Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 4ประเภทเครือข่าย

บทที่ 4ประเภทเครือข่าย

Published by 6032040031, 2018-08-28 04:21:52

Description: บทที่ 4ประเภทเครือข่าย

Search

Read the Text Version

ประเภทเครือขา่ ย1.แบ่งตามลกั ษณะทางกายภาพ คอืPAN = ระบบเครอื ข่ายระดบั ส่วนตัว \"ระบบการติดตอ่ สอื่ สารไร้สายส่วนบคุ คล\" ยอ่ มาจากPersonal Area Network หรือเรียกว่า BluetoothPersonal Area Network (PAN)คือเทคโนโลยีการเข้าถงึ ไร้สายในพืน้ ท่ีเฉพาะส่วนบุคคล โดยมรี ะยะทางไม่เกนิ 1เมตร และมีอตั ราการรับส่งข้อมูลความเร็วสูงมาก (สูงถึง 480 Mbps) ซ่ึงเทคโนโลยที ใ่ี ชก้ นั แพร หลาย ก็เชน่ • UltraWide Band (UWB) ตามมาตรฐาน IEEE 802.15.3a• Bluetooth ตามมาตรฐาน IEEE802.15.1• Zigbee ตามมาตรฐาน IEEE 802.15.4เทคโนโลยีเหลา่ น้ีใช้สาหรบั การติดต่อสอ่ื สารระหวา่ งคอมพวิ เตอรแ์ ละ อปุ กรณ์ตอ่ พว่ ง(peripherals) ให้สามารถรับส่งขอ้ มูลถึงกนั ได้ และยังใช้สาหรบั การรับสง่ สัญญาณวดิ ีโอทมี่ ีความละเอยี ดภาพสงู (high-definition video signal) ไดด้ ้วยPersonal Area Network (PAN)ชว่ ยใหเ้ ราสามารถจัดการขอ้ มลู ระหวา่ งอปุ กรณ์ตา่ งๆท่ีเคลอ่ื นที่ไปมาได้ อยา่ งหลากหลายคดิ ค้นโดยนักวจิ ัยของ MIT รวมกับIBM โดยจะสร้างกระแสไฟฟ้าแรงต่า(ระดับพิโคแอมป ) ออกไปตามผิวหนงั โดยเคร่อื งรบั สัญญาณตามจุดต่างๆ ของร่างกายสามารถรับสัญญาณได้ เทคโนโลยนี ้จี ะเหมาะกับการใช้งานทางการแพทย์ เพราะอุปกรณ์ โดยมากจะมีการติดตง้ั ตามลาตัวมนุษย์พัฒนาโดย Bluetooth Special Interest GroupLAN = ระบบเครือขา่ ยระดับทอ้ งถน่ิ เปน็ ระบบเครือข่ายที่ใช้งานอยู่ในบริเวณที่ไมก่ วา้ งนกัอาจใช้อยู่ภายในอาคารเดียวกันหรืออาคารทีอ่ ยู่ใกล้กัน เชน่ ภายในมหาวิทยาลัย อาคารสานักงาน คลังสินคา้ หรอื โรงงาน เป็นต้น การสง่ ข้อมลู สามารถทาไดด้ ว้ ยความเร็วสูง และมี

ขอ้ ผดิ พลาดนอ้ ย ระบบเครอื ขา่ ยระดบั ท้องถ่นิ จึงถกู ออกแบบมาให้ช่วยลด ต้นทุนและเพือ่ เพ่มิประสทิ ธภิ าพในการทางาน และใชง้ านอุปกรณ์ต่าง ๆ ร่วมกันMAN = ระบบเครือข่ายระดับเมือง เป็นระบบเครอื ขา่ ยที่มีขนาดอยูร่ ะหว่าง Lan และ Wan เปน็ระบบเครือขา่ ยท่ใี ชภ้ ายในเมืองหรือจังหวัดเทา่ น้ัน การเชอื่ มโยงจะต้องอาศยั ระบบบรกิ ารเครอื ขา่ ยสาธารณะ จงึ เป็นเครือข่ายทีใ่ ช้กับองคก์ ารท่มี สี าขาห่างไกลและต้องการเชอ่ื มสาขาเหลา่ นัน้ เขา้ ด้วยกัน เชน่ ธนาคาร เครือขา่ ยแวนเชื่อมโยงระยะไกลมาก จงึ มคี วามเร็วในการสื่อสารไม่สงู เนอ่ื งจากมีสัญญาณรบกวนในสาย เทคโนโลยที ่ใี ช้กับเครือข่ายแวนมีความหลากหลาย มกี ารเช่อื มโยงระหวา่ งประเทศดว้ ยช่องสัญญาณดาวเทยี ม เส้นใยนาแสง คลื่นไมโครเวฟ คลน่ื วิทยุ สายเคเบลิ

WAN = ระบบเครอื ข่ายระดับประเทศ หรอื เครือขา่ ยบรเิ วณกวา้ ง เป็น ระบบเครอื ขา่ ยท่ีติดตงั้ ใช้งานอยใู่ นบริเวณกวา้ ง เช่น ระบบเครือข่ายทตี่ ิดตง้ั ใช้งานทว่ั โลก เป็นเครือข่ายทีเ่ ช่ือมตอ่คอมพิวเตอรห์ รืออุปกรณ์ที่อยูห่ า่ งไกลกันเข้าดว้ ย กัน อาจจะต้องเปน็ การตดิ ตอ่ สอื่ สารกันในระดับประเทศ ขา้ มทวีปหรอื ทวั่ โลกก็ได้ ในการเชือ่ มการตดิ ต่อนั้น จะตอ้ งมีการตอ่ เข้ากับระบบสอ่ื สารขององคก์ ารโทรศัพทห์ รือการสื่อสารแห่ง ประเทศไทยเสียกอ่ น เพราะจะเป็นการสง่ขอ้ มลู ผ่านสายโทรศัพทใ์ นการติดตอ่ สอ่ื สารกันโดยปกติมี อตั ราการสง่ ข้อมลู ท่ีตา่ และมโี อกาสเกิดข้อผดิ พลาด การสง่ ขอ้ มูลอาจใช้อปุ กรณ์ในการสือ่ สาร เช่น โมเด็ม (Modem) มาชว่ ย2. แบง่ ตามหน้าทข่ี องคอมพิวเตอร์Peer-to-Peer = เครอื ข่ายประเภทน้ี เครื่องคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายจะมีสิทธิเท่าเทยี มกัน ไมม่ ีเครอ่ื งใดเคร่ืองหนึ่งทาหน้าที่เปน็ เซริ ฟ์ เวอร์โดยเฉพาะ โดยสามารถเป็นได้ทงั้ คู่บรกิ าร ละผูข้ อบรกิ าร ในขณะเดียวกนั ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับการตดิ ตง้ั เพ่อื ใชง้ านตามลกั ษณะเป็นสาคัญ จุดประสงค์ของเครอื ขา่ ยแบบเพยี ร์ทูเพยี ร์คอื ตอ้ งการแชร์ขอ้ มลู เพื่อใช้งานภายในเครอื ข่ายเป็นหลกั สาคญัดงั นน้ั เครือข่ายประเภทนี้จึงไม่ไดม้ ุง่ เน้นศักยภาพด้านระบบความปลอดภยั เชน่ เดียวกับเครอื ข่ายแบบไคลแอนต์/เซริ ์ฟเวอร์

