอาหารตามความต้องการของรา่ งกาย

สานักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้กาหนดปริมาณพลงั งานที่คนไทยได้รบั ใน 1 วนั เท่าไร เรามาศึกษาจากกจิ กรรมต่อไปนี้ 2. ครชู ักชวนนักเรียนศึกษาเร่อื งสัดสว่ นอาหารและพลังงานทร่ี า่ งกายต้องการ โดยใหอ้ ่านช่ือหน่วย และจุดประสงค์การเรยี นร้ปู ระจาหนว่ ยในหนงั สอื เรียน จากนัน้ ครูกใ็ ชค้ าถามดังน้ี 2.1 บทนี้จะได้เรยี นเรื่องอะไร 2.2 จากจุดประสงคก์ ารเรียนรูเ้ ม่ือเรียนจบบทนนี้ กั เรียนสามารถทาอะไรได้บา้ ง 2. ขน้ั สารวจค้นหา (Explore) 1. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั อภปิ รายเกี่ยวกับสดั สว่ นอาหารและพลงั งานที่รา่ งกายต้องการจาก อินเตอร์เน็ต หรือเอกสาร หรือหนังสือเรียน และแบ่งกลุ่มนักเรียนคละความสามารถ ชาย-หญิง กลุ่มละ 5-6 คน เพื่อปฏิบตั ิกจิ กรรม 2. ให้นักเรียนแตล่ ะกลุม่ รว่ มกันศึกษาตารางค่าพลังงานและสารอาหารท่ีพบในอาหารต่าง ๆ รว่ มกนั อภิปราย บนั ทกึ ผลลงในใบงานที่ 1.3 เรื่อง พลงั งานจากอาหาร 3. ให้นักเรียนเลือกรายการอาหารท่ีกาหนด บันทึกลงในตารางปริมาณพลังงานในอาหารแต่ ละมื้อ ที่นักเรียนคิดว่าเป็นอาหารที่เหมาะสมกับเพศและวัยของตนเอง บันทึกผลลงในใบงานที่ 1.4 เรื่อง อาหารท่ีฉันรบั ประทานในแต่ละวัน 3. ขัน้ อธิบายความรู้ (Explain) 1. ตวั แทนนกั เรยี น 2-3 คน นาเสนอสัดสว่ นอาหารและพลงั งานทีร่ า่ งกายต้องการ และการตอบคาถาม 2. ครูสังเกตการตอบคาถามของนักเรียนเพ่ือตรวจสอบว่านักเรียนมีแนวคิดเกี่ยวกับสัดส่วน อาหารและพลังงานท่ีร่างกายต้องการอย่างไร โดยสังเกตจากนักเรียนที่เป็นตัวแทนที่นาเสนอคาตอบของ ตนเอง ครยู งั ไม่ตอ้ งเฉลยคาตอบ แต่จะให้นกั เรยี นย้อนกลบั มาตรวจสอบอกี ครง้ั หลังจากเรียนจบบทน้ี 3. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสัดส่วนอาหารและพลังงานที่ร่างกายต้องการ และครูอธิบายให้ นกั เรียนเข้าใจว่ามีสัดสว่ นอาหารและพลังงานท่รี า่ งกายตอ้ งการ ดังน้ี 3.1 การรับประทานอาหารในแต่ละม้ือ ต้องครบ 5 หมู่ ได้รับสารอาหารครบ 6 ประเภท เพื่อให้ ร่างกายเจริญเติบโต มีการเปล่ียนแปลงของร่างกายตามเพศและวัย และมีสุขภาพดี จาเป็นต้องรับประทาน อาหารใหไ้ ด้พลังงานเพยี งพอกบั ความตอ้ งการของรา่ งกาย และให้ได้สารอาหารครบถว้ น ในสัดสว่ นท่เี หมาะสม กบั เพศและวยั รวมทัง้ ต้องคานึงถึงชนิดและปรมิ าณของวัตถุเจอื ปนในอาหารเพ่ือความปลอดภัยต่อสุขภาพ 4. ขนั้ ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ให้นกั เรียนช่วยกนั คิดและอภิปรายจากการศึกษาเก่ียวกบั สัดส่วนอาหารและพลังงานทีร่ ่างกายต้องการ 2. ครูขยายขอบเขตของความรู้โดยเพ่ิมเติมความรู้เกี่ยวกับสัดส่วนอาหารและพลังงานที่ร่างกาย ตอ้ งการ สามารถนาไปใช้ในการแก้ปัญหาในชวี ติ ประจาวนั ตามขน้ั ตอนวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ เช่อื มโยงจาก ผลการศกึ ษาของนกั เรยี น

5. ข้นั ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. นักเรียนนาความรู้ทไ่ี ดจ้ ากการเรยี นรเู้ รือ่ งนี้ ไปปรับใช้ในการดารงชีวิตอยูอ่ ยา่ งพอเพียงใด 2. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั ประเมนิ กิจกรรมในแบบบันทึกกิจกรรม เกบ็ ในแฟม้ สะสมงานนกั เรียน จากนน้ั ครูนัดหมายการเรียนในครงั้ ตอ่ ไป ส่ือและแหล่งการเรยี นรู้ 1. หนังสอื เรียน ป.6 เลม่ 1 2. แบบบันทกึ กิจกรรม ป.6 เลม่ 1 การวัดและประเมนิ ผล ตาราง: แสดงกรอบการวัดและประเมนิ ผล จุดประสงค์การเรยี นรู้ วธิ กี ารวดั ผล เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมิน 1.ด้านความรู้ (K) นักเรียนมี การซกั ถาม ค า ถ า ม ร ะ ห ว่ า ง ก า ร ผู้เรยี นผ่านเกณฑ์ระดับ พอใช้ข้นึ ไป ความรู้ความเข้าใจรวบรวม จดั การเรยี นการสอน ผเู้ รียนผา่ นเกณฑร์ ะดับ ข้อมูล ร ะ บุปร ะ เภท แ ล ะ พอใช้ขึ้นไป ประโยชนข์ องสารอาหาร ผเู้ รยี นผ่านเกณฑ์ระดบั พอใช้ขน้ึ ไป 2.ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) ใบงาน/กิจกรรม แบบประเมินพฤติกรรม นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ วิ เ ค ร า ะ ห์ บ่งชีก้ ระบวนการ และระบุสัดส่วนของอาหาร และปริมาณ พลังงานจาก อาหารท่ีเหมาะสมกับเพศและ วัยได้ 3.ด้านคณุ ลักษณะ (A) ประเมินความตั้งใจเรียน แบบประเมินพฤติกรรม นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มุง่ มั่นในการ ต้ังใจในการทางาน และ บ่งช้ีคุณลักษณะอันพึง ทางาน และมีวนิ ยั ในการเรยี น ความตรงต่อเวลาในการ ประสงค์ สง่ งาน

เกณฑ์การให้คะแนนรูบรคิ ส์ (Rubric Score) เกณฑป์ ระเมินดา้ น K รายการประเมนิ ดมี าก (4) ระดบั คณุ ภาพ ปรับปรุง (1) ดี (3) พอใช้ (2) นัก เรียน มีคว ามรู้ นักเรียนสามารถระบุ นักเรียนสามารถระบุ นักเรียนสามารถระบุ นักเรียนสามารถระบุ ความเข้าใจรวบรวม ประเภทและประโยชน์ ประเภทและประโยชน์ ป ร ะ เ ภ ท แ ล ะ ป ร ะ เ ภ ท แ ล ะ ข้อมูล ระบุประเภท ของสารอาหารได้อย่าง ของสารอาหารได้อย่าง ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง และประโยชน์ของ ถูก ต้อง ชัดเจน และ ถูกต้องและครบถ้วน สารอาหารได้ถูกต้อง สารอาหารได้เพียง สารอาหาร ครบถว้ น (80%-100%) (79%-70%) เป็นส่วนใหญ่ (69%- ส่ ว น น้ อ ย ( ต่ า ก ว่ า 60%) 60%) *หมายเหตุ นกั เรียนต้องผา่ นเกณฑ์การประเมินระดับ 60% ข้นึ ไป เกณฑ์ประเมนิ ด้าน P รายการประเมนิ ดมี าก (4) ระดบั คุณภาพ ปรับปรุง (1) ดี (3) พอใช้ (2) นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ 1. ความถูกตอ้ งของเน้อื หา มีผลการเรียนรู้ มีผลการเรียนรู้ มีผลก าร เรีย น รู้ วิเคราะห์ และระบุ 2. การเรียงลาดบั ของเนือ้ หา ต า ม ค า อ ธิ บ า ย ต า ม ค า อ ธิ บ า ย ตามคาอธิบายเป็น สัดส่ว น ของ อาห า ร 3. การใช้ภาษาอย่างถูกตอ้ ง เป็นรายข้อดังท่ี เป็นรายข้อดังที่ รายข้อดังที่กาหนด และปริมาณ พลังงาน 4. ความเรียบรอ้ ยของใบงาน กาหนดระดับดี กาหนดระดับดี ระดับดีมากข้อใด จากอาหารท่ีเหมาะสม มากขอ้ ใด ขอ้ หนึ่ง มากข้อใดข้อหนึ่ง ข้อหน่ึงน้อยกว่า 1 กบั เพศและวยั ได้ จานวน 3 ขอ้ จานวน 2 ขอ้ ขอ้ *หมายเหตุ นักเรียนต้องผ่านเกณฑก์ ารประเมินระดบั 2 ข้นึ ไป เกณฑป์ ระเมนิ ด้าน A รายการ ระดบั คุณภาพ ประเมนิ ดมี าก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1) นั ก เ รี ย น ใ ฝ่ พยายามสืบค้นเพ่อื แก้ไข มีผลการเรียนรู้ตาม มีผลการเรียนรู้ตาม มีผลการเรียนรู้ตาม เรียนรู้ มุ่งมั่น ปัญหา ในการทางานให้แลว้ คาอธิบายเป็นรายข้อ คาอธบิ ายเป็นรายข้อ คาอธิบายเป็นรายข้อ ในการทางาน เสร็จ มีความตงั้ ใจพยายาม ดังที่กาหนดระดับดี ดังท่ีกาหนดระดับดี ดังท่ีกาหนดระดับดี และมีวินัยใน ทางานและทางานได้เสรจ็ ตาม มากข้อใด ข้อหนึ่ง มากข้อใด ข้อหนึ่ง มากข้อใด ข้อหน่ึง การเรยี น เวลาท่ีกาหนด สนใจเรยี น จานวน 3 ขอ้ จานวน 2 ข้อ น้อยกวา่ 1 ขอ้ และตงั้ ใจเรียน *หมายเหตุ นักเรียนต้องผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ระดบั 2 ขึน้ ไป

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 5 กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหสั วิชา ว16101 ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 สารอาหารและระบบย่อยอาหาร เวลา 1 ชว่ั โมง แผนการจดั การเรียนรู้ เรือ่ ง ในแต่ละวนั เรารับประทานอาหารเหมาะสมหรือไมอ่ ย่างไร ผสู้ อน นางสาวเจนจิรา จงอยสู่ ุข โรงเรยี นบ้านบงึ ทา่ ยวน สาขาวิชา วิทยาศาสตร์ท่ัวไป คณะ ครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุตรดติ ถ์ มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชีว้ ัด มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของส่ิงมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออก จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน รวมท้ังนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ตวั ชวี้ ัด ว 1.2 ป. 6/1 ระบสุ ารอาหารและ บอก ประโยชน์ของสารอาหาร แต่ละประเภทจากอาหาร ที่ ตนเองรบั ประทาน ว 1.2 ป. 6/2 บอกแนวทางในการเลอื ก รบั ประทานอาหารใหไ้ ด้ สารอาหารครบถ้วนใน สัดส่วนที่ เหมาะสมกบั เพศ และวยั รวมทั้งปลอดภยั ตอ่ สขุ ภาพ ว ว 1.2 ป. 6/3 ตระหนกั ถึงความสาคัญ ของอาหาร โดยการเลอื ก รับประทานอาหารท่มี ี สารอาหาร ครบถว้ นใน สัดส่วนท่ีเหมาะสมกับเพศ และวยั รวมท้ังปลอดภยั ตอ่ สุขภาพ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. นกั เรยี นมีความรู้ความเข้าใจรวบรวมขอ้ มูลระบุประเภทและประโยชน์ของสารอาหาร (K) 2. นักเรยี นสามารถวิเคราะห์ และระบุสัดสว่ นของอาหาร และ ปริมาณพลังงานจากอาหารทเี่ หมาะสม กบั เพศและวยั ได้ (P) 3. นกั เรียนใฝ่เรยี นรู้ มุง่ มน่ั ในการทางาน และมวี นิ ยั ในการเรยี น (A) สาระสาคญั กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้รวบรวมข้อมูล เพื่อระบุ ประเภทและประโยชน์ของสารอาหารที่มีอยู่ใน อาหาร ได้สารวจและวิเคราะห์การรับประทานอาหารของตนเองใน1 วัน เพื่อระบุสารอาหาร สัดส่วนของ อาหาร ปริมาณ พลังงาน และความปลอดภัยของอาหารจากอาหารที่ตนเอง รับประทาน รวมท้ังได้บอกแนว ทางการรับประทานอาหาร เพือ่ ให้เหมาะสมกบั ตนเอง สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคดิ

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 1. การลงความเห็นจากขอ้ มูล (S8) 2. การตีความหมายข้อมลู และลงขอ้ สรปุ (S13) 3. การคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ (C2) 4. การแกป้ ัญหา (C3) 5. การสอ่ื สาร (C4) 6. ความรว่ มมอื (C5) สมรรถนะของผู้เรยี นตามแนว PISA 1. A1 นาความรู้ทางวิทยาศาสตรม์ าสร้างคาอธบิ ายทสี่ มเหตผุ ล 2. B4 ประเมินวธิ ีสารวจตรวจสอบปัญหาทางวทิ ยาศาสตร์ที่กาหนดให้ 3. C1 แปลงข้อมูลทนี่ าเสนอในรูปแบบหนง่ึ ไปส่รู ูปแบบอนื่ 4. C2 วิเคราะหแ์ ละแปลความหมายข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มงุ่ ม่นั ในการทางาน สาระการเรยี นรู้ 1. ประเภทและประโยชนข์ องสารอาหาร 2. ชนดิ ของอาหาร ปรมิ าณพลังงานและ สดั ส่วนของอาหารตามธงโภชนาการ’ 3. ความปลอดภัยของอาหารต่อสุขภาพ 4. แนวทางการรับประทานอาหารใน กระบวนการจัดการเรียนรู้ (ใชร้ ูปแบบการสอนสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 1. ขนั้ สร้างความสนใจ (Engagement) 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกยี่ วกับการรับประทานอาหารให้เหมาะสมกบั ตนเอง โดยครูให้ นักเรียนชมวดี ิทัศนส์ ั้น ๆ เก่ียวกับการแข่งขัน การแสดง หรือข่าวเกี่ยวกับการรับประทานอาหารปรมิ าณมาก จากนั้น ให้นักเรยี นร่วมกันอภปิ รายโดยใช้คาถาม ดงั น้ี 1.1 นักเรียนคดิ วา่ การรับประทานอาหารปริมาณมากตอ่ มื้อเป็น พฤติกรรมทค่ี วรทา ตามหรือไม่ เพราะเหตใุ ด (นกั เรยี นตอบตาม ความเขา้ ใจของตนเอง เช่น ไม่ควรทาตาม เพราะในแตล่ ะวันเรา ควรรบั ประทานอาหารในปรมิ าณท่ีพอเหมาะ ไมค่ วรรับประทาน อาหารมากจนเกินไป) 1.2 นักเรียนเคยรับประทานอาหารมื้อหน่ึง ในปริมาณมากเกินความ ต้องการของ ร่างกายหรือไม่ (นักเรยี นตอบตามประสบการณข์ อง ตนเอง)

2. หลังจากรับประทานอาหารปริมาณมาก นักเรียนรู้สึกอย่างไร (นักเรียนตอบตาม ประสบการณ์ของตนเอง เช่น ร้สู กึ อึดอดั แนน่ ทอ้ ง ปวดท้อง อยากอาเจยี น) 3. ครเู ชือ่ มโยงความรู้เดิมของนักเรียนเขา้ สกู่ จิ กรรมที่ 1 โดยใชค้ าถามดงั นี้ นักเรยี นรหู้ รือไม่ ว่าในแต่ละวัน นักเรียนรับประทานอาหารเหมาะสมกับ เพศและวัยของตนเองหรือไม่ และควรรับประทาน อาหารอย่างไรจงึ จะ เหมาะสมกับตนเอง 2. ขั้นสารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูแบง่ กล่มุ นกั เรียนคละความสามารถ ชาย-หญงิ กลมุ่ ละ 5-6 คน เพอ่ื ปฏิบัตกิ จิ กรรม 2. นักเรยี นอ่านช่อื กจิ กรรม และทาเปน็ คดิ เป็น จากน้ันร่วมกนั อภปิ ราย เพื่อตรวจสอบความ เข้าใจเก่ยี วกบั จดุ ประสงค์ในการทากิจกรรม โดยครูใช้คาถาม ดังน้ี 1.1 กิจกรรมนี้ นักเรียนจะได้เรียนเร่ืองอะไร (การรับประทานอาหารใน แต่ละวันให้ เหมาะสมกบั เพศและวัยของตนเอง) 1.2 นกั เรียนจะไดเ้ รยี นรู้เรือ่ งนี้ ดว้ ยวธิ ใี ด (การรวบรวมขอ้ มูล และการ วิเคราะห์) 3. นกั เรียนบันทกึ จดุ ประสงค์ ข้อ 1 และ 2 ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หนา้ 8 และขอ้ 3 และ 4 ลงในแบบบนั ทกึ กิจกรรม หนา้ 14 และอา่ น ส่ิงท่ี ตอ้ งใช้ในการทากิจกรรม 4. นักเรียนอ่านทาอย่างไร ตอนท่ี 1 ทีละข้อ โดยครูใช้วิธีฝึกทักษะการอ่าน ท่ีเหมาะสมกับ ความสามารถของนักเรยี น 5. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับธงโภชนาการและปรมิ าณอาหารสาหรับคนใน วัยต่าง ๆ จากหนังสอื เรียน แล้วจดั ทาเป็นแผนภาพและวิเคราะห์ข้อมูล ลงในใบงานที่ 1.6 เรือ่ ง ธงโภชนาการ 3. ขัน้ อธิบายความรู้ (Explain) 1. นักเรยี นอา่ นทาอย่างไร ตอนท่ี 1 ทีละข้ออ่านตามวิธกี ารอา่ นท่เี หมาะสมกบั ความสามารถ ของนักเรียน จากน้ันครตู รวจสอบความเข้าใจจากการอ่าน โดยใชค้ าถามดงั น้ี 1.1 นกั เรียนต้องอา่ นใบความรเู้ ร่ืองอะไร (สารอาหาร พลงั งาน และ สดั ส่วนของอาหาร) 2. หลังจากอ่านใบความรู้ นักเรยี นต้องทาอะไร (อภิปรายและบอก ประโยชน์ของสารอาหาร ระบปุ ริมาณพลังงานทต่ี นเองต้องการใน 1 วนั และระบุหนว่ ยที่ใชว้ ัดปริมาณอาหารตามธงโภชนาการ) 3. นักเรียนได้นาผลการสารวจอาหาร และสืบค้นข้อมูลส่วนประกอบ ของอาหารมาก่อนหรอื ไม่ (นกั เรยี นควรสารวจอาหาร ในกรณที ่ี นักเรยี นไม่ไดส้ ารวจอาหารมากอ่ น ครคู วรใหเ้ วลานักเรยี นสารวจ อาหาร และบนั ทึกข้อมลู ) 4. นักเรยี นระบปุ รมิ าณของสว่ นประกอบต่าง ๆ ในอาหารโดยใชห้ นว่ ย จากท่ใี ด (ใชห้ น่วยจากธง โภชนาการ) 5. ตัวแทนนักเรียนกลมุ่ ละ 2-3 คน นาเสนอสัดส่วนอาหารและพลงั งานทร่ี ่างกายต้องการ และ การตอบคาถาม

4. ขน้ั ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูใหน้ กั เรยี นช่วยกันคดิ และอภปิ รายจากการศกึ ษาเกย่ี วกบั สดั ส่วนอาหารและพลงั งานท่ี รา่ งกายตอ้ งการ 2. ครูสงั เกตการตอบคาถามของนักเรียนเพือ่ ตรวจสอบว่านักเรียนมีแนวคิดเกยี่ วกับสัดส่วน อาหารและพลังงานที่ร่างกายต้องการอย่างไร โดยสังเกตจากนักเรียนท่ีเป็นตัวแทนที่นาเสนอคาตอบของ ตนเอง ครูยังไมต่ ้องเฉลยคาตอบ แต่จะใหน้ กั เรยี นยอ้ นกลบั มาตรวจสอบอีกครงั้ หลังจากเรยี นจบบทนี้ 3. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสัดส่วนอาหารและพลงั งานทรี่ ่างกายตอ้ งการ และครูอธิบายให้ นกั เรียนเขา้ ใจวา่ มีสดั ส่วนอาหารและพลังงานท่ีร่างกายตอ้ งการ ดงั นี้ 3.1 การรับประทานอาหารเพ่ือให้ร่างกายแข็งแรงและมีสุขภาพดีนั้นจาเป็นต้องได้รับ สารอาหารแต่ละประเภทให้ครบถ้วน และปริมาณท่ีเหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย ซึ่งกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้จัดทา “ธงโภชนาการ”แนะนาสัดสว่ นการรับประทานอาหารของคนไทยแสดงไว้ ดงั น้ี - กลุ่มข้าว แป้ง ควรรับประทานปรมิ าณมากทสี่ ุด โดยรบั ประทานได้ 8-12 ทัพพีต่อวัน - กลุ่มผักและผลไม้ มีใยอาหาร ควรรับประทานปริมาณรองลงมา โดยรับประทานผัก ได้ 4-6 ทัพพตี ่อวัน ผลไม้ 3-5 สว่ นต่อวัน - กลมุ่ เนื้อ ถว่ั ไข่ และนม โดยรับประทานเนอ้ื สัตว์ 6-12 ชอ้ นโต๊ะตอ่ วนั สว่ นนมด่ืมวนั ละ 1-2 แกว้ - กลุ่มนา้ มนั น้าตาล และเกลือ ควรรบั ประทานนอ้ ยท่สี ดุ เท่าที่จาเป็น 5. ขั้นตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครขู ยายขอบเขตของความรโู้ ดยเพมิ่ เติมความรู้เก่ียวกับสดั สว่ นอาหารและพลังงานทรี่ ่างกาย ตอ้ งการ สามารถนาไปใช้ในการแกป้ ัญหาในชีวติ ประจาวัน ตามขนั้ ตอนวธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ เชือ่ มโยงจาก ผลการศึกษาของนกั เรียน 2. นักเรยี นนาความรู้ทไี่ ด้จากการเรียนรู้เรอ่ื งน้ี ไปปรับใช้ในการดารงชีวิตอยู่อย่างพอเพยี งได้ 3. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั ประเมินกิจกรรมในแบบบนั ทกึ กิจกรรม เก็บในแฟม้ สะสมงานนักเรยี น จากน้นั ครนู ัดหมายการเรียนในครงั้ ต่อไป สอ่ื และแหลง่ การเรียนรู้ 1. หนังสอื เรียน ป.6 เล่ม 1 2. แบบบนั ทกึ กิจกรรม ป.6 เลม่ 1

การวัดและประเมินผล ตาราง: แสดงกรอบการวดั และประเมนิ ผล จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วธิ กี ารวัดผล เคร่อื งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ ผ้เู รยี นผ่านเกณฑ์ระดับ 1.ด้านความรู้ (K) นักเรียนมี การซกั ถาม คาถามระหว่างการ พอใช้ข้ึนไป ความรู้ความเข้าใจรวบรวมข้อมูล จัดก าร เรียน การ ผ้เู รียนผา่ นเกณฑร์ ะดับ ระบุประเภทและประโยชน์ของ สอน พอใชข้ ้ึนไป สารอาหาร ผู้เรยี นผา่ นเกณฑร์ ะดบั พอใช้ขึน้ ไป 2.ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) ใบงาน/กิจกรรม แ บ บ ป ร ะ เ มิ น นักเรียนสามารถวิเคราะห์ และ พ ฤ ติ ก ร ร ม บ่ ง ช้ี ระบุสัดส่วนของอาหาร และ กระบวนการ ปริมาณพลังงานจากอาหารท่ี เหมาะสมกบั เพศและวัยได้ 3.ด้านคุณลกั ษณะ (A) ประเมินความต้ังใจเรียน แ บ บ ป ร ะ เ มิ น นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการ ตั้งใจในการทางาน และ พ ฤ ติ ก ร ร ม บ่ ง ช้ี ทางาน และมวี นิ ยั ในการเรียน ความตรงต่อเวลาในการส่ง คุณลักษณะอันพึง งาน ประสงค์ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนรบู ริคส์ (Rubric Score) เกณฑ์ประเมินดา้ น K รายการประเมนิ ดมี าก (4) ระดบั คณุ ภาพ ปรบั ปรงุ (1) ดี (3) พอใช้ (2) นัก เรียน มีคว ามรู้ นักเรียนสามารถระบุ นักเรียนสามารถระบุ นักเรียนสามารถระบุ นักเรียนสามารถระบุ ความเข้าใจรวบรวม ประเภทและประโยชน์ ประเภทและประโยชน์ ป ร ะ เ ภ ท แ ล ะ ป ร ะ เ ภ ท แ ล ะ ข้อมูลระบุประเภท ของสารอาหารได้อย่าง ของสารอาหารได้อย่าง ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง และประโยชน์ของ ถูก ต้อง ชัดเจน และ ถูกต้องและครบถ้วน สารอาหารได้ถูกต้อง สารอาหารได้เพียง สารอาหาร ครบถ้วน (80%-100%) (79%-70%) เป็นส่วนใหญ่ (69%- ส่ ว น น้ อ ย ( ต่ า ก ว่ า 60%) 60%) *หมายเหตุ นกั เรยี นต้องผา่ นเกณฑ์การประเมินระดบั 60% ขึ้นไป

เกณฑป์ ระเมนิ ดา้ น P รายการประเมนิ ดมี าก (4) ระดบั คณุ ภาพ ปรับปรุง (1) ดี (3) พอใช้ (2) นักเรียนสามารถ 1. ความถกู ตอ้ งของ มีผลการเรียนรู้ มีผลการเรียน รู้ มีผลการเรียน รู้ วิเคราะห์ และ เนอื้ หา ตามคาอ ธิ บ า ย ตามคาอธบิ ายเป็น ตามคาอธบิ ายเป็น ระบุสัดส่วนของ 2. การเรียงลาดบั ของ เป็นรายข้อดังท่ี ร า ย ข้ อ ดั ง ท่ี ร า ย ข้ อ ดั ง ที่ อ า ห า ร แ ล ะ เนือ้ หา กาหนดระดับดี ก าหน ดร ะ ดับดี ก าหน ดร ะ ดั บ ดี ปริมาณพลังงาน 3. การใช้ภาษาอย่าง มากขอ้ ใด ขอ้ หนึ่ง มากข้อใดข้อหนึ่ง มากข้อใด ข้อหนึ่ง จ า ก อ า ห า ร ท่ี ถูกตอ้ ง จานวน 3 ข้อ จานวน 2 ขอ้ น้อยกวา่ 1 ขอ้ เหมาะสมกับเพศ 4. ความเรียบรอ้ ยของ และวัยได้ ใบงาน *หมายเหตุ นักเรียนตอ้ งผ่านเกณฑ์การประเมนิ ระดับ 2 ขนึ้ ไป เกณฑ์ประเมนิ ดา้ น A รายการ ระดบั คณุ ภาพ ประเมนิ ดมี าก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) นักเรียนใฝ่ พยายามสืบคน้ เพื่อแก้ไข มีผลการเรียนรู้ มีผลการเรี ยนรู้ มผี ลการเรยี นรูต้ าม เ รี ย น รู้ ปัญหา ในการทางานให้แล้ว ตามคาอธบิ ายเป็น ตามคาอธิบายเป็น คาอธิบายเป็นราย มุ่ ง ม่ั น ใ น เสร็จ มีความตง้ั ใจพยายาม ร า ย ข้ อ ดั ง ที่ ร า ย ข้ อ ดั ง ที่ ข้ อ ดั ง ท่ี ก า ห น ด การทางาน ทางานและทางานได้เสร็จ กาหนดระดับดี ก าหนดระดั บดี ระดับดีมากข้อใด และมีวินัย ตามเวลาท่กี าหนด สนใจ มากข้อใด ข้อหน่ึง มากข้อใด ข้อหน่ึง ข้อหน่งึ นอ้ ยกวา่ 1 ในการเรยี น เรียน และตั้งใจเรียน จานวน 3 ขอ้ จานวน 2 ขอ้ ขอ้ *หมายเหตุ นักเรียนตอ้ งผา่ นเกณฑก์ ารประเมินระดบั 2 ข้นึ ไป

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ รายวชิ า วิทยาศาสตร์ รหัสวชิ า ว16101 ปกี ารศกึ ษา 2565 ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 1 ชั่วโมง หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 สารอาหารและระบบยอ่ ยอาหาร โรงเรยี นบ้านบงึ ทา่ ยวน มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อตุ รดิตถ์ แผนการจดั การเรยี นรู้ เร่ือง ธงโภชนาการ ผสู้ อน นางสาวเจนจิรา จงอยสู่ ขุ สาขาวิชา วทิ ยาศาสตร์ทวั่ ไป คณะ ครุศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ัด มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออก จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชท่ีทางานสัมพันธ์กัน รวมท้ังนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ตัวช้ีวัด ว 1.2 ป. 6/1ระบุสารอาหารและ บอก ประโยชน์ของสารอาหาร แต่ละประเภทจากอาหาร ที่ ตนเองรบั ประทาน ว 1.2 ป. 6/2 บอกแนวทางในการเลอื ก รับประทานอาหารให้ได้ สารอาหารครบถว้ นใน สดั ส่วนท่ี เหมาะสมกับเพศ และวยั รวมทั้งปลอดภยั ต่อสุขภาพ ว 1.2 ป. 6/3 ตระหนกั ถงึ ความสาคญั ของอาหาร โดยการเลือก รบั ประทานอาหารที่มีสารอาหาร ครบถ้วนใน สดั ส่วนที่เหมาะสมกบั เพศ และวัย รวมทั้งปลอดภัย ตอ่ สขุ ภาพ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. นักเรยี นมีความรู้ความเขา้ ใจรวบรวมข้อมลู ระบปุ ระเภทและประโยชนข์ องสารอาหาร (K) 2. นักเรียนมคี วามสามารถเขียนธงโภชนาการได้ (P) 3. นกั เรยี นใฝเ่ รียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน และมวี ินัยในการเรยี น (A) สาระสาคัญ กิจกรรมน้ีนักเรียนจะได้รวบรวมข้อมูล เพื่อระบุ ประเภทและประโยชน์ของสารอาหารที่มีอยู่ใน อาหาร ได้สารวจและวิเคราะห์การรับประทานอาหารของตนเองใน1 วัน เพื่อระบุสารอาหาร สัดส่วนของ อาหาร ปริมาณ พลังงาน และความปลอดภัยของอาหารจากอาหารที่ตนเอง รับประทาน รวมท้ังได้บอกแนว ทางการรบั ประทานอาหาร เพื่อให้เหมาะสมกับตนเอง สาระการเรยี นรู้ 1. ประเภทและประโยชน์ของสารอาหาร 2. ชนดิ ของอาหาร ปรมิ าณพลังงานและ สดั สว่ นของอาหารตามธงโภชนาการ’ 3. ความปลอดภยั ของอาหารต่อสขุ ภาพ

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 1. การลงความเห็นจากข้อมูล (S8) 2. การตคี วามหมายขอ้ มลู และลงข้อสรุป (S13) 3. การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ (C2) 4. การแกป้ ัญหา (C3) 5. การส่ือสาร (C4) 6. ความรว่ มมอื (C5) สมรรถนะของผู้เรียนตามแนว PISA 1. A1 นาความรู้ทางวทิ ยาศาสตรม์ าสร้างคาอธิบายทีส่ มเหตุผล 2. B4 ประเมินวิธสี ารวจตรวจสอบปญั หาทางวิทยาศาสตรท์ ีก่ าหนดให้ 3. C1 แปลงข้อมลู ทีน่ าเสนอในรูปแบบหน่งึ ไปสู่รปู แบบอนื่ 4. C2 วิเคราะห์และแปลความหมายขอ้ มูลทางวทิ ยาศาสตร์ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุ่งม่ันในการทางาน กระบวนการจดั การเรยี นรู้ (ใช้รูปแบบการสอนสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 1. ข้ันสร้างความสนใจ (Engagement) 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมอ่านทาอย่างไร ตอนที่ 1 ทีละขอ้ อ่านตามวิธีการอ่านท่ีเหมาะสม กับความสามารถของนักเรยี น 2. ครเู ช่อื มโยงความร้เู ดมิ ของนกั เรียนเขา้ สูก่ ิจกรรมที่ 1 โดยใช้คาถามดงั น้ี นกั เรยี นรหู้ รอื ไม่ ว่าในแต่ละวัน นักเรียนรับประทานอาหารเหมาะสมกับ เพศและวัยของตนเองหรือไม่ และควร รับประทานอาหารอย่างไรจึงจะ เหมาะสมกบั ตนเอง 2. ขน้ั สารวจค้นหา (Explore) 1. ครูแบ่งกลุม่ นกั เรียนคละความสามารถ ชาย-หญิง กลุ่มละ 5-6 คน เพอื่ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม 2. นกั เรียนอ่านชอื่ กจิ กรรม และทาเปน็ คดิ เป็นตอนท่ี 1 อกี ครัง้ ก่อนทากิจกรรม 3. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทากิจกรรมในทาอย่างไร ตอนท่ี 1 แล้ว ให้ นักเรียนเร่ิมปฏิบัติตาม ขั้นตอนการทากิจกรรม โดยครูเตรียมคอมพิวเตอร์เพ่ือใช้สาหรับเปิดเอกสาร ตารางปริมาณพลังงานและ สดั สว่ นของอาหารตามธงโภชนาการ หรอื พมิ พเ์ ป็นเอกสาร ซึ่งสามารถ ดาวน์โหลดเอกสารโดยการสแกน QR

code ในหนังสือเรียนหน้า 8 เพื่อให้นักเรียนใช้สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับอาหารท่ีตนเองรับประทาน หรือ ให้ นกั เรยี นค้นหาขอ้ มูลจากอินเทอร์เน็ต 4. นักเรียนบันทึกข้อมูลท่ีได้ลงในแบบบันทึกกิจกรรมที่ 1 ในแต่ละวันเรารับประทานอาหาร เหมาะสมหรอื ไม่อย่างไร 3. ขนั้ อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. หลงั จากทากิจกรรมแล้ว นักเรียนรว่ มกันอภิปรายผลการทากิจกรรม โดย ใชแ้ นวคาถามดงั นี้ 1.1 เพราะเหตใุ ดเราจงึ ต้องรับประทานอาหาร (เราต้องรับประทาน อาหารเพื่อให้ร่างกาย ไดร้ บั พลงั งาน และสามารถทางานได้ ตามปกติ) 1.2 สารอาหารแต่ละประเภทมีประโยชน์เหมอื นหรอื แตกต่างกัน อย่างไร (สารอาหารแตล่ ะ ประเภทมีประโยชน์แตกต่างกนั โดยสารอาหารบางประเภทให้พลังงานแกร่ ่างกาย บางประเภทไม่ใหพ้ ลังงาน แตช่ ว่ ยใหร้ ่างกายทางานเปน็ ปกติ) 1.3 ถ้าต้องการให้ระบบต่าง ๆ ของร่างกายทางานเป็นปกติเราต้อง รับประทานอาหารที่ให้ สารอาหารประเภทใด ซ่ึงสว่ นใหญ่พบอยู่ในอาหารจาพวกใด (ควรรับประทานอาหารที่มวี ติ ามนิ เกลือแร่ จาก ผกั และผลไม้ และน้าจากอาหารและจากการด่ืมน้าเปลา่ ) 1.4 การแบ่งอาหารออกเป็น 5 หมู่ มีประโยชน์อย่างไร (ทาให้สามารถ เลือกรับประทาน อาหารใหไ้ ดส้ ารอาหารครบถ้วน และได้รับประโยชนจ์ ากสารอาหารตามความต้องการ) 1.5 การเลอื กรับประทานอาหารใน 1 วนั ตอ้ งพจิ ารณาสง่ิ ใดบ้าง เพอื่ ให้เหมาะสมกับตนเอง (ต้องพจิ ารณาว่าไดร้ ับสารอาหารครบถ้วนหรอื ไม่ ได้รบั ปริมาณพลงั งานเพยี งพอหรือไม่ และไดส้ ดั ส่วนตามธง โภชนาการหรอื ไม)่ 2. ตวั แทนนักเรียนกล่มุ ละ 2-3 คน นาเสนอผลการทากจิ กรรมที่ 1 4. ขัน้ ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครูให้นักเรยี นชว่ ยกนั คดิ และอภปิ รายจากการศกึ ษากจิ กรรมที่ 1 ในแตล่ ะวันเรารบั ประทาน อาหารเหมาะสมหรือไมอ่ ย่างไร 2. ครสู งั เกตการตอบคาถามของนักเรยี นเพอ่ื ตรวจสอบวา่ นักเรียนมแี นวคดิ เก่ียวกบั สดั ส่วนอาหาร และพลังงานทีร่ ่างกายต้องการอย่างไร โดยสังเกตจากนกั เรียนทเ่ี ปน็ ตวั แทนทน่ี าเสนอคาตอบของตนเอง 3. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันสรุปสดั ส่วนอาหารและพลงั งานที่รา่ งกายตอ้ งการ และครูอธิบายให้ นกั เรยี นเขา้ ใจว่ามสี ัดสว่ นอาหารและพลังงานที่ร่างกายต้องการ ดงั น้ี 3.1 อาหารแต่ละอย่างให้ปริมาณพลังงานและ สารอาหารที่แตกต่างกัน การรับประทาน อาหารให้ได้สัดส่วนตาม ธงโภชนาการทาให้เราได้รับสารอาหารและปริมาณพลังงานจาก อาหารท่ีเหมาะสม กับร่างกายของเรา และเป็นการรับประทาน อาหารที่หลากหลาย เนื่องจากสารอาหารบางประเภทจะอยู่ใน อาหารท่แี ตกตา่ งกัน เชน่ วติ ามิน เกลือแร่บางชนิด

5. ขัน้ ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูขยายขอบเขตของความรู้โดยเพ่มิ เติมความรู้เก่ียวกับสัดสว่ นอาหารและพลังงานทีร่ ่างกาย ตอ้ งการ สามารถนาไปใช้ในการแกป้ ัญหาในชีวติ ประจาวัน ตามขนั้ ตอนวธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ เชอ่ื มโยงจาก ผลการศึกษาของนกั เรียน 2. นกั เรยี นนาความรู้ทีไ่ ดจ้ ากการเรียนรู้เรอ่ื งน้ี ไปปรับใช้ในการดารงชีวติ อยู่อยา่ งพอเพยี งได้ 3. ครูและนกั เรียนร่วมกนั ประเมินกจิ กรรมในแบบบันทึกกิจกรรม เก็บในแฟม้ สะสมงานนักเรียน จากนั้นครนู ดั หมายการเรียนในครั้งตอ่ ไป สื่อและแหลง่ การเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน ป.6 เล่ม 1 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.6 เล่ม 1 การวัดและประเมินผล ตาราง: แสดงกรอบการวัดและประเมนิ ผล จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วิธีการวดั ผล เครอื่ งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ ผู้เรียนผา่ นเกณฑ์ระดบั 1.ด้านความรู้ (K) นักเรียนมี การซกั ถาม คาถามระหว่างการ พอใชข้ ึ้นไป ความรู้ความเข้าใจรวบรวมข้อมลู จัดก าร เรียน การ ผเู้ รยี นผ่านเกณฑ์ระดับ ระบุประเภทและประโยชน์ของ สอน พอใชข้ น้ึ ไป สารอาหาร ผเู้ รยี นผ่านเกณฑร์ ะดับ พอใช้ข้ึนไป 2.ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) ใบงาน/กิจกรรม แ บ บ ป ร ะ เ มิ น นักเรียนมีความสามารถเขียนธง พ ฤ ติ ก ร ร ม บ่ ง ช้ี โภชนาการได้ กระบวนการ 3.ดา้ นคณุ ลกั ษณะ (A) ประเมินความต้ังใจเรียน แ บ บ ป ร ะ เ มิ น นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการ ตั้งใจในการทางาน และ พ ฤ ติ ก ร ร ม บ่ ง ชี้ ทางาน และมวี ินัยในการเรียน ความตรงตอ่ เวลาในการส่ง คุณลักษณะอันพึง งาน ประสงค์

เกณฑ์การให้คะแนนรูบริคส์ (Rubric Score) เกณฑ์ประเมินดา้ น K รายการประเมิน ดมี าก (4) ระดบั คณุ ภาพ ปรบั ปรุง (1) ดี (3) พอใช้ (2) นัก เรียน มีคว ามรู้ นักเรียนสามารถระบุ นักเรียนสามารถระบุ นักเรียนสามารถระบุ นักเรียนสามารถระบุ ความเข้าใจรวบรวม ประเภทและประโยชน์ ประเภทและประโยชน์ ป ร ะ เ ภ ท แ ล ะ ป ร ะ เ ภ ท แ ล ะ ข้อมูลระบุประเภท ของสารอาหารได้อย่าง ของสารอาหารได้อย่าง ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง และประโยชน์ของ ถูก ต้อง ชัดเจน และ ถูกต้องและครบถ้วน สารอาหารได้ถูกต้อง สารอาหารได้เพียง สารอาหาร ครบถ้วน (80%-100%) (79%-70%) เป็นส่วนใหญ่ (69%- ส่ ว น น้ อ ย ( ต่ า ก ว่ า 60%) 60%) *หมายเหตุ นักเรยี นต้องผ่านเกณฑ์การประเมินระดับ 60% ขึน้ ไป เกณฑ์ประเมนิ ด้าน P รายการ ระดบั คณุ ภาพ ประเมนิ ดมี าก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) นั ก เ รี ย น มี 1. ความถูกต้องของเนอ้ื หา มีผลการเรียนรู้ตาม มีผลการเรียนรู้ตาม มีผลการเรียนรู้ตาม ความสามารถ 2. การเรยี งลาดบั ของเนอ้ื หา คาอธิบายเป็นรายข้อ คาอธบิ ายเป็นรายข้อ คาอธบิ ายเป็นรายข้อ เ ขี ย น ธ ง 3. การใชภ้ าษาอย่างถกู ตอ้ ง ดังทก่ี าหนดระดับดีมาก ดังที่กาหนดระดับดี ดังท่ีกาหนดระดับดี โภชนาการได้ 4. ความเรียบร้อยของใบงาน ข้อใด ข้อหนึ่ง จานวน มากข้อใดข้อ หนึ่ง มากข้อใด ข้อหน่ึง 3 ขอ้ จานวน 2 ขอ้ นอ้ ยกวา่ 1 ขอ้ *หมายเหตุ นักเรยี นตอ้ งผา่ นเกณฑ์การประเมินระดบั 2 ขนึ้ ไป เกณฑ์ประเมนิ ด้าน A รายการประเมิน ดีมาก (4) ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรุง (1) ดี (3) พอใช้ (2) นักเรียนใฝ่เรียนรู้ พยายามสบื คน้ เพื่อแกไ้ ข มีผลการเรียนรู้ตาม มีผลการเรียนรู้ตาม มีผลการเรียนรู้ตาม มุ่ ง มั่ น ใ น ก า ร ปัญหา ในการทางานให้ คาอธิบายเป็นรายข้อ คาอธบิ ายเปน็ รายข้อ คาอธิบายเป็นรายข้อ ทางานและมีวินัย แล้วเสรจ็ มคี วามตงั้ ใจ ดังที่กาหนดระดับดี ดังที่กาหนดระดับดี ดังท่ีกาหนดระดับดี ในการเรียน พยายามทางานและ มากข้อใด ข้อหนึ่ง มากข้อใด ข้อหนึ่ง มาก ข้อ ใด ข้อ หนึ่ง ทางานไดเ้ สร็จตามเวลาท่ี จานวน 3 ข้อ จานวน 2 ขอ้ น้อยกวา่ 1 ขอ้ กาหนด สนใจเรียน และ ตง้ั ใจเรียน *หมายเหตุ นกั เรียนตอ้ งผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ระดับ 2 ขน้ึ ไป

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 7 กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ รายวชิ า วิทยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว16101 ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 สารอาหารและระบบย่อยอาหาร เวลา 1 ชวั่ โมง แผนการจดั การเรียนรู้ เร่อื ง อาหารที่รับประทานปลอดภยั ตอ่ สุขภาพหรือไม่ (1) ผสู้ อน นางสาวเจนจริ า จงอยู่สุข โรงเรยี นบ้านบงึ ทา่ ยวน สาขาวชิ า วทิ ยาศาสตร์ท่วั ไป คณะ ครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอตุ รดติ ถ์ มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวชวี้ ัด มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของส่ิงมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออก จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชท่ีทางานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ตวั ช้วี ัด ว 1.2 ป. 6/1ระบสุ ารอาหารและ บอก ประโยชนข์ องสารอาหาร แตล่ ะประเภทจากอาหาร ที่ ตนเองรับประทาน ว 1.2 ป. 6/2 บอกแนวทางในการเลอื ก รับประทานอาหารให้ได้ สารอาหารครบถว้ นใน สัดส่วนท่ี เหมาะสมกบั เพศ และวยั รวมท้ังปลอดภัย ตอ่ สุขภาพ ว 1.2 ป. 6/3 ตระหนักถึงความสาคญั ของอาหาร โดยการเลอื กรับประทานอาหารทมี่ ีสารอาหาร ครบถว้ นในสดั ส่วนทีเ่ หมาะสมกับเพศ และวยั รวมท้ังปลอดภยั ตอ่ สุขภาพ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรยี นมีความรู้ความเขา้ ใจ รวบรวมขอ้ มลู ระบปุ ระเภทและประโยชน์ของสารอาหาร (K) 2. นกั เรียนสามารถวเิ คราะหอ์ าหารท่ีนักเรียนรบั ประทานปลอดภัยต่อสขุ ภาพเหมาะสมกบั เพศและวัยได้ (P) 3. นกั เรยี นใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมั่นในการทางาน และมีวินัยในการเรียน (A) สาระการเรยี นรู้ 1. ประเภทและประโยชน์ของสารอาหาร 2. ชนดิ ของอาหาร ปรมิ าณพลังงานและ สดั สว่ นของอาหารตามธงโภชนาการ’ 3. ความปลอดภัยของอาหารตอ่ สขุ ภาพ 4. แนวทางการรบั ประทานอาหารใน สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด กิจกรรมน้ีนักเรียนจะได้รวบรวมข้อมูล เพื่อระบุ ประเภทและประโยชน์ของสารอาหารที่มีอยู่ใน อาหาร ได้สารวจและวิเคราะห์การรับประทานอาหารของตนเองใน1 วัน เพ่ือระบุสารอาหาร สัดส่วนของ

อาหาร ปริมาณ พลังงาน และความปลอดภัยของอาหารจากอาหารท่ีตนเอง รับประทาน รวมทั้งได้บอกแนว ทางการรับประทานอาหาร เพอ่ื ใหเ้ หมาะสมกบั ตนเอง สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 1. การลงความเหน็ จากข้อมูล (S8) 2. การตีความหมายขอ้ มลู และลงข้อสรปุ (S13) 3. การคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ (C2) 4. การแกป้ ัญหา (C3) 5. การส่อื สาร (C4) 6. ความรว่ มมือ (C5) สมรรถนะของผูเ้ รยี นตามแนว PISA 1. A1 นาความร้ทู างวทิ ยาศาสตรม์ าสร้างคาอธิบายที่สมเหตุผล 2. B4 ประเมินวธิ สี ารวจตรวจสอบปัญหาทางวิทยาศาสตร์ทก่ี าหนดให้ 3. C1 แปลงขอ้ มูลที่นาเสนอในรูปแบบหน่งึ ไปสู่รปู แบบอน่ื 4. C2 วิเคราะห์และแปลความหมายขอ้ มูลทางวิทยาศาสตร์ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมน่ั ในการทางาน กระบวนการจดั การเรยี นรู้ (ใช้รปู แบบการสอนสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 1. ข้นั สรา้ งความสนใจ (Engagement) 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมอ่านทาอย่างไร ตอนท่ี 1 ทีละข้ออ่านตามวิธีการอ่านที่เหมาะสมกับ ความสามารถของนักเรียน 2. ครูเชือ่ มโยงความรู้ทไ่ี ด้จากกิจกรรม ตอนท่ี 1 เข้าสู่กิจกรรมตอนที่ 2 โดย ใช้คาถามว่านอกจากต้อง รับประทานอาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วนได้ปริมาณพลังงานที่พอเหมาะและได้สัดส่วนตามธง โภชนาการแล้ว การรับประทานอาหารตอ้ งคานงึ ถงึ เรื่องอะไรอกี บา้ ง และเรามแี นวทางการรับประทาน อาหารอยา่ งไรเพื่อใหเ้ หมาะสมกบั ตนเอง 2. ขัน้ สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูแบง่ กลุ่มนกั เรียนคละความสามารถ ชาย-หญิง กลุ่มละ 5-6 คน เพ่ือปฏิบตั กิ ิจกรรม

2. นักเรียนอ่านทาอย่างไร ตอนที่ 2 ทีละข้อ โดยครูใช้วิธีฝึกทักษะการอ่านท่ีเหมาะสมกับ ความสามารถของนกั เรยี น จากนั้นครตู รวจสอบความเขา้ ใจเกี่ยวกบั วิธกี ารทากิจกรรม จนนักเรียนเข้าใจลาดับ การทากจิ กรรม โดยใช้คาถามดงั นี้ 2.1 นักเรียนต้องสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับอะไร (ข้อมูลเกี่ยวกับสาเหตุท่ีทาให้อาหารไม่ ปลอดภยั ต่อสุขภาพ และผลกระทบจากการรับประทานอาหารท่ีไม่ปลอดภัยต่อสุขภาพ) 2.2 อาหารที่ไม่ปลอดภัยต่อสุขภาพเกิดจากข้ันตอนใดบ้าง (อาหารท่ีไม่ ปลอดภัย เกิดได้ท้ังจากข้ันตอนการเล้ียงสัตว์ การเพาะปลูก การเก็บเกี่ยวการคัดเลือกวัตถุดิบ การขนส่งวัตถุดิบ การ ประกอบอาหาร การขนสง่ อาหาร การเก็บรกั ษาอาหาร) 2.3 นักเรียนต้องทาอะไรกับข้อมูลอาหารท่ีตนเองรับประทานจากตอนท่ี 1 (วเิ คราะห์วา่ อาหารทตี่ นเองรับประทานปลอดภัยต่อสขุ ภาพ หรอื ไม่) 2.4 รายการอาหารท่ีจะรับประทานในแต่ละวัน ต้องคานึงถึงเรื่อง อะไรบ้าง (ต้อง คานึงถึง 4 เรื่อง ได้แก่ ให้ได้สารอาหารครบทุกประเภท ได้สัดส่วนตามธงโภชนาการ ได้ปริมาณพลังงาน เหมาะสมกับตนเอง และปลอดภัยต่อสขุ ภาพ) 2.5 ครูให้นักเรียนเขียนรายการอาหารที่ตนเองจะรับประทานใน 1 วัน ได้โดยวิธี ใดบ้าง (นักเรียนสามารถทาได้หลายรูปแบบ เช่น เขียนลงกระดาษ โปรแกรม Microsoft Word โปรแกรม กราฟกิ หรอื ใชข้ ้อมูลจากแอปพลิเคชันเกม EatD) 3. ขนั้ อธิบายความรู้ (Explain) 1. นักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการทากิจกรรมท่ี 1 ตอนที่ 2 เก่ียวกับสาเหตุท่ีทาให้อาหารไม่ ปลอดภัยตอ่ สขุ ภาพ และผลกระทบจากการรบั ประทานอาหารท่ีไมป่ ลอดภัยตอ่ สขุ ภาพ 2. นกั เรียนเขยี นรายการอาหารท่ตี นเองจะรับประทานใน 1 วนั จากนนั้ นาเสนอหน้าชั้นเรยี น 2. ตัวแทนนักเรียนกลมุ่ ละ 2-3 คน นาเสนอหน้าชนั้ เรยี น 4. ขน้ั ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูให้นกั เรยี นช่วยกันคดิ และอภิปรายจากการศึกษากจิ กรรมที่ 1 ตอนที่ 2 ถงึ ข้อมูลเก่ียวกับ สาเหตุที่ทาใหอ้ าหารไม่ปลอดภัยต่อสขุ ภาพ และผลกระทบจากการ รบั ประทานอาหารท่ไี ม่ปลอดภัยต่อ สุขภาพ 2. ครูสังเกตการตอบคาถามของนักเรยี นเพ่ือตรวจสอบว่านักเรยี นมีแนวคิดสาเหตุท่ีทาให้อาหาร ไม่ปลอดภัยต่อสุขภาพ และผลกระทบจากการรับประทานอาหารอย่างไร โดยสังเกตจากนักเรียนท่ีเป็นตัว แทนที่นาเสนอคาตอบของตนเอง (หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการ ทางานรายบคุ คล) 3. ครใู หค้ วามรเู้ พิ่มเติมเกย่ี วกับการดูแลสุขภาพเพื่อให้ร่างกายสมบรู ณ์แข็งแรงน้ัน การรู้จักเลือก รับประทานอาหารถือเปน็ ส่งิ สาคญั โภชนบัญญัติ 9 ประการ เปน็ ขอ้ บัญญตั ิทกี่ ระทรวงสาธารณสขุ จัดทาข้ึนเพ่ือ แนะนาประชาชนให้มีความรู้ และความเขา้ ใจในการรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพทีด่ ี

5. ข้นั ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครขู ยายขอบเขตของความรโู้ ดยเพม่ิ เติมความรู้เกี่ยวกับแนวทางการเลอื กรับประทานอาหาร ที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ สามารถนาไปใช้ในการแกป้ ัญหาในชีวติ ประจาวัน ตามขั้นตอนวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เช่อื มโยงจากผลการศกึ ษาของนักเรียน 2. นักเรยี นนาความรู้ทไ่ี ดจ้ ากการเรียนร้เู รอ่ื งนี้ ไปปรับใช้ในการดารงชวี ติ อยอู่ ยา่ งพอเพยี งได้ 3. ครูและนกั เรียนรว่ มกันประเมนิ กจิ กรรมในแบบบนั ทกึ กิจกรรม เกบ็ ในแฟ้มสะสมงานนักเรยี น จากนัน้ ครนู ดั หมายการเรยี นในคร้งั ตอ่ ไป ส่ือและแหล่งการเรยี นรู้ 1. หนังสอื เรียน ป.6 เลม่ 1 2. แบบบันทกึ กจิ กรรม ป.6 เลม่ 1 การวดั และประเมนิ ผล ตาราง: แสดงกรอบการวัดและประเมินผล จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วิธีการวัดผล เครอ่ื งมอื เกณฑ์การประเมิน ผ้เู รยี นผ่านเกณฑ์ระดับ 1.ด้านความรู้ (K) นักเรียนมี การซักถาม ค า ถ า ม ร ะ ห ว่ า ง ก า ร พอใช้ขน้ึ ไป ความรู้ความเข้าใจ รวบรวม จดั การเรยี นการสอน ผู้เรยี นผ่านเกณฑร์ ะดับ ข้อมูล ร ะ บุปร ะ เภท แ ล ะ พอใชข้ ึ้นไป ประโยชนข์ องสารอาหาร ผู้เรียนผา่ นเกณฑ์ระดบั พอใช้ข้นึ ไป 2.ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) ใบงาน/กิจกรรม แบบประเมินพฤติกรรม นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ วิ เ ค ร า ะ ห์ บ่งช้ีกระบวนการ อาหารท่ีนักเรียนรับประทาน ปลอดภัยต่อสุขภาพเหมาะสม กบั เพศและวัยได้ 3.ดา้ นคุณลกั ษณะ (A) ประเมินความตั้งใจเรียน แบบประเมินพฤติกรรม นกั เรยี นใฝเ่ รียนรู้ ม่งุ มน่ั ในการ ต้ังใจในการทางาน และ บ่งชี้คุณลักษณะอันพึง ทางาน และมวี ินัยในการเรยี น ความตรงต่อเวลาในการ ประสงค์ ส่งงาน

เกณฑ์การให้คะแนนรบู ริคส์ (Rubric Score) เกณฑป์ ระเมนิ ดา้ น K รายการประเมิน ดีมาก (4) ระดับคณุ ภาพ ปรับปรงุ (1) ดี (3) พอใช้ (2) นักเรียนมีความรู้ นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ ร ะ บุ นักเรียนสามารถระบุ นักเรียนสามารถระบุ นัก เรียน สามาร ถ ความเข้าใจระบุ ส า ร อ า ห า ร แ ล ะ บ อ ก สารอาหารและบอก สารอาหารและบอก ระบุสารอาหารและ สารอาหารและ ประโยชน์ของสารอาหาร ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง บอกประโยชน์ของ บอกประโยชนข์ อง แต่ละประเภทได้อย่าง ส า ร อ า ห า ร แ ต่ ล ะ ส า ร อ า ห า ร แ ต่ ล ะ สาร อ าหาร แต่ละ สารอาหารแต่ละ ถู ก ต้ อ ง ชั ด เ จ น แ ล ะ ป ร ะ เ ภ ท ไ ด้ อ ย่ า ง ประเภทได้ถูกต้องเป็น ประเภทได้เพยี งส่วน ประเภท ครบถ้วน (80%-100%) ถูกต้องและครบถ้วน สว่ นใหญ่ (69%-60%) นอ้ ย(ตา่ กว่า 60%) (79%-70%) *หมายเหตุ นักเรยี นตอ้ งผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ระดับ 60% ขึน้ ไป เกณฑ์ประเมนิ ด้าน P รายการประเมนิ ดมี าก (4) ระดับคุณภาพ ปรบั ปรงุ (1) ดี (3) พอใช้ (2) นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ 1. ความถกู ต้องของเนอื้ หา มีผลการเรียนรู้ มีผลการเรียนรู้ มผี ลการเรียนรตู้ าม วิ เ ค ร า ะ ห์ อ า ห า ร ที่ 2. การเรียงลาดับของเน้ือหา ต า ม ค า อ ธิ บ า ย ต า ม ค า อ ธิ บ า ย คาอธิบายเป็นราย นัก เรียน รับปร ะทาน 3. การใชภ้ าษาอย่างถกู ตอ้ ง เป็นรายข้อดังที่ เป็นรายข้อดังที่ ข้ อ ดั ง ที่ ก า ห น ด ป ล อ ด ภั ย ต่ อ สุ ข ภาพ 4. ความเรยี บรอ้ ยของใบ กาหนดระดับดี กาหนดระดับดี ระดับดีมากข้อใด เหมาะสมกับเพศและวัย งาน มากข้อใด ข้อหนึง่ มากข้อใดข้อหน่ึง ข้อหนึ่งน้อยกว่า 1 ได้ จานวน 3 ข้อ จานวน 2 ขอ้ ขอ้ *หมายเหตุ นักเรียนตอ้ งผ่านเกณฑก์ ารประเมินระดับ 2 ขึน้ ไป เกณฑ์ประเมนิ ดา้ น A รายการ ระดับคณุ ภาพ ประเมนิ ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) นั ก เ รี ย น ใ ฝ่ พยายามสบื คน้ เพ่ือแกไ้ ข มีผลการเรียนรู้ตาม มีผลการเรียนรู้ตาม มีผลการเรียนรู้ตาม เรียนรู้ มุ่งม่ันใน ปญั หา ในการทางานให้ คาอธิบายเป็นราย คาอธิบายเป็นราย คาอธิบายเป็นรายข้อ การทางานและ แลว้ เสร็จ มีความตง้ั ใจ ข้ อ ดั ง ท่ี ก า ห น ด ข้ อ ดั ง ท่ี ก า ห น ด ดังท่ีกาหนดระดับดี มี วิ นั ย ใ น ก า ร พยายามทางานและทางาน ระดับดีมากข้อใด ระดับดีมากข้อใด มากข้อใด ข้อหน่ึง เรยี น ได้เสรจ็ ตามเวลาทก่ี าหนด ข้อหน่ึง จานวน 3 ข้อหนึ่ง จานวน 2 น้อยกว่า 1 ข้อ สนใจเรยี น และตั้งใจเรยี น ขอ้ ข้อ *หมายเหตุ นักเรยี นต้องผา่ นเกณฑก์ ารประเมินระดบั 2 ข้นึ ไป

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 8 กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว16101 ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 สารอาหารและระบบยอ่ ยอาหาร เวลา 1 ช่ัวโมง แผนการจดั การเรยี นรู้ เร่อื ง อาหารทร่ี บั ประทานปลอดภยั ต่อสุขภาพหรือไม่ (2) ผสู้ อน นางสาวเจนจริ า จงอย่สู ุข โรงเรยี นบ้านบงึ ท่ายวน สาขาวชิ า วทิ ยาศาสตร์ทวั่ ไป คณะ ครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏอุตรดติ ถ์ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชวี้ ัด มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานของส่ิงมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออก จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชท่ีทางานสัมพันธ์กัน รวมท้ังนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ตัวชว้ี ัด ว 1.2 ป. 6/1 ระบสุ ารอาหารและ บอก ประโยชนข์ องสารอาหาร แต่ละประเภทจาก อาหาร ท่ีตนเองรบั ประทาน ว 1.2 ป. 6/2 บอกแนวทางในการเลือก รบั ประทานอาหารใหไ้ ด้ สารอาหารครบถ้วนใน สัดส่วนท่ี เหมาะสมกับเพศ และวัย รวมท้ังปลอดภยั ต่อสุขภาพ ว 1.2 ป. 6/3 ตระหนักถึงความสาคัญ ของอาหารโดยการเลือกรับประทานอาหารท่ีมีสารอาหาร ครบถ้วนในสดั ส่วนท่เี หมาะสมกับเพศ และวัย รวมท้ังปลอดภยั ต่อสุขภาพ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรยี นมีความรู้ความเข้าใจรวบรวมข้อมลู ระบปุ ระเภทและประโยชน์ของสารอาหาร (K) 2. นกั เรียนสามารถวิเคราะหอ์ าหารทน่ี ักเรียนรบั ประทานปลอดภยั ต่อสุขภาพเหมาะสมกับเพศและวัยได้ (P) 3. นกั เรยี นใฝ่เรียนรู้ มงุ่ มัน่ ในการทางาน และมีวนิ ัยในการเรียน (A) สาระสาคัญ กิจกรรมน้ีนักเรียนจะได้รวบรวมข้อมูล เพ่ือระบุ ประเภทและประโยชน์ของสารอาหารท่ีมีอยู่ใน อาหาร ได้สารวจและวิเคราะห์การรับประทานอาหารของตนเองใน1 วัน เพื่อระบุสารอาหาร สัดส่วนของ อาหาร ปริมาณ พลังงาน และความปลอดภัยของอาหารจากอาหารท่ีตนเอง รับประทาน รวมทั้งได้บอกแนว ทางการรบั ประทานอาหาร เพือ่ ใหเ้ หมาะสมกบั ตนเอง สาระการเรยี นรู้ 1. ประเภทและประโยชน์ของสารอาหาร 2. ชนิดของอาหาร ปรมิ าณพลังงานและ สัดสว่ นของอาหารตามธงโภชนาการ’ 3. ความปลอดภยั ของอาหารตอ่ สขุ ภาพ 4. แนวทางการรบั ประทานอาหารใน

สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 1. การลงความเหน็ จากขอ้ มูล (S8) 2. การตีความหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ (S13) 3. การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ (C2) 4. การแกป้ ัญหา (C3) 5. การสื่อสาร (C4) 6. ความรว่ มมือ (C5) สมรรถนะของผูเ้ รยี นตามแนว PISA 1. A1 นาความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์มาสร้างคาอธบิ ายท่สี มเหตุผล 2. B4 ประเมินวธิ ีสารวจตรวจสอบปัญหาทางวทิ ยาศาสตร์ท่กี าหนดให้ 3. C1 แปลงขอ้ มลู ท่นี าเสนอในรูปแบบหน่งึ ไปสรู่ ปู แบบอื่น 4. C2 วเิ คราะห์และแปลความหมายข้อมูลทางวทิ ยาศาสตร์ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มงุ่ มั่นในการทางาน กระบวนการจดั การเรยี นรู้ (ใช้รูปแบบการสอนสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 1. ขั้นสรา้ งความสนใจ (Engagement) 1. ครตู รวจสอบความรู้เดิมอ่านทาอย่างไร ตอนท่ี 1 ทีละข้ออ่านตามวิธีการอ่านที่เหมาะสม กับความสามารถของนักเรียน 2. ครูเช่ือมโยงความรู้ท่ีได้จากกิจกรรม ตอนที่ 1 เข้าสู่กิจกรรมตอนท่ี 2 โดย ใช้คาถามว่า นอกจากต้องรบั ประทานอาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วนได้ปรมิ าณพลังงานที่พอเหมาะและได้สัดส่วนตามธง โภชนาการแล้ว การรับประทานอาหารต้องคานึงถึงเร่ืองอะไรอีกบ้าง และเรามีแนวทางการรับประทาน อาหารอย่างไรเพอ่ื ใหเ้ หมาะสมกับตนเอง 2. ขนั้ สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูแบง่ กล่มุ นกั เรยี นคละความสามารถ ชาย-หญิง กล่มุ ละ 5-6 คน เพ่อื ปฏิบัตกิ จิ กรรม 2. นักเรียนอ่านทาอย่างไร ตอนท่ี 2 ทีละข้อ โดยครูใช้วิธีฝึกทักษะการอ่านที่เหมาะสมกับ ความสามารถของนักเรียน จากนั้นครูตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการทากิจกรรม จนนักเรียนเข้าใจลาดับการทา กจิ กรรม

3. เม่ือนักเรียนเข้าใจวิธีการทากิจกรรมในทาอย่างไร ตอนที่ 2 แล้ว ให้นักเรียนเร่ิมปฏิบัติ ตามขนั้ ตอนการทากจิ กรรม 4. จากน้นั นกั เรียนรว่ มกนั ทากิจกรรมและอภปิ รายผล 3. ข้นั อธิบายความรู้ (Explain) 1. หลังจากทากิจกรรมแล้ว นักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการทากจิ กรรม ตามแนวคาถาม ดังน้ี สาเหตุที่ทาให้อาหารไม่ปลอดภัยต่อสุขภาพมีอะไรบ้าง (การที่อาหารไม่ปลอดภัยต่อสุขภาพเกิดจากหลาย สาเหตุ เช่น เกดิ จากกระบวนการผลิต มีการใชส้ ารเคมีในการเพาะปลกู พืช การเกบ็ เก่ยี วผลผลิต การคัดเลือก วัตถุดบิ อาจทาให้มสี ่งิ ปนเปอ้ื นอย่ใู นผลผลติ การขนส่งวัตถุดบิ ทาใหม้ ีส่ิงปนเปอ้ื น หรือใชร้ ะยะเวลานานทาให้ อาหารไมไ่ ดม้ าตรฐาน ไมส่ ด เกา่ หรอื เนา่ เสยี มรี า 2. การประกอบอาหาร ไม่ล้างวตั ถดุ บิ หรอื ลา้ งไมส่ ะอาดกอ่ นนามาประกอบอาหาร การเก็บรักษาอาหาร เช่น เกบ็ อาหารปะปนกบั สารอื่น ๆ เกบ็ ใน ภาชนะทไี่ ม่ได้มาตรฐาน 3. ผลกระทบต่อสุขภาพจากการรับประทานอาหารท่ีไม่ปลอดภัยมีอะไรบ้าง (ทาให้เป็นโรค หรือมีอาการต่าง ๆ เช่น อุจจาระร่วง อาหารเป็นพิษ อหิวาตกโรค มะเร็งที่เกิดจากราในอาหาร โรคไวรัส ตับ อกั เสบเอ โรคไข้สมองอักเสบ โรคบดิ ) 4. อาหารท่ีนักเรียนรับประทานปลอดภัยต่อสุขภาพหรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบตามผลการวิเคราะห์ ของตนเอง เชน่ ปลอดภัย เพราะ รบั ประทานอาหารโดยเลือกวัตถุดิบทีส่ ะอาด สดใหม่ และประกอบ อาหารเองในครอบครัว หรือไมป่ ลอดภยั เช่น พบเศษกรวดในข้าว อาหารท่ีซ้ือไมม่ ีฝาปิดภาชนะท่ีบรรจุอาหาร มแี มลงเกาะหรอื ตอม อาหาร) 4. ขัน้ ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 1. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามในสิ่งท่ีอยากรู้เพ่ิมเติมเก่ียวกับการ รับประทานอาหารให้ เหมาะสมกับตนเอง จากนั้นร่วมกันอภิปรายและ ลงข้อสรุปว่าในแต่ละวันร่างกายควรได้รับสารอาหารทั้ง 6 ประเภท เพราะสารอาหารแต่ละประเภทมีประโยชน์ต่อร่างกายแตกต่างกัน และการรับประทานอาหารต้อง รับประทานให้ได้ปริมาณพลังงานที่เพียงพอ กับความต้องการของร่างกายในแต่ละวัน ซ่ึงแต่ละเพศและวัย ต้องการปริมาณพลังงานแตกต่างกัน รวมทั้งยังต้องได้สัดส่วนตามธงโภชนาการ และต้องคานึงถึงความ ปลอดภยั ของอาหารท่ีมตี ่อสขุ ภาพอกี ดว้ ย (S13) 2. ครูสังเกตการตอบคาถามของนกั เรียนเพ่อื ตรวจสอบว่านักเรยี นมีแนวคิดสาเหตุท่ีทาให้อาหาร ไม่ปลอดภัยต่อสุขภาพ และผลกระทบจากการรับประทานอาหารอย่างไร โดยสังเกตจากนักเรียนที่เป็นตัว แทนท่ีนาเสนอคาตอบของตนเอง (หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการ ทางานรายบุคคล) 3. ครูให้ความรู้เพ่ิมเติมเก่ียวกับรายการอาหารที่เหมาะสมต้องพิจารณา 4 ประเด็น ได้แก่ ได้รับ สารอาหารครบทุกประเภท ได้สัดส่วนตามธงโภชนาการ และได้ ปริมาณพลังงานเหมาะสมกับตนเอง และ ปลอดภยั ตอ่ สุขภาพ

5. ขนั้ ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูใหน้ ักเรยี นตอบคาถามใน ฉนั ร้อู ะไร และร่วมกนั อภปิ รายเพ่อื ใหไ้ ดแ้ นว คาตอบทถี่ ูกต้อง 2. นักเรยี นอา่ น สิ่งท่ไี ด้เรียนรู้ และเปรยี บเทยี บกับข้อสรปุ ของตนเอง 3. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตั้งคาถามเก่ียวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรู้ เพิ่มเติมใน อยากรู้อีกว่า จากน้ันครอู าจสุ่มนกั เรยี น 2 -3 คน นาเสนอ คาถามของตนเองหน้าชั้นเรียน จากน้ันนักเรียนรว่ มกันอภิปราย เก่ยี วกับคาถามทีน่ าเสนอ สือ่ และแหลง่ การเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรียน ป.6 เล่ม 1 2. แบบบนั ทกึ กิจกรรม ป.6 เล่ม 1 การวดั และประเมินผล ตาราง: แสดงกรอบการวดั และประเมนิ ผล จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวดั ผล เครื่องมอื เกณฑก์ ารประเมิน 1.ด้านความรู้ (K) นักเรียนมี การซกั ถาม ค า ถ า ม ร ะ ห ว่ า ง ก า ร ผู้เรยี นผา่ นเกณฑ์ระดบั พอใชข้ ้ึนไป ความรู้ความเข้าใจรวบรวม จัดการเรยี นการสอน ผเู้ รยี นผ่านเกณฑร์ ะดับ ข้อมูล ร ะ บุปร ะ เภท แ ล ะ พอใชข้ น้ึ ไป ประโยชนข์ องสารอาหาร ผู้เรียนผา่ นเกณฑร์ ะดับ พอใช้ข้นึ ไป 2.ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) ใบงาน/กิจกรรม แบบประเมินพฤติกรรม นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ วิ เ ค ร า ะ ห์ บง่ ชก้ี ระบวนการ อาหารท่ีนักเรียนรับประทาน ปลอดภัยต่อสุขภาพเหมาะสม กบั เพศและวยั ได้ 3.ด้านคณุ ลกั ษณะ (A) ประเมินความต้ังใจเรียน แบบประเมินพฤติกรรม นกั เรยี นใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ มน่ั ในการ ต้ังใจในการทางาน และ บ่งชี้คุณลักษณะอันพึง ทางาน และมีวนิ ัยในการเรียน ความตรงต่อเวลาในการ ประสงค์ สง่ งาน

เกณฑ์การให้คะแนนรบู รคิ ส์ (Rubric Score) เกณฑป์ ระเมินดา้ น K รายการประเมนิ ดมี าก (4) ระดบั คณุ ภาพ ปรบั ปรุง (1) ดี (3) พอใช้ (2) นักเรียนมีความรู้ นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ รวบรวมข้อมูล ระบุ รวบรวมข้อมูล ระบุ รวบรวมข้อมูล ระบุ รวบรวมข้อมูล ระบุ รวบรวมขอ้ มูล ระบุ ประเภทและประโยชน์ ประเภทและประโยชน์ ประเภทและประโยชน์ ป ร ะ เ ภ ท แ ล ะ ป ร ะ เ ภ ท แ ล ะ ของสารอาหารได้อย่าง ของสารอาหารได้อย่าง ข อ ง ส า ร อ า ห า ร ไ ด้ ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ถูกต้อง ชัดเจนและ ถูกต้องและครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ สารอาหารได้เพียง สารอาหาร ค ร บ ถ้ ว น ( 80% - (79%-70%) (69%-60%) ส่ ว น น้ อ ย ( ต่ า ก ว่ า 100%) 60%) *หมายเหตุ นกั เรียนตอ้ งผา่ นเกณฑก์ ารประเมินระดับ 60% ข้ึนไป เกณฑ์ประเมินดา้ น P รายการประเมิน ดมี าก (4) ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรงุ (1) ดี (3) พอใช้ (2) นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ 1. ความถูกตอ้ งของเนื้อหา มีผลการเรียนรู้ มีผลการเรียนรู้ตาม มีผลการเรียนรู้ตาม วิเคราะห์ อาหารท่ี 2. การเรยี งลาดบั ของเนื้อหา ต า ม ค า อ ธิ บ า ย คาอธิบายเป็นราย คาอธิบายเปน็ รายข้อ นักเรียนรับประทาน 3. การใชภ้ าษาอย่างถกู ตอ้ ง เป็นรายข้อดังที่ ข้ อ ดั ง ท่ี ก า ห น ด ดังท่ีกาหนดระดับดี ปลอดภัยต่อสุขภาพ 4. ความเรยี บร้อยของใบ กาหนดระดับดี ระดับดีมากข้อใด มากข้อใด ข้อหนึ่ง เหมาะสมกบั เพศและ งาน มากขอ้ ใด ข้อหน่งึ ข้อหน่ึงจานวน 2 น้อยกวา่ 1 ข้อ วัยได้ จานวน 3 ขอ้ ข้อ *หมายเหตุ นกั เรียนตอ้ งผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดบั 2 ข้นึ ไป เกณฑป์ ระเมนิ ดา้ น A รายการ ระดับคณุ ภาพ ประเมนิ ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรงุ (1) นั ก เ รี ย น ใ ฝ่ พยายามสบื คน้ เพอ่ื แกไ้ ข มีผลการเรียนรู้ตาม มีผลการเรียนรู้ตาม มีผลการเรียนรู้ตาม เรียนรู้ มุ่งม่ันใน ปัญหา ในการทางานให้ คาอธิบายเป็นราย คาอธิบายเป็นราย คาอธิบายเป็นรายข้อ การทางานและ แล้วเสร็จ มคี วามตัง้ ใจ ข้ อ ดั ง ที่ ก า ห น ด ข้ อ ดั ง ที่ ก า ห น ด ดังที่กาหนดระดับดี มี วิ นั ย ใ น ก า ร พยายามทางานและทางาน ระดับดีมากข้อใด ระดับดีมากข้อใด มากข้อใด ข้อหนึ่ง เรียน ไดเ้ สรจ็ ตามเวลาทีก่ าหนด ข้อหนึ่ง จานวน 3 ข้อหน่ึง จานวน 2 น้อยกวา่ 1 ข้อ สนใจเรยี น และตงั้ ใจเรยี น ข้อ ข้อ *หมายเหตุ นักเรยี นต้องผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดับ 2 ข้นึ ไป

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 9 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว16101 ปกี ารศกึ ษา 2565 ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 1 ช่วั โมง หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 สารอาหารและระบบย่อยอาหาร โรงเรียนบ้านบึงท่ายวน มหาวิทยาลัยราชภัฏอตุ รดติ ถ์ แผนการจัดการเรียนรู้ เรือ่ ง ระบบย่อยอาหาร ผูส้ อน นางสาวเจนจริ า จงอยสู่ ุข สาขาวชิ า วิทยาศาสตร์ท่วั ไป คณะ ครศุ าสตร์ มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชี้วดั มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออก จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ตัวชว้ี ัด ว 1.2 ป.6/4 บรรยายหน้าที่ของอวัยวะในระบบยอ่ ยอาหาร รวมทัง้ อธิบายการย่อยอาหาร และการดดู ซมึ สารอาหาร จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนมคี วามร้คู วามเข้าใจบอกหนา้ ท่ขี องระบบย่อยอาหาร (K) 2. นกั เรยี นสามารถสงั เกต และบรรยายลกั ษณะและอาการที่อาจเกิดขึ้นหลังจากรบั ประทานได้ (P) 3. นักเรียนใฝเ่ รียนรู้ มุ่งมนั่ ในการทางาน และมีวนิ ัยในการเรียน (A) สาระสาคญั ระบบย่อยอาหารประกอบด้วยอวัยวะต่าง ๆ ได้แก่ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลาไส้เล็ก ลาไสใ้ หญ่ ทวารหนกั ตับ และตบั อ่อน ซ่ึงทาหนา้ ทรี่ ว่ มกันในการย่อยและดูดซมึ สารอาหาร เพอ่ื สง่ ไปเลีย้ งส่วน ตา่ ง ๆ ของร่างกาย สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 1. การลงความเห็นจากข้อมูล (S8) 2. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรปุ (S13) 3. การคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ (C2) 4. การแกป้ ัญหา (C3) 5. การสือ่ สาร (C4)

สมรรถนะของผูเ้ รยี นตามแนว PISA 1. A1 นาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์มาสร้างคาอธบิ ายที่สมเหตผุ ล 2. B4 ประเมินวิธสี ารวจตรวจสอบปัญหาทางวทิ ยาศาสตรท์ ีก่ าหนดให้ 3. C1 แปลงขอ้ มลู ท่ีนาเสนอในรปู แบบหน่งึ ไปสรู่ ูปแบบอนื่ 4. C2 วิเคราะห์และแปลความหมายขอ้ มูลทางวิทยาศาสตร์ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มงุ่ มั่นในการทางาน สาระการเรยี นรู้ 1. ระบบยอ่ ยอาหารของร่างกาย กระบวนการจัดการเรยี นรู้ (ใชร้ ูปแบบการสอนสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 1. ข้ันสร้างความสนใจ (Engagement) 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเก่ียวกับระบบย่อยอาหาร โดยครูสอบถามประสบการณ์ของนักเรียน เก่ียวกับพฤติกรรมการรับประทานอาหารท่ี ส่งผลต่อระบบย่อยอาหาร เช่น การออกกาลังกายหรือเล่นทันที หลงั รับประทานอาหาร ซึ่งสามารถนาอภปิ รายโดยใช้คาถามดังน้ี 1.1 นักเรียนเคยมีพฤติกรรมเช่นนี้ หรือไม่ รีบรับประทานอาหาร แล้วไปเล่นหรือออกกาลัง กายทันที (นกั เรยี นตอบจาก ประสบการณข์ องตนเอง เช่น เคย หรอื ไม่เคย) 1.2 นักเรียนคนท่ีเคยรบี รับประทานอาหารแล้วไปเล่นหรือออกกาลงั กายทนั ที รู้สึกมอี าการ ผิดปกตใิ นร่างกายหรอื ไม่ อย่างไร (นักเรยี นตอบตามประสบการณ์ของตนเอง เช่น ไม่รู้สกึ ผดิ ปกติ หรอื เคยรสู้ ึก ผิดปกติ เช่น ร้สู กึ จุกเสียดทอ้ ง ปวดทอ้ ง อาเจยี น) 1.3 อาการผิดปกติทเ่ี กิดขน้ึ น่าจะเกิดจากสาเหตุใด (นักเรียนตอบตาม ความเข้าใจของตนเอง เช่น การรีบรับประทานอาหารเกินไปจึง ทาให้เคี้ยวอาหารไม่ละเอียด ร่างกายต้องท้างานหนักในการย่อยอาหาร หรือ การเล่นหรือออกกาลงั กายทันทหี ลังรับประทาน อาหารอาจขัดขวางการการย่อยอาหารของรา่ งกาย) 1.4 ครเู ชื่อมโยงความร้เู ดิมของนักเรยี นสกู่ ารเรียนเรื่องระบบยอ่ ยอาหาร โดยใช้คาถามว่า นกั เรียนรู้หรือไม่ว่า อาการปวดท้องหลังจาก รับประทานอาหารเกิดจากสาเหตุอะไรบ้าง และร่างกายนา สารอาหาร ในอาหารไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร ครูชักชวนนักเรียนหาคาตอบจาก การอ่านเร่ืองระบบย่อย อาหาร 2. ขั้นสารวจค้นหา (Explore) 1. ครูแบง่ กลุ่มนกั เรียนคละความสามารถ ชาย-หญงิ กล่มุ ละ 5-6 คน เพอ่ื ปฏบิ ัติกิจกรรม 2. นักเรียนอ่านช่ือเรื่อง และคาถามในคิดก่อนอ่าน ในหนังสือเรียนหนา้ 20 จากน้ันร่วมกันอภิปราย เพ่ือหาคาตอบและนาเสนอ ครูบันทึกคาตอบของนักเรียนบนกระดานเพื่อใช้เปรียบเทียบกับคาตอบภายหลัง การอา่ นเน้ือเร่อื ง

3. นักเรียนอ่านคาสาคัญ ท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หากนักเรียน อ่านไม่ได้ ครูควรสอนอ่านให้ ถกู ต้อง) จากน้ันครชู ักชวนใหน้ ักเรยี น อธบิ ายความหมายของคาสาคัญตามความเข้าใจของตนเอง 4. นักเรยี นอา่ นเนื้อเร่อื งในหนงั สอื เรียนหนา้ 20 โดยครูฝึกทักษะการอ่าน ตามวิธีการอ่านท่ีเหมาะสมกับ ความสามารถของนกั เรียน 3. ขน้ั อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. นักเรยี นอา่ นเนื้อเรื่องในหนังสือเรยี นหน้า 20 จากนั้นครูใช้ คาถามเพ่ือตรวจสอบความเข้าใจ จากการอ่าน โดยใช้คาถามดงั น้ี 1.1 อาการท่ีอาจเกิดข้ึนหลังจากรบั ประทานอาหารมีอะไรบ้าง (ปวดท้อง จุกเสียดแน่นท้อง อึดอดั ทอ้ งอดื อาเจยี น ท้องเสยี ) 1.2 อาการเหล่านี้ เกิดจากสาเหตุอะไร (เกิดจากพฤติกรรมการรับประทานอาหาร เช่น รับประทานอาหารมากเกินไป รบั ประทานอาหารไมต่ รงเวลา รับประทานอาหารเรว็ เกนิ ไป รับประทานอาหาร แล้วทากิจกรรมอ่นื ทนั ที รบั ประทานอาหาร ทีไ่ มส่ ะอาดหรอื มีรสจัด) 1.3 นักเรียนเคยมีอาการเหล่าน้ี หลังจากรับประทานอาหารหรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบ จากประสบการณข์ องตนเอง เช่น เคย มอี าการปวดท้องหลงั จากรับประทานอาหารทม่ี ีรสเผ็ดจัด) 1.4 การที่เรามีพฤติกรรมการรับประทานอาหารไม่เหมาะสมจะ ส่งผลต่อระบบใดของ รา่ งกาย และสง่ ผลอยา่ งไร (พฤตกิ รรม การรับประทานอาหารทไ่ี ม่เหมาะสมส่งผลต่อระบบย่อย อาหาร จะทา ให้อวยั วะในระบบย่อยอาหารทางานไม่ปกติ) 1.5 ถ้าร่างกายของเราไม่มีระบบย่อยอาหารจะเกิดอะไรขึ้น (ถ้าให้ร่างกายไม่สามารถนา สารอาหารทมี่ ีอยู่ในอาหารไปใช้ประโยชน์ได้) 2. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันอภปิ รายเพ่ือใหไ้ ดข้ ้อสรุปว่า ระบบยอ่ ยอาหาร เปน็ ระบบของร่างกาย ท่ีมีหน้าที่ย่อยสารอาหารทม่ี ีอนุภาคขนาดใหญ่ให้ มขี นาดเล็ก รวมทั้งทาหนา้ ท่ีดดู ซมึ สารอาหารไปใชป้ ระโยชน์ พฤติกรรม การรับประทานอาหารท่ีไม่เหมาะสมจะส่งผลให้อวัยวะในระบบย่อย อาหารทางานไม่ปกติ อาจ กอ่ ใหเ้ กดิ โรคหรอื อาการผิดปกตติ า่ ง ๆ ได้ 4. ขน้ั ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ตวั แทนนักเรียน 2-3 คน นาเสนอระบบย่อยอาหารของร่างกาย และการตอบคาถาม 2. ครูสังเกตการตอบคาถามของนักเรียนเพื่อตรวจสอบว่านักเรียนมีแนวคิดเกี่ยวกับระบบย่อย อาหารของร่างกาย อย่างไร โดยสังเกตจากนักเรียนท่ีเป็นตัวแทนท่ีนาเสนอคาตอบของตนเอง ครูยังไม่ต้อง เฉลยคาตอบ แต่จะใหน้ กั เรียนย้อนกลบั มาตรวจสอบอีกคร้งั หลังจากเรียนจบบทนี้ 3. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั สรุประบบยอ่ ยอาหารของรา่ งกาย และครอู ธบิ ายให้นกั เรียนเขา้ ใจว่ามี ระบบย่อยอาหารของรา่ งกาย ดังนี้ - ระบบยอ่ ยอาหาร คอื ระบบทีท่ าหนา้ ที่ย่อยอาหารทเ่ี รารับประทานเขา้ ไปให้กลายเปน็ สารอาหารทม่ี ีขนาดเลก็ จนเซลลส์ ามารถดดู ซมึ เข้าสกู่ ระแสเลือดและถกู ลาเลียงไปยังสว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกาย

โดยประกอบด้วยอวัยวะตา่ ง ๆ ได้แก่ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลาไสเ้ ล็ก ลาไสใ้ หญ่ ทวารหนัก ตับ ตบั ออ่ น และทางานสัมพันธก์ ับระบบหายใจ ระบบหมุนเวียนเลือด 4. ครูขยายขอบเขตของความรู้โดยเพ่ิมเติมความรูเ้ กี่ยวกบั ระบบยอ่ ยอาหารของร่างกาย สามารถ นาไปใชใ้ นการแกป้ ัญหาในชวี ิตประจาวนั ตามขน้ั ตอนวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ เช่ือมโยงจากผลการศึกษาของ นักเรยี น 5. ขัน้ ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. นกั เรียนตอบคาถามจากเรื่องท่ีอ่านใน รู้หรือยงั ในแบบบนั ทกึ กิจกรรม หนา้ 19 2. ครูและนกั เรยี นร่วมกันอภปิ รายเพื่อเปรียบเทยี บคาตอบของนักเรียนใน รหู้ รอื ยังกบั คาตอบที่ เคยตอบในคดิ กอ่ นอ่าน ซงึ่ ครบู นั ทึกไวบ้ นกระดาน 3. ครูชักชวนนักเรียนตอบคาถามท้ายเร่ืองที่อ่านดังนี้ ระบบย่อยอาหาร ประกอบด้วยอวัยวะ ใดบ้าง แต่ละอวัยวะมีลักษณะและหน้าท่ีอย่างไร และท้าอย่างไรให้ระบบย่อยอาหารท้างานได้อย่างปกติ (นักเรียนตอบ ตามความเข้าใจของตนเอง) ครูยังไม่เฉลยคาตอบ แต่ชักชวนให้นักเรียนหาคาตอบจากการทา กจิ กรรม สื่อและแหลง่ การเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรยี น ป.6 เล่ม 1 2. แบบบนั ทึกกิจกรรม ป.6 เล่ม 1 การวดั และประเมินผล ตาราง: แสดงกรอบการวัดและประเมินผล จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วิธกี ารวัดผล เครอ่ื งมอื เกณฑ์การประเมิน ผเู้ รยี นผ่านเกณฑ์ระดบั 1.ด้านความรู้ (K) นักเรียนมี การซักถาม ค า ถ า ม ร ะ ห ว่ า ง ก า ร พอใช้ขนึ้ ไป ความรู้ความเข้าใจบอกหน้าท่ี จัดการเรยี นการสอน ผเู้ รียนผา่ นเกณฑ์ระดบั ของระบบยอ่ ยอาหาร พอใช้ขน้ึ ไป 2.ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) ใบงาน/กิจกรรม แบบประเมินพฤติกรรม ผ้เู รียนผ่านเกณฑ์ระดบั พอใช้ขึ้นไป นักเรียนสามารถสังเกต และ บง่ ชก้ี ระบวนการ บรรยายลักษณะและอาการท่ี อ า จ เ กิ ด ข้ึ น ห ลั ง จ า ก รบั ประทานได้ 3.ด้านคุณลักษณะ (A) ประเมินความต้ังใจเรียน แบบประเมินพฤติกรรม นกั เรยี นใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ ม่นั ในการ ต้ังใจในการทางาน และ บ่งช้ีคุณลักษณะอันพึง ทางาน และมีวินยั ในการเรยี น ความตรงต่อเวลาในการ ประสงค์ สง่ งาน

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนรูบริคส์ (Rubric Score) เกณฑ์ประเมนิ ดา้ น K รายการประเมิน ดีมาก (4) ระดับคณุ ภาพ ปรับปรุง (1) ดี (3) พอใช้ (2) นักเรียนมีความรู้ นักเรียนสามารถบอก นักเรียนสามารถบอก นักเรียนสามารถบอก นักเรียนสามารถบอก ความเข้าใจบอก หน้าที่ของระบบย่อย หน้าที่ของระบบย่อย หน้าที่ของระบบย่อย หน้าที่ของระบบย่อย หน้าท่ีของระบบ อาหารได้อย่างถูกต้อง อาหารได้อย่างถูกต้อง อาหารได้ถูกต้องเป็น อาหารได้เพียงส่วน ย่อยอาหาร ชัดเจนและครบถ้วน และครบถ้วน (79%- ส่ ว น ใ ห ญ่ ( 69% - น้อย(ตา่ กวา่ 60%) (80%-100%) 70%) 60%) *หมายเหตุ นกั เรียนต้องผ่านเกณฑก์ ารประเมินระดับ 60% ขนึ้ ไป เกณฑ์ประเมินดา้ น P รายการประเมิน ดมี าก (4) ระดบั คณุ ภาพ ปรับปรงุ (1) ดี (3) พอใช้ (2) นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ 1. ความถูกตอ้ งของเน้อื หา มีผลการเรียนรู้ตาม มีผลการเรียนรู้ตาม มผี ลการเรียนรตู้ าม สังเกต และบรรยาย 2. การเรียงลาดบั ของเน้อื หา คาอธิบายเป็นราย คาอธิบายเป็นราย คาอธิบายเป็นราย ลักษณะและอาการที่ 3. การใชภ้ าษาอย่างถูกต้อง ข้ อ ดั ง ท่ี ก า ห น ด ข้ อ ดั ง ท่ี ก า ห น ด ข้ อ ดั ง ที่ ก า ห น ด อาจเกิดขึ้นหลังจาก 4. ความเรียบรอ้ ยของใบ ระดับดีมากข้อใด ระดับดีมากข้อใด ระดับดีมากข้อใด รับประทานได้ งาน ข้อหนึ่ง จานวน 3 ข้อหน่ึงจานวน 2 ข้อหน่ึงน้อยกว่า 1 ข้อ ขอ้ ข้อ *หมายเหตุ นกั เรียนต้องผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดับ 2 ข้ึนไป เกณฑป์ ระเมนิ ดา้ น A รายการ ระดบั คณุ ภาพ ประเมิน ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรุง (1) นั ก เ รี ย น ใ ฝ่ พยายามสบื คน้ เพ่อื แก้ไข มีผลการเรียนรู้ตาม มีผลการเรียนรู้ตาม มีผลการเรียนรู้ตาม เรียนรู้ มุ่งมั่นใน ปัญหา ในการทางานให้ คาอธิบายเป็นราย คาอธิบายเป็นราย คาอธิบายเป็นรายข้อ การทางานและ แล้วเสรจ็ มีความตงั้ ใจ ข้ อ ดั ง ท่ี ก า ห น ด ข้ อ ดั ง ท่ี ก า ห น ด ดังท่ีกาหนดระดับดี มี วิ นั ย ใ น ก า ร พยายามทางานและทางาน ระดับดีมากข้อใด ระดับดีมากข้อใด มากข้อใด ข้อหนึ่ง เรียน ไดเ้ สร็จตามเวลาที่กาหนด ข้อหน่ึง จานวน 3 ข้อหน่ึง จานวน 2 น้อยกวา่ 1 ขอ้ สนใจเรยี น และตัง้ ใจเรยี น ขอ้ ข้อ *หมายเหตุ นกั เรียนต้องผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดับ 2 ขน้ึ ไป

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 10 กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหสั วิชา ว16101 ปกี ารศกึ ษา 2565 ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 1 ชัว่ โมง หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 สารอาหารและระบบยอ่ ยอาหาร โรงเรียนบา้ นบงึ ท่ายวน แผนการจดั การเรยี นรู้ เรื่อง อวัยวะในระบบยอ่ ยอาหาร ผสู้ อน นางสาวเจนจิรา จงอยู่สขุ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชวี้ ดั มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออก จากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชท่ีทางานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ตวั ช้วี ัด ว 1.2 ป.6/ บรรยายหน้าท่ีของอวยั วะในระบบย่อยอาหาร รวมทง้ั อธบิ ายการย่อยอาหาร และการดูดซึมสารอาหาร จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจบอกหนา้ ทข่ี องระบบย่อยอาหาร (K) 2. นักเรียนสามารถเขียนแสดงอวัยวะในระบบย่อยอาหารได้ (P) 3. นักเรยี นใฝเ่ รยี นรู้ มุง่ มนั่ ในการทางาน และมีวนิ ัยในการเรยี น (A) สาระสาคญั ระบบย่อยอาหารประกอบด้วยอวัยวะต่าง ๆ ได้แก่ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลาไส้เล็ก ลาไสใ้ หญ่ ทวารหนัก ตบั และตับอ่อน ซงึ่ ทาหน้าท่ีรว่ มกนั ในการยอ่ ยและดดู ซึมสารอาหาร เพื่อส่งไปเลีย้ งสว่ น ตา่ ง ๆ ของร่างกาย สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 1. การลงความเห็นจากข้อมูล (S8) 2. การตคี วามหมายขอ้ มลู และลงข้อสรุป (S13) 3. การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ (C2) 4. การแกป้ ญั หา (C3) 5. การสอื่ สาร (C4) 6. ความร่วมมือ (C5)

สมรรถนะของผเู้ รียนตามแนว PISA 1. A1 นาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์มาสร้างคาอธิบายที่สมเหตผุ ล 2. B4 ประเมนิ วิธสี ารวจตรวจสอบปัญหาทางวิทยาศาสตร์ทีก่ าหนดให้ 3. C1 แปลงข้อมลู ทีน่ าเสนอในรูปแบบหนงึ่ ไปสู่รปู แบบอ่ืน 4. C2 วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลทางวทิ ยาศาสตร์ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มงุ่ ม่นั ในการทางาน สาระการเรียนรู้ 1. ระบบย่อยอาหารของร่างกาย กระบวนการจดั การเรียนรู้ (ใช้รูปแบบการสอนสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry cycle) (5Es) 1. ขัน้ สร้างความสนใจ (Engagement) 1. ครูทบทวนความรู้พน้ื ฐานของนักเรยี นเกี่ยวกบั ระบบยอ่ ยอาหารของร่างกาย ท่ีเคยเรยี น มาแล้ว โดยครอู าจนารปู ภาพ วีดีทศั น์ หรือตัวอย่างจรงิ เก่ยี วกับระบบย่อยอาหารของร่างกาย มาให้นักเรยี นดู แลว้ ต้ังประเดน็ ปัญหาดังนี้ - ระบบยอ่ ยอาหารสาคญั กบั รา่ งกายอยา่ งไร - การเค้ยี วอาหารเกี่ยวขอ้ งกับระบบยอ่ ยอาหารหรือไม่ อย่างไร - ระบบย่อยอาหารประกอบดว้ ยอวัยวะใดบ้าง และแตอ่ วยั วะนนั้ ทาหน้าท่ีอย่างไร - อวยั วะต่าง ๆ ในระบบยอ่ ยอาหารทาหนา้ ท่ีอยา่ งไร 2. ครูชักชวนนักเรียนศึกษาเร่ืองระบบย่อยอาหารของร่างกาย โดยให้อ่านช่ือหน่วย และจุดประสงค์ การเรียนรู้ประจาหนว่ ยในหนงั สอื เรียน 2. ข้ันสารวจคน้ หา (Explore) ให้นักเรยี นทากจิ กรรมตา่ ง ๆ เพื่อใหเ้ กิดประสบการณต์ รง ดังน้ี 1. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายเก่ียวกบั ระบบย่อยอาหารของร่างกาย จากอนิ เตอรเ์ น็ต หรอื เอกสาร หรอื หนังสือเรยี น และแบง่ กลุ่มนกั เรยี นคละความสามารถ ชาย-หญิง กลุ่มละ 5-6 คน เพ่อื ปฏบิ ตั ิกิจกรรม 2. ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ เขียนแผนภาพแสดงอวัยวะในระบบย่อยอาหาร แล้วชี้บอกชอื่ อวัยวะแต่ ละสว่ น จากนั้นอธิบายการทางานท่ีสัมพันธก์ นั ของอวยั วะเหล่าน้ันมาพอสังเขป และตอบคาถาม บันทกึ ผลใน ใบงานท่ี 13 เรือ่ ง ระบบย่อยอาหาร 3. ขน้ั อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. นักเรยี นนาเสนอระบบย่อยอาหารของรา่ งกาย และการตอบคาถาม

2. ครสู งั เกตการตอบคาถามของนักเรยี นเพ่ือตรวจสอบว่านักเรียนมีแนวคดิ เกี่ยวกับระบบย่อย อาหารของรา่ งกาย อยา่ งไร โดยสังเกตจากนกั เรยี นที่เป็นตัวแทนท่ีนาเสนอคาตอบของตนเอง ครยู งั ไม่ตอ้ ง เฉลยคาตอบ แต่จะให้นักเรียนยอ้ นกลบั มาตรวจสอบอกี คร้ัง หลังจากเรียนจบบทนี้ 3. ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรปุ ระบบย่อยอาหารของรา่ งกาย และครูอธิบายให้นกั เรยี นเขา้ ใจว่ามี ระบบย่อยอาหารของร่างกาย ดังนี้ - ระบบย่อยอาหาร คือ ระบบทที่ าหนา้ ทย่ี อ่ ยอาหารทีเ่ รารับประทานเข้าไปใหก้ ลายเปน็ สารอาหารท่มี ีขนาดเลก็ จนเซลล์สามารถดดู ซึมเข้าสูก่ ระแสเลอื ดและถกู ลาเลียงไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย โดยประกอบดว้ ยอวยั วะต่าง ๆ ได้แก่ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลาไส้เลก็ ลาไส้ใหญ่ ทวารหนกั ตับ ตบั ออ่ น และทางานสัมพันธก์ บั ระบบหายใจ ระบบหมุนเวียนเลอื ด 4. ขน้ั ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ใหน้ ักเรยี นช่วยกันคิดและอภปิ รายจากการศึกษาเกีย่ วกับระบบย่อยอาหารของรา่ งกาย 2. ครขู ยายขอบเขตของความรู้โดยเพ่มิ เติมความรู้เกี่ยวกับระบบย่อยอาหารของร่างกาย สามารถนาไปใช้ ในการแก้ปญั หาในชีวิตประจาวนั ตามข้นั ตอนวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ เชอ่ื มโยงจากผลการศกึ ษาของนักเรียน 5. ข้ันตรวจสอบผล (Evaluate) 1. นกั เรียนนาความรู้ท่ไี ดจ้ ากการเรียนรู้เรอื่ งนี้ ไปปรบั ใช้ในการดารงชวี ิตอยู่อย่างพอเพยี งได้ 2. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันประเมนิ กิจกรรมในแบบบนั ทึกกิจกรรม เกบ็ ในแฟ้มสะสมงานนักเรยี น จากนนั้ ครนู ัดหมายการเรยี นในคร้ังตอ่ ไป สือ่ และแหลง่ การเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรียน ป.6 เล่ม 1 2. แบบบนั ทกึ กิจกรรม ป.6 เลม่ 1 การวัดและประเมินผล ตาราง: แสดงกรอบการวัดและประเมนิ ผล จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วิธกี ารวัดผล เคร่อื งมือ เกณฑ์การประเมิน ผูเ้ รยี นผ่านเกณฑร์ ะดบั 1.ด้านความรู้ (K) นักเรียนมี การซกั ถาม ค า ถ า ม ร ะ ห ว่ า ง ก า ร พอใชข้ ึ้นไป ความรู้ ความเข้าใจบอกหน้าที่ จดั การเรยี นการสอน ผเู้ รยี นผ่านเกณฑร์ ะดบั ของระบบยอ่ ยอาหาร พอใชข้ ึ้นไป 2.ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) ใบงาน/กจิ กรรม แบบประเมินพฤติกรรม ผู้เรยี นผ่านเกณฑร์ ะดบั พอใช้ขึ้นไป นั ก เ รี ย น ส า ม า ร ถ เ ขี ย น แ ส ด ง บ่งชีก้ ระบวนการ อวยั วะในระบบย่อยอาหารได้ 3.ด้านคุณลักษณะ (A) ประเมินความต้ังใจเรียน แบบประเมินพฤติกรรม นักเรียนใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการ ตั้งใจในการทางาน และความ บ่งช้ีคุณลักษณะอันพึง ทางาน และมีวินัยในการเรยี น ตรงต่อเวลาในการส่งงาน ประสงค์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook