ปรญิ ญานิพนธ์ ปัจจัยทมี่ ีความสมั พนั ธ์ต่อพฤตกิ รรมการออกกำลงั กายในชว่ งการแพรร่ ะบาดของเชื้อโควิด-19 ของนิสติ คณะ พยาบาลศาสตรช์ ั้นปีที่ 3 มหาวทิ ยาลยั นเรศวร Factors Associated with Exercise Behavior During the COVID-19 Epidemic among Junior Nursing students of Naresuan University Faculty of Nursing คณะผู้วิจัย นายจริ กฤต โสภา รหัสนิสิต 61560176 นางสาวนรีรัตน์ มเี ดช รหัสนสิ ิต 61560596 นางสาวณัฐชนนั ต์ ขัตพิ ันธุ์ รหสั นสิ ิต 60560047 นายนนทวัฒน์ ลมิ รหัสนสิ ติ 61560541 นางสาวเชษฐส์ ดุ า วงศค์ ำลอื รหัสนสิ ติ 61560305 นางสาวนลพรรณ คำเครื่อง รหสั นสิ ติ 61560619 นางสาวศิริวมิ ล จนิ คำ รหสั นสิ ติ 61561111 อาจารย์ที่ปรึกษา ดร. อลงกรณ์ อักษรศรี รายวชิ า 501378 วจิ ยั เบื้องต้นทางการพยาบาล ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร
ประกาศคณุ ูปการ ปริญญานิพนธ์ฉบับนส้ี ำเร็จได้ด้วยความกรุณาจาก ดร.อลงกรณ์ อักษรศรี อาจารย์ที่ปรึกษาปริญญา นพิ นธ์ ซึ่งเสียสละเวลาอันมคี ่ายง่ิ ของท่านในการให้คำปรึกษา แนะนำ และช้ีแนวทางท่ีเป็นประโยชน์ในการทำ ปริญญานิพนธ์ด้วยความเอาใจใส่และห่วงใยพร้อมท้ังให้กำลังใจอย่างสม่ำเสมอตลอดระยะเวลาในการทำ วิทยานิพนธ์ฉบับน้ีให้สำเร็จลุล่วงได้อย่างสมบูรณ์และทรงคุณค่า ผู้วิจัยรู้สึกซาบซ้ึงและประทับใจเป็นอย่างยิง่ และขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสงู มา ณ โอกาสนี้ ขอกราบขอบพระคุณ ดร.อลงกรณ์ อักษรศรี อาจารย์ที่ปรึกษาปริญญานิพนธ์ ที่ได้กรุณาให้ ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่งโดยเฉพาะการให้คำแนะนำและที่ปรึกษาในการใช้สถิติ และขอกราบ ขอบพระคุณคณะกรรมการสอบปริญญานิพนธ์ทุกท่านที่ได้กรุณาให้คำแนะนำตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องของ ปริญญานิพนธ์ ทำให้ปริญญานิพนธ์ฉบับน้ีสมบูรณ์ ขอขอบพระคุณผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่กรุณาตรวจสอบ แกไ้ ข และให้ขอ้ เสนอแนะทเ่ี ปน็ ประโยชนซ์ งึ่ ทำใหเ้ ครื่องมือวจิ ยั มีประสทิ ธภิ าพ เหนอื ส่ิงอ่ืนใดขอขอบพระคุณบิดา มารดาของผู้วิจยั ทีใ่ หก้ ำลงั ใจและให้การสนบั สนุนในทุก ๆ ดา้ นอยา่ งดีทีส่ ุดเสมอมา คุณคา่ และประโยชน์อนั พงึ มจี ากปริญญานพิ นธ์ฉบับน้ี ผูว้ ิจัยขอมอบเปน็ คณุ ความดีของทกุ ท่านท่ี มีส่วนร่วมสนับสนุนให้งานวิจัยมีความสำเร็จ ผู้วิจัยหวังเปน็ อย่างยิ่งว่าการศึกษาในครั้งน้ี จะเป็นประโยชน์ตอ่ พฤติกรรมการออกกำลังกายในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลยั นเรศวรสบื ตอ่ ไป ผวู้ จิ ัย
เรอื่ ง ปจั จัยท่มี ีความสมั พันธต์ ่อพฤติกรรมการออกกำลังกายในชว่ งการแพรร่ ะบาดของเช้ือโควดิ -19 ของนิสิต คณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปที ี่ 3 มหาวิทยาลยั นเรศวร ผวู้ จิ ัย นายจิรกฤต โสภา นางสาวนรีรัตน์ มเี ดช นางสาวณัฐชนนั ต์ ขัติพนั ธุ์ นายนนทวฒั น์ ลมิ นางสาวเชษฐ์สุดา วงศค์ ำลอื นางสาวนลพรรณ คำเครื่อง นางสาวศิริวมิ ล จินคำ อาจารย์ที่ปรึกษา ดร. อลงกรณ์ อกั ษรศรี, RN, PhD. ประเภทสารนิพนธ์ ปรญิ ญานิพนธ์, พย.บ. มหาวิทยาลยั นเรศวร, 2563 คำสำคญั พฤติกรรมการออกกำลังกาย การแพร่ระบาดของเชือ้ โควิด-19 นิสติ พยาบาล บทคัดยอ่ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายในช่วง การแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีท่ี 3 มหาวิทยาลัยนเรศวร ตามกรอบ แนวคิดของ Becker (1974) โดยกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ ที่กำลังศึกษาในชั้นปีท่ี 3 หลักสูตรพยาบาลศาสตร์บัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2563 จำนวน 110 คนที่ได้มาจากการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลพื้นฐาน แบบสอบถามเกี่ยวกับการรับรู้ด้านสุขภาพ และแบบสอบถามพฤติกรรม การออกกำลังกาย โดยผ่านการตรวจสอบความตรงของเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ดัชนีความตรงของ เนื้อหาด้านการรับรู้ประโยชน์ในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 เท่ากับ 1 ด้านการรับรู้อุปสรรคของการ ออกกำลังกายในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 เท่ากับ 0.88 ด้านการรับรู้โอกาสเสี่ยงของการไม่ออก กำลังกายในช่วงการแพร่ระบาดของเช้ือโควิด-19 เท่ากับ 0.89 ด้านการรับรูค้ วามรุนแรงของการไม่ออกกำลงั กายในชว่ งการแพรร่ ะบาดของเชื้อโควิด-19 เทา่ กับ 0.85 และด้านพฤตกิ รรมการออกกำลังกายในชว่ งการแพร่ ระบาดของเช้ือโควิด-19 เท่ากบั 0.81 แล้วนำมาทดสอบหาค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามโดยนำไปทดลอง ใช้กับนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 2 และชั้นปีที่ 4 จำนวน 30 คน แล้วนำผลที่ได้จากแบบสอบถามมา วิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบสอบถามโดยรวม ใช้สูตรแบบสัมประสิทธิ์แอลฟาของ ครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) ซึ่งค่าเท่ากับ 0.901 ค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ซึ่งด้านการ รับรู้ประโยชน์ของการออกกำลังกายมีค่าเท่ากับ 0.900 ด้านการรับรู้อุปสรรคของการออกกำลังกายมีค่า เท่ากับ 0.800 ด้านการรับรู้โอกาสเสี่ยงของการไม่ออกกำลังกายมีค่าเท่ากับ 0.883 ด้านการรับรู้ความรุนแรง
ของการไม่ออกกำลังมีค่าท่ากับ 0.881 และแบบสอบถามพฤติกรรมการออกกำลังกายมีค่าเท่ากับ 0.828 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้ค่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ แบบสเปรย์แมน (Spearman rank coefficient หรือ Spearman’s rho) เพื่อ วิเคราะห์ค่าความสัมพันธ์ระหวา่ งรายได้และพฤตกิ รรมการออกกำลังกายในช่วงการแพรร่ ะบาดของเชื้อโควิด- 19 และใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson’s correlation coefficients) วิเคราะห์ค่า ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการรับรู้ด้านสุขภาพ และพฤติกรรมการออกกำลังกายในช่วงการแพร่ระบาด ของเชอ้ื โควดิ -19 ผลการวจิ ัยพบวา่ 1. การศกึ ษาหาความสัมพนั ธร์ ะหว่างปัจจัยส่วนบคุ คล ดังน้ี 1.1 ดัชนีมวลกายมีความสัมพันธ์ในทิศทางบวกกับพฤติกรรมการออกกำลังกายของนิสิตคณะพยาบาล ศาสตรช์ น้ั ปที ่ี 3 อยใู่ นระดับตำ่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถติ ิ (r = 0.211, p < 0.05) 1.2 รายได้มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการออกกำลังกายของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 3 อยู่ใน ระดบั ตำ่ อยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถติ ิ (r = 0.184, p < 0.05) 2. การศึกษาหาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งปัจจยั การรบั รูด้ า้ นสขุ ภาพ ดังนี้ 2.1 การรับรู้ประโยชน์ของการออกกำลงั กายในชว่ งการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 มีความสัมพันธ์ในทศิ ทางบวกกับพฤติกรรมการออกกำลังกายของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีท่ี 3 อยู่ในระดับต่ำถึงปานกลาง อยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถิติ (r = 0.220, p < 0.05) 2.2 การรับรู้อุปสรรคของการออกกำลังกายในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 มีความสัมพันธ์ใน ทศิ ทางลบกบั พฤติกรรมการออกกำลังกายของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตรช์ ั้นปที ี่ 3 อยใู่ นระดบั ตำ่ (r = - 0.228, p < 0.05) 2.3 การรับรู้โอกาสเส่ียงของการไมอ่ อกกำลังกายในช่วงการแพรร่ ะบาดของเช้ือโควิด-19 ไมม่ คี วามสัมพันธ์ กบั พฤติกรรมการออกกำลังกายของนิสติ คณะพยาบาลศาสตรช์ ัน้ ปที ่ี 3 อย่างมนี ยั สำคญั ทางสถิติ (r = 0.076, p > 0.05) 2.4 การรับรู้ความรุนแรงของการไม่ออกกำลังกายในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด -19 ไม่มี ความสัมพนั ธก์ ับพฤติกรรมการออกกำลงั กายของนิสติ คณะพยาบาลศาสตรช์ ัน้ ปีท่ี 3 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = 0.088, p > 0.05) 3. การศึกษาพฤติกรรมการออกกำลังกายในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของนิสิตคณะพยาบาล ศาสตร์ ชั้นปีท่ี 3 มหาวทิ ยาลยั นเรศวร อยู่ในระดบั ปานกลาง (X̄ = 29.62, S.D.= 5.13) ดังนั้นจึงควรส่งเสริมให้นิสิตมีการรับรู้ประโยชน์ของการออกกำลังกายให้เพิ่มมากขึ้น โดยการจัด โปรแกรมสร้างแรงจูงใจให้นิสิตเห็นถึงประโยชน์ของการออกกำลังกาย และลดการรับรู้อุปสรรคของการออก กำลังกายกับพฤติกรรมการออกกำลังกายในชว่ งการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 โดยการจัดโปรแกรมเพือ่ ลด อุปสรรคในการออกกำลงั กายของนิสิต
Title Factors Associated with Exercise Behavior During the COVID-19 Epidemic among Junior Nursing students of Naresuan University Faculty of Nursing Author Mr. Chirakrit Sopha Miss Nareerat Meedech Miss Natchanan Khattipan Mr. Nontawat Lim Miss Chetsuda Wongkhomlue Miss Nonlapan Khamkrueang Miss Siriwimol Jinkam Advisor Assistant Dr. Alongkorn Aksornsri, RN, PhD. Academic Paper Thesis Submitted B.N.S. Naresuan University, 2020 Keywords Exercise Behavior, COVID-19 Epidemic, Nursing students ABSTRACT The objective of this research was to study Factors Associated with Exercise Behavior During the COVID-1 9 Epidemic among Junior Nursing students of Naresuan University Faculty of Nursing. The Becker’s (1974) Health Believe Model was used as a conceptual frame-work. The sample were Junior nursing students Naresuan University Faculty of Nursing, Academic Year 2 0 2 0 . The sample size were 1 1 0 students who were obtained from simple random sampling. Data were collected by using personal information questionnaires, health perception questionnaire, and exercise behavior questionnaire. The tools were validated by 3 experts. The content validity index of the perceived benefit of exercise during the spread the COVID- 19 outbreak was 1.0, the perceived barriers of exercise was 0.88, the perceived risks of non- exercise was 0.89, the perceptions of the severity of non-exercise was 0.85, and the exercise behavior during the epidemic of COVID-19 was 0.81. Reliability was tested with 30 sophomore and senior nursing students. The reliability of the perceived health questionnaire using Cronbach's alpha coefficient formula was 0 . 9 0 1 , the reliability of the perceived benefit of exercise was 0.900, the perceived barriers of exercise was 0.800, the perceived risks of non- exercise was 0.883, the perceptions of the severity of non-exercise was 0.881 and the reliability of the exercise behavior questionnaire was 0 . 8 2 8 . Data were analyzed by using descriptive statistics including frequency, percentage, mean and standard deviation. The Spear-man rank coefficient (Spearman's rho) was used to analyze the correlation between income and exercise
behavior. The Pearson's correlation coefficient was used to analyze the correlation between factors associated with perceived health and exercise behavior during the epi-demic COVID- 19. The research results revealed that. 1. The study showed the relationship between personal factors and exercise behavior as follows: 1.1. There was a statistically significant small positive correlation between Body mass index and exercise behavior (r = 0.211, p < 0.05). 1 . 2 . There was a statistically significant small positive correlation between income and exercise behavior (r = 0.184, p < 0.05). 2. The study showed the relationship between the perceived health and exercise behavior as follows: 2 . 1 . There was a statistically significant small positive correlation between perceived benefits of exercise and exercise behavior (r = 0.220, p < 0.05). 2 . 2 . There was a statistically significant small negative correlation between perceived barriers of exercise and exercise behavior (r = -0.228, p < 0.05). 2 . 3 . There was a no statistically significant correlation between perceived risks of non- exercising and exercise behavior of the senior nursing students of Faculty of Nursing Science (r = 0.076, p > 0.05). 2.4. There was a no statistically significant correlation between perceived severity of non- exercising and exercise behavior (r = 0.088, p > 0.05). 3 . The exercise behavior during the COVID-1 9 epidemic was in moderate level ( X̄ = 2 9 . 6 2 , S.D.= 5.13). Therefore, students should be encouraged to have increasing of perception about exercise including perceived benefits of exercise, and decreasing of barriers of exercise behavior during the epidemic COVID-19 by creating exercise promoting program for them.
สารบญั เร่อื ง หน้า บทที่ 1 บทนำ................................................................................................................................................. 1 ความเปน็ มาและความสำคัญของปญั หา...................................................................................................... 1 คำถามการวจิ ัย ........................................................................................................................................... 3 วตั ถุประสงค์ทวั่ ไป ...................................................................................................................................... 3 วัตถปุ ระสงค์เฉพาะ..................................................................................................................................... 4 สมมตฐิ านการวิจัย ...................................................................................................................................... 4 ขอบเขตการวจิ ยั ......................................................................................................................................... 5 ระยะเวลาทใี่ ช้ในการวิจัยตั้งแต่เรม่ิ ต้นจนสน้ิ สดุ โครงการ............................................................................. 6 สถานท่ีดำเนินการวิจัย................................................................................................................................ 6 ประโยชน์ท่ไี ดร้ บั ......................................................................................................................................... 6 นิยามศัพทท์ เ่ี กยี่ วขอ้ ง ................................................................................................................................. 6 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี ก่ยี วข้อง .......................................................................................................... 8 1. แนวโนม้ ของการออกกำลังกายของวยั รุน่ ในปจั จุบัน ............................................................................... 8 2. ความหมายการออกกำลังกาย................................................................................................................. 9 3. ปจั จยั ที่มีความสมั พันธต์ อ่ พฤติกรรมการออกกำลังกาย........................................................................... 9 4. ประเภทของการออกกำลังกาย............................................................................................................. 10 5. ชนดิ ของการออกกำลังกายเพ่อื สขุ ภาพ แบ่งตามวธิ กี ารเลน่ ได้แก่........................................................ 12 6. หลักการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ....................................................................................................... 13 7. ประโยชนข์ องการออกกำลงั กาย (ฐิตกิ ร โตโพธิ์ไทย และคณะ, 2560: 15-16) ..................................... 16 8. โทษของการไมอ่ อกกำลังกาย (National Library of Medicine, 2017) ............................................. 17 9. โรคท่มี ีความสมั พนั ธ์กบั พฤติกรรมการออกกำลังกาย............................................................................ 19 10. แบบแผนความเชือ่ ด้านสุขภาพ (Health Belief Model) .................................................................. 24 11. โรค COVID-19 (coronavirus disease starting in 2019) .............................................................. 26
สารบัญ (ต่อ) เรื่อง หนา้ 12. ราชกจิ จานเุ บกษา ข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แหง่ พระราชกำหนดการบริหารราชการใน สถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (ฉบบั ท่ี 5).................................................................................................. 27 13. งานวิจัยที่เก่ียวข้อง............................................................................................................................. 29 กรอบแนวคิด ............................................................................................................................................ 30 บทที่ 3 วธิ ดี ำเนนิ งานวจิ ัย ............................................................................................................................. 31 ประชากรท่ีใช้ในการวิจยั ........................................................................................................................... 31 กลุ่มตวั อยา่ งทใ่ี ช้ในการวจิ ยั ...................................................................................................................... 31 เครือ่ งมือที่ใชใ้ นการวิจัย ........................................................................................................................... 32 การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ................................................................................................................ 36 วิธีการรวบรวมขอ้ มลู ................................................................................................................................ 37 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล ................................................................................................................................... 37 การพิทักษ์สิทธิ์กลมุ่ ตวั อย่าง...................................................................................................................... 38 บทที่ 4 การวเิ คราะห์ข้อมูล........................................................................................................................... 39 ตอนที่ 1 ข้อมลู พน้ื ฐานของกลมุ่ ตวั อย่าง ................................................................................................... 39 ตอนท่ี 2 ผลการศึกษาเกยี่ วกับการรบั รู้ด้านสขุ ภาพ .................................................................................. 40 ตอนท่ี 3 ผลการศึกษาพฤตกิ รรมการออกกำลังกายของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ ชน้ั ปที ี่ 3 มหาวิทยาลยั นเรศวร ในช่วงการแพรร่ ะบาดของเชื้อโควดิ -19 ....................................................................................... 47 บทที่ 5 สรุปผลการวิจยั และอภิปรายผล ....................................................................................................... 58 สรปุ ผลการวิจยั ......................................................................................................................................... 59 อภปิ รายผลการวจิ ยั .................................................................................................................................. 60 ปัญหาอปุ สรรค ......................................................................................................................................... 64 ขอ้ จำกดั ของการทำวิจัย............................................................................................................................ 64 ขอ้ เสนอแนะ............................................................................................................................................. 64 บรรณานุกรม ................................................................................................................................................ 65
สารบญั (ต่อ) เรอื่ ง หนา้ ภาคผนวก ..................................................................................................................................................... 70 แบบสอบถามการวจิ ัย............................................................................................................................... 71 ตอนที่ 1 แบบสอบถามข้อมลู พ้นื ฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม .............................................................. 71 ตอนที่ 2 แบบสอบถามปัจจัยการรับรู้ดา้ นสุขภาพของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ ช้ันปีที่ 3 มหาวทิ ยาลัย นเรศวร ในช่วงการแพร่ระบาดของเช้ือโควดิ -19................................................................................... 72 ตอนท่ี 3 แบบสอบถามพฤติกรรมการออกกำลังกายของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ ชัน้ ปที ่ี 3 มหาวิทยาลยั นเรศวร ในชว่ งการแพรร่ ะบาดของเชอ้ื โควดิ -19............................................................... 77
สารบัญตาราง ตาราง หน้า 1. ข้อมลู พืน้ ฐานประกอบด้วยข้อมลู เกี่ยวกบั ดชั นมี วลกาย รายได้ โรคประจำตวั และประวตั ิโรคทาง พนั ธกุ รรม................................................................................................................................. 39 2. จำนวนร้อยละและระดับด้านการรบั รปู้ ระโยชน์ของการออกกำลงั กายในช่วงการแพร่ระบาดของ เชือ้ โควิด-19 ............................................................................................................................. 37 3. แสดงค่าเฉลย่ี และคา่ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ของด้านการรบั รปู้ ระโยชน์ของการออกกำลงั กาย ในช่วงการแพร่ระบาดของเช้ือโควดิ -19 ของนิสติ คณะพยาบาลศาสตรช์ ั้นปที ี่ 3 มหาวิทยาลัย นเรศวรเป็นรายข้อ.................................................................................................................... 38 4. จำนวนร้อยละ และระดับด้านการรบั ร้อู ุปสรรคของการออกกำลังกายในชว่ งการแพรร่ ะบาดของ เชอ้ื โควดิ -19............................................................................................................................. 42 5. แสดงคา่ เฉลีย่ และค่าสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน ของด้านการรบั รอู้ ปุ สรรคของการออกกำลังกาย ในชว่ งการแพร่ระบาดของเช้ือโควดิ -19 ของนสิ ติ คณะพยาบาลศาสตรช์ ัน้ ปที ี่ 3 มหาวทิ ยาลยั นเรศวรเปน็ รายข้อ.................................................................................................................... 43 6. จำนวนรอ้ ยละและระดับด้านการรับรโู้ อกาสเสยี่ งของการไมอ่ อกกำลังกายในชว่ งการแพรร่ ะบาด ของเช้ือโควิด-19....................................................................................................................... 44 7. แสดงคา่ เฉลีย่ และค่าสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน ของด้านการรับรโู้ อกาสเสย่ี งของการไม่ออกกำลงั กาย ในชว่ งการแพรร่ ะบาดของเช้ือโควดิ -19 ของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตรช์ ั้นปีที่ 3 มหาวทิ ยาลยั นเรศวรเป็นรายข้อ.................................................................................................................... 44 8. จำนวนร้อยละและระดบั ด้านการรับรคู้ วามรนุ แรงของการไม่ออกกำลงั กายในช่วงการแพรร่ ะบาด ของเชื้อโควดิ -19....................................................................................................................... 45 9. แสดงคา่ เฉลย่ี และค่าสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ของดา้ นการรบั รู้ความรุนแรงของการไม่ออกกำลงั กายในชว่ งการแพร่ระบาดของเช้ือโควิด-19ของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตรช์ น้ั ปีที่ 3 มหาวิทยาลยั นเรศวรเป็นรายขอ้ .................................................................................................................... 46 10. จำนวนร้อยละ และระดับพฤติกรรมการออกกำลังกายในช่วงการแพร่ระบาดของเช้ือโควดิ -19 ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตรช์ ั้นปีท่ี 3 มหาวทิ ยาลยั นเรศวร.................................................... 48 11. แสดงคา่ เฉล่ยี และค่าสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน ของพฤตกิ รรมการออกกำลงั กายในช่วงการแพร่ ระบาดของเช้ือโควิด-19 ของนิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ช้นั ปีที่ 3 มหาวทิ ยาลยั นเรศวร เป็นรายข้อ.................................................................................................................................. .48
สารบัญตาราง (ต่อ) ตาราง หนา้ 12. สรุป ค่าเฉล่ีย สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน คะแนนสูงสดุ และคะแนนตำ่ สดุ ของปัจจยั ท่ีมีความสมั พนั ธ์ ของพฤติกรรมการออกกำลังกาย ในช่วงการแพรร่ ะบาดของเช้ือโควดิ -19 ของนสิ ิตคณะพยาบาล ศาสตร์ชน้ั ปีที่ 3 มหาวทิ ยาลัยนเรศวร.........................................................................................50 13. การทดสอบการแจกแจงปกตขิ องข้อมูลของคา่ ดชั นีมวลกาย....................................................... 50 14. การทดสอบการแจกแจงปกติของข้อมลู ของพฤติกรรมการออกกำลังกาย ................................... 51 15. การทดสอบการแจกแจงปกติของข้อมลู ของการรบั รปู้ ระโยชน์ของการออกกำลงั กาย................. 52 16. การทดสอบการแจกแจงปกตขิ องข้อมูลของการรับรู้อุปสรรคของการออกกำลงั กาย................... 53 17. การทดสอบการแจกแจงปกติของข้อมูลของการรบั ร้โู อกาสเสี่ยงของการไม่ออกกำลงั กาย .......... 54 18. การทดสอบการแจกแจงปกติของข้อมูลของการรบั รคู้ วามรนุ แรงของการไม่ออกกำลังกาย......... 55 19. ความสมั พันธร์ ะหวา่ งรายไดก้ ับพฤติกรรมการออกกำลงั กายของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ ช้ันปที ี่ 3 มหาวิทยาลยั นเรศวร ในชว่ งการแพร่ระบาดของเชือ้ โควดิ -19.......................................52 20. แสดงความสัมพันธร์ ะหวา่ งปัจจยั สว่ นบุคคล............................................................................... 52
1 บทท่ี 1 บทนำ ความเปน็ มาและความสำคัญของปญั หา การออกกำลังกาย (Exercise) คือ การกระทำใด ๆ ที่ทำให้มีการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย โดยมีการเคลื่อนไหวร่างกายซ้ำ ๆ (Repetitive) มีการวางแผน (Planned) เป็นแบบแผน Structured และมี วัตถุประสงค์ (Purposive) เพื่อเสริมสร้างสุขภาพ ความสนุกสนาน และสังคม โดยใช้กิจกรรมและกติกาการ แข่งขันง่าย ๆ เช่น เดิน วิ่ง กระโดดเชือก การบริหารร่างกาย การยกน้ำหนัก และการเล่นกีฬา เป็นต้น (คณะกรรมการพัฒนาแผนการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย, 2561) ซึ่งประโยชน์ของการออกกำลังกายทางด้าน ร่างกายนัน้ จะชว่ ยให้อวัยวะต่าง ๆ ของรา่ งกายมีการทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ร่างกายนำเลือดไป เลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายดียิ่งขึ้น และเหนื่อยช้าลง การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอจะทำให้กล้ามเนื้อมี ความแข็งแรงและมีความสามารถในการทำกิจกรรมต่าง ๆมากขึ้น นอกจากนี้การออกกำลังกายจะช่วยให้การ ป้องกันโรคต่าง ๆ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ เป็นต้น และยังสามารถควบคุมน้ำหนักของร่างกายให้ อยู่ในปริมาณที่เหมาะสมอีกด้วย ด้านจิตใจทำให้จิตใจร่าเริงแจ่มใส ลดความโกรธ ความกลัว รู้จักอดทน อดกลนั้ มสี ติ ควบคมุ อารมณ์ตนเอง และปอ้ งกันโรคทางจติ ประสาท ดา้ นสงั คม ซึ่งจะส่งผลต่อการมีสุขภาพท่ี ดีและสามารถอยูใ่ นสงั คมได้อย่างมคี วามสุข (ฐติ กิ ร โตโพธไิ์ ทย และคณะ, 2560: 15-16) ปจั จบุ ันพบวา่ วถิ ีการดำเนนิ ชีวิตของมนุษย์เรามีการเปล่ียนแปลงไป เนอ่ื งจากมีการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็วของโลกไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี ล้วนส่งผลใหป้ ระชาชนส่วนใหญ่คร่ำเคร่งกับการ ดำเนินชีวิตประจำวัน ส่งผลให้พฤติกรรมสุขภาพในด้านต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมรวมถึงละเลยต่อการ ออกกำลังกายและขาดการเคลือ่ นไหวในลกั ษณะของการออกกำลังกายประจำวนั โดยเฉพาะวยั รุ่นในปัจจุบันนี้ มีการออกกำลังกายนอ้ ยลงมาก อ้างอิงจากการศึกษาเปรยี บเทียบสถิติกิจกรรมทางกายของคนไทย สำนักงาน กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพย้อนหลังสามปี คือ 2559, 2558 และ 2557 พบว่ากิจกรรมทางกาย ของวัยรุ่นในชว่ งอายุ 15 ถึง 24 ปีอยู่ในระดับที่ตำ่ กว่ากลุ่มอายุอื่น (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสรมิ สุขภาพ, 2559) และจากข้อมูลพื้นฐานของนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวรปี 2555 สำรวจโดยกองกิจการนิสิตพบมี นิสิตบางส่วนที่มีค่าดัชนีมวลกายสูงเกินมาตรฐาน (BMI) ในด้านการออกกำลังกายพบว่านิสิตมีการออกกำลัง กายสปั ดาหล์ ะ 3 วนั วนั ละอย่างนอ้ ย 30 นาทอี ย่ใู นระดับทีต่ ำ่ (กองกิจการนสิ ิต มหาวทิ ยาลยั นเรศวร, 2563) จากข้อมูลสถิตดิ ังกล่าว การทวี่ ัยร่นุ มีการออกกำลังกายน้อยหรือไมเ่ พียงพอจะส่งผลกระทบต่อปัญหา สุขภาพตามมา คือ ทำให้น้ำหนักเพิ่ม กล้ามเนื้อจะสูญเสียความแข็งแรง กระดูกจะมีความเปราะบาง และ สูญเสียแร่ธาตุบางชนิด มีผลต่อกระบวนการ Metabolism ทำให้มีปัญหาในการเผาผลาญไขมันและน้ำตาล ประสทิ ธิภาพการทำงานของระบบภูมิคุ้มกนั ลดลง การไหลเวียนโลหติ มีประสทิ ธภิ าพลดลง รา่ งกายมโี อกาสติด เชื้อได้ง่ายขึ้น การพัฒนาของฮอร์โมนไม่สมดุล (National Library of Medicine, 2017) นอกจากนี้การไม่ ออกกำลังกายยังส่งผลกระทบในด้านสังคมและจิตใจของวัยรุ่น คือ คนที่ขาดการออกกำลังกายมักเก็บตัว มีเพอ่ื นนอ้ ย จิตใจไม่สดชื่นรา่ เริง บางรายหนั ไปหาอบายมุขหรือยาเสพติด ซึง่ เปน็ ปญั หาใหญ่ของสงั คมปัจจุบัน
2 นอกจากนัน้ การทีไ่ ดม้ กี ารออกกำลงั กายเปน็ ประจำมาตั้งแต่เล็กทำให้เด็กมีนสิ ยั ชอบออก กำลังกายไปจนเป็น ผู้ใหญ่ ตรงกนั ข้ามเด็กที่ขาดการออกกำลังกาย ซึ่งจะมนี ิสัยไม่ชอบออกกำลงั ตดิ ตวั ไป และจะได้รับผลร้ายของ การขาดการออกกำลังกายมากยง่ิ ขนึ้ เมอ่ื เป็นผู้ใหญ่ (เจริญทัศน์ จินตนเสรี, 2553) ในสถานการณ์ปัจจบุ ันโรค COVID-19 มีการแพรร่ ะบาดทวั่ โลก อาการคอื ไอ จาม นำ้ มูกไหล หายใจ ลำบาก เจ็บคอ ไข้ เป็นต้น (กระทรวงสาธารณสุข, 2563) ซึ่งสามารถติดเชื้อได้ทางละอองฝอยจากระบบ ทางเดินหายใจของผู้ป่วย (WHO, 2020) โดยการแพร่เชื้อทางละอองฝอยจะสามารถกระจายได้ในระยะ 1 เมตร (กรมควบคุมโรค, 2563) เชื้อสามารถแพร่ผ่านทางละอองเสมหะ ไอ การพูดระยะทาง 2 เมตร ส่วนการจามจะไกลกว่าประมาณ 5 เมตร ขณะที่เชื้อจะอยู่กับพื้นผิววัสดุสิ่งของต่าง ๆ จะอยู่ได้นานถึง 9 วัน (ธีระวัฒน์, 2563) การแพร่เชอื้ COVID-19 จะสามารถแพร่กระจายได้ในระยะไมเ่ กิน 5 เมตร อกี ทั้ง กระทรวง สาธารณสุข กล่าวว่า การเดินออกกำลังกายสามารถแพร่เชื้อได้ 4-5 เมตร การวิ่งหรือปั่นจักรยานช้า ๆ สามารถแพร่เชื้อได้ไกลถึง 10 เมตร การปั่นจักรยานเร็วมาก ๆ แพร่เชื้อได้ไกล 20 เมตร และการไอจาม 2 เมตร (กระทรวงสาธารณสุข, 2563) ซึ่งโรค COVID-19 ทำให้มีผู้ติดเช้ือและล้มตายเป็นจำนวนมาก อ้างอิงจากข้อมูล ณ 15 พฤษภาคม 2563 มีผู้ติดเชื้อทัว่ โลก จำนวน 4,525,383 คน ผู้เสียชีวิตท่ัวโลก จำนวน 303,371 คน และอัตราการตายของโรคอยู่ที่ร้อยละ 6.7 (worldometer & south china morning post, 2563) และมีแนวโน้มของผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ (ศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด-19, 2563) ร่วมกับ สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 ดังกล่าวทำให้รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตระหนักและ หาแนวทางปอ้ งกันแกไ้ ข เชน่ การประกาศพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 ฉบบั ที่ 5 ประกาศใชว้ ันท่ี 26 มนี าคม 2563 มีเน้อื หาทสี่ ง่ ผลท่ีเปน็ อปุ สรรคตอ่ การออกกำลังกาย ดังน้ี ห้ามเข้า ในสถานที่เสี่ยงต่อการติดต่อเชื้อโรค COVID-19 รวมถึงการปิดสถานที่เสี่ยงต่อการติดโรค เช่น สนามมวย สนามกีฬา ฟิตเนส และห้ามมีการทำกิจกรรมหรืออยู่รวมกันเป็นกลุ่มในสถานที่แออัด (ราชกิจจานุเบกษา, 2563: 10-12) รวมไปถึงผู้เดินทางมาจากพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคอย่างต่อเนื่องหรือพื้นที่พบผู้ป่วย จะต้องมีการกักตัวเอง 14 วัน(กรมควบคุมโรค, 2563) และมีการรณรงค์ให้เว้นระยะห่างทางสังคม (social distancing) อยา่ งน้อย 1 เมตร (กรมควบคมุ โรค, 2563) จะเห็นได้ว่าจากสถิติดังกล่าวจะเห็นว่าเด็กและเยาวชนมีพฤติกรรมการออกกำลังกายอยู่ในระดับต่ำ ร่วมกับมีอุปสรรคต่อการออกกำลังกายที่มากขึ้นจากสถานการณ์การแพร่ระบาดช่วงโควิด-19 ส่งผลให้มี พฤติกรรมการออกกำลังกายที่ลดลง ซึ่งจะส่งผลกระทบให้เกิดปัญหาทางสุขภาพตามมาได้ และจากการ ทบทวนวรรณกรรมที่เกย่ี วข้องกับปัจจยั พฤติกรรมการออกกำลังกาย พบว่า ปัจจัยด้านรายได้ พบว่าผู้ท่ีรายได้ ต่ำมีพฤติกรรมออกกำลังกายที่สูงกว่าผู้ที่มีรายได้สูง ปัจจัยด้านระดับการศึกษา พบว่าผู้ที่มีการศึกษาสูงกว่า หรือเท่ากับอนุปริญญา มีพฤติกรรมการออกกำลังกายต่ำกว่าผู้ที่มีระดับการศึกษาต่ำกว่าระดับชั้นมัธยม ปัจจัยเรื่องเพศ พบว่าผู้หญิงมีพฤติกรรมการออกกำลังกายต่ำกว่าผู้ชาย เจตคติที่เกี่ยวกับประโยชน์การออก กำลังกาย การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคจากการไม่ออกกำลังกาย การรับรู้อุปสรรคของการออกกำลัง กาย การรับรู้ความรุนแรงของโรคของการไม่ออกกำลังกาย และการรับรู้ประโยชน์ของการออกกำลังกาย พบว่าปัจจัยเหลา่ นี้มคี วามสมั พนั ธ์กับพฤติกรรมการออกกำลังกาย (อัญนิกา, 2548; สมนกึ , 2552; มยุรี, 2556;
3 พงษเ์ อก, 2557) จากการทบทวนเนื้อหาที่เกี่ยวข้องเห็นได้ว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อการออกกำลังกายได้แก่ ประโยชน์ของ การออกกำลังกาย ผลของการไมอ่ อกกำลังกาย ผลกระทบจากโรค COVID-19 ทสี่ ่งผลต่อการออกกำลงั กายท้ัง ทางตรงและทางอ้อม รวมถึงมาตรการป้องกันโรค COVID-19 และปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ รายได้ ดัชนีมวล กาย (BMI) เป็นปัจจัยอย่างหนึ่งที่มีผลต่อพฤติกรรมการออกกำลังกาย ประกอบกับวัยรุ่นเป็นช่วงวัยที่มีการ ออกกำลังกายไม่เพียงพอมากที่สุด (กรมพลศึกษา, 2562) จึงได้เลือกกลุ่มตัวอย่าง คือ นิสิตคณะพยาบาล ศาสตร์ช้นั ปีท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2563 มหาวทิ ยาลยั นเรศวร เพราะถา้ วยั รุ่นขาดการออกกำลังกายจะส่งผลให้เกิด ปัญหาสุขภาพตามมาได้ ร่วมกับนสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ชัน้ ปีที่ 3 มีการฝึกวชิ าภาคปฏิบัติ จึงทำให้มีเวลาใน การออกกำลังกายลดลง เราจงึ ควรส่งเสริมใหว้ ัยรนุ่ ออกกำลงั กาย นอกจากน้กี ารเจบ็ ป่วยส่วนใหญ่เกิดจากการ ท่ีมนุษยม์ พี ฤตกิ รรมท่ีไมถ่ ูกต้อง (พงษเ์ อก สขุ ใส, 2556) และจากข้อมลู พน้ื ฐานของนสิ ิตมหาวิทยาลัยนเรศวรปี 2555 สำรวจโดยกองกิจการนิสิต พบว่าสภาวะสุขภาพนิสิตส่วนใหญ่ของนิสิตอยู่ในระดับดี แต่ยังพบว่านิสิต บางส่วนยังเจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ เช่น ไข้หวัด นอกจากนี้ยังพบอีกว่าจากการสำรวจเมื่อปี การศกึ ษา 2559 พบว่า มีนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวรชั้นปีที่ 3 บางส่วนมีค่าดชั นมี วลกายอยู่ในภาวะน้ำหนักเกิน มโี รคอว้ น และมภี าวะอ้วนลงพงุ (เบญจพร อรุณประภารัตน์, โชติกา วงศเ์ จรญิ , รชั ดาภรณ์ แมน้ ศริ ิ, 2559) ดังนั้น คณะผู้วิจัยจึงได้เล็งเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย และสนใจที่จะศึกษาปัจจัยที่มี ความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการออกกำลังกาย และศึกษาพฤติกรรมการออกกำลังกายของนิสิตคณะพยาบาล ศาสตร์ เพื่อนำผลการวิจัยไปประยุกตใ์ ช้เป็นแนวทางในการสง่ เสรมิ การออกกำลังกายของนิสิตในชว่ งการแพร่ ระบาดของเชื้อโควิด-19 หรือเมื่อเกิดโรคระบาดอื่นอาจจะตามมาในอนาคตได้ และสำหรับผู้ที่ต้องการออก นโยบายหรือมาตรการการส่งเสริมพฤติกรรมการออกกำลังกายสำหรับบุคคลทั่วไปสามารถนำผลที่ได้ไป วิเคราะห์และตอ่ ยอดในการดำเนินนโยบายหรอื มาตรการน้ัน ๆ ได้ในช่วงการแพรร่ ะบาดของโรคระบาดอื่น ๆ ทอ่ี าจจะตามมาในอนาคตได้ คำถามการวจิ ัย 1. การรับรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกายมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายในช่วงการแพร่ ระบาดของเชือ้ โควิด-19 หรอื ไม่ อยา่ งไร 2. ปัจจัยส่วนบุคคลมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อโค วดิ -19 หรือไม่ อย่างไร 3. พฤติกรรมการออกกำลังกายของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยนเรศวร ในช่วง การแพรร่ ะบาดของเช้อื โควิด-19 เป็นอย่างไร วตั ถุประสงคท์ ั่วไป เพ่ือศกึ ษาปัจจัยท่ีมคี วามสัมพนั ธ์ต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด- 19 ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ ชนั้ ปีท่ี 3 มหาวิทยาลยั นเรศวร
4 วัตถุประสงคเ์ ฉพาะ 1. เพอ่ื ศึกษาการรบั รปู้ ระโยชนข์ องการออกกำลังกายท่ีมคี วามสัมพันธ์ต่อพฤตกิ รรมการออกกำลังกาย ในชว่ งการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีท่ี 3 มหาวิทยาลยั นเรศวร 2. เพื่อศึกษาการรบั รู้อปุ สรรคของการออกกำลงั กายท่ีมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการออกกำลังกาย ในช่วงการแพรร่ ะบาดของเช้ือโควิด-19 ของนิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ ชัน้ ปที ่ี 3 มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 3. เพือ่ ศึกษาการรบั รู้โอกาสเสีย่ งของการไม่ออกกำลังกายทีม่ ีความสมั พนั ธต์ ่อพฤตกิ รรมการออกกำลัง กายในชว่ งการแพรร่ ะบาดของเชือ้ โควิด-19 ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ ชนั้ ปที ี่ 3 มหาวิทยาลัยนเรศวร 4. เพื่อศึกษาการรับรู้ความรุนแรงของการไม่ออกกำลังกายที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการออก กำลังกายในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัย นเรศวร 5. เพ่อื ศกึ ษาปจั จัยสว่ นบคุ คล ได้แก่ ดัชนีมวลกาย และรายได้ ทมี่ ีความสมั พันธต์ อ่ พฤติกรรมการออก กำลังกายในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัย นเรศวร 6.เพอื่ ศกึ ษาพฤตกิ รรมการออกกำลงั กายในชว่ งการแพร่ระบาดของเชอ้ื โควดิ -19 ของนสิ ิตคณะ พยาบาลศาสตร์ ช้นั ปีท่ี 3 มหาวิทยาลัยนเรศวร สมมติฐานการวจิ ัย 1. การรับรู้ประโยชน์ของการออกกำลงั กายมคี วามสัมพนั ธ์ต่อพฤตกิ รรมการออกกำลังกายในช่วงการ แพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นไปในทิศ ทางบวก 2. การรับรู้อุปสรรคของการออกกำลังกายมีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายในช่วงการ แพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นไปในทิศทาง ลบ 3. การรับรโู้ อกาสเส่ยี งของการไม่ออกกำลงั กาย มีความสมั พนั ธ์ตอ่ พฤติกรรมการออกกำลงั กายในช่วง การแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นไปในทิศ ทางบวก 4. การรับรู้ความรุนแรงของการไม่ออกกำลังกาย มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการออกกำลังกาย ในช่วงการแพร่ระบาดของเชือ้ โควิด-19 ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นไป ในทิศทางบวก 5. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ดัชนีมวลกาย และรายได้ มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการออกกำลังกาย ในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นไป ในทิศทางบวก 6. พฤตกิ รรมการออกกำลงั กายในชว่ งการแพร่ระบาดของเชื้อโควดิ -19 ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์
5 ช้ันปีท่ี 3 มหาวทิ ยาลัยนเรศวร อย่ใู นระดบั ต่ำ ขอบเขตการวจิ ัย งานวิจัยเรื่องปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อ โควิด-19 ของนสิ ติ คณะพยาบาลช้ันปีท่ี 3 มหาวทิ ยาลยั นเรศวร มขี อบเขตงานวจิ ยั ดังน้ี 1. ขอบเขตดา้ นเนื้อหา การวจิ ัยครัง้ นีเ้ ป็นการศึกษาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งปจั จยั สว่ นบุคคล ไดแ้ ก่ ดัชนี มวลกาย รายได้ และการรับรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย ได้แก่ การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการไม่ออกกำลังกาย การรับรู้ความรุนแรงของการไมอ่ อกกำลังกาย การรับรู้ประโยชน์ของการออกกำลังกาย การรับรู้อุปสรรคของ การออกกำลังกายกับพฤติกรรมการออกกำลังกายในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของนิสิตคณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวรช้นั ปีท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2563 2. ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ศึกษาจากประชากรนิสิตคณะพยาบาลชั้นปีที่ 3 ปี การศึกษา 2563 มหาวทิ ยาลัยนเรศวร จำนวน 118 คน กลมุ่ ตัวอยา่ งท่ีใชใ้ นการศึกษาครั้งน้ี ได้แก่ นสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ช้ันปีที่ 3 ปีการศึกษา 25623 จำนวน 110 คน โดยใช้เทคนิคการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) โดยใช้วิธีการจับสลากโดยการสุ่มเลือกแบบไม่มีการใส่คืน (Sampling without replacement) เพื่อให้ได้ตัวแทนท่ีดีของกลุม่ ประชากร ซึ่งทำการกำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สตู รยา มาเน่ (Yamane) กำหนดระดับนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 (บุญใจ ศรีสถิตนรากูร, 2553) ได้จำนวนกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 91 คน และเพื่อป้องกันข้อมูลไม่ครบถ้วนหรือสูญหาย (Dropout rate) จึงเผื่อขนาดกลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 20 ของจำนวนกลุ่มตัวอย่าง (Polit&Beck, 2004) คิดเป็น 19 คน รวมจำนวนกลุ่มตัวอย่าง ทั้งส้ิน 110 คน 3. ขอบเขตด้านระยะเวลาใชร้ ะยะเวลาในการดำเนนิ การศึกษาและเก็บรวบรวม คือ เมษายน 2563 – มนี าคม 2564 4. ขอบเขตด้านสถานที่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 5. ขอบเขตด้านตัวแปร ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ดัชนีมวลกาย รายได้ และการรับรู้เกี่ยวกับการออก กำลังกาย ได้แก่ การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการไม่ออกกำลังกาย การรับรู้ความรุนแรงของการไม่ออกกำลังกาย การรับรปู้ ระโยชนข์ องการออกกำลังกาย และการรบั รูอ้ ุปสรรคของการออกกำลงั กาย 5.1 ตวั แปรอสิ ระ ได้แก่ 1. การรับรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย ได้แก่ การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการไม่ออกกำลังกาย ความ รุนแรงของการไม่ออกกำลังกาย ประโยชน์และอปุ สรรคของการออกกำลงั กาย 2. ปัจจยั สว่ นบคุ คล ได้แก่ ดชั นมี วลกาย และรายได้ 5.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ พฤติกรรมการออกกำลังกายในช่วงการแพร่ระบาดของเช้ือโควิด-19 ของนิสติ
6 คณะพยาบาลศาสตร์ชน้ั ปที ี่ 3 มหาวิทยาลัยนเรศวร ระยะเวลาทีใ่ ชใ้ นการวิจยั ตั้งแตเ่ ริม่ ตน้ จนส้ินสุดโครงการ ระยะเวลาต้ังแตว่ ันที่ เมษายน 2563 - มีนาคม 2564 สถานที่ดำเนินการวจิ ยั คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ประโยชนท์ ี่ได้รบั 1. ทำให้ทราบถงึ ปัจจัยท่ีส่งผลต่อพฤตกิ รรมการออกกำลังกายของนิสติ คณะพยาบาลศาสตร์ช้ันปีที่ 3 มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ในช่วงการแพรร่ ะบาดของเช้อื โควิด-19 2. สามารถนำผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ในการส่งเสริมการออกกำลังกายของนิสิตในช่วงการ แพร่ ระบาดของเชอื้ โควิด-19 ได้ 3. ผู้ที่ต้องการออกนโยบายหรือมาตรการส่งเสริมพฤติกรรมการออกกำลังกายสำหรับบุคคลทั่วไป สามารถนำผลที่ได้ไปวิเคราะห์และต่อยอดในการดำเนินนโยบายหรือมาตรการนั้น ๆ ได้ในช่วงการแพร่ระบาด ของโรคระบาดอนื่ ๆ ที่อาจจะเกดิ ข้ึนไดใ้ นอนาคต นิยามศพั ท์ที่เก่ียวขอ้ ง นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ หมายถึง นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยนเรศวร ปกี ารศกึ ษา 2563 ปัจจัย หมายถึง สิ่งที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด -19 ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ ชน้ั ปีที่ 3 มหาวิทยาลัยนเรศวร ปัจจัยส่วนบุคคล หมายถึง รายได้ ดัชนีมวลกาย เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการออกกำลังกาย ในช่วงการแพร่ระบาดของเชือ้ โควิด-19 ของนสิ ติ คณะพยาบาลศาสตรช์ ้ันปีที่ 3 มหาวทิ ยาลัยนเรศวร การรับรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย หมายถึง ความรับรู้ที่เกี่ยวข้องกับการออกกำลังกายในนิสิตคณะ พยาบาลศาสตรช์ ั้นปีที่ 3 มหาวทิ ยาลัยนเรศวร เกย่ี วกบั การรบั รูโ้ อกาสเสี่ยงของการไม่ออกกำลงั กาย การรับรู้ ความรนุ แรงของการไม่ออกกำลังกาย และการรับรู้ประโยชน์ของการออกกำลังกาย และการรับรู้อุปสรรคของ การออกกำลังกายในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 โดยสามารถประเมินได้จากแบบสอบถามที่ ผวู้ จิ ยั พฒั นามาจาก คุณชลลดา บตุ รวชิ า และคณุ มยรุ ี ยีปาโละ๊ พฤติกรรมการออกกำลังกายในช่วงการแพรร่ ะบาดของเชื้อโควดิ -19 หมายถึง การปฏิบตั ิกิจกรรมที่ทำ ให้มีการใช้แรงกล้ามเนื้อและมีการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายอย่างมีระบบแบบแผนในช่วงการแพร่ ระบาดของเชื้อโควิด-19 โดยการเลือกกิจกรรมการออกกำลังกาย ความถี่ (ครั้งต่อสัปดาห์) ความนาน ความ หนักเบา รวมถึงระยะอบอุ่นร่างกาย และระยะผ่อนคลาย และความแรงในการออกกำลังกาย ที่ถูกต้องตาม
7 หลักของการออกกำลังกาย ควรเน้นความเหมาะสมตามบรบิ ทของผู้ออกกำลังกาย อุปกรณ์ สถานที่ หากไม่มี อุปกรณ์หรือพื้นที่ อาจเลือกชนิดการออกกำลังกายที่ไม่ต้องใช้อุปกรณ์มาก เช่น การเดินเร็วรอบ ๆ บ้าน กระโดดเชอื ก เตน้ แอโรบิก โยคะหรือออกกำลังกายเพื่อฝึกความแขง็ แรงแบบบอดเี้ วทหรือเลือกใช้ส่ิงของ ทดแทน เช่น การยกนำ้ หนกั โดยใชข้ วดน้ำแทน ซ่ึงการออกกำลังกายแต่ละครง้ั ขอให้ไดถ้ ึงระดับท่ีเหนื่อยพอพูด เป็นประโยคสั้น ๆ ได้ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 30 นาที โดยสามารถประเมินได้จากแบบสอบถามที่ ผ้วู ิจัยพัฒนามาจาก คณุ ฉลอง อภวิ งค์ การรับรู้ประโยชน์ของการออกกำลังกาย หมายถึง การรับรู้ประโยชน์เรื่องการออกกำลังกายเพื่อให้ ระบบอวยั วะตา่ ง ๆ ภายในร่างกายมีการเคลื่อนไหวแข็งแรง ทำให้กลา้ มเน้ือแข็งแรง และอดทนยงิ่ ขึ้นรา่ งกายมี การพฒั นาและแขง็ แรง ช่วยผ่อนคลาย และมีสุขภาพดีขึ้นในชว่ งการแพรร่ ะบาดของเชือ้ โควิด-19 การรับรู้อุปสรรคของการออกกำลังกาย หมายถึง การคาดการณ์ล่วงหน้าของบุคคลต่อการปฏิบัติ พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพอนามัยของบุคคลในทางลบ ซึ่งอาจได้แก่ ค่าใช้จ่ายหรือผลที่เกิดขึ้นจากการ ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมบางอยา่ งในชว่ งการแพรร่ ะบาดของเชอื้ โควิด-19 การรับรู้ความรุนแรงของการไม่ออกกำลังกาย หมายถึง ความรู้สึกหรือความเชื่อของบุคคลเกี่ยวกับ อันตรายของการไม่ออกกำลังกายหรือผลของการไม่ออกกำลังกายนั้นมีความรุนแรงที่สามารถทำให้เกิดความ เจ็บป่วยทัง้ ดา้ นร่างกายและจิตใจ รวมทั้งส่งผลกระทบตอ่ การใชช้ ีวิตประจำวัน ในช่วงการแพร่ระบาดของเชือ้ โควิด-19 การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการไม่ออกกำลังกาย หมายถึง การรับรู้โอกาสที่จะเกิดผลกระทบต่อสุขภาพ ของการไม่ออกกำลังกาย ซึ่งอาจเกิดขึ้นหรือไม่เกิดขึ้นในอนาคต และมีผลกระทบต่อสุขภาพของการไม่ออก กำลังกายในชว่ งการแพรร่ ะบายของเชื้อโควิด-19 COVID-19 หมายถึง เชื้อก่อโรคไวรัสโคโรนา มีชื่อชั่วคราวที่ใช้ในตอนแรกคือ 2019- nCoV ชื่อ ทางการในปัจจุบันคือ SARS-CoV-2 ส่วนชื่อของโรคติดเชื้อชนิด นี้เรียกว่า COVID-19 ย่อมาจาก CO แทน corona, VI แทน virus, D แทน disease และ 19 แทน 2019 พระราชกำหนดการบรหิ ารราชการในสถานการณฉ์ ุกเฉนิ พ.ศ. 2548 หมายถงึ การประกาศหา้ ม ประชาชนออกจากเคหสถานในบรเิ วณพ้ืนท่ีท่ีกำหนด ตามระยะเวลาท่รี ะบุไว้อยา่ งชดั เจน และจะเกดิ ข้นึ ไดใ้ น พืน้ ท่ภี ายใต้บงั คับของกฎหมายพิเศษดา้ นความมัน่ คงอ่ืน ๆ ในเวลาท่บี ้านเมืองอยู่ในภาวะไม่ปกติ เช่น อยู่ใน ภาวะสงครามหรือมเี หตกุ ระทบกระเทือนต่อความมั่นคงของรัฐอย่างรนุ แรง ถูกใช้ในกรณีสถานการณ์ฉกุ เฉนิ มี การก่อการรา้ ย การใช้กำลงั ประทุษรา้ ยต่อชวี ิต รา่ งกายหรือทรพั ยส์ นิ มีเหตุอนั ควรเชื่อไดว้ ่ามีการกระทำท่ีมี ความรุนแรงกระทบต่อความมั่นคงของรฐั ความปลอดภัยในชีวติ หรอื ทรพั ย์สินของรฐั หรือบคุ คล และมคี วาม จำเป็นท่ีจะต้องเรง่ แก้ไขปญั หาใหย้ ุตไิ ด้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและทันท่วงที
8 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่เี ก่ียวข้อง ในการศึกษาวิจัยคร้ังน้ผี ู้วิจัยไดศ้ ึกษาแนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ยั ที่เก่ยี วขอ้ งและ ไดน้ ำเสนอ ตามหัวข้อต่อไปน้ี 1. แนวโนม้ ของการออกกำลงั กายของวัยรุ่นในปจั จบุ นั 2. ความหมายการออกกำลังกาย 3. ปจั จัยที่มีความสมั พันธต์ ่อพฤติกรรมการออกกำลังกาย 4. ประเภทของการออกกำลังกาย 5. ชนิดของการออกกำลงั กายเพ่อื สขุ ภาพ 6. หลักการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ 7. ประโยชนข์ องการออกกำลังกาย 8. โทษของการไมอ่ อกกำลงั กาย 9. แบบแผนความเชอื่ ด้านสุขภาพ (Health Belief Model) 10. โรคทมี่ ีความสมั พนั ธก์ ับพฤติกรรมการออกกำลงั กาย 11. โรค COVID-19 (coronavirus disease starting in 2019) และข้อควรระวังในการออกกำลัง กายชว่ ง Covid-19 12. ราชกิจจานเุ บกษา ขอ้ กำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการ ในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (ฉบบั ที่ 5) 13. งานวจิ ัยทเี่ ก่ียวขอ้ ง 1. แนวโน้มของการออกกำลงั กายของวัยรนุ่ ในปจั จุบนั สถิติการออกกำลังกายในช่วงวัยของประชากรที่ออกกำลังกาย ปี 2550 เมื่อพิจารณาผู้ที่ออกกำลัง กายจำนวน 16.3 ล้านคน ตามกลุ่มอายุ 4 กลุ่ม พบว่าเป็นผู้ที่อยู่ในวัยเด็ก (11-14 ปี) ร้อยละ 18.4 เยาวชน (15-24 ปี) ร้อยละ 29.3 วัยทำงาน (25-59 ปี) ร้อยละ 40.3 และผู้สูงอายุ (อายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป) ร้อยละ 12.0 เมื่อเปรียบเทียบอัตราการออกกำลังกายของประชากรในแต่ละกลุ่มช่วงวัย พบว่าประชากรกลุ่มวัยเด็ก ออกกำลังกายมากกว่ากลุ่มอื่น ซึง่ ส่วนใหญอ่ าจเปน็ เพราะกลุ่มนี้อยู่ในวยั เรียน การเล่นกีฬาหรือการออกกำลัง กาย มีอัตราการออกกำลังกายสูงถึงร้อยละ 73.1 รองลงมาเป็นกลุ่มเยาวชนและประชากรสูงอายุ คือ ร้อยละ 45.4 และ 28.0 ตามลำดับ สว่ นประชากรวยั ทำงานมีอัตราการออกกำลังกายน้อยที่สุด คือ ร้อยละ 19.7 ท้ังน้ี อัตราการออกกำลังกายของชายสูงกว่าหญิงในทุกกลุ่มช่วงวัย (สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2551) จากการศึกษา เปรยี บเทียบสถิตกิ จิ กรรมทางกายของคนไทย สำนักงานกองทนุ สนบั สนนุ การสร้างเสริมสุขภาพยอ้ นหลังสามปี คอื 2559, 2558 และ 2557 พบว่ากจิ กรรมทางกายของวยั รนุ่ ในช่วงอายุ 15 ถงึ 24 ปีอยู่ในระดับทตี่ ่ำกว่ากลุ่ม อายุอื่น (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, 2559) และจากข้อมูลพื้นฐานของนิสิต
9 มหาวทิ ยาลยั นเรศวรปี 2555 สำรวจโดยกองกจิ การนสิ ติ พบมีนิสิตบางสว่ นทมี่ ีคา่ ดชั นมี วลกายสงู เกนิ มาตรฐาน (BMI) ในดา้ นการออกกำลงั กายพบว่านสิ ิตมีการออกกำลังกายสปั ดาห์ละ 3 วนั วนั ละอย่างน้อย 30 นาทีอยู่ใน ระดับท่ตี ่ำ (กองกิจการนิสิต มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2563) 2. ความหมายการออกกำลงั กาย คณะกรรมการพัฒนาร่างแผนยุทธศาสตร์การส่งเสรมิ กิจกรรมทางกายแห่งชาติ (2560) กล่าวว่า การ ออกกำลังกาย (Exercise) คือ การกระทำใด ๆ ที่ทำให้มีการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายแบบซ้ำ ๆ มี การวางแผนเป็นแบบแผนและมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างสุขภาพ เพื่อความสนุกสนาน เพื่อสังคม โดยใช้ กิจกรรมงา่ ย ๆ หรือกตกิ าการแข่งขันง่าย ๆ เชน่ เดิน ว่ิง กระโดดเชอื ก การบริหารร่างกาย การยกนำ้ หนักการ เล่นกีฬา เปน็ ตน้ ซง่ึ เน้นทีก่ จิ กรรมในประเภทนนั ทนาการยามวา่ งเป็นหลัก จิตติมา เจริญลิ้มประเสริฐ (2555) กล่าวว่า การออกกำลังกาย หมายถึง การใช้แรงกระทำ จาก ภายนอกในการช่วยทำการเคลื่อนไหวข้อต่อหรือส่วนต่าง ๆ ของร่างกายในองศาการเคลื่อนไหว ปกติแรงกระทำจากภายนอกอาจเกดิ จากแรงคนหรอื แรงโนม้ ถ่วงของโลก พระถวารนาวิริยาคุณ (2554) กล่าวว่า การออกกำลังกาย หมายถึง การดูแลสุภาพร่างกาย แข็งแรง ตลอดเวลา ส่งผลให้ถึงกล้ามเนื้อที่เป็นส่วนสำคัญของร่ายกายมีความทนทาน ยืดหยุ่น และความคล่องแคล่ว ของรา่ งกายดีขึ้น สนธยา สีละมาด (2557) กลา่ วว่า การออกกำลงั กาย หมายถงึ กิจกรรมทางกายทม่ี ีคุณลกั ษณะสำคัญ คือ มีแบบแผน มีระบบและมีการปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอเพื่อปรับปรุงหรือรักษา สมรรถภาพทางกายอย่างใด อย่างหนึ่ง ผู้ออกกำลังกายสามารถเลือกทำในสิ่งที่ตนเองรู้สึกดีหรือพึงพอใจและสามารถมุ่งความสนใจอยู่ที่ ความสนุกสนานของการเคลื่อนไหวแต่ต้องมีการออกแรงระดับหนึ่ง มีการออกแรงมากกว่าการเล่นหรือการ ทำงานในชีวติ ประจำวัน ภาณุพงศ์ คาวชิรพิทักษ์ (2557) กล่าวว่า การออกกำลังกาย หมายถึง การทำตัวให้กระตือรือร้น ตลอดเวลาด้วยการทำกิจกรรมต่าง ๆ โดยไม่อยู่เฉย เช่น การเดินเล่น การทำงานบ้าน การทำสวน เป็นต้น การออกกำลังกายอย่างสมำ่ เสมอจะชว่ ยลดความเสี่ยงตอ่ การเปน็ โรคได้เปน็ อย่างดี โดยเฉพาะอย่างย่ิงโรคอ้วน ความดันโลหิตสูง ท้องผูก โรคหัวใจ โรคเบาหวาน อาการสลบ อันเนื่องมาจากเส้นเลือดในสมองตีบตันรวมไป ถงึ ปัญหาสุขภาพอืน่ ๆ สรุปความหมายการออกกำลังกาย หมายถึง การกระทำกิจกรรมใดใดที่มีการเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายในลักษณะท่าทางต่าง ๆ หรือการออกแรงในการฝึกฝน บริหารร่างกาย เพื่อให้ร่างกายแข็งแรงมี สุขภาพดี มคี วามทนทาน ยืดหยุ่น ความคลอ่ งแคล่ว และช่วยลดความเสีย่ งตอ่ การเปน็ โรค 3. ปจั จัยทีม่ คี วามสมั พันธ์ตอ่ พฤติกรรมการออกกำลงั กาย ปจั จัยการรบั รดู้ ้านสุขภาพ ได้แก่ การรับรู้ประโยชนข์ องการออกกำลังกาย การรบั รู้อปุ สรรคของการ ออกกำลงั กาย การรบั รโู้ อกาสเสีย่ ง และการรบั รคู้ วามรนุ แรงของโรค
10 ปัจจยั สว่ นบคุ คล ได้แก่ ดัชนีมวลกาย และรายได้ 4. ประเภทของการออกกำลังกาย การออกกำลังกายทีท่ ำใหส้ ขุ ภาพร่างกายสมบรู ณ์แขง็ แรงสามารถแบ่งไดห้ ลายประเภทขนึ้ อยกู่ ับเกณฑ์ทใี่ ช้ ในการแบง่ ประเภท ดังน้ี แบ่งตามจดุ ม่งุ หมาย คือ 1. การออกกำลงั กายเพอื่ สุขภาพ เป็นการออกกำลงั กายท่ีเนน้ วิธีการให้รา่ งกายเกดิ การพัฒนาและรกั ษา สขุ ภาพใหส้ มบรู ณ์แขง็ แรง โดยการเลอื กกจิ กรรมทีเ่ หมาะสมท่ที ำใหเ้ กดิ การพัฒนาสขุ ภาพ 2. การออกกำลังกายเพ่ือเล่นกีฬา เป็นการออกกำลังกายชนดิ หน่งึ ซึง่ มีกฎกติกาแนน่ อน แล้วแตช่ นิดของ กฬี าจะแตกตา่ งกันไป 3. การออกกำลงั กายเพ่ือรักษาทรวดทรงและสัดส่วน เปน็ การออกกำลงั กายทเ่ี นน้ การบริหารกายเฉพาะ ส่วน เพือ่ ให้มรี ปู ร่างทส่ี มส่วน 4. การออกกำลงั กายเพอื่ แก้ไขความพกิ าร เปน็ การออกกำลงั กายท่ีเน้นให้อวยั วะหรอื ส่วนตา่ ง ๆ ของ รา่ งกายท่ีอ่อนแอหรือพิการให้แข็งแรงขน้ึ และสามารถทำงานได้ 5. การออกกำลังกายเพื่อความสนกุ สนานเป็นกจิ กรรมนนั ทนาการ เป็นการออกกำลงั กายท่ีเน้นการสง่ เสรมิ สขุ ภาพจติ คลายความเครยี ด ลดความวติ กกังวล และส่งเสรมิ ความสามคั คี แบง่ ตามวยั คือ 1. การออกกำลังกายสำหรับทารก (แรกเกิด - 3 ปี) วัยเด็กทารกระยะนี้กล้ามเนื้อกระดูก ระบบประสาท ต้องมีการเปลีย่ นแปลงอย่างมีสัดส่วนและมคี วามพร้อมก่อน เด็กจึงจะเกิดการเรียนรู้ได้ กิจกรรมการออกกำลังกาย ควรเน้นในเรื่องของการพัฒนาระบบกล้ามเนื้อ ระบบประสาท และความสัมพันธ์ระหว่างประสาทกับกล้ามเนื้อ โดยผูป้ กครองใชม้ ือหรอื อุปกรณ์ (ของเลน่ ) มาชว่ ยเสริมพฒั นาการของเด็ก 2. การออกกำลังกายสำหรับวัยเด็กเล็ก (4 ปี – 6 ปี) เด็กในช่วงวัยนี้มีพัฒนาอย่างมากในด้านจิตใจและ บุคลิกภาพต่อสภาพแวดล้อม ต้องจัดกิจกรรมออกกำลังกายเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ให้แข็งแรงและทำงาน ประสานกันดีข้ึน เพื่อส่งเสริมการเคลื่อนไหวเบื้องต้น กิจกรรมที่ควรจัด คือ ทักษะการเคลื่อนไหวพื้นฐาน เช่น การโยน รบั เตะลูกบอล การเล่นอสิ ระ กจิ กรรมประกอบดนตรี กิจกรรมเลยี นแบบ เกม เป็นต้น 3. การออกกำลังกายสำหรับวัยเข้าเรียน (7 ปี – 11 ปี) วัยนี้เริ่มมีวุฒิภาวะทางเพศ เข้าสู่ระยะของวัยรุ่น กิจกรรมการออกกำลงั กายควรสนองความต้องการทางด้านสงั คมของเดก็ โดยปลูกฝังนสิ ยั รกั การออกกำลังกาย รูจ้ ัก การเข้ากลุ่มยอมรับความสามารถของผู้อื่น และความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยจัดกิจกรรมกีฬาที่ไม่เน้นการ แข่งขนั หรอื กิจกรรมเขา้ จงั หวะ 4. การออกกำลังกายสำหรับวัยรุ่น (12 ปี–18 ปี) วัยนี้ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยามาก การ ทำงานของระบบต่าง ๆ ในร่างกายจะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ควรจัดกิจกรรม การออกกำลังกายหลายๆอย่าง เพื่อให้เด็กมีโอกาสเลือกเล่นกีฬาที่ตนชอบโดยให้มีส่วนเป็นผู้วางแผนการจัดกิจกรรมด้วย เช่น กิจกรรมกีฬาทุก
11 ประเภท (ควรระวังและป้องกันอันตรายจากการบาดเจ็บทางกีฬา) กิจกรรมเข้าจังหวะ กิจกรรมเสริมสร้าง สมรรถภาพทางกาย เป็นต้น 5. การออกกำลังกายสำหรับวัยหนุ่มสาว (19 ปี – 25 ปี) วัยนี้เริ่มเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ เป็นวัยที่มีวุฒิภาวะหรือ การเจริญเติบโตของร่างกายเต็มที่ กิจกรรมการออกกำลังกาย ควรเสริมสร้างในด้านระเบียบวินัยพัฒนา ความสามารถทางกีฬา เสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย ให้เห็นคุณค่าของกิจกรรมกีฬา ได้แก่ กีฬาทุกชนิด การว่ิง วา่ ยนำ้ 6. การออกกำลังกายสำหรับวัยผู้ใหญ่ (26 ปี – 54 ปี) ประสิทธิภาพของร่างกายจะมีสูงสุดเมื่ออายุ 25 ปี หลังจากน้ปี ระสิทธิภาพของร่างกายจะลดลงจนถึง 40-45 ปี จะเร่มิ มีอตั ราเสื่อมถอยมากขน้ึ ปัญหาสำหรับวัยนี้ คือ ความยากลำบากในการปรับตัวด้านประสิทธิภาพของร่างกาย จำเป็นต้องจัดกิจกรรมให้กระตุ้นระบบหายใจ และ ไหลเวียนให้ทำงานดีขึ้น เสริมสร้างความแข็งแรงให้กระดูกไม่ให้แตกหรือเปราะง่าย เพื่อชะลอความแก่ การจัด กจิ กรรมควรเนน้ กจิ กรรมกฬี าเพ่ือสุขภาพท่ีความรนุ แรงปะทะน้อยลง 7. การออกกำลังกายสำหรับวัยสูงอายุ (55 ปีขึ้นไป) วัยนี้ร่างกายจะอ่อนแอลงกล้ามเนื้อหย่อนยาน และเหี่ยวย่น ความสามารถลดลงของข้อต่อ กระดูกเริ่มเสื่อม กิจกรรมการออกกำลังกายควรช่วยปรับสดั สว่ น ทรวดทรง ฟื้นฟูและรักษาสภาพร่างกาย ช่วยกระตุ้นให้ระบบไหลเวียนทำงานดีขึ้น กิจกรรมที่จัดควรเป็น กิจกรรมกฬี าเพ่อื สุขภาพท่ไี ม่มกี ารปะทะและออกแรงเบ่ง แบง่ ตามอุปกรณ์ คือ 1. การออกกำลังกายมือเปล่า เปน็ การออกกำลังกายโดยใช้การเคลอ่ื นไหวของรา่ งกายอย่างมีระเบียบ ระบบ อาจใช้จังหวะนั้นหรือหายใจประกอบกิจกรรมการบริหารร่างกายด้วยมือเปล่า เช่น กายบริหาร โยคะ มวยจีน 2. การออกกำลงั กายใช้อปุ กรณ์ เป็นการออกกำลังกายทตี่ ้องใช้อุปกรณช์ ว่ ยในการออกกำลังกาย เพ่ือ ทำให้กิจกรรมออกกำลังกายสนุกสนาน เร้าความสนใจ ช่วยให้มีรูปแบบการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น เช่น ดนตรี อปุ กรณก์ ฬี า ลูกบอล ไม้ เชอื ก เปน็ ต้น แบง่ ตามลักษณะวธิ ฝี กึ แบ่งออกเปน็ 5 แบบ คือ 1. การออกกำลงั กายแบบเกร็งกลา้ มเนื้ออยกู่ ับที่ไม่มีการเคลื่อนไหวหรือการออกกำลังกายแบบไอโซเมตริก (Isometric exercise) เป็นวิธีการฝึกออกกำลังกายโดยการที่กล้ามเนื้อหดเกร็งตัวเฉพาะส่วน ความยาวของเส้นใย กล้ามเนื้อคงที่ไม่เปลี่ยนแปลง ทำให้ร่างกายส่วนที่ออกกำลังกายไม่มีการเคลื่อนที่ วิธีการฝึกแบบนี้เป็นวิธีการออก กำลังกายที่ไม่ต้องใช้อุปกรณ์ประกอบ สามารถปฏิบัติได้ทุกสถานที่ทุกเวลา เช่น การยกน้ำหนักเข้าหาลำตัวในท่า วดิ พน้ื (ยบุ ข้อ) ขณะท่ลี ำตัวลงพืน้ ทงั้ นี้ ไม่เหมาะสำหรบั คนท่เี ป็นโรคหวั ใจ และโรคความดันเลือดสูง 2. การออกกำลงั กายท่ีมีการยืดหด ตัวของกล้ามเน้ือหรือการออกกำลังกายแบบไอโซโทนิก (Isotonic exercise) เป็นวิธีการฝึกออกกำลังกายโดยกล้ามเนื้อหดตัวและคลายตัวเพื่อรับน้ำหนักทั้งที่เป็นอุปกรณ์ เช่น ดัมเบลหรือน้ำหนักตัวผู้ฝึกเอง วิธีการฝึกแบบนี้เป็นการบริหารกล้ามเนื้อมัดต่าง ๆ ให้มีความแข็งแรงโดยตรง ทำให้กลา้ มเนอ้ื โตและแข็งแรงข้นึ
12 3. การออกกำลังกายแบบให้กล้ามเนื้อทำงานอยา่ งสม่ำเสมอ ตลอดการเคล่ือนไหวหรือการออกกำลัง กายแบบไอโซคิเนติก Isokinetic exercise เป็นการออกกำลังกาย โดยให้ร่างกายต่อสู้กับแรงต้านทานด้วย ความเร็วคงที่ นับเป็นการออกกำลังกายที่ต้องอาศัยการประดิษฐ์เครื่องมือออกกำลังกายที่ประกอบเข้ากั บ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถกำหนดความหนัก-เบาของกิจกรรมให้เหมาะสมกับผู้ใช้อุปกรณ์ เพียงแต่ผู้ใช้ อุปกรณ์ใส่ข้อมูลเฉพาะด้านบางอย่าง เช่น อายุ น้ำหนักตวั และเลือกโปรแกรมที่หนัก-เบา ได้ตามสมรรถภาพ ทางกายของผฝู้ กึ ซึ่งนับเปน็ การออกกำลงั กายแบบใหม่ เชน่ การขจ่ี กั รยานวัดงาน การวิ่งบนลู่กล และการก้าว ข้ึนลงของฮาร์วาร์ด 4. การออกกำลงั กายไม่ใชอ้ อกซิเจนหรอื แบบแอนแอโรบกิ (Anaerobic exercise) เป็นการออกกำลังกายโดยใช้พลังงานที่สะสมอยู่ในกล้ามเนื้อในรูปของ ไกลโคเจน สลายออกมาเป็นพลัง โดย ไม่มีการใช้ออกซิเจน ทำให้ออกแรงได้ทันทีอย่างหนักและรวดเร็ว แต่มีข้อเสีย คือ พลังงานนี้จะหมดไปอย่าง รวดเร็วเช่นกันภายในไม่กีน่ าที และเกิดกรดแลคติค (Lactic acid) ซึ่งเป็นต้นเหตุทำให้เกิดอาการเมือ่ ยล้าของ กล้ามเนื้อ (Fatigue) ลักษณะของการออกกำลังกายแบบนี้จะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ใช้เวลาสั้นๆ โอกาสที่จะทำ ให้กล้ามเนื้อฉีกขาดมีสูง ดังนั้นการอบอุ่นร่างกายมีความสำคัญมากต่อการออกกำลังกายแบบนี้ เช่น การวิ่ง ระยะสั้น (วิ่ง 100 เมตร) การยกน้ำหนัก (Weight lifting) จะเห็นว่า การออกกำลังกายชนิดนี้จึงไม่เสริมสร้าง ความอดทนของกล้ามเน้อื หัวใจและปอด 5. การออกกำลังแบบใช้ออกซิเจนหรือแบบแอโรบิก (Aerobic exercise) โดยเผาผลาญพลังงาน ทั้งหมดจากไกลโคเจน และไขมัน โดยมีออกซิเจนจากการหายใจช่วยสันดาป ผลของการออกกำลังกายแบบน้ี ทำให้เกดิ ความเม่ือยล้าน้อยกวา่ แบบไม่ใชอ้ อกซเิ จน สามารถออกกำลังกายไดน้ านเป็นชวั่ โมง เน่ืองจากไขมันท่ี มีอยูใ่ นรา่ งกายมีจำนวนมาก นอกจากนย้ี ังสามารถสังเคราะห์พลังงานท่ีใชแ้ ล้วนำกลบั มาใช้ใหม่ได้อีก การออก กำลังกายแบบนี้จะต้องใช้กล้ามเนื้อใหญ่ โดยเฉพาะแขน ขา ทำงานติดต่อกันเป็นจังหวะสม่ำเสมออย่าง ต่อเนื่อง เป็นระยะเวลานานพอ จึงทำให้เกิดการพัฒนาการทำงานของหัวใจ ปอด และระบบไหลเวียนเลือด การออกกำลังกายแบบนี้จะใช้พลังงานจากไขมันทส่ี ะสมอยู่ในร่างกาย มีผลทำใหน้ ้ำหนักตัวลดลง เช่น เดินเร็ว ว่งิ เหยาะ ถีบจกั รยาน กระโดดเชือก วา่ ยนำ้ และเตน้ แอโรบกิ (Aerobic dance) เป็นตน้ 5. ชนดิ ของการออกกำลงั กายเพือ่ สุขภาพ แบ่งตามวธิ ีการเล่น ไดแ้ ก่ 1. กายบริหารทั่วไป ให้ผลดีกับความแคล่วคล่องของระบบการเคลื่อนไหว ได้แก่ กล้ามเนื้อ ข้อต่อ และกระดูก เป็นต้น เหมาะสมกับเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ ผู้ฟื้นฟูร่างกายหลังเจ็บป่วย และผู้ป่วยที่อยู่ในความดูแล ของแพทย์ และยังใช้เป็นการอบอุ่นร่างกายก่อนหรือผ่อนคลายร่างกายหลังออกกำลังกายหนักได้อีกด้วย การปฏิบัติควรใช้เวลา 10-15 นาทตี อ่ วัน 2. กายบรหิ ารพเิ ศษ ใหผ้ ลดีตา่ งกันไปตามกจิ กรรมที่ใช้ เช่น ทำใหก้ ล้ามเน้อื แขง็ แรงระบบหายใจ และ ไหลเวียนเลือด และความอ่อนตัวดีขึ้น เป็นต้น วัตถุประสงค์เพื่อเน้นด้านจังหวะการหายใจ ความหนักในการ ออกกำลังกายและทางจิตใจโดยเฉพาะ เหมาะสมกับทุกเพศและทุกวัน ได้แก่ โยคะ รำมวยจีนหรือแกว่งแขน เป็นต้น การปฏบิ ัติควรใชเ้ วลา 20-30 นาทีต่อวัน
13 3. เดินเพื่อสุขภาพ ให้ผลดีกับการฝึกความอดทนของระบบหายใจ และไหลเวียนเลือดความแข็งแรง และความอดทนของกล้ามเนื้อ เป็นต้น เหมาะสมกับทุกเพศและทุกวัย โดยเฉพาะเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ ผู้ฟื้นฟู ร่างกายหลังเจ็บปว่ ย และผปู้ ่วยท่ีอย่ใู นความดแู ลของแพทย์ 4. วิ่งเพื่อสุขภาพหรือวิ่งเหยาะ ๆ ให้ผลดีเชน่ เดียวกับการเดินเพือ่ สุขภาพ แต่ควรจะเป็นผู้ท่ีมสี ขุ ภาพ รา่ งกายพร้อมมากกว่า เหมาะสมกบั ทกุ เพศและวัย โดยเฉพาะในวัยเดก็ วยั หนมุ่ สาม และวัยผใู้ หญ่ 5. ถีบจักรยานเพื่อสุขภาพ เหมาะสมกับทุกเพศและทุกวัย โดยเฉพาะผู้ที่มีน้ำหนักตัวเกินปกติ และมี ปญั หาข้อเขา่ หรอื ข้อเทา้ อกี ดว้ ย การปฏิบตั ใิ หไ้ ดร้ ะยะทาง 1 กโิ ลเมตรใชเ้ วลาประมาณ 3 นาที (อัตราความเร็ว 20 กม./ชม.) 6. ว่ายนำ้ เพอ่ื สุขภาพ เหมาะสมกับทุกเพศ และทกุ วัย โดยเฉพาะผู้ทนี่ ้ำหนักตัวเกินปกติ และมีปัญหา ข้อเข่าหรอื ขอ้ เท้าอีกด้วย ควรวา่ ยอยา่ งต่อเนื่อง โดยใชเ้ วลา 20-30 นาที ต่อวัน 7. เต้นแอโรบกิ เพือ่ สุขภาพ เป็นกิจกรรมท่ไี ดร้ บั ความนิยมมากอยา่ งหนึ่ง เหมาะสมกบั ทกุ เพศ และทุก วัย ให้ความสนุกสนานเพลินเพลิน เกิดผลดีกบั ระบบหายใจและไหลเวยี นเลือด ความแข็งแรงและความอดทน ของกลา้ มเน้ือทว่ั ร่างกาย ความคลอ่ งตัว และความอ่อนตวั อีกด้วย การปฏิบตั ิควรเต้นอยา่ งต่อเนื่องให้ได้อย่าง นอ้ ยวันละ 20-30 นาที อย่างสม่ำเสมอ 8. การเตน้ เหยาะ ๆ หรือการกระโดดเชอื ก ลงเทา้ คู่อย่างตอ่ เนือ่ งให้ได้อยา่ งน้อยวนั ละ 10-15 นาที 9. โยคะ ก็คือการบริหารร่างกายในท่าต่าง ๆ ร่วมกับการหายใจเข้า-ออก จนจิตกับร่างกายรวมเป็น อนั หน่ึงอันเดยี วกนั การฝกึ โยคะจะเป็นการช่วยบริหารกล้ามเนื้อ ตับ ไต เส้นเลอื ด หวั ใจ ปอด ม้าม และข้อต่อ กระดูกสันหลัง ช่วยบริหารให้ร่างกายให้แข็งแรง ทรวดทรงดี สุขภาพจิตดี ร่าเริง แจ่มใส และยังช่วยบำบัด อาการเจบ็ ปว่ ยบางอยา่ งได้ 10. เล่นกีฬาทชี่ อบหรอื ถนัด และเกมตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ฟตุ บอล บาสเกตบอล เทนนสิ แบดมนิ ตนั วิง่ เป้ียว ชักเย่อ กระโดดเชือก และยกน้ำหนัก เป็นต้น แต่ควรจะมีการดัดแปลงเทคนิคต่าง ๆ ให้สะดวก ง่าย และ ปลอดภัยตอ่ การเลน่ มากท่ีสดุ เหมาะสมกบั เพศ วัย และสภาพร่างกาย การปฏบิ ตั ิควรเล่นใหไ้ ด้อย่างนอ้ ยวันละ 60-90 นาที 6. หลกั การออกกำลังกายเพ่ือสุขภาพ การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ถ้าจะให้ได้รับประโยชน์อย่างแท้จริง ควรจะปฏิบัติให้ถูกต้องตามหลกั และวธิ ี หลักการออกกำลังกายเพอ่ื สขุ ภาพ ควรยึดหลกั ดงั น้ี 1. ในกรณีที่ไม่ใช่คนหนุ่มสาวผู้ออกกำลังกายควรให้แพทย์ตรวจอย่างละเอียด ก่อนที่จะเข้าร่วม กิจกรรมทเี่ ก่ียวการออกกำลงั กายทุกประเภท 2. ถ้าผู้ออกกำลังกายป่วยหรือเป็นไข้หรือได้รับบาดเจ็บ ภายหลังจากการออกกำลังกาย ควรจะ ปรกึ ษาแพทย์ทันทีก่อนท่จี ะออกกำลังกายต่อไป 3. พยายามตั้งจุดมุ่งหมายของการออกกำลังกายและหากิจกรรมออกกำลังกายที่ปฏิบัติแล้ว จุดมุ่งหมายนั้น เช่น จุดมุ่งหมายของการออกกำลังกาย มีเพื่อจะลดน้ำหนักส่วนเกิน ผู้ที่ออกกำลังกายควรหา
14 กิจกรรมการออกกำลงั กาย ประเภทแอโรบิก ได้แก่ การวิง่ หรือการวา่ ยนำ้ เป็นต้น การท่จี ะบรรลจุ ุดมุ่งหมายนี้ จำเป็นต่อผู้ที่ออกกำลังกายจะต้องมีความพยายามสูงกว่าเพราะว่ากา รที่จะบรรลุจุดมุ่งหมายได้นั้นต้องกิน เวลานานพอสมควร อย่าคาดหวังว่าจุดมุ่งหมายจะบรรลุในระยะเวลาเพียงสั้นๆ อันที่จริงการออกกำลังกาย เปน็ สิ่งที่ควรปฏิบัติตลอดชวี ติ ทงั้ นเ้ี พือ่ ใหร้ า่ งกายมีสขุ ภาพทแ่ี ขง็ แรงตลอดเวลา 4. กำหนดเวลาที่จะออกกำลังกายให้แน่นอน และปฏิบัติตามเวลาที่กำหนดไว้ เช่น อาจจะเป็นตอน เช้ามืดหรือตอนเย็น ถ้าเลือกออกกำลังกายในตอนเย็น ก็ควรจะปฏิบัติแต่ในตอนเย็นทั้งนี้เพื่อให้ร่างกายเกิด ความเคยชิน พยายามบรรจุการออกกำลงั กายใหเ้ ป็นสว่ นหนงึ่ ของชีวติ ประจำวนั 5. เวลาที่ผู้ออกกำลังกายเลือกปฏิบัติไม่จำเป็นที่จะต้องเป็นเวลาเช้าหรือตอนเย็นแต่จะเป็นช่วงเวลา ใดกไ็ ด้ที่จะปฏบิ ตั ิไดอ้ ย่างสะดวก โดยไม่รบกวนเวลาทำงาน อย่าพยายามออกกำลังกายหลังรบั ประทานอาหาร เพราะอาจทำใหอ้ ดึ อัดขณะออกกำลังกาย 6. เพื่อให้ร่างกายสามารถปรับตัวกับการออกกำลังกายในแต่ละครั้งได้ดี ผู้ออกกำลังกายควรมี การ อบอนุ่ รา่ งกายกอ่ น แลว้ จึงคอ่ ย ๆ เริม่ เขา้ สู่การออกกำลังกายทแี่ ท้จรงิ ในขณะทกี่ ำลังออกกำลังกาย ควรปฏิบัติ ใหถ้ กู ต้องตามวิธี และหลกั การควรปฏิบัตใิ นท่าออกกำลังกายท่ีง่าย ๆ กอ่ นแล้วจึงค่อย ๆ เพ่ิมเป็นท่าที่ยากขึ้น ไปตามลำดับปริมาณของการออกกำลังกาย จะป้องกันไม่ให้กล้ามเนื้อเกิดการเมื่อยล้า และในแต่ละครั้งของ การออกกำลังกาย อย่าออกกำลังกายให้เหนื่อยมากจนเกินไป เพราะอาจทำให้กล้ามเนื้อเกิดการเมื่อยล้าได้ อาการเมื่อยล้าของกล้ามเนื้อ อาจเกิดขึ้นจากความไม่คุ้นเคยกับกิจกรรมที่ปฏิบัติ ฉะนั้นพยายามปฏิบัติซ้ำ เพื่อให้ร่างกายเกิดความชินกับกิจกรรม อาการเมื่อยล้านั้นจะหายไปเอง เมื่อร่างกายเกิดความเคยชินกับ กิจกรรมนั้น ๆ 7. พยายามสังเกตว่าเมื่อไหร่ร่างกายจึงจะเหนื่อยมากเกินไป เช่น การเวียนหัว การเจ็บอก การท่ี กล้ามเน้ือควบคุมไม่ไดห้ รือการหายใจไมท่ ัน เปน็ ต้น จงหยุดการออกกำลงั กายทันทีเมือ่ อาการเหลา่ นปี้ รากฏ 8. พยายามออกกำลังกายเพื่อให้กล้ามเนื้อทุก ๆ ส่วนของร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ อย่าเน้นเพียง กลา้ มเน้อื เพยี งบางส่วน ควรระมัดระวงั เปน็ พเิ ศษเมือ่ ปฏบิ ัตกิ ารออกกำลงั กายทีเ่ กย่ี วกับกล้ามเนื้อท้อง ควรจะ เรมิ่ ปฏบิ ัตใิ นท่าทไ่ี ม่ยากนกั และควรปฏิบตั ิดว้ ยปรมิ าณที่น้อยกอ่ นและจึงเพ่ิมปรมิ าณขนึ้ ตามลำดบั อย่าหักโหม เพราะจะทำให้เกิดตะครวิ ท่กี ล้ามเน้ือท้องในระหว่างการออกกำลงั กาย ซึ่งเป็นอนั ตรายตอ่ ร่างกาย 9. อย่าปฏิบัติแต่ท่าออกกำลังกายที่ง่าย ๆ พยายามปฏิบัติท่าออกกำลังกายที่จะทำให้ส่วนที่อ่อนแอ ของร่างกายกลับสู่สภาพที่แข็งแรง 10. ช่วงเวลาการออกกำลังกายเป็นช่วงที่ให้ความสนุกสนานแก่ผูอ้ อกกำลังกาย พยายามหาการออก กำลังกายแปลกใหม่ พยายามออกกำลังกายกับเพื่อนหรือออกกำลังกายโดยมีเสียงดนตรีประกอบ พยายาม ออกกำลังกายอยใู่ นช่วงสัน้ ๆ ไม่ต่ำกวา่ 20 นาที และไมค่ วรเกนิ 60 นาที ตลอดจนควรปฏบิ ัตติ ามโปรแกรมท่ี กำหนดไว้ เพอื่ จะไดไ้ ม่เกดิ ความเบอ่ื หนา่ ยในการออกกำลงั กาย 11. ในกรณีท่ีผอู้ อกกำลังกายต้องการวดั สัดสว่ นของตนเองว่ามีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ ใหว้ ัดในช่วงที่ ไม่ได้ออกกำลังกาย อย่าวัดสัดส่วนของร่างกายทันทีหลังจากออกกำลังกาย เพราะกล้ามเนื้อมีแนวโน้มที่จะมี ขนาดเพมิ่ ข้นึ ระหว่างการออกกำลงั กาย
15 12. สตรีสามารถออกกำลังกายได้ในช่วงที่มีระดู การขาดการออกกำลังกายที่เพียงพอ จะทำให้เกิด การปวดระดู (Dysmenorrhea) 13. เมื่อสิ้นสุดการออกกำลังกายแต่ละครั้งผู้ออกกกำลังกายควรอาบน้ำอุ่น เพื่อให้ร่างกายเกิด ความรูส้ กึ สดชื่น และทำให้กล้ามเนอ้ื ทุกสว่ นในรา่ งกายไดผ้ อ่ นคลายการจับชพี จรในระหว่างการออกกำลังกาย อัตราการเต้นของหวั ใจหรือชีพจรใช้เป็นเคร่ืองบอกความหนักของการออกกำลังกายแบบแอโรบิก ซ่ึง ควรรักษาไวใ้ หอ้ ย่ใู นชว่ ง 50% - 85% ของอัตราการเตน้ ของหัวใจสูงสุด (MHR) การจับชีพจร อาจจับที่ข้อมือหรือต้นคอ ควรใช้ระยะเวลาสั้นเพียง 10 วินาที เพราะเวลาจับชีพจรผู้ ออกกำลังกายมักจะหยุดออกกำลังกาย ทำให้ชีพจรตกลงอย่างรวดเร็ว ถ้าจับชีพจรใช้เวลาที่นานกว่านี้อาจ ได้ผลคลาดเคลอ่ื นไปจากทีเ่ ปน็ จริง การกำหนดปริมาณการออกกำลังกาย โดยเน้นถึงส่ิงต่อไปนี้ - การจบั ชีพจรในระหว่างการออกกำลังกาย การวดั ทีแ่ ม่นยำ ทำไดโ้ ดยใช้เครอ่ื งวัดชพี จรติดตามตัว ซ่ึงจะมตี ัวเลขบอกชีพจรได้ทุกนาที ขณะผู้ออก กำลังกายสามารถอ่านชีพจรได้โดยไม่ต้องหยุดออกกำลัง แต่เครื่องมือชนิดนี้มีราคาแพง และอาจทำให้ผู้ออก กำลังกายบางคนรสู้ กึ ยงุ่ ยากทจ่ี ะใช้และรู้สึกรำคาญ วิธีการตรวจวัดความหนักในการออกกำลังกายที่ง่ายที่สุด โดยเฉพาะระหว่างการออกกำลังกาย คือ การสังเกตการหายใจโดยผู้ออกกำลังกายเอง การหายใจควรเป็นไปอย่างสบาย แรงลกึ และสม่ำเสมอ สามารถ พูดคยุ ได้โดยไม่เหนื่อยหอบ ถา้ หายใจไม่ทัน ไม่สามารถพดู ได้ แสดงว่าออกกำลังหนักเกินไป ต้องผ่อนการออก กำลังกายให้เบาลง ในทำนองเดียวกนั ถ้าต้องการตรวจสอบว่าไดอ้ อกกำลังหนักพอเพียงหรือไม่ให้ผู้ออกกำลัง ร้องเพลงสกั หน่ึงท่อนด้วยเสยี งดังพอสมควร ถา้ ยงั รอ้ งได้แสดงว่าออกกำลังเบาไป ต้องเพิ่มให้หนักจนร้องเพลง ไมอ่ อก แตย่ ังพดู ไดอ้ ย่จู งึ นบั ว่าใช้ได้ - ระยะเวลา (duration) ของการออกกำลังกายแตล่ ะครั้ง ความสามารถที่จะออกกำลังกายแต่ละคร้ัง ได้นานเพียงใดนั้น ขึ้นอยู่กับการฝึกฝนที่ผ่านมา และความหนักในการออกกำลัง แต่ถ้าจะให้ได้ผลในด้าน สุขภาพของหัวใจ ปอด จะต้องใช้เวลาประมาณ 15 ถึง 60 นาที โดยในระยะเร่ิมต้นนั้นอาจออกกำลงั กายด้วย ความหนักขน้ั ตำ่ เชน่ ประมาณ 60 - 70 % ของอตั ราเต้นหัวใจสูงสุดนาน 15 - 20 นาที โดยใหเ้ วลาในการอุ่น กาย (Warm - up) และผ่อนหยุด (Cool down) เมื่อร่างกายมีการปรับตัวตามจนทนได้ดีแล้ว จึงค่อย ๆ เพ่ิม ความหนักและเพิ่มเวลาขึ้นจนถึง 60 นาที หรอื เฉล่ียควรจะประมาณ 30 นาทตี อ่ ครั้ง การออกกำลังกายท่ีนาน กว่า 60 นาที เป็นการฝึกความทนทานเพื่อการแข่งขัน แต่จะไม่มีความจำเป็นในด้านการเสริมสร้างสุขภาพ แนวปฏิบัติอีกข้อหนึ่ง คือ หลังออกกำลังกายไปแล้ว 1 ชั่วโมงยังรู้สกึ เหนื่อยเพลยี อยู่ แสดงว่าความหนักและ/ หรือระยะเวลาที่ใช้น่าจะมีขนาดมากเกินความพอดี ความบ่อย (Frequency) ในการออกกำลังกาย ถ้ามี สุขภาพดีอยู่เดิม การออกกำลังกายสัปดาห์ละ 3 - 5 ครั้ง ก็จะได้ประโยชน์ในการฝึกความทนทานของหัวใจ - ปอด สำหรับผู้ที่เพิ่งจะเริ่มต้นอาจออกกำลังกายวันเว้นวันไปก่อน จนกระทั่งระดับสมรรถภาพทางกายดี พอแล้วจึงเพ่ิมความบ่อยขึ้นดงั กล่าว ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพ เช่น ไม่สามารถเดินเร็วหรือวิ่งเหยาะด้วยความเร็วได้ ไม่เกิน 5 - 6 กโิ ลเมตร/ชัว่ โมง อาจออกกำลังกายวนั เว้นวนั วนั ละหลาย ๆ ครงั้ คร้งั ละ 5 - 10 นาทีก็ได้
16 7. ประโยชน์ของการออกกำลังกาย (ฐิติกร โตโพธ์ิไทย และคณะ, 2560: 15-16) 1. ทางด้านรา่ งกาย การออกกำลังกายชว่ ยใหอ้ วยั วะตา่ ง ๆ ของร่างกาย มีการทำงานรว่ มกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพทำให้ร่างกายมีความแข็งแรงสมบูรณ์มภี ูมิต้านทานโรค และสามารถประกอบกิจกรรมต่าง ๆ ใน ชวี ติ ประจำวันไดอ้ ย่างเต็มที่ ซ่ึงการออกกำลังกายน้นั อวยั วะต่าง ๆ ในรา่ งกายจะมกี ารเปลี่ยนแปลง ดังนี้ 1.1 ระบบไหลเวียนโลหิต การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอทำให้ปริมาณของโลหิตในร่างกายเพิ่มขึน้ เพราะขณะออกกำลังกายมคี วามจำเปน็ ต้องใชโ้ ลหิตในการรกั ษาระดับอุณหภูมิ และใช้ออกชเิ จนในการสันดาป ปริมาณของโลหิต ทำให้ปริมาณของโลหิตแดงมีมากขึ้น เส้นเลือดจึงจำเป็นต้องขยายและหดตัวบ่อยขึ้น การยืดหยุ่นตัวของเส้นเลือดดีขึ้น ซึ่งเป็นการช่วยป้องกันไม่ให้เสน้ เลอื ดแข็งตัวหรือเปราะได้ง่าย และสามารถ นำโลหิตไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของกล้ามเนื้อได้มากขึ้น และนอกจากนี้การออกกำลังกายเป็นประจำอย่าง สม่ำเสมอจะทำใหก้ ารสะสมกรดแลกติกที่เปน็ ตวั การที่ทำให้เกิดการเป็นตะคริวที่กล้ามเน้ือเป็นไปได้ใช้ และทำ ให้ร่างกายมีเวลาในการกำจัดกรดแลกติกให้ออกจากกล้ามเนื้อ เป็นผลทำให้เมื่อออกกำลังกายร่างกายจะ เหน่อื ยช้าลง 1.2 ระบบหัวใจ เมื่อร่างกายมีการออกกำลังกายกล้ามเนื้อหัวใจจะทำหน้าที่สูบฉีดโลหิตไปเลี้ยงส่วน ต่าง ๆ ของร่างกาย และถ้าบุคคลมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอจะทำให้กล้ามเน้ือหวั ใจแข็งแรง สามารถ สูบฉีดโลหิตไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายในแต่ละครั้งมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น จากการศึกษาพบว่าปริมาณ โลหิตที่สูบฉีดในแต่ละครั้งในคนที่ไม่ค่อยออกกำลังกาย ในขณะออกกำลังกายสูงสุดจะมีปริมาณเลือดเพียง 15 - 20 ลิตร/นาที แต่ในคนที่ออกกำลังกายเป็นประจำในขณะออกกำลังกายสูงสุดจะมีปริมาณเลือดถึง 35 - 40 ลติ รต่อนาที 1.3 ระบบกลา้ มเน้ือ การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอจะทำให้กล้ามเนื้อมคี วามเหนียว และหนามาก ขึ้น ทำให้กล้ามเนื้อแข็งแรงขนาดของกล้ามเนื้อโตขึ้น และมีความสามารถในการประกอบกิจกรรมการออก กำลังกายหรือการทำงานต่าง ๆ ได้ดี และมีประสิทธิภาพมากขึ้นโดยไม่เหนื่อยหรือเมื่อย นอกจากนี้จะทำให้ รา่ งกายท่ผี ่านการออกกำลังกายมาแลว้ สามารถกลับเข้าสสู่ ภาวะปกตไิ ด้เรว็ กว่าผูท้ ี่ไม่ออกกำลังกาย 1.4 กระดูกแข็ง กระดูกอ่อน เอ็นและข้อต่อต่าง ๆ การออกกำลังกายจะทำให้เอ็นและข้อต่อต่าง ๆ สามารถยืดและหดตัวได้ดีขึ้นมผี ลให้ร่างกายมคี วามสามารถในการเคลื่อนไหวได้มากกว่าปกติ กระดูกแข็งแรง ขึ้นและนอกจากนี้การออกกำลังกายเป็นประจำสามารถช่วยลดอัตราการบาดเจ็บจากการออกกำลังกาย และ เล่นกีฬาอีกดว้ ย เพราะองคป์ ระกอบในการเคล่ือนไหว เชน่ กระดูก เอน็ และเอน็ ข้อต่อตา่ ง ๆ มีความแข็งแรง ขน้ึ หรือถ้าเกดิ อุบัตเิ หตใุ นการออกกำลังกายกส็ ามารถกลับเขา้ ส่สู ภาวะปกติไดเ้ รว็ ข้ึน 1.5 ปอด การออกกำลงั กายช่วยทำใหป้ อดเกบ็ อากาศได้มากข้ึน เน่อื งจากกลา้ มเนื้อที่ช่วยในการขยาย กระบังลมทำงานได้ดีขึน้ และยังช่วยใหก้ ารแลกเปลี่ยนระหวา่ งก๊าซออกซิเจนกบั ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ดีขึน้ และนอกจากนี้การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอจะช่วยในการป้องกันโรคต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากความบกพร่อง ของระบบไหลเวียนโลหิตไต้ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ เป็นตัน และยังสามารถควบคุมน้ำหนักของ ร่างกายใหอ้ ยใู่ นปริมาณที่เหมาะสมกบั ตนเองได้อีกดว้ ย 2. ทางด้านอารมณ์และจิตใจ การออกกำลังกายนอกจากจะทำให้ร่างกายแข็งแรงแล้วยังทำให้จิตใจ
17 รา่ เริงแจม่ ใสชว่ ยลดความเครียด ลดความวติ กกงั วล การตน่ื เต้น ความโกรธ ความกลัว และยงั ก่อใหเ้ กดิ ความมี น้ำใจเปน็ นักกีฬา มีเหตผุ ล สขุ มุ รอบคอบ รจู้ ักอดทน อดกล้ัน มีสติ สามารถควบคมุ อารมณ์ตนเองได้ และช่วย ป้องกนั โรคจิตและโรคประสาทได้ 3. ทางด้านสติปัญญา การออกกำลังกายทำให้สมองปลอดโปร่ง มีความคิด สร้างสรรค์ มีความคิดใน การหาหนทางเอาชนะคู่ต่อสู้ในเกมกีฬา ซึ่งบางครั้งสามารถนำไหวพริบ และความคิดสร้างสรรคด์ ังกล่าวมาใช้ ในการดำเนินชีวิตได้ เพราะการออกกำลังกายร่วมกับคนหมู่มากทำให้เกิดความเข้าใจ และเรียนรู้พฤติกรรม ผู้อื่นก่อให้เกิดความเอื้อเฟื้อ ความอดกลั้น ความสุขุมรอบคอบ ความมีมนุษย์สัมพันธ์และสามารถอยู่ร่วมกัน ในด้านต่าง ๆ ทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์และจิตใจ ด้านสติปัญญาและด้านสังคม ส่งผลต่อการมีสุขภาพที่ดี และสามารถอยู่ในสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสุข 8. โทษของการไม่ออกกำลงั กาย (National Library of Medicine, 2017) การท่ีวัยรุ่นมีการออกกำลังกายนอ้ ยหรอื ไม่เพยี งพอจะสง่ ผลกระทบตอ่ ปัญหาสขุ ภาพตามมา ดังนี้ 1. ถ้ามีการเผาผลาญแคลอรี่น้อยลง ทำใหม้ ีแนวโนม้ ทจี่ ะน้ำหนักตวั มากขึน้ 2. ทำใหน้ ำ้ หนกั เพิ่มกลา้ มเนื้อจะสญู เสยี ความแขง็ แรง เพราะมีการใช้กล้ามเนือ้ ไม่เพียงพอ 3. กระดกู จะมีความเปราะบาง และสูญเสียแร่ธาตบุ างชนดิ 4. มผี ลตอ่ กระบวนการ Metabolism ทำใหม้ ปี ญั หาในการเผาผลาญไขมนั และน้ำตาล 5. ประสทิ ธภิ าพการทำงานของระบบภมู ิคุ้มกนั ลดลง ร่างกายมโี อกาสตดิ เช้ือไดง้ า่ ยขึ้น 6. การไหลเวียนโลหติ มปี ระสิทธภิ าพลดลง 7. การพัฒนาของฮอรโ์ มนไมส่ มดุล นอกจากนี้ เจริญทัศน์ จินตนเสรี (2553) กล่าวว่า การไม่ออกกำลังกายส่งผลกระทบในด้านสังคม และจิตใจของวัยรุ่น คอื คนทีข่ าดการออกกำลังกายมักเกบ็ ตัว มีเพอื่ นน้อย จิตใจไมส่ ดชน่ื รา่ เริง บางรายหันไป หาอบายมุขหรือยาเสพติด ซึ่งเป็นปัญหาใหญ่ของสังคมปัจจุบัน นอกจากนั้นการที่ได้มีการออกกำลังกายเป็น ประจำมาตงั้ แตเ่ ล็กทำให้เดก็ มนี สิ ยั ชอบออกกำลงั กายไปจนเป็นผู้ใหญ่ ตรงกนั ข้ามเดก็ ท่ีขาดการออกกำลังกาย ซึ่งจะมีนิสัยไม่ชอบออกกำลังติดตัวไป และจะได้รับผลร้ายของการขาดการออกกำลังกายมากยิ่งขึ้นเมื่อเป็น ผใู้ หญ่ และอสั มาอ์ วาลีวาโด (2557) ไดก้ ล่าวถึงโทษของการไม่ออกกำลังกาย ดังตอ่ ไปน้ี 1. การเจริญเตบิ โต การออกกำลังกายจะทำให้กระดูกของวัยรุ่น มีความแข็งแกร่ง คงทน และมีความ หนาเนื่องจากมีการเพ่มิ การสะสมของแรธ่ าตุพวกแคลเซียมในกระดูก วัยรุ่นทขี่ าดการออกกำลังกายกระดูกจะ เล็ก เปราะบางและขยายดา้ นความยาวไดไ้ ม่เท่าท่ีควรทำให้เตบิ โตช้าและแคระแกร็น 2. รูปร่างทรวดทรง วัยรุ่นบางคนกินอาหารมากแต่ขาดการออกกำลังกาย จึงทำให้เป็นโรคอ้วน โรค ภาวะโภชนาการเกิน และมีกล้ามเนื้อน้อย ทำให้มีรูปร่างไม่สมส่วน คือ บางคนอาจมีรูปร่างที่ผอมเกินไป บาง คนก็อ้วนเกินไป และรูปร่างไม่สมประกอบ เช่น ขาโก่งหรือเข่าชิดกัน ศีรษะเอียงหรือตัวเอียง เป็นต้น 3. สขุ ภาพท่ัวไป วัยรุ่นทีข่ าดการออกกำลังกายจะอ่อนแอ มีความต้านทานโรคต่ำ เจบ็ ป่วยไดง้ ่าย เมื่อ
18 เกิดความเจ็บป่วยจะหายช้า และมีโอกาสที่จะเกิดโรคแทรกซ้อนได้ง่าย ซึ่งปัญหาเหล่านี้จะมีผลกระทบจนถึง วยั ผู้ใหญ่ 4. สมรรถภาพทางกาย การออกกำลังกายแบบไม่หนักมาก แต่ใช้เวลานานติดต่อกันทำให้เพิ่มความ อดทนให้กับร่างกาย โดยเพิ่มสมรรถนะของระบบหายใจและระบบไหลเวียนเลือด วัยรุ่นที่ขาดการออกกาลัง กายจะมีข้อเสียในการเลน่ กีฬา เพราะจะมีการประสานงานระหว่างกลา้ มเน้ือ และระบบประสาทตำ่ จึงมกั ได้รับ อบุ ตั เิ หตไุ ด้งา่ ย 5. ด้านสังคมและจิตใจ การออกกำลังกายจะทำให้วัยรุ่นรู้จักปรับตวั เข้ากับสงั คมจะมีความเชือ่ มั่นสูง ร่าเริง แต่วัยรุ่นทีข่ าดการออกกำลงั กายมกั จะเก็บตัว มีเพื่อนน้อย บางรายหันไปพึ่งยาเสพติด ซึ่งจะกลายเป็น ปญั หาของสังคมต่อไป ส่วนวยั รนุ่ ทอ่ี อกกำลังกายเปน็ ประจำเมื่อเตบิ โตเป็นผู้ใหญ่ จะมีนสิ ัยชอบออกกำลังกาย ติดตวั ไปดว้ ย จากทกี่ ลา่ วมาจะเหน็ ได้วา่ วยั รนุ่ เป็นวยั ท่ีเช่อื มต่อระหวา่ งวยั เดก็ และวัยผใู้ หญถ่ อื เปน็ วัยหัวเล้ียว หัวต่อของชีวิตที่สำคัญ เด็กวัยรุ่นจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากทั้งร่างกายและจิตใจ วัยรุ่นจึงต้องมีการดูแล สขุ ภาพของตนอยา่ งสมำ่ เสมอ การมีสขุ ภาพท่ดี ีไม่ได้หมายถงึ น้ำหนักท่ีอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน แต่หมายถึงการที่ เราดูแลตวั เองอย่างถูกต้องต้ังแต่เร่ืองการออกกำลังกาย การเลอื กกนิ อาหาร การพกั ผอ่ น การปอ้ งกันโรค การ ลดหรือเลิกส่ิงท่บี ่นั ทอนสขุ ภาพจะสง่ ผลใหม้ รี า่ งกายท่ีแขง็ แรง สขุ ภาพดี และกระปรก้ี ระเปร่าพรอ้ มทีจ่ ะดำเนิน ชวี ติ ประจำวนั แผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมกิจกรรมทางกายแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2560 - 2569) (คณะกรรมการพัฒนา รา่ งแผนยุทธศาสตรก์ ารส่งเสริมกจิ กรรมทางกายแหง่ ชาติ, 2560) กลา่ วดังนี้ การมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ เป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิตจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-Communicable Diseases: NCDs) หรือกลุ่มโรควิถีชีวิต ได้แก่ เบาหวาน หัวใจและหลอดเลือด และ กลมุ่ โรคมะเร็ง โดยพบว่าการขาดกจิ กรรมทางกายสง่ ผลให้เกดิ การเสียชวี ติ 3.2 ล้านคนต่อปี ของทงั้ โรค 6 ทั้ง ที่สามารถป้องกันได้ และมีส่วนต่อการเพิ่มอัตราโรคอ้วนทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ในประเทศไทย พบว่าคนไทยมี อัตราการเสยี ชีวิตจากโรคไม่ตดิ ต่อเรื้อรัง ถึงรอ้ ยละ 71 ของการเสยี ชวี ติ ทั้งหมด โดยการมกี ิจกรรมทางกาย ไม่ เพียงพอ เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเสียชีวิต 11,129 ราย สูญเสียการมีชีวิตที่มีคุณภาพ 788,500 ปี สุขภาวะ (ชว่ งปที มี่ ชี ีวติ อย่างปราศจากความพกิ ารหรือเจบ็ ปว่ ย) 7 และเด็กไทยมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ทร่ี ้อยละ 12.5 การศึกษาในระดับโลก พบว่าการมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ ก่อให้เกิดภาระค่าใช้จ่ายทางสุขภาพ ของทั้งโลก มูลค่า 53.8 พันล้านดอลล่าสหรัฐ ในปี พ.ศ.2556 โดยมาจากค่าใช้จ่ายในการรักษา โรคหลอด เลือดหัวใจและสมอง เบาหวาน มะเร็งเต้านม และมะเร็งลำไส้ และประมาณความสูญเสียทางเศรษฐศาสตร์ จากผลติ ภาพในการทำงาน (productivity) และการเสยี ชวี ิตกอ่ นวยั อันควร มลู คา่ 13.7 พนั ล้านดอลล่าสหรฐั การศึกษาต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ของประเทศไทย พบว่าต้นทุนค่ารักษาพยาบาลที่สูญเสียจาก กิจกรรมทางกายที่ไม่เพียงพอ มูลค่า 5,977 ล้านบาท ในปี พ.ศ.2552 การเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มลู ค่า 2 แสนล้านบาทต่อปี ในขณะท่ีตน้ ทุนการสญู เสียผลิตภาพในการทำงาน มลู ค่า 6,558 ล้านบาท โดยจาก การขาดงานเนื่องจากความเจ็บป่วย 694 ล้านบาท และการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร 5,864 ล้านบาท จึงอาจ
19 กล่าวได้ว่า การส่งเสริมกิจกรรมทางกายถือเป็นการลงทุนที่ส่งผลต่อการสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐศาสตร์ ของประเทศ 9. โรคทมี่ คี วามสมั พันธก์ ับพฤติกรรมการออกกำลังกาย โรคเบาหวาน (พงษ์สันต์ ลส้ี ัมพันธ์, 2563) โรคเบาหวานในปจั จุบนั ถอื วา่ เป็นโรคระบาด ชนดิ ท่ีไม่ตดิ เชอ้ื แตเ่ ป็นการระบาดทางพันธกุ รรม ทก่ี ำลัง เป็นปัญหาระดับโลก ซึ่ง WHO รับไว้เป็น 1 โรคที่ต้องรณรงค์ในการรักษาและการป้องกันอย่างมาก การที่ โรคเบาหวานเป็นโรคระบาดที่ไม่ใช่โรคติดเชื้อแต่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ การดูแลตนเองจึงมีความสำคัญเป็น อย่างมาก ทั้งคนที่ยังไม่ได้เป็น คือ การป้องกัน และคนที่เป็นโรคเบาหวานแล้วคือการรักษา การเกิด โรคเบาหวานนั้นสำหรับกลุ่มคนที่ประวัติมีบรรพบุรุษเป็นโรคเบาหวาน ถือว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงที่มีแนวโนม้ จะเกิด โรคเบาหวานมากกว่าคนอื่น ๆ 50% และหากเกิดโรคเบาหวานแล้ว ก็จะมีโอกาสเกิดโรคอื่น ๆ ตามมาได้อีก มาก เพราะถือวา่ โรคเบาหวานคือตัวจา่ ยโรคแทรกซอ้ น โรคเบาหวานออกเป็น 4 ชนดิ คอื โรคเบาหวานชนิดท่ี 1 ชนิดน้ีตบั อ่อนจะขาดการสรา้ งอนิ ซูลินอย่างรุนแรง ส่งผลให้คนที่เป็นเบาหวาน อย่ใู นกล่มุ นจ้ี ะต้องฉดี อนิ ซลู ินไปตลอดชวี ติ โรคเบาหวานชนดิ ท่ี 2 ชนดิ นีเ้ ปน็ เรื่องของกรรมพนั ธุ์ พบโรคเบาหวานชนดิ น้ปี ระมาณ 9% ของผู้ป่วย เบาหวานทั้งหมด พยาธิวทิ ยาท่ีเกิดขึน้ กค็ อื การประกอบดว้ ยภาวะที่เกิดการดื้ออนิ ซลู นิ รว่ มกับการท่รี ่างกายไม่ สามารถสร้างอินซูลินได้เพียงพอเบาหวานชนิดที่ 1 และชนิดที่ 2 ต่างกันที่ชนิดที่ 1 ขาดอินซูลิน ชนิดที่ 2 อนิ ซูลนิ ไมเ่ พียงพอและมภี าวะด้ืออนิ ซลู ินรว่ มดว้ ย โรคเบาหวานชนิดท่ี 3 ที่อาจเกิดจากกลุ่มโรคใดโรคหนึ่งหรือความผิดปกติของยีนบางชนิด เช่น โรคไทรอยดเ์ ป็นพิษ โรคตับแขง็ โรคของต่อมไร้ท่ออื่น ๆ เชน่ ตอ่ มใตส้ มองบางชนิด รวมทง้ั การรับประทานยา บางชนิด จำพวกสเตยี รอยด์ ยาลูกกลอน ซึง่ เป็นปญั หานำไปสูก่ ารเป็นโรคเบาหวานได้ โรคเบาหวานชนิดที่ 4 เป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ โดยส่วนใหญ่คนที่เป็นโรคเบาหวานขณะ ตั้งครรภ์ เมื่อพ้นจากภาวะต้ังครรภ์เบาหวานจะหายไปชั่วคราว มีสถิติวา่ หลังคลอดใหม่ ๆ เบาหวานจะหายไป แต่หลาย ๆ ปีผ่านไป 30% อาจจะกลับไปเป็นเบาหวานชนิดถาวรได้ ดังนั้นจึงต้องเน้นในการป้องกัน และ สำหรับกลุ่มนีถ้ อื เปน็ กลมุ่ เสี่ยง โรคความดันโลหติ สงู (โรงพยาบาลกรงุ เทพสิรโิ รจน์, 2563) หมายถึง ภาวะที่ความดันช่วงบน มีค่าตั้งแต่ 130 มิลลิเมตรปรอทขึน้ ไป และ/หรือความดันชว่ งล่างมี คา่ ต้งั แต่ 80 มิลลเิ มตรปรอทขนึ้ ไป สาเหตุของโรคความดันโลหติ สูง ผู้ป่วยที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงส่วนใหญ่ประมาณ 90-95% แพทย์จะตรวจไม่พบโรคหรือภาวะ ผิดปกติหรือสิ่งที่เป็นต้นเหตุของความดันโลหิตสูง เรียกว่า “ความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด” (Essential hypertension) และผู้ป่วยที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงส่วนน้อยประมาณ 5-10% แพทย์อาจตรวจ
20 พบโรคหรือภาวะผิดปกติหรือสิ่งที่เป็นสาเหตุของความดันโลหิตสูง เรียกว่า “ความดันโลหิตสูงชนิดทราบ สาเหต”ุ สาเหตขุ องความดันโลหิตสงู ชนิดทราบสาเหตนุ ้นั อาจเกิดไดจ้ ากหลายสภาวะ ไดแ้ ก่ โรคไต เช่น โรคไต เรื้อรัง กรวยไตอักเสบเรื้อรัง หน่วยไตอักเสบ โรคถุงน้ำไตชนิดหลายถุง ฯลฯ หลอดเลือดแดงไตตีบ (Renal artery stenosis) หลอดเลือดแดงใหญ่ตีบ (Coarctation of aorta) และเนื้องอกบางชนิดของต่อมหมวกไต หรือตอ่ มใต้สมอง ปจั จยั เสย่ี งตอ่ การเกดิ โรคความดนั โลหิตสูง ได้แก่ พันธุกรรม โอกาสจะสูงมากขึ้นเมื่อมีคนในครอบครัวเป็นโรคนี้ โรคเบาหวาน เพราะก่อให้เกิดการ อักเสบตีบแคบของหลอดเลือดต่าง ๆ รวมทั้งหลอดเลอื ดของไต โรคไตเรื้อรัง เพราะส่งผลถึงการสร้างเอนไซม์ และฮอร์โมนที่ควบคุมความดันโลหิตดังที่กล่าวไป น้ำหนักตัวเกินและโรคอ้วน เพราะเป็นสาเหตุของ โรคเบาหวานและโรคหลอดเลือดต่าง ๆ ตีบจากภาวะไขมันเกาะผนังหลอดเลือด ภาวะหยุดหายใจขณะ หลับ (Sleep apnea) การขาดการออกกำลังกาย เพราะเป็นปัจจัยเสี่ยงของโรคอ้วนและเบาหวาน การ รับประทานอาหารเค็มอย่างต่อเนื่อง ตามเหตผุ ลท่กี ล่าวไป การสบู บุหร่ี เพราะสารพิษในควันบุหร่ีส่งผลให้เกิด การอักเสบตีบตันของหลอดเลือดต่าง ๆ รวมทั้งหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดไต และการด่ืม แอลกอฮอล์ เพราะส่งผลให้หัวใจเต้นแรงกว่าปกติ และมีโอกาสเป็นโรคความดันโลหิตสูงถึงประมาณ 50% ของผทู้ ่ตี ิดสุราท้งั หมด อาการความดันโลหิตสงู รายท่ีเป็นความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ ส่วนใหญ่จะมีไม่อาการแสดงแต่อย่างใด และมักตรวจ พบได้โดยบังเอิญจากการตรวจคัดกรองโรค มีส่วนน้อยที่อาจมีอาการปวดมึนท้ายทอย ตึงที่ต้นคอ เวียนศีรษะ ซงึ่ มักจะเปน็ ตอนตืน่ นอนใหม่ ๆ บางรายอาจมอี าการปวดศรี ษะตุบ ๆ แบบไมเกรน ส่วนในรายท่ีเปน็ มานาน ๆ หรอื มีความดนั โลหติ สูงมาก ๆ อาจจะมีอาการออ่ นเพลยี เหน่อื ยงา่ ย ใจส่ัน นอนไม่หลบั ตามวั มือเทา้ ชาหรือมี เลอื ดกำเดาไหล การปฏิบัติตัวสำหรับผู้ป่วย/ผู้ที่มีความเสี่ยง (Instruction for Patient/ High-Risk Group) ได้แก่ บริโภค อาหารควบคุมความดันหรืออาหารแดช (Dietary approaches to stop hypertension–DASH Diet) โดย การเน้นรับประทานผักและผลไม้ที่มีกากใย ผลิตภัณฑ์นมที่มีไขมันต่ำ เมล็ดธัญพืช ถั่วต่าง ๆ ลดการบริโภค เนื้อสัตว์ใหญ่ แป้ง น้ำตาล ของหวาน ไขมันอิ่มตัวและคอเลสเตอรอล ลดการบริโภคอาหารเค็มหรือ โซเดียม และงดหรือลดการดม่ื เครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ ลดน้ำหนกั ใหม้ ดี ชั นมี วลกาย (BMI) น้อยกวา่ 25 กก./ม.2 หมั่นออกกำลังกายแบบแอโรบิกเป็นประจำให้ได้เกือบทุกวัน เช่น เดินเร็ว วิ่งเหยาะ ขี่จักรยาน ว่ายน้ำ อย่าง น้อยวันละ 30 นาที รักษาสุขภาพจิตให้ดี ไม่เครียด เข้าใจและยอมรับชีวิต รวมถึงการหมั่นฝึกผ่อนคลาย ความเครียดและบริหารสุขภาพจิตอย่เู สมอ เช่น สวดมนต์ ทำสมาธิ โยคะ รำมวยจีน ช่กี ง ร้องเพลง เล่นดนตรี หรอื ทำงานอดเิ รกตา่ ง ๆ ฯลฯ การป้องกนั ไมใ่ ห้เกดิ โรค (Disease Prevention) รบั ประทานอาหารท่ีมีประโยชนใ์ ห้ครบ 5 หม่ใู นปรมิ าณที่เหมาะทุกวัน เนน้ ผกั และผลไมช้ นิดไม่หวาน
21 ใหม้ าก ๆ และลดอาหารพวกไขมันชนดิ อมิ่ ตัว แปง้ นำ้ ตาล ของหวาน และอาหารเค็ม ควบคมุ นำ้ หนกั ตัวให้อยูใ่ นเกณฑ์ปกติ โดยใหม้ คี ่าดัชนมี วลกาย (BMI) นอ้ ยกว่า 23 กก./ม.2 ความยาว รอบเอวน้อยกว่า 90 เซนติเมตรในผู้ชาย และ 80 เซนติเมตรในผู้หญิง ด้วยการควบคุมอาหารและหมั่นออก กำลงั กายอยา่ งสม่ำเสมอ ออกกำลังกายแบบแอโรบิกเป็นประจำ เช่น การเดินเร็ว วิ่งเหยาะ ขี่จักรยาน ว่ายน้ำ ครั้งละ 30-45 นาที สปั ดาห์ละ 3-5 คร้ัง หรอื วันเว้นวนั พักผอ่ นให้เพียงพอและรกั ษาสุขภาพจติ ใหด้ ีอยเู่ สมอ ลดปริมาณของเกลือโซเดียมที่บริโภคไม่ให้เกินวันละ 2.4 กรัม (เทียบเท่าเกลือแกง 6 กรัม หรือ ประมาณ 1 ช้อนชา) ถ้าเป็นผู้ดื่มแอลกอฮอล์อยู่แล้ว สำหรับผู้ชายควรจำกัดปริมาณของแอลกอฮอล์ให้ไม่เกินวันละ 2 หน่วยการดม่ื (เทยี บเท่ากับวสิ กี้ 90 มิลลิลติ ร ไวน์ 300 มลิ ลลิ ิตร หรอื เบียร์ 720 มิลลลิ ิตร) ส่วนผู้หญิงและผู้ท่ี มีน้ำหนักตัวน้อยควรจำกัดปริมาณของการดื่มแอลกอฮอล์ให้ไม่เกินวันละ 1 หน่วยการดื่ม (เทียบเท่ากับวิสกี้ 45 มลิ ลลิ ติ ร ไวน์ 150 มลิ ลลิ ติ ร หรอื เบยี ร์ 360 มิลลิลติ ร) ปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับยาที่ใช้อยู่เพราะอาจมียาบางตัวที่ทำให้เกิดความดันโลหิตสูงได้ ส่วนการใช้ยา คมุ กำเนดิ แนะนำวา่ ควรปรึกษาแพทย์ ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป แม้ว่าจะยังรู้สึกสบายดีก็ควรไปตรวจสุขภาพซึ่งรวมถึงการตรวจวัดความ ดันโลหิตอย่างน้อยทุก 2 ปี ส่วนผทู้ ี่มีอายุตัง้ แต่ 35 ปีข้ึนไป แนะนำวา่ ควรไปตรวจวดั ความดันโลหิตอย่างน้อย ปลี ะ 1 ครั้ง หรอื ตรวจบอ่ ยตามทีแ่ พทยห์ รอื พยาบาลแนะนำ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ในผู้ทม่ี รี ปู ร่างอ้วนหรือมีพ่อแม่ พ่นี ้องเป็นโรคนี้ โรคอว้ น (โรงพยาบาลเพชรเวช, 2563) คนที่เป็นโรคนี้สามารถสังเกตตัวเองได้ง่าย ๆ คือ น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น อวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายมีการ เปลี่ยนแปลง เช่น แขนและขาใหญ่ขึ้น พุงใหญ่ขึ้น เป็นต้น นอกจากนี้ยังสามารถใช้วิธีวัดดัชนีมวลกาย (BMI) ซงึ่ คำนวณไดจ้ ากสูตรนำ้ หนักตัวเปน็ กิโลกรมั หารดว้ ยส่วนสงู เป็นเมตรยกกำลังสองของเราเอง ตวั อย่างเชน่ นายเพชรเวชมีน้ำหนกั 56 กโิ ลกรัม มีสว่ นสงู 165 เซนตเิ มตร (1.6 เมตร) เม่อื เข้าสตู รน้ำหนกั 56 กิโลกรมั หาร ด้วยส่วนสูง 1.6 เมตรจะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 20.56 หากมีค่าดัชนีมวลกายมากกว่า 30 แสดงว่ากำลังเป็นโรคลง พุงนีอ้ ยู่ และวิธสี ดุ ทา้ ยทีจ่ ะบอกไดว้ ่าตวั เองเปน็ โรคนี้หรือไม่ คือการวัดรอบเอว โดยผู้ชายจะตอ้ งมีเส้นรอบเอว ไมเ่ กิน 90 เซนติเมตร สว่ นผ้หู ญงิ จะตอ้ งมเี สน้ รอบเอวไมเ่ กนิ 80 เซนติเมตร สาเหตโุ รคอว้ น (สำนกั งานกองทนุ สนับสนุนการสร้างเสริมสขุ ภาพ, 2555) คนเรารับประทานอาหารเข้าไปไม่ว่าจะเป็นประเภทแป้งหรือโปรตีนหากพลังงานที่ได้รับเกินความ ตอ้ งการ รา่ งกายก็จะสะสมอาหารส่วนเกินเหล่านั้นในรูปไขมัน สะสมมากข้ึนจนกลายเปน็ โรคอ้วน ดังนั้นคนท่ี อ้วนเกิดจากเรารับอาหารที่มีพลังงานมากกว่าพลังงานที่เราใช้ไป สาเหตุจริง ๆ ยังไม่ทราบแน่ชัด โรคอ้วน มักจะมีสาเหตตุ ่าง ๆ ดังน้ี การรับประทานอาหาร หากรับประทานอาหารที่ให้พลังงานสูงเป็นประจำ จะให้น้ำหนักเกิน
22 โดยเฉพาะอาหารทม่ี ีไขมนั และแป้งสงู ซึ่งมกั จะพบในอาหารจานด่วน ประเภทของอาหารโดยเฉพาะผู้ที่ชอบรับประทานอาหารที่มีน้ำตาล ไม่ว่าจะเป็นกลูโคส sugars, fructose,น้ำหวาน เครื่องดื่ม ไวน์ เบียร์ อาหารเหล่านี้จะดูดซึมอย่างรวดเร็ว และทำให้ร่างกายหลั่งอินซูลิน เปน็ ปริมาณมาก ซ่ึงเชือ่ วา่ จะเปน็ สาเหตขุ องโรคอ้วน ภาวะที่ร่างกายเผาพลาญพลังงานน้อย ผู้ชายจะมีกล้ามเนื้อมากว่าผู้หญิง กล้ามเนื้อจะเผาพลังงาน ไดม้ ากดังนั้นผหู้ ญิงจงึ อ้วนง่ายกวา่ ผูช้ ายและลดน้ำหนักยาก โรคตอ่ มไรท้ อ่ เชน่ ตอ่ มธยั รอยดท์ ำงานน้อยจะมีนำ้ หนักเกินเน่ืองจากร่างกายเผาผลาญอาหารน้อยลง โรค Cushing ร่างกายสร้างฮอร์โมน cortisol มากทำให้ร่างกายมีการสะสมไขมัน ฮอร์โมนนี้อาจจะมาจาก ร่างกายสรา้ งเองหรอื จากลกู กลอน ยาแก้หอบ ยาชดุ หรือรา่ งกายสร้างขึ้นเน่อื งจากเนอื้ งอกต่อมหมวกไต จากยา ยาบางชนิดทำให้ความอยากอาหารเพิ่ม เช่น ยาคุมกำเนิด ยาแก้โรคซึมเศร้า tricyclic antidepressant, phenothiazine ยาลดความดนั beta-block ยารกั ษาเบาหวาน ยาคมุ กำเนิด ยา steroid กรรมพนั ธ์ุ จะพบว่าบางครอบครัวจะอว้ นทงั้ หมดซงึ่ ส่วนหน่ึงเกิดจากพนั ธุกรรม เชน่ คนทีเ่ ป็นโรคขาด leptin ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่ส่งไปยงั สมองทำให้เรารับอาหารน้อยลงแต่อีกส่วนหนึ่งอาจจะเกิดจากวัฒนธรรมการ รบั ประทานอาหารและความเป็นอยู่ วัฒนธรรมการดำรงชีวิตและอาหาร ซึ่งเห็นได้ว่าบางชาติจะมีน้ำหนกั เกินเนือ่ งจากอาหารของชาตนิ น้ั นยิ มอาหารมัน ๆ ความผดิ ปกติทางจิตใจทำให้รับประทานอาหารมาก เช่น บางคนเศร้า เครียด แล้วรบั ประทานอาหาร เก่ง การดำเนินชีวติ อย่างสบายมีเครื่องอำนวยความสะดวกมากมาย และขาดการออกกำลังกาย มีรถยนต์ มีเครื่องทุ่นแรง มีทีวีรายการดี ๆ ให้ดู มีสื่อโฆษณาถึงน้ำหวาน น้ำอัดลม เหล่านี้เป็นปัจจัยเสี่ยงโรคอ้วนต้ังแต่ ในวยั เดก็ โรคอ้วนในวยั รุน่ ชวี ิตท่มี ีความสบายขาดการออกกำลังกาย รบั ประทานอาหารไมจ่ ำกัดเวลา ไม่จำกัด ประเภท และไม่จำกัดปริมาณเหล่านี้ทำให้เกิดโรคอ้วน เมื่ออ้วนก็ทำให้ออกกำลังได้ไม่เต็มที่ พบว่าวัยรุ่นหรือ เด็กที่มีน้ำหนักเกินมักจะเกิดโรคอ้วนเมื่อเป็นผู้ใหญ่ น้ำหนักของผู้ชายจะเพิ่มจนคงที่เมื่ออายุประมาณ 50 ปี ส่วนผหู้ ญงิ นำ้ หนกั จะเพม่ิ จนอายุประมาณ 70 ปี โรคอ้วนในเด็ก เซลล์ไขมันในร่างกายจะมีช่วงที่เจริญเติบโตอยู่สองช่วง คือ วัยเด็ กและวัยรุ่น กรรมพันธุ์เป็นตัวกำหนดให้แต่ละคนมีเซลล์ไขมันไม่เท่ากัน คนอ้วนจะมีเซลล์ไขมันมาก การอ้วนในเด็กจะมี ปรมิ าณเซลล์ไขมันมากทำให้ลดนำ้ หนกั ยาก สว่ นโรคอว้ นในผใู้ หญเ่ กิดจากเซลลไ์ ขมนั มขี นาดใหญ่ การป้องกนั และรักษาโรคอ้วน (ธมั ม์ทิวัตถ์ นรารตั นว์ นั ชยั , 2557) เราสามารถป้องกันโรคอ้วนไดด้ ้วยการรับประทานอาหาร และออกกำลังกายที่ถูกต้องอย่างสม่ำเสมอ พยายามใช้กำลังทำงานหรือเดินมากขึน้ ในชีวิตประจำวัน เช่น ทำงานบ้านเล็ก ๆ น้อย ๆ เดินขึ้นหรือลงบันได แทนการใช้ลิฟต์เมื่อขึ้นหรือลง 2-3 ชั้น ควรออกกำลังกายตามความเหมาะสม และความพร้อมของเวลา สถานที่ และอุปกรณ์ ท่านสามารถออกกำลังกายได้โดยไม่จ้าเป็นต้องใช้อุปกรณ์ใด ๆ เช่น เดินรอบ ๆ บ้าน
23 การบรหิ ารรา่ งกาย การเตน้ รา้ รำมวยจนี และโยคะ เป็นตน้ การรกั ษาโรคอว้ น ปจั จุบนั มีวิธกี ารรักษาโรคอ้วน มากมายหลายวิธี เราจึงควรเลือกวิธีที่เหมาะสมกับตัวเรา และอาจใช้หลายวิธีร่วมกันเพื่อผลลัพธ์ที่ดียิ่งขึ้น ได้แก่ การควบคุมอาหาร (Dietary Therapy) วิธีนี้คือการค่อย ๆ ลดปริมาณแคลอรี่ลงวันละ 500-1000 กิโล แคลอรี จากที่เคยรับประทานเป็นประจำ เป็นวิธีที่สะดวกมากและเห็นผลได้ชัดเจน การออกกำลังกาย (Physical activity) โดยการใชพ้ ลังงานใหม้ ากขนึ้ โดยเฉพาะการออกกำลังกายแบบแอโรบิกอย่างนอ้ ย ครั้งละ 30 นาที 3 ครั้ง ต่อสัปดาห์ นอกจากลดความอ้วนได้ แล้วยังทำให้หัวใจแข็งแรงอีกด้วย การรักษาด้วยยา (Pharmacotherapy) ยาเม็ดลดน้ำหนักในปัจจุบันแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ยาเคมีและยา สมุนไพ ร ผลข้างเคียงของยาที่เป็นเคมีรุนแรงกว่ายาสมุนไพร เนื่องจากยาเคมีออกฤทธิ์โดยตรงกับสมอง ทำให้อาจเกิด อาการจิตหลอนและอาจถึงขั้นเสียชีวิต กลุ่มยาเคมีจะออกฤทธิ์ที่สมอง มีผลต่อจิตและระบบประสาท ได้แก่ กลุ่มยาลดความหวิ ความอยากอาหาร ระยะเริ่มแรกจะไม่มีอาการอยากทาน จงึ ทำให้นำ้ หนักตวั ลดลง แต่เม่ือ ถึงจุดหนึ่งร่างกายไม่มีอาหารเพียงพอระบบการเผาผลาญจะหยุดทำงานทันที ผลข้างเคียงของยาเคมี คือ คอแหง้ ใจส่ัน นอนไมห่ ลบั ทอ้ งผูก ย่ิงทานนาน 3-6 เดือน สภาวะทางอารมณจ์ ะแปรปรวน หากตรวจปัสสาวะ จะ Positive คือ เป็นบวก ปัสสาวะคนที่กินยาลดความอ้วนจะเป็น \"สีม่วง\" ปัจจุบันนี้มีเพียงกลุ่มเดียวที่ กระทรวงสาธารณสุขรับรองและตรวจสอบแล้วว่าทานได้ คือ กล่มุ เฟนเตอร์มีน แต่ออกฤทธริ์ า้ ยแรงมีผลต่อจิต และระบบประสาท ดังนั้น การทานยาจำพวกนี้จึงต้องอยู่ภายใต้การควบคุม ดูแลอย่างใกล้ชิดของแพทย์ ผูเ้ ชยี่ วชาญ กลมุ่ ยาท่ีเข้าไปยบั ยัง้ การดูดซับของไขมัน ยากลุม่ น้ีเป็นตัวสร้างนิสัยการกินท่ีผิด เพราะคิดว่าทาน มากนอ้ ยเพยี งใดก็ไมท่ ้าให้อว้ น แตแ่ ทจ้ รงิ นน้ั ยาสามารถดักจบั ไขมนั ได้เพยี งแค่ 30-50% ซ่ึงอกี 50-70% ก็เข้า สู่รา่ งกายเราโดยไมร่ ตู้ วั รวมไปถึงพวกคาร์โบไฮเดรตต่าง ๆ กเ็ ขา้ ไปดว้ ยเชน่ กนั ซ่ึงเปน็ สาเหตุทก่ี อ่ ความอ้วนได้ ง่ายมาก ผลขา้ งเคยี งของยาทเี่ ข้าไปหยดุ การดูดซบั ของไขมนั ทำให้เกดิ อาการท้องเสยี ขาดสารอาหารท่ีละลาย อยู่ในไขมัน ไม่ว่าจะเป็นไขมันดีและไม่ดี กลุ่มยาที่เป็นสมุนไพร อาทิ มะขามแขก ส้มแขก ฯลฯ จะอยู่ที่ดุลย พินิจของแพทย์ว่าสั่งจ่ายยาชนิดใด เพื่อให้เหมาะสมกับสาเหตุของคนไข้ซึ่งสมุนไพรจะช่วยรักษาได้ดีและ ปลอดภัย และการผา่ ตัด (Surgery) การผ่าตดั เช่น เลาะไขมนั สว่ นเกินออกบางส่วน การผ่าตดั กระเพาะอาหาร โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ แพทย์จะพิจารณาให้การผ่าตัด ในกรณีที่มีดัชนีมวลกาย > 40.5 การฝังเข็ม เป็น การแพทย์ทางเลือกชนิดหนึง่ ซึ่งจะปักเข็มเข้าไปในจุดซ่ึงจะกระตุ้นผ่านเส้นลมปราณ ไปปรับความสมดุลของ ร่างกาย ช่วยให้เกิดการเผาผลาญที่ดี นอกจากนี้จะไม่ทำให้หิวบ่อย ทำให้อิ่มเร็วและช่วยให้ขับของเสีย ออก จากร่างกายไดด้ ยี ่งิ ขึ้น หลายท่านลดน้ำหนักแล้วอาจเกิดอาการโยโย่ คือ คนที่พยายามลดน้ำหนัก แล้วแต่ไม่สำเร็จ ลดแล้ว กลับเพิ่ม เพิ่มแล้วลดวนเวียนอยู่เรื่อย ๆ พบว่าคนที่มีพฤติกรรมการลดน้ำหนักแบบนี้อาจเพิ่มความเสี่ยงต่อ โรคหวั ใจ, กลายเปน็ โรคอว้ น, มีระดับเอชดแี อลลดลงได้ 7% โดยพบในรายทม่ี ีการเปล่ยี นแปลง ของน้ำหนกั 5 กิโลกรัมขึ้นไป อย่างไรก็ตามผลจากโยโย่นั้นยังไม่ชัดเจน โรคอ้วนเป็นโรคเรื้อรัง หลายรายมีน้ำหนักเพิ่มเม่ือ หยดุ ยา การรักษาต่อเนื่อง ควบคุมน้ำหนกั ให้ลดลง เพ่อื ลดปัจจัยเส่ียงของโรคหัวใจและหลอดเลือด ถือว่าเป็น สิ่งสำคัญ การใช้ยาต้องดูว่าผู้ป่วยมีข้อห้ามหรือไม่ หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันและให้พลงั งานสูง ควรออกกำลัง กายอย่างสม่ำเสมอ
24 10. แบบแผนความเชื่อด้านสขุ ภาพ (Health Belief Model) 10.1 ความหมายของความเชือ่ ดา้ นสุขภาพ Phipps, Long และWood (1983 : 25 อ้างถึงในธัญญาลักษณ์ ไชยรินทร์, 2544) ได้กล่าวถึง ความหมายว่าความเชื่อดา้ นสขุ ภาพ หมายถงึ ความเช่อื เกย่ี วกับสุขภาพอนามัยของตวั บุคคลซ่ึงมีอิทธิพลต่อการ เจ็บป่วยและการดูแลรักษา เมื่อเกิดความเจ็บป่วยขึ้นก็ย่อมที่จะต้องจึงมีการปฏิบัติตัวหรือมีพฤติกรรมทาง สุขภาพที่แตกต่างกันกับบุคคลที่ไม่เจ็บป่วยออกไป นั้นก็ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบหลายอย่าง ได้แก่ ความรู้ เกี่ยวกับสาเหตุของโรคอาการและการรักษา การรับรู้ถึงความรุนแรงของโรคที่เป็นอยู่ ประกอบกับความเช่ือ เดมิ ความสนใจและคา่ นิยม เปน็ ตน้ Rokeach (1970: 23 อ้างถึงในบัญชา มณีคำ, 2538: 20) ได้ให้ความหมายของความเชื่อนั้น คือ ความรู้สึกนกึ คิดความเขา้ ใจของบุคคลต่อสงิ่ ใดส่ิงหนง่ึ ซึ่งสามารถเรา้ ใหบ้ ุคคลมปี ฏิกิรยิ า โตต้ อบในรปู แบบของ การกระทำเกี่ยวกับสิ่งนั้น ๆ โดยที่ตนอาจจะรู้ตัวหรือไม่รู้ตัวก็ตาม ความเชื่อสิ่งนั้น ๆ ไม่จำเป็นต้องอยู่บน พน้ื ฐานแห่งความเป็นจริงเสมอหรือความเชื่อนัน้ อาจเปน็ เพียงความรู้สึกนึกคดิ ความเขา้ ใจ ความคาดหวังหรือ สมมติฐาน ซ่งึ อาจมีเหตุผลหรือไม่มีเหตุผลก็ได้ ความเชื่อเปน็ องคป์ ระกอบในตวั บุคคคลที่ฝงั แนน่ อยใู่ นความคิด ความเข้าใจ เมื่อบุคคลมีความเชื่ออย่างใด ความเชื่อนั้นจะเป็นแนวโน้มให้บุคคลประพฤติปฏิบัตติ ามความคิด และความเข้าใจน้ัน ๆ กล่าวโดยสรุปได้ว่าความเชื่อด้านสุขภาพ หมายถึงความเชื่อความรู้สึกนึกคิด และความเข้าใจที่จะ ยอมรับหรือการรับรู้ของบุคคลนั้น ๆ ต่อภาวะสุขภาพอนามัยของตนเอง ซึ่งสามารถส่งผลต่ออาการเจ็บป่วย รวมถงึ การดูแลรักษาการปฏิบัติตัวหรือมีพฤติกรรมทางสุขภาพท่ีแตกต่างกันกับบุคคลที่ไม่เจ็บป่วยเป็นส่ิงท่ีชัก นำให้บุคคลนั้น ๆ มีพฤติกรรมสุขภาพตามความคิดและความเข้าใจได้ 10.2 ทฤษฎีแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model) ของ Becker (1974) อธิบาย พฤติกรรมสุขภาพตามปัจจัยต่าง ๆ 7 ด้าน ประกอบด้วย การรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค การรับรู้ ความรุนแรงของโรค การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรค การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติตน เพื่อปอ้ งกันโรค แรงจงู ใจดา้ นสุขภาพ และปัจจยั ร่วมอนื่ ๆ ดังนี้ 1. การรับรูโ้ อกาสเส่ียงของการเปน็ โรค (Perceived Susceptibility) การรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงต่อการ เป็นโรค หมายถึง ความเชื่อของบุคคลทีม่ ีผลโดยตรงต่อการปฏิบัติตามคำแนะนำด้านสุขภาพ ทั้งในภาวะปกติ และภาวะเจ็บป่วยแต่ละบุคคลจะมีความเชื่อในระดับที่ไม่เท่ากัน ดังนั้นบุคคลเหล่านี้จึงหลีกเลี่ยงต่อการเป็น โรคด้วยการปฏิบัตติ ามเพื่อป้องกันและรักษาสุขภาพท่ีแตกต่างกัน จึงเป็นความเชื่อของบุคคลตอ่ ความถูกต้อง ของการวนิ ิจฉยั โรคของแพทย์การคาดคะเนถึงโอกาสของการเกิดโรคซ้ำหรือการง่ายที่จะป่วยเป็นโรคต่าง ๆ มี รายงานการวิจัยหลายเรื่องที่ให้การสนับสนุน ความเชื่อต่อโอกาสเสี่ยงของการเป็นโรคว่ามีความสัมพันธ์ใน ทางบวกกับพฤติกรรมการปฏิบตั ิตาม คำแนะนำของเจา้ หน้าท่ี เช่น เมือ่ บคุ คลปว่ ยเป็นโรคใดโรคหนึ่งความรู้สึก ของบุคคลที่ว่าตนเองจะมีโอกาสป่วยเป็นโรคนั้น ๆ อีกจะมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการปฏิบัติพฤติกรรมเพื่อ ป้องกันโรคไมใ่ หเ้ กดิ กบั ตนเองอีก 2. การรบั รคู้ วามรนุ แรงของโรค (Perceived Severity) เปน็ การประเมนิ การรบั รู้ความรุนแรงของโรค
25 ปญั หาสุขภาพหรือผลกระทบจากการเกิดโรคซึง่ ก่อใหเ้ กิดความพิการหรือเสียชีวติ การประเมินความรุนแรงนั้น อาศัยระดับต่าง ๆ ของการกระตุ้นเร้าของบุคคลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยนั้นซึ่งอาจจะมองความรุนแรงของการ เจ็บป่วยนั้นทำให้เกิดความพิการหรือตายได้หรือไม่หรืออาจมีผลกระทบต่อหน้าที่การงานเมื่อบุคคลเกิดการ รับรู้ความรุนแรงของโรคหรือการเจ็บป่วยแล้วจะมีผลทำให้บุคคลปฏิบัติตามคำแนะนำ เพื่อการป้องกันโรคซ่ึง จากผลการวิจัยจำนวนมากพบว่าการรับรู้ความรุนแรงของโรคมีความสัมพันธ์ในทางบวกกับพฤติกรรมการ ป้องกนั โรค เชน่ การปฏิบตั ติ นเพือ่ ป้องกันอุบตั ิเหตุ 3. การรับรู้ถึงประโยชน์ของการรักษาและป้องกันโรค (Perceived Benefits) การรับรู้ถึงประโยชน์ ของการรักษาและป้องกันโรค หมายถึง การที่บุคคลแสวงหาวิธกี ารปฏิบัติให้หายจากโรคหรือป้องกันไม่ใหเ้ กดิ โรคโดยการปฏบิ ตั ินั้นต้องมีความเชื่อว่าเป็นการกระทำทีด่ ีมีประโยชน์และเหมาะสมที่จะทำใหห้ ายหรือไม่เปน็ โรคนั้น ๆ ดังนั้นการตัดสินใจที่จะปฏิบัติตามคำแนะนำก็ขึ้นอยู่กับการเปรียบเทียบถึงข้อดีและข้อเสียของ พฤตกิ รรมนั้นโดยเลอื กปฏบิ ตั ใิ นสิง่ ท่กี อ่ ให้เกิดผลดมี ากกว่าผลเสีย 4. การรับรู้ต่ออุปสรรค (Perceived Barriers) การรับรู้ต่ออุปสรรคของการปฏิบัติ หมายถึง การ คาดการณ์ล่วงหน้าของบุคคลต่อการปฏิบัติพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพอนามัยของบุคคลในทางลบซึ่งอาจ ไดแ้ ก่ คา่ ใชจ้ ่ายหรอื ผลทเี่ กิดขนึ้ จากการปฏิบัติกิจกรรมบางอย่าง เชน่ การตรวจเลอื ดหรือการตรวจพเิ ศษทำให้ เกิดความไม่สุขสบายการมารับบริการ หรือพฤติกรรมอนามัยนั้นขัดกับอาชีพหรือการดำเนินชีวิตประจำวัน ดังนั้นการรับรู้อุปสรรคเป็นปัจจัยสำคัญต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคและพฤติกรรมของผู้ป่วยนี้สามารถใช้ ทำนายพฤตกิ รรมการใหค้ วามร่วมมอื ในการรักษาโรคได้ 5. สิ่งชักนำให้เกดิ การปฏบิ ัติ (Cues to Action) สิ่งชักนำให้เกิดการปฏบิ ตั ิเป็นเหตุการณ์หรอื สิง่ ท่มี า กระตุ้นบุคคลให้เกิดพฤติกรรมที่ต้องการออกมาซึ่ง Becker, Maiman (1975) ได้กล่าวว่า เพื่อให้แบบแผน ความเชื่อมีความสมบูรณ์นั้นจะต้องพิจารณาถึงส่ิงชักนำให้เกิดการปฏบิ ัติซึ่งมี 2 ด้าน คือ สิ่งชักนำภายในหรอื สิ่งกระตุ้นภายใน (Internal Cues) ได้แก่ การรับรู้สภาวะของร่างกายตนเอง เช่น อาการของโรคหรือการ เจ็บป่วย ส่วนสิ่งชักนำภายนอกหรือสิ่งกระตุ้นภายนอก (External Cues) ได้แก่ การให้ข่าวสารผ่านทาง สอื่ มวลชนหรอื การเตอื นจากบคุ คลที่เป็นที่รกั หรอื นับถือ เช่น สามภี รรยา บดิ ามารดา เปน็ ตน้ 6. ปัจจัยร่วม (Modifying Factors) เป็นปัจจัยที่ไม่มีผลโดยตรงต่อพฤติกรรมสุขภาพ แต่เป็น ปจั จัยพน้ื ฐานทจี่ ะสง่ ผลไปถงึ การรบั รแู้ ละการปฏบิ ตั ิ ไดแ้ ก่ 1. ปัจจัยด้านประชากรเช่น อายุ ระดบั การศึกษา เปน็ ตน้ 2. ปัจจยั ทางดา้ นสงั คมจติ วทิ ยา เช่น บุคลกิ ภาพสถานภาพทางสงั คมกลมุ่ เพอ่ื นกลุม่ อา้ งอิงมี ความเกี่ยวข้องกับบรรทัดฐานทางสงั คมค่านิยมทางวัฒนธรรมซึ่งเป็นพื้นฐาน ทำให้เกิดการปฏิบัติเพื่อป้องกัน โรคทแี่ ตกตา่ งกัน 3. ปัจจยั โครงสรา้ งพน้ื ฐานเช่นความรู้เร่อื งโรคประสบการณเ์ กี่ยวกบั โรค เป็นต้น 7. แรงจูงใจด้านสุขภาพ (Health Motivation) หมายถึงสภาพอารมณ์ที่เกิดขึ้นจากการถูกกระตุ้น ด้วยเรื่องเก่ียวกบั สุขภาพอนามัย ไดแ้ ก่ ระดบั ความสนใจ ความใสใ่ จทศั นคติทางดา้ นสุขภาพ เป็นต้น
26 11. โรค COVID-19 (coronavirus disease starting in 2019) COVID-19 หมายถึง เชื้อก่อโรคไวรัสโคโรนา มีชื่อชั่วคราวที่ใช้ในตอนแรกคือ 2019- nCoV ชื่อ ทางการในปัจจุบันคือ SARS-CoV-2 ส่วนชื่อของโรคติดเชื้อชนิด นี้เรียกว่า COVID-19 ย่อมาจาก CO แทน corona, VI แทน virus, D แทน disease และ 19 แทน 2019 องค์การอนามัยโลกตั้งชื่อแบบนี้เพื่อมิให้เกิด “รอยมลทิน” กบั ประเทศ พน้ื ที่ ผู้ป่วย ประชาชน และสตั วท์ ี่เก่ียวขอ้ งกบั จุดกำเนิดและการระบาดของโรคนี้ การก่อโรคในทางเดินหายใจต้องมีการแพร่กระจายเช้ือทางอากาศ (airborne) สัตวท์ ่แี พรเ่ ชื้อต้องร้อง พ่นสิ่งคัดหลั่งออกมาทางปากหรือผู้ป่วยต้องไอ ไอมีเสมหะ ผู้ที่อยู่ใกล้ชิดจึงสูดดมเชื้อในอากาศผ่านทางฝอย ละอองขนาดใหญ่ (droplet) และฝอยละอองขนาดเล็ก (เล็กกว่า 5 ไมครอนเรียกว่า aerosol) เข้าไปใน ทางเดินหายใจ ถ้าอยู่ใกล้ผู้ป่วยในระยะ 1-2 เมตรจะติดเช้ือจากการสูดฝอยละอองขนาดใหญ่และฝอยละออง ขนาดเล็กจากการไอจามรดกันโดยตรง ถ้าอยู่ห่างจากผู้ป่วย 2 เมตรขึ้นไป จะติดเชื้อจากการสูดฝอยละออง ขนาดเล็ก การแพร่ทั้งสองวิธีมีการป้องกันที่มีประสิทธิภาพแตกต่างกัน ส่วนการแพร่เชื้อโดยการสัมผัส เช่น การจับมือกันหรือมือจับของใช้สาธารณะร่วมกัน แล้วมาแคะจมูกหรือเช็ดตาตนเองแล้วตดิ เชื้อพบได้น้อยมาก การแพร่ทางอจุ จาระอาจจะเป็นไปไดเ้ พราะเชื้อออกมาทางอุจจาระไดด้ ว้ ย แต่การแพรเ่ ช้อื วธิ ีน้จี ะต้องมีการทำ ให้น้ำล้างอุจจาระกระเด็นเป็นฝอยละอองเพื่อให้ผู้อื่นสูดดมเข้าไปในหลอดลมด้วย (เป็นวิธีการแพร่กระจาย ของเช้อื SARS-CoV ในปี 2546 ในโรงแรมท่ีฮ่องกง) กระทรวงสาธารณสขุ (2563) กล่าวว่าการเดนิ ออกกำลังกายสามารถแพรเ่ ชือ้ ได้ 4-5 เมตร การวง่ิ หรอื ป่นั จกั รยานชา้ ๆ สามารถแพรเ่ ช้อื ไดไ้ กลถงึ 10 เมตร การป่นั จักรยานเร็วมาก ๆ แพรเ่ ช้ือไดไ้ กล 20 เมตร และ การไอจาม 2 เมตร ข้อควรระวังในการออกกำลังกายช่วง Covid-19 (กรมอนามัย, 2563) ได้แก่ หลีกเลี่ยงการสัมผัส ใบหน้า ให้ใช้ผ้าหรือ Headband เช็ดเหงื่อแทน, ทำความสะอาดอุปกรณ์ออกกำลังกายก่อนเล่นทุกคร้ัง โดยเฉพาะอุปกรณ์ที่เราต้องสัมผัส เช่น ดัมเบล เป็นต้น เลี่ยงการสัมผัสกับพื้นผิวสัมผัสในที่สาธารณะต่าง ๆ โดยไม่จำเป็น หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายในพื้นที่ที่มีคนจำนวนมากหรือในพื้นที่ที่มีคนแออัด ควรรักษา ระยะห่างจากคนอื่น ไม่ว่าจะอยู่ในช่วงออกกำลังกาย เข้าห้องน้ำหรือนั่งเก้าอี้ม้านั่งในสวน หากเดินออกกำลัง กายควรหลีกเลี่ยงการพูดคุยระยะใกล้ชิดและไม่ควรสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า ขณะวิ่งออ กกำลัง กาย เพราะเวลาออกกำลังกายร่างกายจะต้องการออกซเิ จนมากขึ้น สังเกตได้จากการหายใจเร็วข้ึน ถ้าเราสวม หน้ากากผ้าหรือหนา้ กากอนามยั จะทำให้ร่างกายได้รับออกซิเจนไมเ่ พียงพอ และยิ่งทำให้คาร์บอนไดออกไซด์ ที่ออกมาจากร่างกายสะสมอยใู่ นหนา้ กาก มีโอกาสทีจ่ ะหายใจไม่ทัน ปอด หัวใจและหลอดเลือดจะต้องทำงาน หนกั มากขนึ้ เปน็ อนั ตรายถงึ ชีวติ ได้ หากตอ้ งการว่ิงออกกำลังกายจริง ๆ ควรว่ิงในสถานที่ท่ีไม่มีคนพลุกพล่าน สามารถอยูห่ ่างจากคนอื่นได้หรือเปลีย่ นเป็นเดินออกกำลังกายแทน ล้างมือดว้ ยสบูห่ รือเจลแอลกอฮอล์บ่อย ๆ เมือ่ ออกกำลงั กายเสร็จแล้ว ห้ามรวมตัว สังสรรค์ ด่ืมกิน และเมอื่ กลบั ถึงบา้ นใหเ้ ปลี่ยนเส้อื ผ้าและอาบน้ำทันที
27 12. ราชกิจจานุเบกษา ข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แหง่ พระราชกำหนดการบริหารราชการใน สถานการณ์ฉกุ เฉิน พ.ศ.2548 (ฉบับที่ 5) ราชกิจจานุเบกษา ข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการใน สถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (ฉบับท่ี 5) โดยมีรายละเอียดว่า ตามท่ีได้มปี ระกาศสถานการณ์ฉกุ เฉินในทุกเขต ท้องที่ทั่วราชอาณาจักรตั้งแต่วันที่ 26 มี.ค.2563 และต่อมาได้ขยายระยะเวลาการบังคับใช้ประกาศ สถานการณ์ฉุกเฉนิ ดงั กล่าวออกไปจนถึงวันท่ี 31 พ.ค.2563 แลว้ น้ันเพ่อื ใหก้ ารบงั คบั ใช้มาตรการต่าง ๆ ยังคง ดำรงอยู่ต่อไปเพื่อยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ไปสู่พื้นที่อื่นและป้องกันมิให้โรคกลับมาแพร่ระบาด ใหม่ในพื้นที่ซึ่งเคยควบคุมได้ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการใน สถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 และมาตรา 11 แห่งพระราชบัญญัตริ ะเบยี บบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 นายกรฐั มนตรีจึงออกขอ้ กำหนดเป็นการทั่วไปและข้อปฏิบตั แิ ก่ส่วนราชการทง้ั หลาย ดังตอ่ ไปนี้ 1. การหา้ มออกนอกเคหสถาน ให้การหา้ มบุคคลใดทวั่ ราชอาณาจักรออกนอกเคหสถาน ระหว่างเวลา 22.00 -04.00 น. ของวันรุ่งขึ้นตามข้อกำหนด (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 2 เม.ย.2563 และข้อยกเว้นการห้ามออก นอกเคหสถานตามข้อกำหนด (ฉบับที่ 3) ลงวันที่ 10 เม.ย.2563 ยังคงใช้บังคับต่อไป ผู้ฝ่าฝืนย่อมมีความผิด ตามพระราช กำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 และหากไม่ปฏิบัติตามมาตรการ ป้องกันโรคตามที่ทางราชการกำหนดด้วย เช่น ออกนอกเคหสถานในเวลาดังกล่าว และไม่ยอมรับการแยกกัก กักกันหรือคุมไว้สังเกตหรือมั่วสุมชุมนุมกันทำกิจกรรมอันเสี่ยงต่อการแพร่โรคในเวลาดังกล่าว อาจมีความผิด อีกสถานหน่งึ ตามกฎหมายว่าดว้ ยโรคติดต่อหรอื หากอาศยั ช่วงเวลาดังกล่าวไปกระทำความผิดตามกฎหมายอ่ืน เช่น ความผดิ ตามประมวลกฎหมายอาญา กฎหมายว่าด้วยยาเสพติด กฎหมายว่าดว้ ยการพนันหรือกระทำการ ฝ่าฝืนข้อกำหนดในเรื่องอื่น ๆ นอกจากเรื่องการห้ามออกนอกเคหสถานและขณะเดียวกันก็เป็นการกระทำ ความผิดตามกฎหมายอื่นด้วย เช่น เสนอข่าวเกี่ยวกับสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาอันไม่เป็นความจริง ซึ่งเป็นความผิดตามข้อ 6 แห่งข้อกำหนด (ฉบับที่ 1) ลงวันที่ 25 มี.ค.2563 และเป็นความผิดตามกฎหมายว่า ด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ก็ให้ดำเนินคดีตามกฎหมายเหล่านั้นทุกฐานความผิด ทั้งนี้ทาง ราชการอาจพิจารณาขึ้นทะเบียนรายชื่อผู้กระทำความผิดดังกล่าว เพื่อประกอบการพิจารณาในการขอรับ ความชว่ ยเหลือเยียวยาจากรัฐในโอกาสต่อไปด้วยกไ็ ด้ 2. การหา้ มหรือจำกัดการดำเนินการหรือการทำกจิ กรรมบางอย่างตามพระราชกำหนดและหมายอื่นท่ี เกยี่ วขอ้ ง (1) ห้ามการใช้อาคารสถานที่ของโรงเรียนและสถาบนั การศึกษาทุกประเภทเพื่อจัดการเรียนการสอน การสอบ การฝกึ อบรมหรือการทำกิจกรรมใด ๆ ที่มีผ้เู ขา้ ร่วมเปน็ จำนวนมาก เวน้ แตเ่ ปน็ การดำเนินการส่ือสาร แบบทางไกลหรอื ดว้ ยวิธอี เิ ล็กทรอนกิ ส์ (2) ห้ามผู้ใดจัดให้มีกิจกรรมซึ่งมีผู้เข้าร่วมเป็นจำนวนมากในลักษณะมั่วสุมประชุมกัน หรือมีโอกาส ติดต่อสัมผัสกันได้ง่าย เช่น การประชุม การสัมมนา การแจกจ่ายอาหารหรือสิ่งของ การจัดเลี้ยง เว้นแต่เป็น การจัดโดยพนกั งานเจา้ หนา้ ที่หรือไดร้ บั อนญุ าตจากพนักงานเจา้ หน้าท่ีและตอ้ งเว้นระยะหา่ งทางสงั คมระหว่าง ผ้เู ขา้ รว่ มกิจกรรมอย่างนอ้ ยหน่ึงเมตร สถานทีท่ ำกจิ กรรมตอ้ งโล่งแจง้ หรอื ไม่แออัด ใชร้ ะยะเวลาทำกจิ กรรมไม่
28 นาน และมีมาตรการป้องกนั โรคตามที่ทางราชการกำหนด ในกรณเี ปน็ การประชุม การสมั มนา ควรจัดประชุม ด้วยวิธกี ารตามพระราชกำหนดวา่ ดว้ ยการประชุมผ่านสื่ออเิ ล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2563 ซึ่งมผี ลใช้บังคับแล้วต้ังแต่ วนั ท่ี 19 เม.ย. 2563 (3) ห้ามผู้ใดใช้ท่าอากาศยานเพื่อการขึ้นลงของอากาศยานเว้นแต่เป็นไปตามประกาศ เงื่อนไข และ เงอ่ื นเวลาท่ีผ้มู อี ำนาจตามกฎหมายว่าดว้ ยการเดินอากาศกำหนด (4) ให้ผู้เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรโดยทางบก ทางน้ำหรือทางอากาศ ปฏิบัติตามเงื่อนไข เงื่อน เวลา และหลกั เกณฑ์ทนี่ ายกรฐั มนตรี ศูนยบ์ ริหารสถานการณ์โควิด-19 หรอื ผมู้ อี ำนาจตามกฎหมายว่าด้วยคน เข้าเมืองกฎหมายวา่ ดว้ ยการเดนิ อากาศและกฎหมายวา่ ด้วยโรคติดต่อกำหนดซึง่ แบ่งออกเปน็ มาตรการสำหรับ ชาวต่างประเทศ และมาตรการสำหรับผู้มสี ัญชาติไทย เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรค และควบคุมจำนวน คนเข้าเมืองให้สอดคล้องกับความสามารถของเจ้าหน้าที่ในการคัดกรองและการจัดที่เอกเทศไว้แยกกัก กักกัน หรอื คมุ ไวส้ งั เกต (5) ให้ผ้ซู ่ึงเจา้ พนกั งานควบคุมโรคติดต่อหรอื พนักงานเจา้ หน้าท่ี ส่งั หรือกำหนดเปน็ เง่อื นไขในการเดิน ทางเขา้ มาในราชอาณาจกั รใหแ้ ยกกัก กกั กนั หรอื คมุ ไว้สงั เกต ณ ที่เอกเทศ หรือสถานท่ีซ่งึ ทางราชการกำหนด ตอ้ งปฏิบตั ติ ามคำสงั่ หรอื เงือ่ นไขดงั กลา่ วตามระยะเวลาท่ีกำหนด (6) ให้ผู้วา่ ราชการกรงุ เทพมหานครและผู้วา่ ราชการจังหวดั อาศยั อำนาจตามพระราชบัญญัตโิ รคติดต่อ พ.ศ. 2558 มีคำสั่งปิดสถานที่ซึ่งมีโอกาสเสี่ยงต่อการแพร่โรค ดังนี้ โรงมหรสพ สถานบริการ ผับ บาร์ สถาน บันเทงิ สวนนำ้ สนามเด็กเลน่ สวนสนุก สวนสตั ว์ สถานทีเ่ ล่น สเกต็ หรือโรลเลอร์เบรคหรือการละเลน่ อ่ืน ๆ ใน ทำนองเดียวกัน สนุกเกอร์ บิลเลียด สถานที่เล่น โบว์ลิ่งหรือตู้เกม ร้านเกมและร้านอินเทอร์เน็ต สระว่ายน้ำ สาธารณะ สนามชนไก่ ห้างสรรพสินค้า ศูนย์การค้า สถานที่ออกกำลังกาย ฟิตเนส คลินิกเวชกรรมเสริมความ งาม ศูนย์แสดงสินค้า ศูนย์ประชุม สถานที่จัดนิทรรศการ พิพิธภัณฑ์ ห้องสมุดสาธารณะ สถานรับเลี้ยงเด็ก สถานดูแลผู้สูงอายุ สนามมวย โรงเรียนสอนศิลปะการต่อสู้ (ยิม) สถานที่สักหรือเจาะผิวหนังหรือส่วนใดส่วน หนึ่งของร่างกาย สถาบันสีลาศหรือสอนลีลาศ สนามม้า สถานประกอบกิจการอาบน้ำ อบไอน้ำ อบสมุนไพร สถานประกอบการเพ่ือสขุ ภาพ สถานประกอบการนวดแผนไทย นวดฝา่ เท้าและสถานประกอบกจิ การอาบ อบ นวด ในพน้ื ทีร่ ับผดิ ชอบเปน็ การชัว่ คราว จนกวา่ จะไดป้ ระเมินสถานการณแ์ ละมีข้อกำหนดให้ผ่อนคลายต่อไป (7) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและผู้ว่าราชการจังหวัดอาจพิจารณาปิด จำกัดหรือห้ามการ ดำเนนิ การสถานที่ หรอื สง่ั ใหง้ ดการทำกจิ กรรมอนื่ ท่มี คี วามเสย่ี งนอกเหนือจากทีร่ ะบุไว้ เพิ่มเติม ภายในพื้นที่รับผิดชอบได้ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 แต่การสั่งให้เปิด ดำเนินการสถานที่หรือกิจกรรมใด ๆ ที่มีคำสั่งปิดหรือมีข้อจำกัดการใช้สถานที่ตามข้อ 1-5 หรือตามที่มีคำส่ัง ปิดตามขอ้ (6) และ (7) จะกระทำมไิ ด้จนกวา่ จะไดป้ ระเมนิ สถานการณ์และมีข้อกำหนดใหผ้ อ่ นคลายต่อไป 3. คำสั่งหรือการกำหนดตามข้อ 2 (3) (4) (5) (6) และ (7) ถือว่าเป็นคำสั่งตามข้อกำหนดที่ออกตาม พระราชกำหนดการบรหิ ารราชการในสถานการณฉ์ กุ เฉนิ พ.ศ.2548 ดว้ ย 4. การปฏิบัติศาสนกิจหรือศาสนพิธีในวันสำคัญทางศาสนาหรือตามประเพณีนิยม ณ ศาสนสถานใด ให้เป็นไปตามดุลยพินิจ และอยู่ในความรับผิดชอบของผู้ปกครองดูแลศาสนสถานนั้น ในกรณีมีมาตรการหรือ
29 คำแนะนำขององค์กรปกครองทางศาสนาน้นั หรือของทางราชการเกย่ี วกับการป้องกันโรค ใหผ้ ู้เกี่ยวขอ้ งปฏิบัติ ตามมาตรการหรือคำแนะนำดังกลา่ ว 5. ให้ประชาชนงดหรือชะลอการเดินทางข้ามเขตพื้นที่จังหวัด เว้นแต่มีความจำเป็น ซึ่งต้องแสดง เหตุผลและหลักฐานต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ทั้งต้องรับการตรวจคัดกรอง และต้องปฏิบัติตามมาตรการป้องกัน โรคตามที่ทางราชการกำหนดอันอาจทำให้การเดินทางต้องใช้เวลามากกว่าปกติ และไม่ได้รับความสะดวกใน การเดินทาง 13. งานวจิ ัยที่เกยี่ วข้อง ผวู้ จิ ัยได้ทำการทบทวนวรรณกรรมและงานวิจยั ทเี่ กี่ยวข้องกับปัจจยั ท่ีมคี วามสัมพันธต์ ่อพฤติกรรมการ ออกกำลังกาย พบงานวจิ ยั ดงั ตอ่ ไปนี้ ชลลดา บุตรวิชา (2561) ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ ในชมรมเสริมสร้างสุขภาพและสิ่งแวดล้อมเขตสายไหม กรุงเทพมหานคร พบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้สูงอายุแบ่งเป็น 2 ประเด็น คือ ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับ การศึกษา สถานภาพการสมรส รายได้ต่อเดือน และแหล่งที่มาของรายได้ ปัจจัยสนับสนุน ได้แก่ ความรู้ เกี่ยวกับการออกกำลังกาย การรับรู้โอกาสเส่ียงของการไม่ออกกำลังกาย การรับรู้ความรุนแรงของการไม่ออก กำลังกาย การรับรู้ประโยชน์และการรับรู้อุปสรรคของการออกกำลังกาย ทัศนคติเกี่ยวกับการออกกำลังกาย ความสามารถของตนเองในการออกกำลังกาย การได้รบั การสนบั สนนุ จากสมาชิกในครอบครวั เพื่อน บุคลากร ทางการแพทย์และสือ่ มวลชน พบว่าปัจจยั เหลา่ น้มี คี วามสมั พนั ธก์ ับพฤตกิ รรมการออกกำลงั กายของผสู้ งู อายุ มยรุ ี ยีปาโล๊ะ (2556) ศกึ ษาความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อกับพฤติกรรมการออกกำลังกายของวัยรุ่น หญิงมุสลิมในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาในภาคใต้ ผลการวิจัยพบว่า ความเชื่อเกี่ยวกับการออกกำลังกาย ได้แก่ การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคจากการไม่ออกกำลังกาย การรับรู้ความรุนแรงของโรคจากการไม่ ออกกำลังกาย การรับรู้ประโยชน์ของการออกกำลังกาย และการรับรู้อุปสรรคและสิ่งที่ต้องคำนึงถึงเกี่ยวกับ การออกกำลงั กายตามหลักศาสนาอสิ ลาม มีความสมั พันธก์ ับพฤติกรรมการออกกำลังกายของวยั รุน่ หญิงมุสลิม ในโรงเรยี นเอกชนสอนศาสนาในภาคใต้ อโนทัย ผลิตนนท์เกียรติ, ปิยวรรณ สืบวิเศษ, อรพรรณ กันนัง, กนกพรรณ ศรีสร้อย, รอฮายา หมาด ดา, วิไล พรรณ บุญรอด, และคณะ (2561) ได้ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการออกกำลังกาย ของนักศึกษากายภาพบำบัด มหาวทิ ยาลัยหวั เฉียวเฉลมิ พระเกียรติ พบว่าปัจจัยท่มี คี วามสัมพันธ์ต่อพฤติกรรม การออกกำลังกายของนักศึกษากายภาพบำบัดแบ่งเป็น 4 ประเด็น คือ ปัจจัยนำ ได้แก่ การรับรู้เกี่ยวกับการ ออกกำลังกาย ทัศนคติเกี่ยวการออกกำลังกาย ปัจจัยเอื้อ ได้แก่ ความพร้อมของสถานที่และอุปกรณ์ในการ ออกกำลังกาย และความพร้อมของสง่ิ อำนวยความสะดวก ปจั จยั เสริมแรง ได้แก่ การสนับสนนุ จากบุคคลรอบ ข้าง และการได้รับข้อมูลข่าวสาร ปัจจัยด้านพฤติกรรมการออกกำลังกาย ได้แก่ ระยะเวลาที่ใช้ในการออก กำลังกายแต่ละครั้ง ความรู้ในการออกกำลังกาย กิจกรรมและระยะเวลาอบอุ่นร่างกาย และการเคลื่อนไหว ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย พบว่าปัจจัยเหล่านี้มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการออกกำลังกายของนักศึกษา
30 กายภาพบำบดั สมนึก แก้ววิไล (2552) ได้ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายของนักศึกษาระดับ ปริญญาตรมี หาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร ผลการศกึ ษาพบวา่ การรับรู้ประโยชน์ของการออกกำลัง กาย และการรับรูอ้ ปุ สรรคการออกกำลังกายมีความสมั พันธ์กับพฤติกรรมการออกกำลังกายของนกั ศกึ ษาระดับ ปรญิ ญาตรี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร อัญนิกา งามเจริญ (2548) ได้ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายของสมาชิกชมรม สร้างสขุ ภาพ จังหวดั ราชบรุ ี ผลการศกึ ษาพบว่า ปจั จัยสว่ นบุคคล ไดแ้ ก่ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ และระยะเวลาการเป็นสมาชิก ปัจจัยด้านความรู้ ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของการออกก กำลงั กาย ความรเู้ กยี่ วกบั หลักการและเทคนิคการออกกำลังกาย ความรู้เก่ยี วกบั พฤติกรรมการออกกำลังกายท่ี ถูกต้อง ปัจจัยด้านเจตคติ ได้แก่ เจตคติเกี่ยวกับประโยชน์ของการออกกำลังกาย เจตคติเกี่ยวกับพฤติกรรม การออกกำลังกาย และปัจจัยสนับสนุนด้านการออกกำลังกาย ได้แก่ ปัจจัยสนับสนุนด้านบุคคล และปัจจัย สนับสนุนด้านสถานที่ มีผลต่อพฤติกรรมการรออกกำลังกายของสมาชิกชมรมสร้างสุขภาพจังหวัดราชบุรี กรอบแนวคดิ พฤติกรรมการออกกำลังกายในชว่ งการ 1. การรบั รู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย แพรร่ ะบาดของเชื้อโควดิ -19 ของนสิ ิต คณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 1.1 การรับรู้ประโยชนข์ องการออกกำลงั กาย 1.2 การรบั ร้อู ปุ สรรคของการออกกำลงั กาย 1.3 การรับรู้โอกาสเสย่ี งของการไม่ออกกำลังกาย 1.4 การรบั รู้ความรนุ แรงของการไม่ออกกำลังกาย 2. ปัจจยั ส่วนบุคคล 2.1 ดชั นมี วลกาย 2.1 รายได้
31 บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนินงานวิจยั การศกึ ษาวิจัย ปจั จยั ท่ีมีความสัมพันธต์ ่อพฤติกรรมการออกกำลังกายในช่วงการแพร่ระบาดโควิด-19 ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) แบบพรรณนา ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง (Cross-Sectional Descriptive Study) ซึ่งผู้วิจัย ดำเนนิ การได้ทำการเกบ็ ข้อมลู เพยี งคร้ังเดยี ว ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยใช้แบบสอบถามเพ่ือให้ได้มาซึ่งข้อมูล ความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด -19 ของนสิ ิตคณะพยาบาลช้นั ปที ่ี 3 มหาวทิ ยาลยั นเรศวร โดยเริ่มดำเนนิ งานวิจยั ตัง้ แต่วันท่ี 6 เมษายน 2563 ประชากรทใ่ี ช้ในการวิจัย ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้เป็นนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร หลักสูตร พยาบาลศาสตร์บณั ฑิต ช้นั ปีที่ 3 จำนวนทงั้ สิน้ 118 คน ปีการศกึ ษา 2563 กลุ่มตวั อยา่ งท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยในครั้งนี้เป็นนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ชั้นปีที่ 3 ปี การศึกษา 2563 จำนวนทั้งสิ้น 110 คน ขนาดกลุ่มตัวอย่าง ได้จากการคำนวณโดยใช้วิธีของ Yamane กำหนดใหม้ คี วามคลาดเคลอ่ื นเท่ากบั 0.05 (Yamane, 1973 อา้ งองิ ใน บุญใจ ศรีสถิตนรากูร, 2553) กลมุ่ ตัวอย่างทใ่ี ช้ในการศึกษาคร้ังน้ี ได้แก่ นสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ชั้นปีท่ี 3 ปี การศึกษา 2563 จำนวน 118 คน โดยใช้เทคนิคการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยใช้วิธีการจับสลากโดยการสุ่มเลือกแบบไม่มีการใส่คืน (Sampling without replacement) เพื่อให้ได้ตัวแทนที่ดีของกลุ่มประชากร ซึ่งทำการกำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรยามาเน่ (Yamane) กำหนด ระดบั นัยสำคัญที่ระดับ 0.05 (บญุ ใจ ศรีสถติ นรากูร, 2553) มีวิธกี ารคำนวณกลุ่มตัวอยา่ ง ดงั น้ี n = ������ 1+������������2 เมอื่ n= ขนาดของกลุ่มตวั อยา่ ง N= ขนาดของประชากรคอื นสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ชัน้ ปีท่ี 3 จำนวน 118 คน e= ความคลาดเคล่อื นในการส่มุ ตวั อย่างเทา่ ทย่ี อมรับได้ ในทน่ี ้กี ำหนดไว้ที่ 0.05 ได้ขนาดกลุ่มตวั อยา่ งทง้ั หมด = 118 1+118(0.0025) = 91 ดังนัน้ ในการศึกษาคร้งั น้จี ะได้ขนาดกล่มุ ตัวอย่างของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ได้จำนวนกลุ่มตวั อย่าง จำนวน 91 คน และเพือ่ ปอ้ งกันข้อมลู ไม่ครบถ้วนหรือสูญหาย (Dropout rate) จึงเผื่อ ขนาดกลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 20 ของจำนวนกลุ่มตัวอย่าง (Polit & Beck, 2004) คิดเป็น 19 คน รวมจำนวน
32 กลุ่มตัวอย่าง ท้ังสิ้น 110 คน โดยกำหนดคุณสมบตั ิ ดงั น้ี 1. เกณฑก์ ารคัดเขา้ ของกลมุ่ ตวั อย่าง (Inclusion Criteria) 1.1 เป็นนสิ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ ช้ันปีท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2563 1.2 มีอายุ 20 ปขี ึ้นไป 1.3 เป็นผู้มีสติสัมปชัญญะครบถ้วน ไม่มีความบกพร่องด้านการได้ยิน สามารถอ่านเขียน ภาษาไทยได้ 1.4 ยนิ ดีใหค้ วามร่วมมือในการทำวิจัยคร้งั น้ี 2. เกณฑ์การคดั ออกของกลุ่มตวั อย่าง (Exclusion Criteria) 2.1 ตอ้ งการยกเลกิ การเข้าร่วมวิจยั ระหวา่ งดำเนนิ การวิจยั 2.2 มีภาวะเจบ็ ป่วยกะทนั หนั ไม่สามารถใหข้ ้อมูลได้ 2.3 ลาออกหรือมีการยา้ ยออกจากพื้นท่ีการวิจยั ในระหว่างการดำเนนิ การวจิ ยั เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการวจิ ัย เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ผู้ศึกษาใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูล เพื่อศึกษาปัจจัยที่ ผลต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายในช่วงการระบาดของเชื้อโควิด-19 ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีท่ี 3 มหาวิทยาลัยนเรศวร โดยสรา้ งแบบสอบถามขนึ้ ตามกรอบแนวคดิ ทฤษฎีไดจ้ ากการทบทวนงานวจิ ัยที่เก่ียวข้อง และสอดคลอ้ งกับ วตั ถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษาแบ่งเปน็ 3 ส่วน คอื สว่ นที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกบั ขอ้ มลู พน้ื ฐาน จำนวน 4 ขอ้ ส่วนที่ 2 แบบสอบถามเกย่ี วกบั การรับร้ดู า้ นสุขภาพ จำนวน 39 ขอ้ แบ่งเป็น 2.1 แบบสอบถามดา้ นการรับรูป้ ระโยชนข์ องการออกกำลังกาย จำนวน 10 ข้อ 2.2 แบบสอบถามด้านการรับรอู้ ุปสรรคของการออกกำลังกาย จำนวน 8 ข้อ 2.3 แบบสอบถามด้านการรบั รโู้ อกาสเส่ียงของการไม่ออกกำลงั กาย จำนวน 8 ขอ้ 2.4 แบบสอบถามดา้ นการรับรู้ความรุนแรงของการไม่ออกกำลงั กาย จำนวน 13 ขอ้ ส่วนที่ 3 แบบสอบถามพฤตกิ รรมการออกกำลงั กาย จำนวน 11 ขอ้ แบบสอบถามตอนที่ 1 เป็นคำถามเก่ยี วกบั ขอ้ มูลพนื้ ฐานของผ้ตู อบแบบสอบถาม ซ่ึงผู้วิจัยสรา้ งขึน้ เอง มีทั้งหมด 4 ข้อ ได้แก่ ดัชนีมวลกาย รายได้ โรคประจำตัว และประวัติโรคทางพันธุกรรม โดยเป็นลักษณะ คำถามแบบเลอื กตอบ และเตมิ ข้อความให้สมบูรณ์ แบบสอบถามตอนที่ 2 เป็นคำถามเกี่ยวกับปัจจัยการรับรู้ด้านสุขภาพของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นมาตรวัดแบบ Likert (Likert Scale) สอบถามถึงระดับความเห็นด้วย โดยแบ่งออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการรับรู้ประโยชน์ของการออกกำลังกาย ซึ่งแบบสอบถามของ คุณมยุรี ยีปาโล๊ะ มจี ำนวน 10 ข้อ ไดแ้ ก่ ข้อ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 และ10 ด้านการรบั รู้อุปสรรคของการออกกำลัง กาย ซึ่งแบบสอบถามของ คุณมยุรี ยีปาโล๊ะ มีจำนวน 5 ข้อ ได้แก่ ข้อ 2, 3, 4, 6 และ7 ซึ่งในการวิจัยครั้งน้ี ผู้วิจัยได้เพิ่มข้อมูลในแบบสอบถามจากการทบทวนวรรณกรรมในข้อที่ 1, 5, และ8 ด้านการรับรู้โอกาสเสี่ยง
33 ของการไม่ออกกำลังกาย ซึ่งแบบสอบถามของ คุณมยุรี ยีปาโละ๊ มจี ำนวน 8 ข้อ ไดแ้ ก่ ข้อ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, และ8 และด้านการรับรู้ความรุนแรงของการไม่ออกกำลังกาย ซึ่งแบบสอบถามของ คุณชลลดา บุตรวิชา มจี ำนวน 12 ขอ้ ได้แก่ ขอ้ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11, และ13 ซ่ึงในการวิจัยครั้งน้ผี ้วู ิจยั ไดเ้ พ่ิมข้อมูลใน แบบสอบถามจากการทบทวนวรรณกรรมในข้อที่ 12 รวมท้ังส้นิ จำนวน 39 ขอ้ 2.1 แบบสอบถามด้านการรับรู้ประโยชน์ของการออกกำลังกาย จำนวน 10 ข้อ มีลักษณะคำถามท่ี สร้างตามแบบการวัดของลิเคอร์ท (Likert’s scale) แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 อันดับ ตวั เลอื ก คือ เหน็ ดว้ ยอย่างย่งิ เห็นด้วย เห็นด้วยปานกลาง ไมเ่ ห็นดว้ ย ไม่เหน็ ด้วยอย่างย่ิง ขอ้ คําถามมีลักษณะ แสดงด้านบวก (Positive Statement) ลักษณะข้อคำถามมเี กณฑ์การให้คะแนนดงั น้ี ข้อความแสดงด้านทางบวก (Positive Statement) เห็นด้วยอย่างยิง่ 5 คะแนน เห็นดว้ ย 4 คะแนน เห็นดว้ ยปานกลาง 3 คะแนน ไมเ่ หน็ ดว้ ย 2 คะแนน ไมเ่ ห็นด้วยอย่างยง่ิ 1 คะแนน เกณฑ์การแบ่งระดับการรับรู้ประโยชน์ของการออกกำลังกาย แบ่งออกเป็น 3 ระดับโดย พิจารณาจากค่าพสิ ยั ของคะแนน คา่ เฉล่ยี รว่ มกบั คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน ดังนี้ มาก คือ คะแนนระหว่าง 38-50 คะแนน ปานกลาง คอื คะแนนระหว่าง 24-37 คะแนน น้อย คอื ไดค้ ะแนนระหว่าง 10-23 คะแนน 2.2 แบบสอบถามด้านการรับรู้อุปสรรคของการออกกำลังกาย จำนวน 8 ข้อ มลี ักษณะคําถามที่สร้าง ตามแบบการวัดของลเิ คอร์ท (Likert’s scale) แบบมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating scale) 5 อนั ดบั ตัวเลือก คือ เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย เห็นด้วยปานกลาง ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ข้อคำถามมีลักษณะแสดง ด้านบวก (Positive Statement) ข้อความแสดงดา้ นทางบวก (Positive Statement) เหน็ ด้วยอยา่ งย่งิ 5 คะแนน เหน็ ด้วย 4 คะแนน เห็นดว้ ยปานกลาง 3 คะแนน ไมเ่ ห็นด้วย 2 คะแนน ไม่เห็นด้วยอย่างยิง่ 1 คะแนน
34 เกณฑ์การแบ่งระดับการรับรู้อุปสรรคของการออกกำลังกาย แบ่งออกเป็น 3 ระดับโดย พจิ ารณาจากคา่ พิสยั ของคะแนน ค่าเฉลี่ยร่วมกบั คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน ดงั น้ี มาก คือ คะแนนระหวา่ ง 32-40 คะแนน ปานกลาง คอื คะแนนระหวา่ ง 20-31 คะแนน นอ้ ย คอื คะแนนระหว่าง 8-19 คะแนน 2.3 แบบสอบถามด้านการรับรโู้ อกาสเสี่ยงของการไม่ออกกำลังกาย จำนวน 8 ขอ้ มีลักษณะคำถามที่ สร้างตามแบบการวัดของลิเคอร์ท (Likert’s scale) แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 อันดับ ตัวเลอื ก คอื เห็นด้วยอย่างย่งิ เหน็ ดว้ ย เห็นด้วยปานกลาง ไมเ่ หน็ ด้วย ไมเ่ หน็ ด้วยอยา่ งย่ิง ข้อคำถามมีลักษณะ แสดงด้านบวก (Positive Statement) ลกั ษณะขอ้ คำถามมเี กณฑก์ ารให้คะแนนดังน้ี ขอ้ ความแสดงด้านทางบวก (Positive Statement) เห็นดว้ ยอย่างย่ิง 5 คะแนน เห็นด้วย 4 คะแนน เห็นด้วยปานกลาง 3 คะแนน ไมเ่ ห็นด้วย 2 คะแนน ไมเ่ ห็นดว้ ยอยา่ งยิง่ 1 คะแนน เกณฑ์การแบ่งระดับการรับรโู้ อกาสเสย่ี งของการไม่ออกกำลังกาย แบง่ ออกเปน็ 3 ระดับโดย พจิ ารณาจากค่าพิสยั ของคะแนน ค่าเฉลยี่ ร่วมกับค่าเบยี่ งเบนมาตรฐาน ดงั น้ี มาก คอื คะแนนระหวา่ ง 32-40 คะแนน ปานกลาง คอื คะแนนระหว่าง 20-31 คะแนน น้อย คือ คะแนนระหว่าง 8-19 คะแนน 2.4 แบบสอบถามด้านการรบั รู้ความรนุ แรงของการไม่ออกกำลงั กาย จำนวน 13 ขอ้ มีลกั ษณะคำถาม ที่สร้างตามแบบการวัดของลิเคอร์ท (Likert’s scale) แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 อันดับ ตัวเลือกคือเห็นด้วยอยา่ งย่ิง เห็นด้วย เห็นด้วยปานกลาง ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ข้อคำถามมีลักษณะ แสดงดา้ นบวก (Positive Statement) เกณฑ์การแบ่งระดับการรับรโู้ อกาสเสี่ยงของการไม่ออกกำลังกาย แบ่งออกเปน็ 3 ระดับโดย พจิ ารณาจากคา่ พิสัยของคะแนน คา่ เฉลี่ยร่วมกบั ค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ดังนี้ มาก คอื คะแนนระหวา่ ง 32-40 คะแนน ปานกลาง คอื คะแนนระหวา่ ง 20-31 คะแนน นอ้ ย คือ คะแนนระหว่าง 8-19 คะแนน ลกั ษณะขอ้ คำถามมีเกณฑ์การใหค้ ะแนนดงั นี้
35 ข้อความแสดงดา้ นทางบวก (Positive Statement) เหน็ ดว้ ยอยา่ งยง่ิ 5 คะแนน เห็นดว้ ย 4 คะแนน เห็นด้วยปานกลาง 3 คะแนน ไม่เห็นด้วย 2 คะแนน ไม่เห็นดว้ ยอยา่ งย่ิง 1 คะแนน เกณฑก์ ารแบง่ ระดับการรับรู้ความรนุ แรงของการไม่ออกกำลังกายแบ่งออกเป็น 3 ระดับโดย พิจารณาจากคา่ พิสัยของคะแนน คา่ เฉลี่ยร่วมกบั คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน ดงั นี้ มาก คอื คะแนนระหวา่ ง 49-65 คะแนน ปานกลาง คือ คะแนนระหวา่ ง 31-48 คะแนน น้อย คือ คะแนนระหว่าง 13-30 คะแนน แบบสอบถามตอนที่ 3 เป็นคำถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการออกกำลังกาย เป็นแบบสอบถามแบบช่วง มาตรา (Interval scale) มี 3 ระดบั คือ ปฏิบัติเปน็ ประจำ ปฏิบัตบิ างครั้ง ไม่เคยปฏบิ ัติ ซึ่งแบบสอบถามของ คุณฉลอง อภิวงค์ มีจำนวน 4 ข้อ ได้แก่ ข้อ 3, 4, 7, และ8 ซึ่งในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้เพิ่มข้อมูลใน แบบสอบถามจากการทบทวนวรรณกรรมในขอ้ ท่ี 1, 2, 5, 6, 9, 10 และ11 รวมทงั้ ส้นิ 11 ขอ้ ลักษณะขอ้ คำถามมเี กณฑ์การใหค้ ะแนนดังน้ี ปฏบิ ัติเป็นประจำ หมายถงึ ปฏบิ ตั ิเป็นประจำ (มากกว่า 3 คร้งั /สปั ดาห์) 3 คะแนน ปฏบิ ตั บิ างคร้ัง หมายถงึ ปฏบิ ตั ิบางคร้งั (1-3 ครั้ง/สปั ดาห์) 2 คะแนน ไม่เคยปฏิบตั ิ หมายถงึ ไม่เคยปฏบิ ตั ิ 1 คะแนน การแปลผลคะแนนพฤติกรรมการออกกำลังกายพิจารณาจากคะแนนเฉลี่ยของพฤติกรรมการออก กำลังกาย ด้วยวิธีการหาอันตรภาคชั้นโดยใช้ค่าพิสัย คำนวณจากคะแนนสูงสุดลบด้วยคะแนนต่ำสุด แล้วนำ ผลลัพธ์ที่ได้มาแบ่งเป็น 3 ช่วงเท่า ๆ กัน ซึ่งสามารถแปลความหมายของคะแนนออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับสงู ระดับปานกลาง และระดบั ตำ่ โดยกำหนดระดับคะแนนพฤตกิ รรมการออกกำลังกาย ดงั น้ี คะแนนเฉลย่ี ระดบั พฤตกิ รรมการออกกำลังกาย สูง คือ คะแนนระหวา่ ง 38-48 คะแนน ปานกลาง คอื คะแนนระหวา่ ง 27-37 คะแนน ตำ่ คือ คะแนนระหว่าง 16-26 คะแนน โดยความกวา้ งของอันตรภาคช้นั = 11 ซง่ึ ได้มาจากการคำนวณสมการ ดงั น้ี ความกว้างของอนั ตรภาคชั้น = คะแนนสูงสุด – คะแนนตำ่ สดุ /จำนวนชนั้
36 การตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมอื ผูว้ ิจัยทำการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งน้โี ดยการตรวจสอบความตรงของ เน้อื หา (Content Validity) และความเทยี่ งของเครอื่ งมอื (Reliability) 1. การตรวจสอบความตรงของเนอ้ื หา (Content Validity) ผูว้ จิ ยั นำแบบสอบถามปัจจยั ที่มคี วามสัมพนั ธต์ ่อพฤติกรรมการออกกำลงั กายในช่วงการแพร่ระบาด ของเช้ือโควิด-19 เสนอต่ออาจารย์ทป่ี รกึ ษาวจิ ยั เพ่ือตรวจสอบความเหมาะสมของข้อคำถาม ความครอบคลุม ของเน้ือหา การใชภ้ าษา พร้อมท้งั ปรบั ปรงุ แก้ไขตามคำแนะนำของอาจารย์ท่ปี รึกษา และตรวจสอบความตรง ของแบบสอบถามปจั จัยท่ีมีความสัมพนั ธต์ ่อพฤติกรรมการออกกำลงั กายในชว่ งการแพร่ระบาดของเช้อื โควิด- 19 โดยผ้ทู รงคุณวฒุ จิ ำนวน 3 ท่าน ไดแ้ ก่ ดร.สุรภี รณ์ สวุ รรณโอสถ, ดร.มาณกิ า เพชรรัตน์ และอาจารยน์ ติ ยา ศรบี ัวรมย์ โดยผู้ทรงคุณวฒุ พิ ิจารณา ประเมนิ ตรวจสอบ ตามมาตรประเมนิ ความสอดคล้องจะมี 4 ระดับ คอื 1 = ไม่สอดคล้อง 2 = สอดคล้องบางส่วน 3 = คอ่ นข้างสอดคล้อง 4 = มคี วามสอดคลอ้ งมาก การหาค่าดัชนีความตรงเชงิ เนื้อหา นำเฉพาะขอ้ ที่ไดร้ ับการประเมิน 3 หรอื 4 เท่านั้น โดยใชส้ ตู ร CVI = จำนวนคำถามทีผ่ เู้ ชย่ี วชาญทุกคนให้ความคิดเห็นทไี่ ดค้ ะแนน 3 และ 4 จำนวนคำถามท้ังหมด หลงั จากนำไปตรวจสอบความตรงของเน้ือหาโดยผู้ทรงคุณวฒุ จิ ำนวน 3 ท่านและนำคา่ ท่ไี ด้มาเข้าสูตร หาดัชนีความตรงเนื้อหา ได้ค่าความตรงของเนื้อหาในแต่ละด้าน ดังนี้ แบบสอบถามด้านการรับรู้ประโยชน์ ในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ได้ 1.00 ด้านการรับรู้อุปสรรคของการออกกำลังกายในช่วงการแพร่ ระบาดของเชื้อโควิด-19 ได้ 0.88 แบบสอบถามด้านการรับรู้โอกาสเสี่ยงของการไม่ออกกำลังกายในช่วงการ แพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ได้ 0.89 แบบสอบถามด้านการรับรู้ความรุนแรงของการไม่ออกกำลังกายในชว่ ง การแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ได้ 0.85 และแบบสอบถามด้านพฤติกรรมการออกกำลังกายในช่วงการแพร่ ระบาดของเชือ้ โควดิ -19 ได้ 0.81 ซงึ่ เป็นคา่ ดชั นคี วามตรงของเนอื้ หาท่ยี อมรบั ได้ท้งั หมด 2. การตรวจสอบความเชื่อมั่นของเครือ่ งมือ (Reliability) ผวู้ ิจัยจะนำแบบสอบถามปจั จัยท่ีมีความสมั พนั ธ์ต่อพฤติกรรมการออกกำลงั กายในช่วงการแพร่ระบาด ของเช้ือโควิด-19 ทีผ่ ่านการตรวจสอบจากผ้ทู รงคุณวุฒมิ าปรบั ปรงุ และนำไปใช้ทดสอบความเชื่อมั่นโดยนำไป ทดลองใช้กับนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีท่ี 2 และ ชั้นปีที่ 4 จำนวน 30 คน แล้วนำผลที่ได้จาก แบบสอบถามมาวิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบสอบถามโดยใช้สูตรแบบสัมประสิทธ์ิ แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficient) โดยรวมเท่ากับ 0.901 ซึ่งได้ค่าความเชื่อมั่นของ แบบสอบถามในแต่ละด้าน ดังนี้ แบบสอบถามด้านการรับรู้ประโยชน์ในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19
37 ได้ 0.900 แบบสอบถามดา้ นการรบั รอู้ ปุ สรรคของการออกกำลงั กายในช่วงการแพร่ระบาดของเช้ือโควิด-19 ได้ 0.800 แบบสอบถามด้านการรบั รูโ้ อกาสเสีย่ งของการไม่ออกกำลังกายในช่วงการแพรร่ ะบาดของเช้ือโควิด-19 ได้ 0.883 แบบสอบถามดา้ นการรับรูค้ วามรนุ แรงของการไม่ออกกำลังกายในช่วงการแพรร่ ะบาดของเชอื้ โควิด- 19 ได้ 0.881 และแบบสอบถามด้านพฤติกรรมการออกกำลังกายในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ได้ 0.828 ซงึ่ เปน็ ค่าความเชอ่ื มน่ั ท่ยี อมรับได้ทง้ั หมด วิธีการรวบรวมขอ้ มลู การทำวิจัยครั้งนี้ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง โดยมีการดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ดงั นี้ 1. ผู้ดำเนินยื่นหนังสือและเอกสารที่เกี่ยวข้องขอรับการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์จาก คณะกรรมการจรยิ ธรรมวจิ ัยในมนุษยข์ องมหาวทิ ยาลัยนเรศวร 2. หลังจากได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการวิจัยในมนุษย์ในการเก็บข้อมูล ผู้วิจัยจัดทำหนังสือถึง คณบดี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อขอความอนุเคราะห์ในการเก็บรวบรวมข้อมลู จากกลุ่ม ตัวอย่างที่เปน็ นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2563 ท้งั หมด 110 คน 3. เมื่อได้รับอนุมัติแล้ว ผู้วิจัยนัดหมายและเข้าพบกลุ่มตัวอย่าง พร้อมแนะนำตัวชี้แจงวัตถุประสงค์ และรายละเอียดเกี่ยวกับการเข้าร่วมโครงการวิจัย วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ตลอดจนสิทธิในการในการตอบ รับหรอื ปฏิเสธ หรอื การยุตกิ ารเข้าร่วมวจิ ัยซ่ึงกลุ่มตวั อย่างมสี ทิ ธทิ ี่จะบอกเลกิ เขา้ ร่วมโครงการวิจัยเมอื่ ใดก็ได้ โดยไมจ่ ำเปน็ ต้องแจง้ เหตผุ ล และการบอกเลิกการเข้าร่วมการวจิ ยั นี้จะไมม่ ผี ลใด ๆ ตอ่ กลมุ่ ตวั อยา่ ง ขอ้ มูลที่ได้ จะบนั ทกึ ไวต้ ามรหสั โดยไมม่ กี ารระบุชอ่ื สกุล และเกบ็ ไว้เปน็ ความลบั และจะนำเสนอโดยภาพรวมเทา่ น้นั การวเิ คราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยนำแบบสอบถามที่เก็บได้ทั้งหมด มาตรวจสอบความสมบูรณ์ และนำมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ โปรแกรมสำเร็จรปู และมขี น้ั ตอนการวิเคราะห์สถิติ ดังน้ี 1. ใช้สถิติพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูลทาง พฤติกรรมการออกกำลังกายในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 2. ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน (Spearman rank coefficient หรือ Spearman's rho) เพื่อวิเคราะห์ค่าความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายในช่วงการ แพรร่ ะบาดของเชื้อโควดิ -19 ได้แก่ รายได้ ของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ ชัน้ ปีที่ 3 มหาวิทยาลยั นเรศวร ปกี ารศึกษา 2563 3. ใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson’s correlation coefficients) วิเคราะห์ค่า ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อโค วิด-19 ได้แก่ ปจั จยั การรับรู้ดา้ นสขุ ภาพ ได้แก่ การรับรู้ประโยชน์ของการออกกำลังกาย การรับรู้อุปสรรคของ
38 การออกกำลังกาย การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการไม่ออกกำลังกาย การรับรู้ความรุนแรงของโรคของการไม่ออก กำลังกาย และปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ดัชนีมวลกาย ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัย นเรศวร การพทิ กั ษ์สทิ ธก์ิ ลมุ่ ตัวอย่าง การศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยตระหนักถึงการพิทักษ์สิทธ์ิของกลุ่มตัวอย่างที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง จึงได้ กำหนดการป้องกันผลกระทบในด้านจริยธรรมที่อาจเกิดกับกลุ่มตัวอย่าง โดยผู้วิจัยได้เสนอโครงร่างวิจัยต่อ คณะกรรมการจริยธรรมในมนุษย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อพิจารณาอนุมตั กิ ารดำเนินการวจิ ยั และได้รับการ รับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมในมนุษย์ COA No. 511/2020 IRB No. P3-0141/2563 และจัดทำ หนังสือถึงคณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อขอความอนุเคราะห์ในการเก็บข้อมูล หลัง ได้รับอนุมตั ิแลว้ ผู้วจิ ัยดำเนินงานและรวบรวมขอ้ มูล โดยผู้วิจัยมีการชี้แจงวัตถุประสงค์ของการวิจัย ประโยชน์ ของการวิจยั ระยะเวลาของการทำวจิ ยั วิธกี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล และสิทธิข์ องกล่มุ ตวั อยา่ งในการตอบรับหรือ ปฏิเสธหรือบอกเลิกการเข้าร่วมในโครงการวิจัยครั้งนี้เมื่อใดก็ได้ โดยไม่จำเป็นต้องชี้แจงเหตุผล และการบอก เลิกการเข้าร่วมการวิจัยนี้ จะไม่มีผลใด ๆ ต่อกลุ่มตัวอย่าง ข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างจะได้รับการปกปิดเป็น ความลับ ซึ่งข้อมูลที่ได้จะถูกบันทึกไว้ตามรหัสโดยไม่มีการระบุชื่อสกุล ข้อมูลจะถูกวิเคราะห์และนำเสนอใน ภาพรวม หากมขี อ้ สงสยั เก่ยี วกบั วิจัยกลุ่มตวั อย่างสามารถสอบถามผูว้ จิ ยั ได้ตลอดเวลา ภายหลังส้ินสุดการวิจัย ผู้วิจัยจะนำขอ้ มูลที่ผ่านการวิเคราะห์และเสนอต่อผูเ้ กีย่ วข้องเพื่อใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อการจัดการเรียนการสอน ของคณะพยาบาลศาสตร์ต่อไป หากกลุ่มตัวอย่างยินดีเข้าร่วมโครงการวิจัย อนุญาตให้เก็บรวบรวมข้อมูลจาก ผู้เข้าร่วมโครงการวิจัย โดยมีการลงนามเป็นลายลักษณ์อักษรในหนังสือแสดงความยินยอมเข้าร่วม โครงการวจิ ัย
39 บทท่ี 4 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายในช่วง การแพรร่ ะบาดของเชื้อโควิด-19 ของนสิ ิตคณะพยาบาลศาสตร์ ชนั้ ปีท่ี 3 มหาวทิ ยาลัยนเรศวร กลมุ่ ตัวอย่างที่ ศึกษาเป็นนิสิตพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 หลักสูตรพยาบาลศาสตรบ์ ัณฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย นเรศวร จำนวน 110 คน กลุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยใช้วิธีการจับสลากโดยการสุ่มเลือกแบบไม่มีการใส่คืน (Sampling without replacement) ผู้วิจัยเก็บ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายในช่วงการแพร่ ระบาดของเชื้อโควิด-19 ของนิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยนเรศวร ซึ่งผลการวิเคราะห์ ข้อมลู นำเสนอเป็นตารางประกอบการบรรยายตามลำดับ ดงั นี้ ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์เกย่ี วกับขอ้ มูลพื้นฐานของกล่มุ ตัวอย่าง ตอนที่ 2 ผลการศกึ ษาเกี่ยวกับการรบั รู้ดา้ นสขุ ภาพ ตอนที่ 3 ผลการศกึ ษาพฤติกรรมการออกกำลงั กาย ตอนที่ 1 ขอ้ มลู พน้ื ฐานของกลมุ่ ตวั อย่าง กลมุ่ ตัวอย่างในการวิจยั คร้ังนี้ มีจำนวน 110 คน ตามช้นั ปที ี่ 3 ภายหลงั การเกบ็ รวบรวมข้อมูล พบว่า ผู้วิจัยได้รับแบบสอบถามกลับคืน 110 ฉบับ และเป็นแบบสอบถามที่สมบูรณ์ โดยเป็นลักษณะคำถามแบบ เลอื กตอบ และเติมขอ้ ความให้สมบรู ณ์ ตารางท่ี 1 ข้อมูลพ้นื ฐานประกอบด้วยข้อมูลเกี่ยวกับ ดชั นมี วลกาย รายได้ โรคประจำตวั และประวัติโรค ทางพนั ธุกรรม (n = 110) ข้อมูลท่ัวไป จำนวน (คน) รอ้ ยละ 1. ดัชนมี วลกาย 20 18.18 น้ำหนักน้อย/ผอม 64 58.18 ปกติ (สุขภาพด)ี 11 10.00 ทว้ ม/โรคอ้วนระดบั 1 12 10.91 อว้ น/โรคอ้วนระดบั 2 3 2.73 อว้ นมาก/โรคอว้ นระดบั 3 2. รายได้ต่อเดือน 4 3.60 น้อยกว่า 3,000 บาท/เดือน 21 19.10 3,000 – 4,000 บาท/เดือน 33 30.00 5,000 – 6,000 บาท/เดอื น
Search