Client-Server = เครอื ข่ายประเทน้ีมเี คร่ืองศูนยบ์ ริการ ทีเ่ รียกวา่ เครอื่ งเซิรฟ์ เวอร์ และมเี ครื่องลูกข่ายตา่ งๆเชอ่ื มตอ่ โดยเครอื ข่ายหน่งึ ๆ อาจมเี ครอื่ งเซริ ฟ์ เวอรม์ ากว่าหน่ึงตวั เชอ่ื มตอ่ ภายในวงแลนเดียวกันก็ได้ ซ่งึ เซิร์ฟเวอรแ์ ตล่ ะตัวก็รบั หนา้ ที่แตกตา่ งกัน1.ไฟลเ์ ซริ ฟ์ เวอร์ คอื เคร่อื งท่ีทาหน้าท่ีบรกิ ารแฟ้มขอ้ มลู ให้แกเ่ ครื่องลูก2.พรินตเ์ ซริ ์ฟ คือเคร่อื งที่ทาหน้าท่ีบรกิ ารงานพมิ พใ์ หแ้ กเ่ ครื่องลกู ขา่ ย โดยบนั ทกึ งานพมิ พเ์ ก็บไว้ในรูปแบบของสพลู และดาเนินการพมิ พง์ านตามลาดับคิว3.ดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์ คอื เครื่องทาหนา้ ท่ีบรกิ ารฐานข้อมลู ให้แก่เครอ่ื งลกู ข่าย4.เวบ็ เซิรฟ์ เวอร์ คอื เคร่ืองทจี่ ดั เก็บขอ้ มูลดา้ นเวบ็ เพจขององคก์ ร เพื่อใหผ้ ู้ทอ่ งเท่ียวอินเทอรเ์ นต็สามารถเข้าถงึ เวบ็ ขององค์กรได้ 5.เมลเซริ ์ฟเวอร์ คอื เคร่ืองท่ีทาหนา้ ท่จี ัดเกบ็ ขอ้ มลู ด้านจดหมายอเิ ล็กทรอนิกส์ หรอื E-mail ทม่ี ีการบั ส่งระหว่างกนั ภายในเครอื ข่าย

3. แบง่ ตามระดับความปลอดภัยของขอ้ มูลเป็นเกณฑ์Intranet = เครือข่ายสาธารณะอินเทอร์เนต็ เป็นเครือขา่ ยท่คี รอบคลุมทว่ั โลก ซึง่ มคี อมพวิ เตอร์เปน็ ลา้ นๆเครือ่ งเชอ่ื มต่อเข้ากับระบบและยงั ขยายตัวขนึ้ เรอื่ ย ๆ ทุกปี อินเทอร์เน็ตมผี ใู้ ช้ท่ัวโลกหลายรอ้ ยล้านคน และผ้ใู ช้เหลา่ น้ีสามารถแลกเปลี่ยนขอ้ มลู ขา่ วสารกนั ไดอ้ ยา่ งอสิ ระ โดยที่ระยะทางและเวลาไม่เปน็ อุปสรรค นอกจากน้ผี ู้ใช้ยงั สามารถเขา้ ดูข้อมลู ตา่ ง ๆ ที่ถูกตพี ิมพ์ในอินเทอร์เน็ตได้ อินเทอร์เน็ตเชอ่ื มแหล่งขอ้ มลู ตา่ ง ๆ เขา้ ด้วยกันไมว่ า่ จะเป็นองค์กรธุรกิจมหาวทิ ยาลยั หนว่ ยงานของรฐั บาล หรอื แม้กระทัง่ แหล่งขอ้ มลู บคุ คล องคก์ รธุรกจิ หลายองค์กรได้ใชอ้ ินเทอร์เน็ตชว่ ยในการทาการค้า เช่น การตดิ ต่อซ้อื ขายผ่านอินเทอร์เน็ตหรืออีคอมเมริ ช์ (E-Commerce) ซ่ึงเปน็ อกี ช่องทางหนงึ่ สาหรับการทาธุรกิจทก่ี าลังเป็นทีน่ ิยม เนอ่ื งจากมตี ้นทนุ ท่ีถกู กวา่ และมีฐานลกู ค้าท่ีใหญม่ าก สว่ นข้อเสียของอนิ เทอร์เน็ตคอื ความปลอดภัยของขอ้ มลูเนอื่ งจากทกุ คนสามารถเขา้ ถงึ ข้อมลู ทุกอยา่ งทแ่ี ลกเปลี่ยนผา่ นอนิ เทอร์เนต็ ได้อนิ เทอร์เนต็ ใช้โปรโตคอลทเี่ รียกวา่ “TCP/IP (Transport Connection Protocol/InternetProtocol)” ในการสื่อสารขอ้ มูลผา่ นเครือข่าย ซง่ึ โปรโตคอลนเ้ี ปน็ ผลจากโครงการหนึง่ ของกระทรวงกลาโหมสหรฐั ฯ โครงการนม้ี ีชือ่ วา่ ARPANET (Advanced Research ProjectsAgency Network) ในปี ค.ศ.1975 จดุ ประสงคข์ องโครงการน้ีเพื่อเชื่อมตอ่ คอมพวิ เตอรท์ อี่ ยู่หา่ งไกลกัน และภายหลังจึงไดก้ าหนดให้เปน็ โปรโตคอลมาตรฐานในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในปัจจบุ ันอนิ เทอรเ์ น็ตได้กลายเป็นเครอื ข่ายสาธารณะ ซ่ึงไม่มผี ใู้ ดหรือองคก์ รใดองค์กรหนงึ่ เป็นเจา้ ของอยา่ งแทจ้ รงิ การเช่ือมตอ่ เข้ากับอินเทอรเ์ น็ตตอ้ งเชื่อมตอ่ ผา่ นองค์กรท่ีเรยี กวา่ “ISP(Internet Service Provider)” ซ่ึงจะทาหน้าที่ให้บริการในการเชอ่ื มต่อเข้ากับอินเทอร์เนต็ นั่นคอื ขอ้ มลู ทุกอยา่ งทส่ี ่งผ่านเครอื ข่าย ทุกคนสามารถดไู ด้ นอกเสยี จากจะมกี ารเขา้ รหสั ลับซึง่ ผ้ใู ช้ต้องทาเองInternet = เครือขา่ ยสว่ นบคุ คล ตรงกนั ข้ามกบั อินเทอร์เนต็ อินทราเนต็ เปน็ เครอื ขา่ ยส่วนบุคคลที่ใช้เทคโนโลยีอินเทอรเ์ น็ต เช่น เว็บ, อเี มล, FTP เปน็ ตน้ อนิ ทราเน็ตใชโ้ ปรโตคอล TCP/IPสาหรับการรับสง่ ข้อมลู เช่นเดียวกับอนิ เทอร์เน็ต ซึง่ โปรโตคอลนสี้ ามารถใช้ได้กบั ฮาร์ดแวร์หลาย

ประเภท และสายสญั ญาณหลายประเภท ฮารด์ แวรท์ ใ่ี ชส้ ร้างเครอื ขา่ ยไม่ใช่ปัจจัยหลกั ของอินทราเนต็ แตเ่ ปน็ ซอฟตแ์ วรท์ ่ที าให้อินทราเนต็ ทางานได้ อินทราเนต็ เป็นเครือขา่ ยที่องค์กรสรา้ งขึน้ สาหรบั ใหพ้ นักงานขององคก์ รใช้เท่าน้นั การแชร์ข้อมลู จะอยเู่ ฉพาะในอินทราเน็ตเท่านั้น หรอืถา้ มีการแลกเปลีย่ นข้อมลู กบั โลกภายนอกหรอื อินเทอร์เน็ต องคก์ รนั้นสามารถทจ่ี ะกาหนดนโยบายได้ ในขณะที่การแชรข์ ้อมลู อนิ เทอร์เน็ตน้นั ยังไมม่ ีองคก์ รใดที่สามารถควบคุมการแลกเปลีย่ นขอ้ มลู ได้ เมอื่ เชือ่ มตอ่ เขา้ กบั อนิ เทอร์เน็ต พนกั งานบริษัทของบรษิ ัทสามารถติดตอ่ ส่ือสารกบั โลกภายนอกเพ่ือการคน้ หาขอ้ มลู หรือทาธุรกจิ ตา่ ง ๆ การใช้โปรโตคอล TCP/IPทาให้ผู้ใชส้ ามารถเข้าใช้เครือขา่ ยจากทหี่ า่ งไกลได้ (Remote Access) เช่น จากทบ่ี า้ น หรอื ในเวลาทต่ี ้องเดินทางเพื่อตดิ ตอ่ ธรุ กจิ การเชือ่ มต่อเขา้ กบั อนิ ทราเนต็ โดยการใช้โมเด็มและสายโทรศพั ท์ กเ็ หมือนกับการเชอ่ื มตอ่ เข้ากับอนิ เทอร์เน็ต แตแ่ ตกต่างกันทเ่ี ปน็ การเชื่อมตอ่ เข้ากบัเครือข่ายส่วนบคุ คลแทนท่ีจะเป็นเครือข่ายสาธารณะอยา่ งเชน่ อนิ เทอรเ์ น็ต การเช่ือมตอ่ กันได้ระหวา่ งอินทราเน็ตกบั อนิ เทอรเ์ น็ตถือเปน็ ประโยชน์ที่สาคญั อย่างหนงึ่ ระบบการรักษาความปลอดภัยเปน็ สง่ิ ท่ีแยกอนิ ทราเน็ตออกจากอนิ เทอร์เน็ต เครอื ข่ายอนิ ทราเนต็ ขององคก์ รจะถกูปกป้องโดยไฟร์วอลล์ (Firewall) ซึง่ อาจจะเป็นไดท้ งั้ ฮารด์ แวรแ์ ละซอฟต์แวรท์ ่ีทาหน้าทกี่ รองข้อมูลท่แี ลกเปล่ยี นกันระหว่างอนิ ทราเนต็ และอนิ เทอร์เน็ตเมื่อทั้งสองระบบมกี ารเชือ่ มต่อกันดงั น้ันองค์กรสามารถกาหนดนโยบายเพอื่ ควบคุมการเข้าใช้งานอนิ ทราเนต็ ได้อนิ ทราเน็ตสามารถสนองความต้องการของผู้ใช้ในองคก์ รไดห้ ลายอย่าง ความงา่ ยในการตพี ิมพบ์ นเวบ็ ทาให้เปน็ ที่นิยมในการประกาศข่าวสารขององคก์ ร เช่น ข่าวภายในองค์กร กฎ ระเบียบ และมาตรฐาน การปฏบิ ัติงานต่าง ๆ เป็นตน้ หรอื แม้กระทั่งการเขา้ ถงึ ฐานข้อมลู ขององคก์ รก็ง่ายเช่นกัน ผู้ใชส้ ามารถทางานรว่ มกันไดง้ า่ ย และมปี ระสิทธภิ าพมากขึน้Extranet = หรอื เครือข่ายรว่ มเอ็กส์ทราเนต็ (Extranet) เป็นเครือขา่ ยกงึ่ อินเทอร์เน็ตกงึ่อินทราเนต็ กล่าวคือ เอ็กสท์ ราเน็ตคอื เครือขา่ ยที่เช่ือมต่อระหว่างอินทราเน็ตของสององคก์ รดงั นั้นจะมบี างสว่ นของเครือข่ายทีเ่ ป็นเจา้ ของร่วมกนั ระหวา่ งสององคก์ รหรือบริษัท การสร้างอินทราเน็ตจะไมจ่ ากัดดว้ ยเทคโนโลยี แตจ่ ะยากตรงนโยบายที่เกีย่ วกบั การรักษาความปลอดภยัของขอ้ มลู ที่ทง้ั สององค์กรจะตอ้ งตกลงกนั เชน่ องค์กรหนง่ึ อาจจะอนุญาตให้ผู้ใชข้ องอกี องคก์ ร

หนง่ึ ลอ็ กอนิ เข้าระบบอินทราเน็ตของตัวเองหรือไม่ เปน็ ต้น การสร้างเอก็ ส์ทราเน็ตจะเน้นท่ีระบบการรักษาความปลอดภัยขอ้ มูล รวมถงึ การตดิ ตง้ั ไฟรว์ อลลห์ รือระหว่างอนิ ทราเนต็ และการเข้ารหัสขอ้ มูลและสง่ิ ทสี่ าคัญที่สดุ ก็คือ นโยบายการรักษาความปลอดภยั ข้อมลู และการบังคบั ใช้

จัดทาโดยนางสาวรจั นกาญจน์ เทยี นทอง ปวส.2 คอมธุรกิจ ห้อง 1 เลขที่ 31


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook